19
คูมือการใชงาน ERDAS Imagine ขั้นพื้นฐาน การทํางานบนโปรแกรม ERDAS Imagine ซึ่งเปนโปรแกรมทางดานรีโมทเซนซิ่งเบื้องตน อีก โปรแกรมหนึ่งที่นาสนใจ ในประสิทธิภาพที่คอนขางสูง แตในราคาที่คอนขางแพงเอาการ เพราะฉะนั้นในหนวยงานใดที่จะใชจําตองมีทุนหนาสักหนอย ถึงจะมีสิทธิเปนเจาของได Erdas Imagine เปนโปรแกรมหนึ่งที่ทางภาควิชาเทคโนโลยีชนบท .ธรรมศาสตร ไดซื้อ ลิขสิทธิ์ใชงานจาก ESRI ซึ่งเปนตัวแทนจําหนายในเมืองไทย ซึ่งราคาคอนขางสูงในชวงนั้น และได มีการใชงานในเชิงการศึกษาวิจัยโดยกลุมของนักศึกษาในระดับหนึ่ง จึงไดนําความรูพื้นฐานการใช โปรแกรมเบื้องตน ตามทฤษฎีและหลักการทางดาน Digital Image Processing ที่ทานอาจจะตองหา พื้นฐานอานเพิ่มเติมไดในภายหลัง ในสวนของเนื้อหาในบทความชุดนี้จะประกอบไปดวย 1. นําเขาขอมูลในรูปแบบตางๆ (Data Import) 2. การแสดงผลภาพถายดาวเทียม (Data Display) 3. การเปลี่ยนชวงคลื่นสีผสมใหม (Color Composite) 4. การตัดขนาดของภาพตามตองการ (Resample Data) 5. การแสดงพิกัด และคาสะทอนของภาพ 6. การสรางจอภาพชวยมอง 7.การทําภาพซอนเพื่อชวยในการดูภาพ 8.การแสดงคา Spectral, Spatial และ Surface Profile… 9.การปรับคาความคมชัดของภาพ 10. การทํา Image Registration

คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

คูมือการใชงาน ERDAS Imagine ขั้นพื้นฐาน การทํางานบนโปรแกรม ERDAS Imagine ซ่ึงเปนโปรแกรมทางดานรีโมทเซนซิ่งเบ้ืองตน อีกโปรแกรมหนึ่งท่ีนาสนใจ ในประสิทธิภาพท่ีคอนขางสูง แตในราคาท่ีคอนขางแพงเอาการ เพราะฉะนั้นในหนวยงานใดท่ีจะใชจําตองมีทุนหนาสักหนอย ถึงจะมีสิทธิเปนเจาของได

Erdas Imagine เปนโปรแกรมหนึ่งท่ีทางภาควิชาเทคโนโลยีชนบท ม.ธรรมศาสตร ไดซ้ือลิขสิทธ์ิใชงานจาก ESRI ซ่ึงเปนตัวแทนจําหนายในเมืองไทย ซ่ึงราคาคอนขางสูงในชวงนั้น และไดมีการใชงานในเชิงการศึกษาวิจัยโดยกลุมของนักศึกษาในระดับหนึ่ง จึงไดนําความรูพื้นฐานการใชโปรแกรมเบ้ืองตน ตามทฤษฎีและหลักการทางดาน Digital Image Processing ท่ีทานอาจจะตองหา

พื้นฐานอานเพิ่มเติมไดในภายหลัง

ในสวนของเนื้อหาในบทความชุดนี้จะประกอบไปดวย

1. นําเขาขอมูลในรูปแบบตางๆ (Data Import) 2. การแสดงผลภาพถายดาวเทียม (Data Display)

3. การเปลี่ยนชวงคลื่นสีผสมใหม (Color Composite) 4. การตัดขนาดของภาพตามตองการ (Resample Data)

5. การแสดงพิกัด และคาสะทอนของภาพ 6. การสรางจอภาพชวยมอง

7.การทําภาพซอนเพื่อชวยในการดูภาพ 8.การแสดงคา Spectral, Spatial และ Surface Profile…

9.การปรับคาความคมชัดของภาพ 10.การทํา Image Registration

Page 2: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

คูมือการใชงาน ERDAS Imagine เคร่ืองมือท่ีจะตองใชในการทํางานโปรแกรม ERDAS Imagine

1. นําเขาขอมูลในรูปแบบตางๆ (Data Import) โดยมีขั้นตอนการนําเขาขอมูลจากท่ีอื่นดังตอไปนี ้

1) Click ท่ีเครื่องมือ icon ท่ีชื่อวา Import

2) นําเขาโดยเลือก import โดยท่ีเลือก 2.1) Type : Generic binary 2.2) Media : File

3) เลือกไฟลท่ีตองการนําเขา โดยเลือก Directory ท่ีตองการ 4) เลือก Directory ท่ีตองการบันทึก และตั้งชื่อ 5) และกดปุม OK 6) จะมีหนาจอสอบถามรายละเอียดของขอมูลนําเขาซ่ึงจะตองหารายละเอียดเพื่อใหโปรแกรม

Page 3: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

ประมวลผลให ดังตอไปนี้ 6.1) เปดไฟลท่ีเปนขอมูล Text File ของภาพถายดาวเทียมนั้น 6.2) จะตองบอกรายละเอียด Data Format : (BIL, BIP, BSQ) Data Type : (Unsigned 8 bit, Signed 8 bit, etc.) #Rows : จํานวนแถวของภาพตนฉบับ #Cols : จํานวนสดมภของภาพตนฉบับ #Bands : จํานวนชวงคลื่นของภาพตนฉบับ

Page 4: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

คูมือการใชงาน ERDAS Imagine เคร่ืองมือท่ีจะตองใชในการทํางานโปรแกรม ERDAS Imagine 2. การแสดงผลภาพถายดาวเทียม (Data Display)

เม่ือนําขอมูลภาพถายดาวเทียมเขามาไดแลว ขั้นตอมาคือการแสดงผลลัพธของไฟลท่ีไดบันทึกเปนรูปแบบของ ERDAS Imagine (*.IMG) โดยมีขั้นตอนดังนี ้1) กดปุมเครื่องมือ icon Viewer

2) เลือกเมนูบนหนาจอ Viewer FileเOpen เ Raster… หรือกดปุม Ctrl+R 3) เลือกชื่อไฟลท่ีตองการนําเขาใน Directory ท่ีเราเก็บขอมูลไว 4) เลือกชนิดการแสดงผล Display : True Color ในกรณีท่ีมีหลายชวงคลื่น 5) เลือกผสมสีโดยเลือกชวงคลื่นตางๆ ใสในชอง RGB : 432 หรือตามตองการแปลผล 6) กดปุม

Page 5: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine
Page 6: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

คูมือการใชงาน ERDAS Imagine เคร่ืองมือท่ีจะตองใชในการทํางานโปรแกรม ERDAS Imagine

3. การเปล่ียนชวงคล่ืนสีผสมใหม

1) เลือกเมนูบน Viewer ท่ี Raster --> Change Band Combinations… 2) เลือกชวงคลื่นใหมใน Dialog Box ท่ีปรากฏ 3) แลวกดปุม Apply 4) เม่ือพอใจแลวกดปุม Close

Page 7: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

คูมือการใชงาน ERDAS Imagine เคร่ืองมือท่ีจะตองใชในการทํางานโปรแกรม ERDAS Imagine 4. การตัดขนาดของภาพตามตองการ (Resample Data)

ในบางครั้งขอมูลท่ีไดมามีขนาดท่ีใหญเกินเนื้อท่ีขอมูลท่ีเราศึกษา จึงจําเปนตองตัดขอมูลท่ีไมจําเปนตองใชในการวิเคราะหผลออก โดยมีวิธีการดังนี้ 1) เปดภาพถายดาวเทียมท่ีตองการขึ้นมา 2) เลือกเมนู View --> Fit Image To Window ใน Viewer 3) กดปุม Inquire Cursor 4) เลือกดูขอบเขตของภาพท่ีตองการวาอยูในพิกัดของภาพชวงใด (x,y coordinate) ควรหาท่ี มุมบนซาย และ มุมลางขวา เพราะโปรแกรมตองการขอมูลเทานั้น และจดคาไว

5) เลือกเมนู Raster -->Resample… 6) ใสขอมูลท่ีจดคามากอนหนานี ้6.1) Output File : ตั้งชื่อไฟลใหมท่ีจะสรางขึ้น 6.2) ใสคาขอมูลมุมบนซาย UL X : และ UL Y : (upper left) 6.3) ใสคาขอมูลมุมลางขวา LR X : และ LR Y : (lower right) 6.4) ใสคาขนาดของเซล X เปน 1 และ Y เปน 1 เชนเดิม 7) กดปุม OK ใหโปรแกรมประมวลผล

Page 8: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine
Page 9: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

คูมือการใชงาน ERDAS Imagine เคร่ืองมือท่ีจะตองใชในการทํางานโปรแกรม ERDAS Imagine 5. การแสดงพิกัด และคาสะทอนของภาพ

ในบางครั้งเราตองการทราบคาสะทอนของภาพ หรืออานพิกัด ณ ตําแหนงท่ีเราตองการรูคาบนภาพถายดาวเทียม เราสามารถใชเมนู Utility --> Inquire Cursor หรือ กดปุม Inquire Cursor ก็ได แลวเลื่อนเมาสไปยังตําแหนงท่ีตองการทราบคา

Page 10: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

คูมือการใชงาน ERDAS Imagine เคร่ืองมือท่ีจะตองใชในการทํางานโปรแกรม ERDAS Imagine 6. การสรางจอภาพชวยมอง

1. ใหเลือกท่ีเมนู View --> Create magnifier... 2. ใหเลื่อน View ยอยไปยังตําแหนงท่ีตองการแสดงผลภาพ

Page 11: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

คูมือการใชงาน ERDAS Imagine เคร่ืองมือท่ีจะตองใชในการทํางานโปรแกรม ERDAS Imagine 7. การทําภาพซอนเพื่อชวยในการดูภาพ

1. ใหเลือกท่ีเมนู File --> Open --> Raster.. 2. จากนั้นใหเลือกภาพถายดาวเทียมท่ีตองการนําเขามาเพิ่มอีก ควรผานการทํา Registration Image มาแลว 3. ในสวนของ Clear Display ใหเอา Check Box ออกดวย 4. จากนั้นใหกดปุม OK เพื่อตกลงเงื่อนไขท่ีกําหนด 5. ใหเลือกท่ี View --> Arrange Layers... 6. Arrange layer Viewer ใหเลือกแสดงผล View ท่ีตองการ 7. เลือกเมนู Utility --> Blend/Fade… 8. ปรับคา Blend/Fade ตามตองการ

Page 12: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine
Page 13: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

คูมือการใชงาน ERDAS Imagine เคร่ืองมือท่ีจะตองใชในการทํางานโปรแกรม ERDAS Imagine 8. การแสดงคา Spectral, Spatial และ Surface Profile…

1. เลือกเมนู Raster --> Spectral Profile…, Spatial Profile… หรือ Surface Profile หรือ อาจจะกดปุม Profile Tools แลวเลือก Spectral, Spatial หรือ Surface 2. Spectral ใหกําหนดเปนจุดบนภาพจะแสดงคาท้ัง 7 ชวงคลื่น 3. Spatial ใหกําหนดเปนเสนบนภาพจะแสดงคาท้ัง 7 ชวงคลื่น 4. Surface ใหกําหนดเปนพื้นท่ีบนภาพจะแสดงคาท้ัง 7 ชวงคลื่น

Page 14: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine
Page 15: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

คูมือการใชงาน ERDAS Imagine เคร่ืองมือท่ีจะตองใชในการทํางานโปรแกรม ERDAS Imagine 9. การปรับคาความคมชัดของภาพ

1) เลือกเมนู Raster --> Simple Contrast… 2) ปรับคาความสวางและความเขมของภาพใหดูแลวแปลงาย 3) เม่ือพอใจกด Apply ถาไมพอใจกด Reset

Page 16: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

คูมือการใชงาน ERDAS Imagine เคร่ืองมือท่ีจะตองใชในการทํางานโปรแกรม ERDAS Imagine

10. การทํา Image Registration แบบ Image to Map เปนการปรับแกความถูกตองเชิงเรขาคณิตท่ีใหแผนท่ีหมุนปรับไปในทิศทางท่ีถูกตองตามพิกัดโลก โดยอางอิงจากแผนท่ีภูมิประเทศ หรือจากการสํารวจพื้นท่ีจริง โดยหาจุดอางอิงทางภูมิศาสตร (GCP - Ground Control Points)

1. เลือกเมนู RasterเGCP Editor 2. ได dialog box ของ GCP Editor 3. เลือกเมนู Pairwise-->Use Keyboard Only… 4. กดปุม New เพื่อสราง GCP file ใหม หรือถามีอยูแลวกดปุมเลือกไฟลแลวกด OK 5. พิมพชื่อไฟลเก็บไวใน Directory ท่ีตองการ 6. กดปุม OK

Page 17: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

7. เลือกพิกัดบนภาพถายดาวเทียม 8. พิมพคาใสท่ีอานไดจากแผนท่ีภูมิประเทศ 1:50,000 9. ลองหาคาเฉลี่ยของความผิดพลาดกดปุม 10. หม่ันบันทึกขอมูลท้ัง Source และ Destination ไว 11. ทําการปรับแก Geometric Correction เลือกเมนู Rasterเ Transform Editor… 12. หนาตาง Transform Editor จะขึ้นมา 13. กดปุม Transform 14. เลือก projection แบบ UTM 15. ตั้งชื่อไฟลใหม 16. ตั้งคาพิกัดภูมิศาสตร 17. เลือก Spheroid Name : Everest 18. เลือก Datum Name : Everest 19. เลือก UTM Zone ประเทศไทยอยูท่ี 47 North หรือ 48 North 20. กดปุม OK 21. ตั้งคาพิกเซล 30x30ม. (ใหเหมาะกับชนิดของดาวเทียมท่ีมีรายละเอียดของ pixel ท่ีตางๆ กัน 22. กดปุม OK

Page 18: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine
Page 19: คู่มือการใช้งาน ERDAS Imaginekmcenter.rid.go.th/kmc14/handbook/handbook2.pdf · 2009-09-25 · คู มือการใช งาน ERDAS Imagine

11. การปรับแกความถูกตองเชิงเรขาคณิต Image to Image 1. เปดภาพท่ีปรับแกความถูกตองทาง Geometric Correcction แลว 2. เปดภาพท่ีตองการปรับแกความถูกตองทาง Geometric Correcction 3. เลือกเมนู Raster --> GCP Editor.. บน View ของภาพท่ีตองปรับแก 4. เลือกเมนู Pairwise--> Select Viewer เพื่อเปนการเลือกผาน 2 หนาจอ หรือ Image to Image Registration 5. ทําการเลือกจุดบนภาพท่ีตรงกันท้ัง View2 และ View 1