13
รายงานสรุปผลการดาเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย : การพัฒนาบุคลิกภาพให้งามตามแบบวัฒนธรรมไทย” สานักงานศิลปะและวัฒนธรรม ร่วมกับ ชุมนุมจริยธรรมกับชีวิต หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ภาคการศึกษาที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

รายงานสรุปผลการด าเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนา ...genedu/pr/SAR/project2.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานสรุปผลการด าเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนา ...genedu/pr/SAR/project2.pdf ·

รายงานสรุปผลการด าเนินงาน

“โครงการอบรมมารยาทไทย :

การพัฒนาบุคลิกภาพให้งามตามแบบวัฒนธรรมไทย”

ส านักงานศิลปะและวฒันธรรม

ร่วมกับ ชุมนุมจริยธรรมกับชีวิต หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป

ภาคการศึกษาที่ ๑ ปกีารศึกษา ๒๕๕๖

มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุรธาน ี

Page 2: รายงานสรุปผลการด าเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนา ...genedu/pr/SAR/project2.pdf ·

รายงานสรุปผลการด าเนินงานโครงงาน

“โครงการอบรมมารยาทไทย :

การพัฒนาบุคลิกภาพให้งามตามแบบวัฒนธรรมไทย”

ส านักงานศิลปะและวฒันธรรม

ร่วมกับ ชุมนุมจริยธรรมกับชีวิต หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป

ภาคการศึกษาที่ ๑ ปกีารศึกษา ๒๕๕๖

มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุรธาน ี

Page 3: รายงานสรุปผลการด าเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนา ...genedu/pr/SAR/project2.pdf ·

รายงานสรุปผลการด าเนินงานโครงการ

“อบรมมารยาทไทย : การพัฒนาบุคลิกภาพให้งามตามแบบวัฒนธรรมไทย

๑. ผลการด าเนินการ

๑.๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม มีผู้เข้าร่วมโครงการเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จ านวน ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๑ จ านวน ๓๐๑ คน ครั้งที่ ๒ จ านวน ๓๐๐ คน มีผู้ตอบแบบสอบถามจ านวน ๑๘๙ คน แบ่งเป็น ๑) เพศ เพศชาย จ านวน ๓๔ คน คิดเป็น ๑๗.๙๘ % เพศหญิง จ านวน ๑๕๕ คน คิดเป็น ๘๒.๐๑ % ๒) อายุ อยู่ระหว่าง ๑๘ - ๒๒ ปี โดยกลุ่มที่มีจ านวนมากท่ีสุดอยู่ที่อายุ ๑๘ ปี จ านวน ๑๒๐ คน คิดเป็น ๖๓.๔๙ % ๓) คณะ คณะวิทยาศาสตร์ จ านวน ๑๓๖ คน คณะครุศาสตร์ จ านวน ๓๐ คน คณะวิทยาการจัดการ จ านวน ๒๑ คน คณะเทคโนโลยี จ านวน ๑ คน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จ านวน ๑ คน ๑.๒ การประเมินความคิดเห็นต่อการด าเนินโครงการ

การประเมินผลความคิดเห็นต่อการด าเนินโครงการท าการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยมีเกณฑ์การแปลผลดังนี้

ค่าเฉลี่ย ๑.๐๐-๑.๘๐ หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด

ค่าเฉลี่ย ๑.๘๐-๒.๖๑ หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย

ค่าเฉลี่ย ๒.๖๒-๓.๔๒ หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง

ค่าเฉลี่ย ๓.๔๓-๔.๒๓ หมายถึง มีความพึงพอใจมาก

ค่าเฉลี่ย ๔.๒๔-๕.๐๐ หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด

Page 4: รายงานสรุปผลการด าเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนา ...genedu/pr/SAR/project2.pdf ·

ผลการประเมินความคิดเห็นต่อโครงการพบว่า โดยภาพรวมผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจมากที่สุด (๔.๖) และเมื่อจ าแนกเป็นรายข้อแล้วพบว่ามีความเห็นพึงพอใจในแต่ละด้านในระดับพึงพอใจมากที่สุดทุกข้อ ดังนี้ ๑. การด าเนินโครงการสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ (๔.๕) ๒. สถานท่ีในการให้ความรู้มีความเหมาะสม (๔.๖) ๓. ระยะเวลาในการให้ความรู้มีความเหมาะสม (๔.๓) ๔.การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรมีความชัดเจน (๔.๖) ๕. ความรู้ความเข้าใจในมารยาทไทยก่อนการเข้าอบรม (๒.๗) ๖. ความรู้ความเข้าใจในมารยาทไทยหลังการเข้าอบรม (๔.๓) ๗. มีความตระหนักในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมไทย (๔.๔) ๘. สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน (๔.๖) ๙. ควรมีโครงการเช่นนี้ในปีต่อไป (๔.๘) ๑๐. ความพึงพอใจต่อโครงการนี้โดย

ภาพรวม (๔.๖) ดังตารางแสดงผล

ที ่ ความพึงพอใจที่ได้รับจากโครงการด้าน ค่าเฉลี่ย S.D. แปลผล ๑. การด าเนินโครงการสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ๔.๕ ๐.๔๘ พึงพอใจ

มากที่สุด ๒ สถานที่ในการให้ความรู้มีความเหมาะสม ๔.๖ ๐.๔๗ พึงพอใจ

มากที่สุด ๓. ระยะเวลาในการให้ความรู้มีความเหมาะสม ๔.๓ ๐.๕๘ พึงพอใจ

มากที่สุด ๔. การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรมีความชัดเจน ๔.๖ ๐.๗๖ พึงพอใจ

มากที่สุด ๕. ความรู้ความเข้าใจในมารยาทไทยก่อนการเข้าอบรม ๒.๗ ๐.๘๒ พึงพอใจ

ปานกลาง ๖. ความรู้ความเข้าใจในมารยาทไทยหลังการเข้าอบรม ๔.๓ ๐.๖๐ พึงพอใจ

มากที่สุด ๗. มีความตระหนักในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมไทย ๔.๔ ๐.๖๘ พึงพอใจ

มากที่สุด ๘. สามารถน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ๔.๖ ๐.๖๑ พึงพอใจ

มากที่สุด ๙. ควรมีโครงการเช่นนี้ในปีต่อไป ๔.๘ ๐.๕๓ พึงพอใจ

มากที่สุด ๑๐ ความพึงพอใจต่อโครงการนี้โดยภาพรวม ๔.๖ ๐.๔๗ พึงพอใจ

มากที่สุด

Page 5: รายงานสรุปผลการด าเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนา ...genedu/pr/SAR/project2.pdf ·

ข้อเสนอแนะ

-อยากให้จัดบ่อยๆ

-เป็นโครงการที่ดี อยากให้ด าเนินโครงการอย่างนี้ทุกปี เพ่ือที่เด็กไทยจะได้ทราบถึงอัตลักษณ์ของประเทศไทยและสวยงามด้วย

-เป็นโครงการที่ดีมาก จะได้ฝึกมารยาทที่ดีและถูกต้อง

-อยากให้มีกิจกรรมประกวดมารยาทไทยแต่ละสาขา แต่ละคณะ จนถึงระดับมหาวิทยาลัย

-มีความเข้าใจในสิ่งที่อบรมและสนุก วิทยากรดีเยี่ยม

ผลการถอดบทเรียนจากการเข้าร่วมโครงการ

๑. ด้านการเรียนรู้/เชาวน์ปัญญา

๑.๑ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับมารยาทไทยในแง่ต่างๆ

๑.๒ ได้เรียนรู้มารยาทไทยที่ถูกต้องจากการฝึกปฏิบัติจริงจนเกิดเป็นทักษะ

๑.๓ ได้เรียนรู้ในการพัฒนาบุคลิกภาพตามหลักวัฒนธรรมไทย

๑.๔ ได้เกิดการเรียนรู้รูปแบบในการปฏิบัติตามหลักมารยาทอันจะเป็นประโยชน์ในการสืบทอดทางวัฒนธรรม

๒. ด้านจิตพิสัย

๒.๑ เกิดความภาคภูมิใจในการรักษาวัฒนธรรมไทย

๒.๒ มีความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลิกภาพของตนเอง

๒.๓ มีความรู้ความเข้าใจในการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมีมารยาทและวัฒนธรรม

Page 6: รายงานสรุปผลการด าเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนา ...genedu/pr/SAR/project2.pdf ·

โครงการอบรมมารยาทไทย :

การพัฒนาบุคลิกภาพให้งามตามแบบวัฒนธรรมไทย

ส านักศลิปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ชื่อโครงการ โครงการอบรมมารยาทไทย : การพัฒนาบุคลิกภาพให้งามตามแบบวัฒนธรรมไทย

แผนงานโครงการ ความร่วมมือในการบูรณาการองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม

หน่วยงานโครงการ ส านักศิลปะและวัฒนธรรม

ที่ปรึกษาโครงการ ๑. ผศ.สมาน วีรกุล รองอธิการบดี ๒. ผศ.กิตติยาภรณ์ โชคสวัสดิ์ภิญโญ ผู้อ านวยการส านักศิลปะและวัฒนธรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ ๑. นายมนตรี วงระคร รองผู้อ านวยการส านักศิลปะและวัฒนธรรม

๒. นายไกรฤกษ ์ ศิลาคม รองผู้อ านวยการส านักศิลปะและวัฒนธรรม ๓. นางราตรี อาสาธรรม เลขานุการส านักศิลปะและวัฒนธรรม

๑. หลักการและเหตุผล ในยุคของโลกาภิวัตน์ที่เปิดโลกให้กว้างขึ้น เยาวชนไทยสามารถรับรู้ข่าวสารได้ทั่วทุกมุมโลก สามารถรับเอาวัฒนธรรมทางตะวันตกเข้ามาใช้ในชีวิตประจ าวันมากข้ึน แต่ในขณะเดียวกัน เยาวชนเริ่มละเลยมารยาทอันดีงามของไทยไป ไม่รู้จักเลือกใช้มารยาทไทยให้เหมาะสมต่อกาลเทศะ มีเยาวชนไทยจ านวนมากที่ไม่ได้รับการอบรมสั่งสอนให้รู้จักการวางตัวให้เหมาะสมตามแบบวัฒนธรรมไทย เช่นมารยาทในการพูดคุยกับผู้ใหญ่ มารยาทในการพูดโทรศัพท์ มารยาทในการใช้สิ่งของสาธารณะ มารยาทในการรับประทานอาหาร มารยาทในการปฏิบัติตนต่อพระภิกษุ มารยาทและกาลเทศะที่จ าเป็นในชีวิตการเรียน หรือการแต่งกายที่ถูกต้องและเหมาะสม และอ่ืนๆ อีกหลายประการ

Page 7: รายงานสรุปผลการด าเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนา ...genedu/pr/SAR/project2.pdf ·

ดังนั้น การพัฒนามารยาท จึงถือเป็นกิจกรรมที่ส าคัญกิจกรรมหนึ่งในการพัฒนาบุคลิกภาพที่พึงประสงค ์ซึ่งครูอาจารย์ควรให้ความสนใจอย่างยิ่ง ส านักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ตระหนักถึงความส าคัญของการปลูกฝังและถ่ายทอดความรู้ด้านมารยาทไทยให้กับเยาวชนเพ่ือจะได้เข้าใจในคุณค่าของมารยาทไทย ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ที่ส าคัญของชาติ สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นไทย ความสุภาพอ่อนโยน อันเป็นกิริยามารยาทที่ดีงาม มีคุณค่าและมีความหมาย ที่มีการสั่งสมสืบทอดต่อกันมา จึงก าหนดให้มีโครงการ อบรมมารยาทไทย เพ่ือ การพัฒนาบุคลิกภาพให้งามอย่างไทย และเพ่ือส่งเสริมให้นักศึกษามีบุคลิกภาพที่ดี มีมารยาทงามตามวัฒนธรรมไทย อีกท้ังนักศึกษาท่ีได้รับการอบรมก็จะกลายเป็นต้นแบบที่ดีของผู้ที่มีมารยาทงามในสังคมต่อไป

๒. วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑. เพ่ือให้นักศึกษาที่ได้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในมารยาทไทยอย่างถูกต้อง ๒. เพ่ือให้นักศึกษาเห็นคุณค่าของมารยาทไทยอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ

๓. เพ่ือสร้างต้นแบบของนักศึกษาที่มีมารยาทดีให้เป็นแบบอย่างแก่ผู้อ่ืนในสังคมต่อไป ๓. สถานที่ด าเนินโครงการ ห้องประชุม ชั้น ๒ อาคารส านักศิลปะและวัฒนธรรม ห้องประชุม อาคาร TB ๓ ศูนย์การศึกษาสามพร้าว

๔. รูปแบบการด าเนินการ - บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับมารยาทไทย และหลักการพัฒนาบุคลิกภาพให้งดงามตามแบบ

วัฒนธรรมไทย

- ฝึกปฏิบัติในการปฏิบัติตามมารยาทสังคมในลักษณะต่างๆ

๕. กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษา จ านวน ๕๐๐ คน คณาจารย์และบุคคลทั่วไปที่สนใจ จ านวน ๒๐ คน ๖. ระยะเวลาด าเนินโครงการ วันพุธที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๖ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๗.๐๐ น. วันพุธที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๗.๐๐ น.

Page 8: รายงานสรุปผลการด าเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนา ...genedu/pr/SAR/project2.pdf ·

๗. งบประมาณโครงการ หมวดค่าตอบแทน

- ค่าวิทยากร จ านวน ๑ คน x ๓๐๐ บาท x ๖ ชั่วโมง x ๒ ครั้ง รวม ๓,๖๐๐ บาท หมวดค่าใช้สอย - หมวดค่าวัสดุ - รวมงบประมาณ ๓,๖๐๐ บาท (สามพันหกร้อยบาทถ้วน) ๘. การประเมินผล - ส ารวจความพึงพอใจโดยใช้ แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ - การสัมภาษณ์ความคิดเห็นต่อประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการด้านความรู้ ทัศนคติและการน าไปปฏิบัติ/ใช้ประโยชน์ ๙. ดัชนีชี้วัดโครงการ ผู้เข้าร่วมโครงการมีระดับความพึงพอใจในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย ๓.๕๑ ขึ้นไป จากคะแนน ๕ คะแนน ๑๐. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑.ผู้เข้ารับการอบรมที่ได้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในมารยาทไทยอย่างถูกต้อง ๒. ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักในคุณค่าของมารยาทไทยอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ ๓. สามารถสร้างต้นแบบของนักศึกษาท่ีมีมารยาทดีให้เป็นแบบอย่างแก่ผู้อ่ืนในสังคมต่อไป ๔. ผู้เข้าอบรมมีทักษะการแสดงมารยาทไทยอย่างถูกต้อง ๕. สามารถอนุรักษ์มารยาทให้คงอยู่ต่อไป

Page 9: รายงานสรุปผลการด าเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนา ...genedu/pr/SAR/project2.pdf ·

ก าหนดการ

โครงการอบรมมารยาทไทย เรื่อง

การพัฒนาบุคลิกภาพให้งามตามแบบวัฒนธรรมไทย

เวลา ๐๘.๓๐ – ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน (นักศึกษากลุ่มท่ี ๑)

เวลา ๐๙.๐๐ – ๐๙.๓๐ น. กล่าวรายงาน โดย

ผู้อ านวยการส านักศิลปะและวัฒนธรรม

กล่าวเปิดงานโดย

ผศ. สมาน วีรกุล รองอธิการบดี

เวลา ๐๙.๓๐-๑๒.๐๐ น. บรรยายและฝึกปฏิบัติ โดย

ผศ.จินตนา ด้วงแพง

เวลา ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๓.๓๐ น. ลงทะเบียน (นักศึกษากลุ่มท่ี ๒)

เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. บรรยายและฝึกปฏิบัติโดย

ผศ.จินตนา ด้วงแพง

เวลา ๑๗.๐๐ น สรุปและปิดการอบรม

Page 10: รายงานสรุปผลการด าเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนา ...genedu/pr/SAR/project2.pdf ·

ภาพกิจกรรมโครงการ

ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนาบุคลิกภาพให้งามตามแบบวัฒนธรรมไทย

Page 11: รายงานสรุปผลการด าเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนา ...genedu/pr/SAR/project2.pdf ·

ผศ.สมาน วีรกุล รองอธิการบดี/ประธานในพิธี และ ผศ.จินตนา ด้วงแพง วิทยากร

Page 12: รายงานสรุปผลการด าเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนา ...genedu/pr/SAR/project2.pdf ·

ผู้เข้าร่วมโครงการอบรมมารยาทไทย ฝึกปฏิบัติการไหว้ระดับต่างๆ

Page 13: รายงานสรุปผลการด าเนินงาน “โครงการอบรมมารยาทไทย การพัฒนา ...genedu/pr/SAR/project2.pdf ·

ผศ.ดร.กิตติยาภรณ์ โชคสวัสดิ์ภิญโญ ผู้อ านวยการส านักศิลปะและวัฒนธรรมมอบของที่ระลึกให้แก่วิทยากร