41
อาหารป้องกันโรค อ. ดร. ถาวร จันทโชติ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร

อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

อาหารป้องกันโรค

อ. ดร. ถาวร จันทโชติ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร

Page 2: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส าคัญในปัจจุบันของไทย 2. นิสิตสามารถอธิบายความหมายและความส าคัญของอาหารฟังก์ชันนอล (functional food) ในการป้องกันโรค 3. นิสิตสามารถอธิบายชนิด องค์ประกอบหลัก และประโยชน์ของอาหารในการป้องกันโรคต่างๆ 4. นิสิตสามารถบอกประเภทของอาหารที่เหมาะในการการบริโภคส าหรับผู้เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคอ้วน โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน

วัตถุประสงค ์

Page 3: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส
Page 4: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส
Page 5: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส
Page 6: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

คือ สิ่งที่เมื่อเกิดขึ้นแก่คนแล้วมีผลให้สูญเสียสมดุลย์ภายในร่างกาย และท าให้เกิดอาการผิดปกติขึ้นแตกต่างกันไปตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระบบต่างๆ ภายในร่างกาย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค

โรค

Page 7: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

ความหมายของอาหาร ( มาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 )

อาหาร คือ วัตถุทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม ดม หรือน าเข้าสู่ร่างกายด้วยวิธีการใดๆ หรือรูปลักษณะใดๆ แต่ไม่รวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท หรือเสพย์ติดให้โทษตามกฎหมาย อาหาร หมายถึง สิ่งที่ เรารับประทานเข้าไปแล้วท าให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกายในด้านต่างๆ ไม่ท าให้เกิดโทษ เช่น เนื้อสัตว์ ข้าว แป้ง ผัก ผลไม้ นม ฯลฯ ยกเว้นยารักษาโรค

อาหาร

Page 8: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

หมายถึง อาหารหรือสารอาหารชนิดใดๆ ที่อยู่ในรูปธรรมชาติ หรือที่ถูกแปรรูปไปเพื่อให้ประโยชน์ต่อสุขภาพ นอกเหนือจากประโยชน์ที่ได้รับจากสารอาหาร ที่รับประทานกันในชีวิตประจ าวัน

ประโยชน์ของอาหารฟังก์ชันนอล

เป็นอาหารที่รับประทานร่วมกับมื้ออาหารได้ ไม่ใช่รับประทานในรูปของยา ซึ่งให้ผลต่อระบบการท างานของร่างกายในการป้องกันโรค

เพิ่มภูมิคุ้มกันต้านทาน

ชะลอความเสื่อมของเซลล์ในอวัยวะต่างๆ ของร่างกายและส่งเสริมสุขภาพ

อาหารฟังก์ชันนอล (functional food)

Page 9: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

มีดังน้ี

1) ปรับปรุงระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย

2) ปรับปรุงระบบและสภาพการท างานของร่างกาย

3) ชะลอการเสื่อมโทรมของอวัยวะต่างๆ จากการสูงอายุ

4) ป้องกันโรคต่างๆที่อาจเกิดขึ้นจากภาวะโภชนาการผิดปกติ

5) บ าบัดหรือลดอาการของโรคที่เกิดจากความผิดปกติของร่างกาย

หน้าที่ของอาหารฟังก์ชันนอล

Page 10: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ

-ส่วนที่เป็นสารอาหาร เช่น โปรตีน คารโ์บไอเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร่ และน้ า

-ส่วนที่ไม่ใช่สารอาหาร เช่น สารพฤกษเคมีที่ส าคัญ ได้แก่ ไลโคพีน แคโรทีนอยด์ (Carotenoids) โพลีฟินอล (Polyphenols) : ฟลาโวนอยด์ (Flavonoids) แอนโธไซยานินส์ (Anthocyanins)

องค์ประกอบทั้งสองส่วนมีความสัมพันธ์ต่อการป้องกันหรือช่วยส่งเสริมการรักษาโรคเรื้อรัง เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ

โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง

และโรคกระดูกพรุน

องค์ประกอบหลักในอาหาร

Page 11: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

ประเภทของอาหารฟังก์ชัน องค์ประกอบหลัก ประโยชน์ต่อสุขภาพ

อาหารไขมันต่่า (เช่น ชีสไขมันต่่า อาหารว่างไขมันต่่า เนื้อสัตว์ ปลา ผลิตภัณฑ์นม)

ไขมันรวมต่ า ไขมันอิ่มตัวต่ า ลดความเสี่ยงโรคมะเร็ง

โรคหัวใจ และหลอดเลือด

อาหารที่มีน้่าตาลแอลกอฮอล์เป็นองค์ประกอบแทนน้่าตาล (หมากฝรั่ง ลูกอม เครื่องดื่ม อาหารว่าง)

น้ าตาลแอลกอฮอล์

(sugar alcohol) ลดความเสี่ยงฟันผุ

อาหารจากข้าวโอ๊ต ร่าข้าวโอ๊ต ผลิตภัณฑ์ข้าวโอ๊ตท่ีไม่ขัดสี

ใยอาหารละลายน้ า

เบต้ากลแูคน (Beta-glucan) ลดคอเลสเตอรอล

นมพร่องมันเนย แคลเซียม ลดความเสี่ยงโรคกระดูกพรุน

ประเภทของอาหารฟังก์ชันนอล องค์ประกอบหลัก และประโยชน์ที่มีต่อสุขภาพ

Page 12: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

ประเภทของอาหารฟังก์ชัน องค์ประกอบหลัก ประโยชน์ต่อสุขภาพ

ผักและผลไม้ วิตามิน สารแอนติออกซิแดนท์

สารพฤกษเคมี ใยอาหาร ลดความเสี่ยงโรคมะเร็ง

และโรคหัวใจ

ธัญพืชที่เสริมกรดโฟลิก กรดโพลิก ลดความเสี่ยงของ

neural tube defect

น้่าผลไม้ พาสต้า ข้าว snack bar และอาหารอื่นที่เสริมแคลเซียม

แคลเซียม ลดความเสี่ยงโรคกระดูกพรุน

ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบข อ ง ชี เ ลี ย ม ( Psylium) (พาสต้า ขนมปังอาหารว่าง)

ใยอาหาร ลดความเสี่ยงโรคหัวใจหลอด

เลือด

ธัญพืชไม่ขัดสี ธัญพืชที่มีใยอาหารสูง

ใยอาหาร ลดความเสี่ยงโรคมะเร็งบ้างชนิด และโรคหัวใจคุ้มกัน

Page 13: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

อาหารว่างเสริม Echinacea Echinacea ช่วยส่งเสริมภูมิคุ้มกัน

หมากฝรั่งเสริม Phosphatidyl serine

Phosphatidyl serine ช่วยเพิ่มสมาธิ

เครื่องดื่มเสริมสารแอนติออกซิแดนท ์

วิตามินอี วิตามินซี และ

เบตาแคโรทีน

ช่วยให้สุขภาพโดยรวมดีขื้น ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีสุขภาพหัวใจ

ดีและปกติ ลูกอมเสริมสารแอนติออกซิแดนท ์ผักหรือผลไม้สกัด

สารแอนติออกซิแดนท์

พฤกษเคมี

ส่งเสริมสุขภาพหัวใจและสุขภาพโดยรวม

เครื่องดื่มเสริมสมุนไพร กิงโก้ Echinacea โสม คาวา (Kava) ซอพอลเมทโต

(Sam palmetto)

ให้ประโยชน์ต่อสุขภาพมากมาย เช่น เพ่ิมความจ า

และเสริมสมาธิ เพิ่มภูมิต้านทาน เพิ่มพลังลดอาการวิตกกังวลนอนไม่หลับป้องกัน

มะเร็งต่อมลูกหมาก

Page 14: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

ประเภทของอาหารฟังก์ชัน องค์ประกอบหลัก ประโยชน์ต่อสุขภาพ

องุ่น/น้่าองุ่น ฟีนอล เรสเวอรซ์าทรอล

(resversatrol) ส่งเสริมสุขภาพของหลอด

เลือด

ผลิตภัณฑ์มาการีนที่ถูกดัดแปลง

สารสเตียรอลจากพืช (Plant sterols) และสตานอลเอส

เทอรจ์ากพืช (plant starnol esters)

ส่งเสริมระดับ คอเลสเทอรอลที่ปกติ

อาร์ติโซก เยรูซาเลม รากชิคอรี (chichory root)

Fructo oligosaccharides ช่วยปรับระดับแบคทีเรียใน

ล าใส้ให้ปกติ กล้วยกระเทียม

ซุปเสริมสมุนไพร

Echinacea St.John’s Wort

ช่วยส่งเสริมระบบภูมิคุ้มกัน ลดความเครียด

ถั่วเหลือง โปรตีนถั่วเหลือง ลดความสี่ยงโรคหัวใจและ

หลอดเลือด

Page 15: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

ประเภทของอาหารฟังก์ชัน องค์ประกอบหลัก ประโยชน์ต่อสุขภาพ

แครอท เบต้าแคโรทีน ลดความเสี่ยงโรคมะเร็ง

บร็อคโคลี Sulforaphane ลดความเสี่ยงโรคมะเร็ง

ผลิตภัณฑ์มะเขือเทศ ไลโคพีน ลดความเสี่ยงโรคมะเร็งต่อม

ลูกหมากลดความเสี่ยงกล้ามเนื้อหัวใจตาย

ผลิตภัณฑ์มะเขือเทศ ไลโคพีน

ลดความเสี่ยงโรคมะเร็งต่อมลูกหมากลดความเสี่ยงกล้ามเนื้อ

หัวใจตาย myocardial infarction

ชาเขียว ชาด่า แคททีคิน (catechins EGCG)

ลดความเสี่ยงโรคหัวใจ ลดความเสี่ยงโรคมะเร็งในกระเพาะ

อาหาร ในหลอดอาหารและในผิวหนัง

Page 16: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

ประเภทของอาหารฟังก์ชัน องค์ประกอบหลัก ประโยชน์ต่อสุขภาพ

ปลา กรดโอเมก้า 3 ลดความเสี่ยงโรคหัวใจและ

หลอดเลือด เนื้อวัว ผลิตภัณฑ์นม เนื้อแกะ

Conjugated linoleic acid (CLA)

ลดความสี่ยง Maminary tumors

ผลิตภัณฑ์นมหมัก โพรไบโอติก (Probiotics) ลดคอเลสเทอรอล ลดความเสี่ยงโรคมะเร็ง ควบคุมเชื้อที่เป็นอันตรายต่อระบบย่อย

ไข่เสริมกรดโอเมก้า 3 กรดโอเมก้า 3 ลดคอเลสเทอรอล

กระเทียม สารประกอบ organosulfur ลดความเสี่ยงโรคมะเร็ง ลดความเสี่ยงโรคหัวใจ ควบคุม

ความดัน

Page 17: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

ประเภทของอาหารฟังก์ชัน องค์ประกอบหลัก ประโยชน์ต่อสุขภาพ

Medical food bar เสริม arginine

L-arginine ส่งเสริมสุขภาพของหลอด

เลือด

Medical food bar ซูโครส โปรตีนแป้งข้าวโพดดิบ ควบคุมระดับน้ าตาลช่วง

กลางคืน ป้องกันน้ าตาลต่ า

ซุปไก่สกัด Carnosine anserine

เปปไทด ์

สารแอนติออกซิแดนท์ เพิ่มระบบเผาผลาญ กระตุ้นช่วย

สร้างเลือด ลดความเครียด ลดความดัน

Page 18: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

อาหาร/องค์ประกอบอาหาร

ปริมาณบริโภค/วัน โรคที่เกี่ยวข้อง

ชาเขียว ชาด่า 4-6 ถ้วย ลดความเสี่ยงโรคมะเร็งในกระเพาะ

อาหารและหลอดอาหาร

โปรตีนถั่วเหลือง 25 กรัม 60 กรัม

ลด LDL คอเลสเทอรอล และ non-high-density lipoprotein

ลดอาการในวันหมดประจ าเดือน

กระเทียม 600-900 มก.

(กระเทียมสดปริมาณวันละ 1 กลีบ)

ลดความดันโลหิต ลดคอเลสเตอรอล

ผักผลไม้ 5-9 ที่เสิร์ฟ ลดความเสี่ยงโรคมะเร็ง (ล าไส้ใหญ่

เต้านม/ต่อลูกหมาก) ลดความดันโลหิต

ปริมาณอาหารฟังก์ชั่น หรือองค์ประกอบของอาหารที่ชว่ยส่งเสริมสขุภาพดี

Page 19: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

อาหาร/องค์ประกอบอาหาร ปริมาณบริโภค/วัน โรคที่เกี่ยวข้อง

ฟรุคโตโอลิโกแชคคาไรด์ 3-10 กรัม ลดความดันโลหิต ช่วยการท างานของไขมัน

ช่วยส่งเสริมสุขภาพในระบบทางเดินอาหารและช่วยลดระดับ

คอเลสเตอรอล

ปลาที่มีกรดโอเมก้า 3 สูง >180 กรัม ลดความเสี่ยงโรคหัวใจ

น้่าองุ่นหรือเหล้าองุ่นแดง 8-6 ออนซ์ 8 ออนซ ์

ลดการเกาะตัวของเกร็ดเลือด

Page 20: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

อาหารเฉพาะโรค โรคหลอดเลือดหัวใจ

โรคอ้วน

โรคมะเร็ง

โรคความดันโลหิตสูง (hypertension หรือ

high blood pressure)

โรคเบาหวาน

Page 21: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

1. โรคหลอดเลือดหัวใจ

Page 22: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส
Page 23: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

กินผักและผลไม้ให้มากๆในทุกๆวัน

เลือกกินอาหารประเภทมีใยอาหารสูง

อาหารที่มีใยอาหารคือ ผัก ผลไม้ และธัญพืชเต็มเมล็ด (whole grain)

อาหารที่มีใยอาหารสูงคือ ถั่วต่างๆ ถั่วกินฝัก (เช่น ถั่วแขก ถั่วลันเตา) มันเทศ ข้าวโอ๊ต หัวหอม กล้วย พรุน ผลเบอรรี่ (berries) ผลนัท (nut) ต่าง ๆ (โดยเฉพาะ อัลมอนด์) แอบเปิล แพร ์อะโวคาโด และผลไม้ที่กินได้ทั้งเปลือก)

เมื่อต้องกินแป้งเลือกกินจากธัญพืชเต็มเมล็ดหรือที่มีการขัดสีน้อย

กินปลาโดยเฉพาะน้ ามันปลา (fish oil)

อย่างน้อย 2 ครั้งต่อสัปดาห ์

การป้องกันโรคหัวใจมีข้อเสนอแนะในการเลือกบรโิภคอาการ ดังนี ้

Page 24: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

จ ากัดอาหารไขมันทุกชนิดที่ส าคัญคือจากไขมันอิ่มตัว (ไขมันจากสัตว์) ให้น้อยกว่า 7% ของพลังงานทั้งหมดที่ร่างกายได้รับต่อวันจากไขมันแปรรูป เช่น เนยเทียมให้น้อยกว่า 1% ของพลังงานทั้งหมดที่ร่างกายได้รับต่อวันและจากไขมันคอเลสเตอรอลให้น้อยกวา่ 300 มิลลิกรัมต่อวัน

เลือกกินอาหารประเภทไขมันต่ าเสมอซึ่งรวมทั้งนมและผลิตภัณฑ์จากนม หลีกเลี่ยงอาหารไขมันจากสัตว์ กินเนื้อสัตว์ในส่วนที่มีไขมันน้อยๆ พยายามใช้

น้ ามันจากพืชแทน จ ากัดอาหารและเครื่องดื่มที่ใส่น้ าตาล กินอาหารจืด จ ากัดการกินเกลือแกง จ ากัดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

Page 25: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

2. โรคอ้วน

Page 26: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

กินอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย กินข้าวกล้อง ผัก และผลไม้ เพื่อให้ได้ใยอาหาร และช่วยให้อิ่มได้นาน กินอาหารให้ครบทุกมื้อ แต่ลดปริมาณในแต่ละมื้อลง เลือกกินอาหารที่ให้พลังงานต่ า โดยใช้วิธีต้ม ตุ๋น นึ่ง อบ ปิ้ง ย่าง

แทนการทอด หลีกเลี่ยงอาหารที่ให้พลังงานสูง อาหารทอดที่อมน้ ามัน เช่น กล้วย

แขก ปาท่องโก๋ หนังเป็ดหนังไก่ หมูสามชั้น ขาหมู อาหารที่มีกะทิ ขนมหวาน ลูกอม ลูกกวาด น้ าหวาน และเครื่องด่ืมที่มีแอลกอฮอล์

การลดน้่าหนักให้ได้ผลและมีภาวะโภชนาการที่ดี ควรยึดหลักในการกินอาหาร ดังนี้

Page 27: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

อาหารส าหรับลดน้ าหนักมีมากมายหลายชนิด เช่น

แกงต่างๆ เช่น แกงจืด แกงส้ม แกงเลียง แกงป่า แกงเหลือง

และแกงไตปลา

อาหารต้มหรือตุ๋น เช่น ต้มย าท่ีไม่ใส่กะทิ ไก่ตุ๋นฟักมะนาวดอง

ย าผัก หรือย าเนื้อสัตว์ที่มีไขมันต่ า เช่น ส้มต า ซุปหน่อไม้ ลาบ

และย าวุ้นเส้น

Page 28: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส
Page 29: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส
Page 30: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

3.โรคมะเร็ง

Page 31: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส
Page 32: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส
Page 33: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส
Page 34: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส
Page 35: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

4. โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension หรือ High blood pressure)

Page 36: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส
Page 37: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส
Page 38: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส
Page 39: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

การรับประทานแบบ “DASH DIET” (Dietary Approaches to Stop Hypertension) ที่ช่วยบ าบัดความดันโลหิตสูง โดยเน้นการบริโภคอาหาร ดังนี ้ ผักและผลไม้ ที่มีโพแทสเซียมสูง เช่น บร็อคโคลี่ แครอท มะเขือเทศ มันฝรั่ง

มันเทศ เห็ด แคนตาลูป แตงโม เมลอนเขียว กล้วย ลูกพรุน และส้มเป็นต้น นมและผลิตภัณฑ์นมไขมันต่ าที่ให้แคลเซียม ธัญพืชและถั่วเปลือกแข็ง ที่ให้ไฟเบอร์และแมกนีเซียม ถั่วเหลือง เต้าหู้ ซึ่งมี

สารเลซิตินช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล แป้งที่ไม่ผ่านการขัดสี เช่น ข้าวกล้อง และข้าวซ้อมมือ ดื่มน้ าเปล่าวันละ 2 ลิตร หรือสลับกับการด่ืมชาเขียว เครื่องเทศสมุนไพร เช่น กระเทียม หัวหอม ขิง ขึ้นฉ่าย ท าให้ระดับ

คอเลสเตอรอลและความดันโลหิตลดลง

Page 40: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

โรคเบาหวาน

Page 41: อาหารป้องกันโรคlic.tsu.ac.th/uploads/images/ppt5.pdf · 2017. 9. 27. · 1. นิสิตสามารถอธิบายสถานการณ์สุขภาพและโรคส

กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย และหมั่นดูแลน้ าหนักตัว

กินข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ

กินผักให้มากและกินผลไม้เป็นประจ า

กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจ า

ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย

กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร

หลีกเลี่ยงอาหารหวานจัด และเค็มจัด งดหรือลดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

การเลือกรับประทานอาหารอย่างถูกต้องและเหมาะสม ส่าหรับผู้เป็นเบาหวาน