95
ความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของ เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ โดย นางสุมาลี ดวงกลาง สารนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2560

ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

ความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

โดย

นางสุมาลี ดวงกลาง

สารนิพนธน้ีเปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2560

Page 2: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

Happy Workplace and Performance Effectivenessof Official Medical Correctional Institution

By

Mrs. Sumalee Duangklang

A Study Report Submitted in Partial Fulfillment of theRequirements for the Master of Public Administration

Faculty of Liberal ArtsKrirk University

2017

Page 3: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

(1)

หัวขอสารนิพนธ ความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

ชื่อผูศึกษา นางสุมาลี ดวงกลางหลักสูตร/คณะ/มหาวิทยาลัย รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต/ศิลปศาสตร/มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ดร.เฉลิม เกิดโมลีปการศึกษา 2559

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้มี วัตถุประสงคเพื่อศึกษาอิทธิพลของความสุขในการทํางานตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ประชากรที่ศึกษาคือเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ จํานวน 83 คน โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลทดสอบสมมติฐานใชการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (MultipleRegression) ดวยวิธีการคัดเลือกตัวแปรเขาสมการพยากรณแบบ Stepwise

ผลการศึกษาความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ พบวา ความสุขในการทํางานทั้ง 8 ดานในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานสามารถเรียงลําดับจากมากไปหานอยดังนี้ คือ ดานการมีศีลธรรมดานการผอนคลาย ดานครอบครัวอบอุน ดานการศึกษาหาความรู ดานมีน้ําใจเอ้ืออาทร ดานการมีเงิน ดานสังคมดี และดานสุขภาพกายและใจดี สวนประสิทธิผลในการปฏิบัติงานในภาพรวมอยูในระดับมากเชนเดียวกัน เมื่อพิจารณาเปนรายดานสามารถเรียงลําดับจากมากไปหานอยดังนี้ คือดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการผลการทดสอบสมมติฐานพบวา ความสุขในการทํางานดานสังคมดี (B=.327) และดานการศึกษาหาความรู (B=.253) มีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานและเปนไปในทิศทางเชิงบวกตามนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยสามารถอธิบายไดวาเมื่อพิจารณาจากคา R มีคาเทากับ .644และเมื่อพิจารณาถึงสัดสวนความแปรปรวนที่อธิบายดวยสมการถดถอยคิดเปนรอยละ 41.4 สวนดานสุขภาพกายและใจดี ดานมีน้ําใจเอ้ืออาทร ดานการมีเงิน ดานการผอนคลาย ดานการมีศีลธรรม ดานครอบครัวอบอุน ไมสงผลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

Page 4: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

(2)

กิตติกรรมประกาศ

สารนิพนธเรื่อง ความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ฉบับนี้สําเร็จสมบูรณไดดวยความกรุณาอยางย่ิงจาก ดร.เฉลิมเกิดโมลี อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธที่ใหความกรุณาถายทอดความรูและใหคําปรึกษาคําแนะนําตลอดจนใหความเมตตาชวยเหลือปรับปรุงแกไขขอบกพรองตางๆ จนทําใหการทําสารนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงตามวัตถุประสงค ผูศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง

ขอขอบคุณ เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ทุกทานที่ใหความรวมมือในการกรอกแบบสอบถามและใหขอมูลที่เปนประโยชน ตลอดจนอํานวยความสะดวกในการเก็บรวบรวมขอมูลอันเปนสวนสําคัญที่ทําใหสารนิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงดวยดี

ขอขอบพระคุณ คณาจารยหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตทุกทาน ที่ไดประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูใหแกผูศึกษา รวมถึงเจาหนาที่โครงการ เพื่อนๆ พี่ๆ รปม.รุน 30-33และผูที่เก่ียวของทุกทานที่ใหความอนุเคราะหชวยเหลือใหกําลังใจมาโดยตลอด ทําใหสารนิพนธฉบับนี้ครบถวนสมบูรณและสามารถนําไปใชแกหนวยงานไมมากก็นอย รวมทั้งผูที่ตองการศึกษาในเรื่องนี้ตอไป

สุมาลี ดวงกลางมหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2560

Page 5: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

(3)

สารบัญหนา

บทคัดยอ (1)กิตติกรรมประกาศ (2)สารบัญตาราง (5)สารบัญแผนภาพ (6)

บทท่ี 1 บทนํา 11.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 11.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 41.3 ขอบเขตของการศึกษา 41.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 5

บทท่ี 2 วรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ กรอบแนวคิดและสมมติฐานในการศึกษา 62.1 แนวคิดความสุขในการทํางาน 62.2 แนวคิดประสิทธิผลการปฏิบัติงาน 192.3 ผลงานวิจัยที่เก่ียวของ 242.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา 302.5 สมมติฐานในการศึกษา 302.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ 31

บทท่ี 3 วิธีการศึกษา 333.1 วิธีดําเนินการศึกษา 333.2 ประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษา 333.3 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 343.4 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 353.5 การเก็บรวบรวมขอมูล 363.6 การวิเคราะหขอมูล 363.7 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 36

Page 6: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

(4)

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 384.1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 384.2 ผลการวิเคราะหความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถาน 41

โรงพยาบาลราชทัณฑ4.3 ผลการวิเคราะหประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถาน 51

โรงพยาบาลราชทัณฑ4.4 ผลการทดสอบสมมติฐาน 55

บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ 605.1 สรุปผล 615.2 อภิปรายผล 625.3 ขอเสนอแนะ 70

บรรณานุกรม 74

ภาคผนวก 79แบบสอบถาม 80

ประวัติผูศึกษา 87

Page 7: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

(5)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา4.1 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามเพศ 384.2 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอายุ 394.3 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามอายุราชการ 394.4 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามสถานภาพ 404.5 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามระดับการศึกษา 404.6 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามรายได 414.7 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความสุขในการทํางานในภาพรวม 424.8 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานสุขภาพกายและใจดี 434.9 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ดานมีน้ําใจเอ้ืออาทร 444.10 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ดานการมีเงิน 454.11 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ดานการผอนคลาย 464.12 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ดานการศึกษาหาความรู 474.13 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ดานการมีศีลธรรม 484.14 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ดานครอบครัวอบอุน 494.15 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ดานสังคมดี 504.16 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ของประสิทธิผลการปฏิบัติงาน 51

ในภาพรวม4.17 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน 524.18 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ 534.19 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ 544.20 แสดงคาสหสัมพันธระหวางตัวแปรความสุขในการทํางานทั้ง 8 ดาน 554.21 แสดงตัวแบบจําลองสมการถดถอยพหุคูณ 564.22 แสดงการวิเคราะหความแปรปรวนสองทาง 574.23 แสดงผลการวิเคราะห คาสัมประสิทธิ์การถดถอยแบบพหุคูณ 584.24 แสดงสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน 59

Page 8: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

(6)

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที่ หนา2.1 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา 30

Page 9: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

1

บทที่ 1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหาสังคมในยุคปจจุบันนั้นมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ทั้งดานสภาพแวดลอม

การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ทามกลางการเปลี่ยนแปลงดังกลาวไมวาจะเปนองคการทั้งภาคธุรกิจและองคการภาครัฐ จําเปนตองมีการปรับตัวเพื่อความอยูรอด จึงมีการปรับโครงสรางการบริหารจัดการ การกําหนดยุทธศาสตร กลยุทธในการบริหารงาน ลวนเปนปจจัยเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง หลายๆ องคการไดใหความสําคัญกับการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร มุงสงเสริมใหบุคลากรทํางานอยางมีความสุข สามารถดําเนินชีวิตไดอยางเหมาะสม เกิดความรูสึกดีวาตนมีคุณคา และมีความสําคัญตอองคการ ซึ่งหลายๆ องคการไดนําแนวคิดการสรางเสริมสุขภาวะในสถานประกอบการ “Happy Workplace” หรือองคการสุขภาวะมาใชในการดําเนินงาน โดยแนวคิดองคการสุขภาวะ คือ กระบวนการพัฒนาคนในองคการอยางมีเปาหมาย และยุทธศาสตรใหสอดคลองกับวิสัยทัศนขององคการ ซึ่งเรียกวากระบวนการสรางคุณภาพชีวิตที่ดีของคนในองคการ โดยการปรับทัศนคติเปลี่ยนมุมมองคนในองคการใหเกิดความคิดใหมๆ ในการอยูรวมกันและการพัฒนาองคการใหมีความสุขจากการทํางาน เพื่อใหองคการมีความพรอมตอการเปลี่ยนแปลง และนําพาองคการไปสูการพัฒนาอยางย่ังยืน

การบริหารงานขององคการในยุคปจจุบันนั้น ในทุกๆ องคการจะเนนเรื่องของประสิทธิภาพและประสิทธิผลเปนหลักเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่วางไว ทั้งนี้เพื่อใหองคการมีความเจริญกาวหนาและใหทันกับองคการอ่ืนๆ ดังนั้นจึงมีความจําเปนอยางย่ิงที่องคการตองใหความสําคัญและสนใจในดานความสุขในการทํางานของบุคลากร ซึ่งเปนทรัพยากรที่มีคาและเปนกําลังสําคัญ โดยองคการจะตองใสใจและสงเสริมใหบุคลากรรูสึกวาทํางานไดอยางมีความสุขดวยเหตุนี้ องคการที่ตองการใหบุคลากรมีความสุขในการทํางาน มีความรักในงานที่ทํา มีความรักในองคการที่ทําอยู จึงไดพยายามสงเสริมและพัฒนาในดานตางๆ ใหกับบุคลากรอันจะกอใหเกิดประโยชนสูงสุดทั้งแกตนเองและผูอ่ืนรวมทั้งสังคมรอบขางดวย

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ไดพยายามศึกษาแนวคิดและนิยามองคการแหงความสุข อันเปนความสุขที่ทําใหคนเราเกิดความสมดุลระหวางชีวิตการทํางานและชีวิตสวนตัวภายใตความเชื่อวา คนคือหัวใจขององคการ การสรางคนทํางานใหมีความสุขมีความสําคัญ หากคนในองคการมีความสุขก็จะทําใหเกิดเปนองคการแหงความสุข โดยนําเสนอ

Page 10: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

2

แนวคิดเก่ียวกับองคการแหงความสุขวาควรจะประกอบดวยความสุข 8 ประการ ไดแก สุขภาพกายและใจดี มีน้ําใจเอ้ืออาทร การมีเงิน การผอนคลาย การศึกษาหาความรู การมีศีลธรรมครอบครัวอบอุนและสังคมดี ไดมีการสรางสรรคกิจกรรมตางๆ ที่เก่ียวของกับการพัฒนาคนในองคการใหเกิดความสุขทั้งรางกายและจิตใจควบคูกันไป โดยต้ังอยูบนพื้นฐานของแนวคิดที่วา“การจะสรางองคการแหงความสุข ใหประสบความสําเร็จที่ย่ังยืนไดนั้น ตองเริ่มจากการที่คนในองคการตองมีความสุขกอน และจะสงผลตอครอบครัว ชุมชน รวมทั้งองคการที่ตนเองทํางานในที่สุด”

การขับเคลื่อนองคการแหงความสุขผานกิจกรรมหรือโครงการตางๆ นับวาเปนการจุดประกายและกระตุนใหองคการทั้ งภาครัฐและเอกชน ไดนําแนวคิดองคการแหงความสุขไปประยุกตใชในองคการ ทั้งนี้ ประโยชนของการพัฒนาองคการภายใตแนวคิดองคการแหงความสุขแบงออกเปน 2 ระดับ คือ

1. ระดับพนักงาน ทําใหคนทํางานมีความสุข มีสุขภาพทั้งรางกายและจิตใจดีขึ้น มีความเครียดนอยลง ลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุ ลดอัตราการเจ็บปวยจากการทํางาน ลดอัตราการขาดงาน ทําใหพนักงานมีแรงจูงใจในการทํางาน มีความพึงพอใจตองาน มีความผูกพันตอองคการและมีความรูสึกเปนเจาขององคการ

2. ระดับองคการ ทําใหที่ทํางานนาอยู มีบรรยากาศทํางานที่ดี ผลผลิตขององคการมีคุณภาพมากขึ้น องคการมีผลประกอบการสูงขึ้น และทําใหองคการเติบโตอยางย่ังยืน

การสรางองคการแหงความสุขนั้น จําเปนตองอาศัยเครื่องมือตางๆ ชวยขับเคลื่อนการทํางาน ทั้งนี้ เครื่องมือที่สําคัญตอการพัฒนาองคการไปสูการเปนองคการแหงความสุขอยางหนึ่งคือ การที่องคการมีนโยบายสรางสุของคการเพื่อเปนแนวทางในการขับเคลื่อนการดําเนินงานหรือการดําเนินกิจกรรมตางๆ ในองคการ

จะเห็นไดวา “ความสุข” เปนสิ่งที่ทุกคนปรารถนาและเปนเปาหมายของการดําเนินชีวิตในสังคม ไมวาจะอยูในสถานะไหนหรือสาขาอาชีพอะไรก็ตาม โดยเฉพาะอยางย่ิงคนในวัยทํางานที่มีความปรารถนาใหตนเองดําเนินชีวิตไปอยางมีความสุข แตขณะเดียวกันความสุขของคนทํางานอาจมีเงื่อนไขหรือเกณฑบางอยางที่ตองการมากวาบุคคลโดยทั่วไป เชน การไดรั บการพัฒนา การไดรับเกียรติและมีคุณคาในที่ทํางาน การไดรับการยอมรับจากบุคคลในที่ทํางานทุกระดับ การไดรับคาตอบแทนที่ยุติธรรม การไดรับสวัสดิการที่พึงพอใจ การมีหัวหนาและเพื่อนรวมงานที่ดี ดังนั้น ความสุขของคนทํางานจึงหมายถึงประสบการณและความรูสึกของคนทํางานที่ตองการใหตนเปนที่ยกยองและยอมรับจากคนทั่วไป การไดทํางานในที่ทํางานที่มั่นคง มี

Page 11: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

3

ความกาวหนา การเขาถึงโอกาสในการพัฒนาอยางทั่วถึง การมีผูบังคับบัญชาที่ดี การมีเพื่อนรวมงานที่จริงใจ การไดรับสวัสดิการที่พอเพียง และการไดรับความปลอดภัยจากการทํางาน ซึ่งถาคนทํางานไดรับสิ่งตางๆ ดังกลาวอยางบอยครั้งและตอเนื่อง คนทํางานก็จะทํางานอยางมีความสุข

ขณะที่ความสุขของคนทั่วไปขึ้นอยูกับตนเองเปนหลัก แตความสุขของคนทํางานนั้นไมไดขึ้นอยูกับเฉพาะคนทํางานเทานั้น แตยังตองคํานึงถึงผูใหซึ่งหมายรวมถึงผูบริหารและผูที่ทํางานเก่ียวกับฝายบริหารทรัพยากรบุคคลหรือทรัพยากรมนุษยเปนสําคัญ ซึ่งเปนเรื่องของการพัฒนาและสรางเสริมความสุขรวมกันระหวางคนทํางานภายในองคการ โดยเฉพาะอยางย่ิงในปจจุบันที่สภาพสังคมมีการเปลี่ยนแปลง คนสวนใหญทํางานในองคการตางๆ ความเครียดและความทุกขสวนใหญก็มาจากการทํางาน และมีผลตอไปยังครอบครัวอยางไมอาจปฏิเสธได หลายองคการที่มี วิสัยทัศนจึงเนนกลับมาที่ความสุขหรือสุขภาวะของคนในองคการ (ชื่นฤทัยกาญจนะจิตรา และคณะ, 2551 อางถึงใน ศิรินันท กิตติสุขสถิต, เฉลิมพล แจมจันทร, กาญจนาต้ังชลทิพย และจรัมพร โหลํายอง, 2555)

ดังนั้น ในหลายองคการจึงไดหาวิธีการตางๆ เพื่อสงเสริมใหเกิดความสุขแกพนักงานในองคการโดยต้ังอยูบนพื้นฐานของประเพณีและวัฒนธรรมของคนในองคการ ผานกิจกรรมหลากหลายประเภท โดยมุงหวังสรางความสุข สรางจิตสํานึกที่ ดี ใหแกพนักงาน เปนการวางรากฐานการพัฒนาศักยภาพของพนักงานสูวิถีแหงความสุขอยางย่ังยืน อันจะนําไปสูการสรางความเขมแข็งที่รากฐานขององคการอยางแทจริง

ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ก็จัดวาเปนหนวยงานหนึ่งที่เล็งเห็นความสําคัญในการทําใหบุคลากรทํางานอยางมีความสุข เนื่องจากงานของกรมราชทัณฑนั้นเปนงานที่เครียด ถูกมองวาเปนงานที่ไมมีความสุข เนื่องจากอาชีพผูคุมเปนอาชีพที่เสี่ยงอันตราย มีความกดดัน อีกทั้งยังตองคลุกคลีอยูกับผูตองขังที่กระทําความผิดในคดีอาญาที่ศาลมีคําพิพากษาตัดสินใหจําคุกต้ังแต 6 เดือน ถึงโทษจําคุกตลอดชีวิต เปนอาชีพที่เสี่ยงอันตราย มีความกดดันมากในการทํางานตองคลุกคลีกับผูตองขังที่หลากหลายรูปแบบ หลากหลายคดี บุคคลภายนอกอาจมองวาผูที่ทํางานเปนผูคุมเรือนจําลวนตองมีบุคลิกภาพที่เครงขรึมอยูเสมอ แตในความเปนจริงแลวนั้นสภาวะตางๆนั้นขึ้นอยูกับตัวบุคคลมากกวา สภาพแวดลอมในการทํางานเปนเพียงปจจัยภายนอกที่สามารถรับมือได ซึ่งหากเจาหนาที่มีความสุขในการทํางานก็สามารถสรางความสุขใหกับชีวิตและการทํางานได อีกทั้งยังสามารถสงผลในดานการทํางานใหเกิดการทํางานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานที่ดีมากขึ้น

Page 12: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

4

การศึกษาเรื่อง ความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ จึงเปนไปเพื่อทราบถึงระดับความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑวามีมากนอยเพียงใด และความสุขในการทํางานจะสงผลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานหรือไมเพียงใด เพื่อนําผลการศึกษาดังนี้ไปใชในการพัฒนาปรับปรุงการบริหารทรัพยากรมนุษยในองคการใหเกิดความสุขในการทํางานแกเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ซึ่งสงผลใหเกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและนําองคการไปสูเปาหมายที่วางไวตอไป

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา1.2.1 เพื่อศึกษาระดับความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาล

ราชทัณฑ1.2.2 เพื่อศึกษาประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาล

ราชทัณฑ1.2.3 เพื่อศึกษาอิทธิพลของความสุขในการทํางานตอประสิทธิผลการปฏิ บัติงานของ

เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

1.3 ขอบเขตของการศึกษา1.3.1 ขอบเขตดานประชากร

ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑจํานวน 83 คน

1.3.2 ขอบเขตดานเน้ือหา1.3.2.1 ตัวแปรตน คือ ความสุขในการทํางาน 8 ประการของสํานักงานกองทุน

สนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) (2552, อางถึงใน ประพนธ ผาสุกยืด , 2553)ประกอบดวย

1. สุขภาพกายและใจดี2. มีน้ําใจเอ้ืออาทร3. การมีเงิน4. การผอนคลาย5. การศึกษาหาความรู6. การมีศีลธรรม

Page 13: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

5

7. ครอบครัวอบอุน8. สังคมดี

1.3.2.2 ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ตามแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ (2558) ประกอบดวย

1. ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน2. ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ประกอบดวย

2.1 การมุงผลสัมฤทธิ์2.2 การบริการที่ดี2.3 การสั่งสมความเชี่ยวชาญในอาชีพ2.4 จริยธรรม2.5 การทํางานเปนทีม

3. ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ1.3.3 ขอบเขตดานระยะเวลา

ในการศึกษาครั้ งนี้ ผู ศึกษาใช เวลาในการเก็บรวบรวมขอมูลต้ังแต เ ดือนพฤศจิกายน 2558 ถึงเดือนมิถุนายน 2559 รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 8 เดือน

1.4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ1.4.1 เพื่อเปนขอมูลและแนวทางในการนําไปปรับปรุงพัฒนาการบริหารทรัพยากร

บุคคลในการจัดการความสุขในการทํางานที่เอ้ือประโยชนตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑตอไป

1.4.2 เพื่อเปนประโยชนตอผูที่ตองการศึกษาวิจัยในเรื่องเดียวกันหรือเรื่องที่มีเนื้อหาเก่ียวของกันในการพัฒนาองคความรูในเรื่องตอไป

Page 14: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

6

บทที่ 2วรรณกรรมที่เกีย่วของ กรอบแนวคิดและสมมติฐานในการศกึษา

การศึกษาเรื่อง “ความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ” ครั้งนี้ ผูศึกษาไดศึกษาคนควาเอกสารและงานวิจัยทั้งในและตางประเทศ รวมทั้งวิเคราะหความสัมพันธระหวางแนวคิด ทฤษฎี ผลงานวิจัยที่เก่ียวของ เพื่อนํามาเปนแนวทางในการกําหนดกรอบแนวคิด และสมมติฐานการวิจัย โดยไดนําเสนอดังนี้

2.1 แนวคิดความสุขในการทํางาน2.2 แนวคิดประสิทธิผลการปฏิบัติงาน2.3 ผลงานวิจัยที่เก่ียวของ2.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา2.5 สมมติฐานในการศึกษา2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

2.1 แนวคิดความสุขในการทํางาน2.1.1 ความหมายของความสุขในการทํางาน

ความหมายของคําวา “ความสุข (Happiness)” นั้นเปนการยากที่หาคําจํากัดความที่ไดความหมายที่แทจริง เนื่องจากคําวา “ความสุข” ในบริบทของแตละบุคคล กลุมองคการสังคม ประเทศ ตางมีความหมายที่แตกตางกัน

จงจิต เลิศวิบูลยมงคล (2547: 27) กลาววา ความสุขในการทํางาน หมายถึงบุคคลที่ไดกระทําในสิ่งที่ตนรักและพึงพอใจชอบและศรัทธาในงานที่ทํา พึงพอใจในประสบการณชีวิตที่ตนเองไดรับ ตลอดจนประสบการณเหลานั้นใหผลตอความรูสึกทางบวกมากวาอารมณความรูสึกทางลบ ทําใหเกิดการสรางสรรคสิ่งที่ดีงาม บนพื้นฐานเชิงเหตุผลและศีลธรรม

นภัชชล รอดเที่ยง (2550: 18) กลาววา ความสุขในการทํางานเกิดจากหลายองคประกอบที่จะทําใหเกิดความพึงพอใจ และสามารถตอบสนองความตองการในชีวิตของแตละบุคคล

ปยอร ลีระเติมพงษ (2552: 11) กลาววา ความสุขในการทํางาน หมายถึง ภาวะอารมณทางบวก ความราเริงสนุกสนาน และพึงพอใจในชีวิตทั้งมวลหรือบางสวนของชีวิต ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากงานวิจัยเพิ่มมากขึ้น อาจมีองคประกอบเก่ียวกับความสุขเพิ่ม ไดแก การบรรลุ

Page 15: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

7

ความปรารถนาแหงตน เชน การบรรลุเปาหมายในชีวิต การมีความเจริญงอกงาม มีมิติความสุขในจิตใจ การมีความสัมพันธที่ดีกับบุคคลอันเปนที่รัก หรือการด่ืมดํ่าความงามของชีวิต

วรรณพร พรายสวาท (2552: 18) กลาววา ความสุขที่ทุกคนไดจากการทํางาน คือความสุขจากการดํารงชีวิตที่เหมาะสม มีผลงานที่ดีมีความมั่นคงในอาชีพ ไดรับคาตอบแทนและสวัสดิการที่ดี เกิดความรูสึกวาตัวเองเปนคนที่มีคุณคาตอองคการ มีความสัมพันธระหวางพนักงานและผูบริหารที่ดีขึ้น มีแรงจูงใจในการทํางานมากขึ้น มีความรูในการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่นําไปเผยแพรตอครอบครัว ชุมชน และแรงงานที่มีคุณคาของประเทศ และสิ่งที่องคการจะไดจากการมีความสุขในทํางาน คือ ผลผลิตสูงสุด คุณภาพของสินคา และบริการดีขึ้น ลดการขาดงานการเขางานชา การลาปวย ลากิจของพนักงาน เปนชุมชนที่เขมแข็งในองคการ สภาพแวดลอมในการทํางานดีขึ้น ลดอัตราการเลิกจางงาน ประหยัดคาใชจายในการสรรหาพนักงานใหม ฝกพนักงานใหม ตลอดจนทําใหภาพลักษณขององคการดีขึ้นและลดความไมพอใจของผูใชแรงงานนอกจากนี้ยังทําใหความสัมพันธระหวางฝายบริหารกับพนักงานเปนไปอยางราบรื่น พนักงานรักองคการมากขึ้น ซึ่งทายสุดผลดีก็จะสะทอนกลับไปยังองคการโดยรวมนั่นเอง

Manion (2003, อางถึงใน ชุติมณฑน ฟาภิญโญ, 2552: 6) ไดกลาววา ความสุขในการทํางาน คือ ผลที่เกิดจากการเรียนรูซึ่งเปนผลตอบสนองจากการกระทํา การสรางสรรคของตนเอง มีความปลาบปลื้มใจ นําไปสูการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ โดยการคํานึงถึงการรับรูการแสดงออก การปฏิบัติงานดวยความรูสึกอยากที่จะทํางาน บุคลากรมีความผูกพัน และมีความพึงพอใจที่ไดปฏิบัติงานรวมกัน เกิดสัมพันธภาพที่ดีในที่ทํางาน ปฏิบัติงานดวยความรูสึกอยากที่จะทํางาน มีความผูกพันในงาน และทําใหคงอยูในองคการตอไป

พิทักษ พิสัยพันธุ (2553) กลาววา ความสุขในการทํางาน หมายถึง ผลของการที่บุคคลรับรูพฤติกรรมการทํางานของตนเอง ผูรวมงาน และสัมพันธภาพระหวางกัน ทําใหแสดงอารมณที่มีตองานในทางบวก รับรูไดถึงการใหความรวมมือและใหการชวยเหลือเก้ือกูลกันระหวางผูรวมงานทําใหเกิดมิตรภาพและความปรารถนาดีตอกัน มีความรัก ชอบ ผูกพันในงานที่ตนทํา กระตือรือรนและยินดีที่ไดกระทําในงานที่ตนเองรัก ยินดีกับความสําเร็จที่ไดมาจากงานที่ทาทาย มีคุณคาและนาภาคภูมิใจที่จะพยายามทํางานใหประสบความสําเร็จ ไดรับการยอมรับนับถือและความคาดหวังที่ดีจากผูรวมงาน ทําใหเกิดความพยายามและความรับผิดชอบในการทํางานมากย่ิงขึ้น

สิรินทร แซฉั่ว (2553: 27) ไดกลาววา ความสุขในมุมมองเชิงเศรษฐศาสตร เดิมเชื่อวาเมื่อมีรายไดมากขึ้นมนุษยก็ยอมมีฐานะความเปนอยูที่ดี และความสุขจะมากขึ้นตาม แตจากผล

Page 16: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

8

การศึกษาหลายครั้ง พบวา รายไดกับความสุขสัมพันธกันในระดับตํ่า เพราะนอกจากการเงินแลวยังมีมิติดานอ่ืนที่มีผลตอความสุข เชน การงาน ความสัมพันธในครอบครัว สังคมของเพื่อนสุขภาพ เสรีภาพสวนบุคคล เปนตน

เพ็ญพิชชา ต้ังมาลา (2553: 10) ไดกลาววา การทํางานที่มีความสุขควรจะประกอบไปดวย การทํางานที่มีความสนุก มีความทาทาย มีความเปนอิสระ มีหัวหนางานและเพื่อนรวมงานที่ดี รวมไปถึงมีสถานที่ทํางานที่เหมาะสมในอันที่จะสามารถสรางบรรยากาศการทํางานอยางมีความสุข จึงกลาวไดวา ความสุขในการทํางานเกิดจากหลายปจจัยที่จะสามารถตอบสนองความตองการของแตละบุคคลใหเกิดความพึงพอใจแตกตางกันออกไป

เจริญชัย เพ็งสวาง (2553: 19) ไดกลาววา ความสุขในการทํางานหมายถึง การที่บุคคลมีความพึงพอใจในสิ่งที่ตนเองเปนและกระทําอยู พึงพอใจในงานที่กระทํา ตลอดจนสภาพแวดลอมในการทํางานและหนาที่ความรับผิดชอบของตน มีความรวมมือรวมใจในการทํางาน มีความสนุก เพลิดเพลิน กระตือรือรน มีความรูสึกดีทั้งทางกาย และจิตใจมุงมั่นที่จะกระทําใหประสบความสําเร็จดวยความขยันขันแข็ง ทักษะ ความสามารถ ประสบการณ และความซื่อสัตยสุจริต รวมถึงเมื่อพบเห็นสิ่งที่ไมดีงามหรืองานที่ไมถูกตองจะมีความรูสึกผิดหวังและตองการแกไขใหดีขึ้น

จากความหมายขางตนสรุปไดวา ความสุขในการทํางาน หมายถึง ความรูสึกทางบวกที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคลที่ตอบสนองตอเหตุการณที่เกิดขึ้นในการทํางาน โดยบุคคลนั้นเกิดความรูสึกเพลิดเพลินสนุกสนาน กระตือรือรนในงานที่ทํา มีความพึงพอใจและความภาคภูมิใจในงานไดทํางานกับเพื่อนรวมงานที่ดี รับรูวางานที่ตนทํานั้นมีความสําคัญ มีคนเห็นคุณคาของงานที่ทํา และมีความสุขในการทํางาน

2.1.2 องคประกอบความสุขในการทํางานสํานักกองทุนสนับสนุนการเสริมสรางสุขภาพ (สสส.) กลาววา องคการอนามัย

โลกกําหนดคุณภาพชีวิตของมนุษย หรือสุขภาวะที่ดีมี 4 มิติ คือ กาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณเพื่อใหเหมาะสมกับสภาพสังคมไทย เกิดความเขาใจการสื่อสารที่งายและสะดวกขึ้น สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) (2552, อางถึงใน ประพนธ ผาสุกยืด, 2553) เปนผูริเริ่มและสนับสนุน จึงเกิดเปนองคประกอบแหงความสุขของคนทํางานขึ้นมาเรียกวา Happy 8หรือ ความสุขทั้งแปด นําไปสูการมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยางย่ังยืน ซึ่งประกอบดวย

Page 17: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

9

1. สุขภาพกายและใจดีการมีสุขภาพรางกายและจิตใจที่สมบูรณยอมนําความสุขมาใหแกคนทํางาน

การจะมีสุขภาพที่ดีนั้น ไมสามารถซื้อหามาไดตองเปนการกระทําดวยตนเอง กิจกรรมตางๆ ที่ดําเนินการเก่ียวกับสุขภาพในหนวยงานนั้น มีหลายกิจกรรมที่นําไปสูความมีสุขภาพดี เชน กิจกรรมออกกําลังกายกอนทํางาน หรือหลังเลิกงาน การแขงขันกีฬา ความย่ังยืนในการดําเนินกิจกรรมดานสุขภาพดีนั้นมีองคประกอบที่สําคัญ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขไดดําเนินการสรางสุขภาพคนไทย หรือที่รูจักในชื่อ “โครงการเมืองไทยแข็งแรง” มีเปาหมาย “คนไทยแข็งแรงเมืองไทยแข็งแรง” โดยมีการสรางสุขภาพที่ดีของคนไทยดวย “6 อ” คือ

1) อาหาร การกินอาหารครบหลัก 5 หมู และถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย2) ออกกําลังกาย ทําใหรางกายสมบูรณแข็งแรง3) อารมณ มีอารมณที่ดีปราศจากความเครียด ความทุกข มีสัมพันธที่ดีใน

สังคม4) อนามัย สิ่งแวดลอมอยูในชุมชนที่ปลอดภัย ถูกหลักสุขาภิบาลสิ่งแวดลอม

ที่ดี5) อโรคยา ลดพฤติกรรมเสี่ยงที่กอใหเกิดปญหาสุขภาพ6) อบายมุข งดบุหรี่ สุรา สิ่งเสพติด การพนัน และการสําสอนทางเพศ

จากหลัก 6 อ ในการดําเนินการเมืองไทยแข็งแรง สถานประกอบการสามารถนํามาประยุกตใช โดยการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับสภาพการทํางานของหนวยงานแตละแหง เชนกิจกรรมดานการกีฬาตางๆ การเตนแอโรบิค หรือโครงการอาหารสะอาดถูกสุขลักษณะ การรณรงคเลิกเหลาเลิกบุหรี่ โครงการรณรงคลดอุบัติเหตุ โดยการใสอุปกรณปองกันทั้งในเวลางาน เปนตน

2. มีน้ําใจเอ้ืออาทรความมีน้ําใจตอกันเปนจุดเดนของสังคมไทยในอดีต แตสังคมปจจุบันการให

ความสําคัญกับวัตถุและเงินตรา สภาพการดําเนินชีวิตที่แขงขันและเรงรีบทําใหความใสใจตอคนรอบขางลดนอยลง บางครั้งดูเปนความเห็นแกตัวของคนในสังคม การจัดกิจกรรมเพื่อใหเกิดความมีน้ําใจและรักกันในองคการเปนสิ่งที่ตองดําเนินการ เพื่อใหเกิดการอยูรวมกันอยางสันติ การมีน้ําใจระหวางกันของคนในองคการชวยลดความขัดแยงในการทํางาน ใหเกิดความสามัคคี และกอใหเกิดการทํางานเปนทีม การแสดงความหวงใยของผูบริหารสถานประกอบการตอพนักงานโดยการจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อแสดงความเขาใจตอปญหาของพนักงานยอมทําใหเกิดการยอมรับ

Page 18: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

10

และความรักในองคการมากขึ้น มีความหวงใยและชวยกันดูแลองคการนําไปสูความย่ังยืนในการรวมกันสรางความเจริญใหเกิดแกองคการ

ดังนั้น กิจกรรมตางๆ ที่กระตุนใหทุกฝายในองคการ มีความรักและน้ําใจเอ้ืออาทรตอกันและกัน เชน การจัดแขงขันกีฬาที่เนนความรักความสามัคคีความมีน้ําใจมากกวาผลการแขงขัน การบริจาคโลหิตใหญาติพี่นองหรือเพื่อนรวมงานที่เจ็บปวย การเย่ียมเยียนแสดงความหวงใยในทุกขของเพื่อนรวมงานที่เจ็บปวย การรวมงานแตงงาน งานบรรพชา งานขึ้นบานใหม หรืองานศพ การชวยกันดูแลความปลอดภัยในการทํางานของเพื่อรวมงาน เปนตน

3. การมีเงินปญหาหนี้สินเปนปญหาที่สําคัญของคนทํางาน และเปนจุดเริ่มตนของการมี

คุณภาพชีวิตที่ไมดี การมีหนี้สินสวนใหญเกิดจาการดําเนินชีวิตที่ขาดความพอเพียง การแสวงหาความสุขจากวัตถุหรือกิจกรรมตางๆ สิ่งเหลานี้ตองใชเงินในการแสวงหาความสุข แตความสามารถในการหารายไดไมเพียงพอ จึงนําไปสูการเปนหนี้ ปจจุบันโอกาสในการสรางหนี้ของคนทํางานสูงขึ้นทั้งหนี้ในระบบ เชน ธนาคาร บัตรเครดิตตางๆ หรือหนี้นอกระบบ เมื่อมีหนี้สินมีความตองการเงินมากขึ้น คนทํางานจึงตองทํางานหนักมากขึ้น ขาดการพักผอนรางกายทรุดโทรม สภาพจิตใจแยลง ขาดการผอนคลาย ครอบครัวขาดความอบอุน ทุกคนมุงแตทํางานหนักเพื่อนําเงินมาใชหนี้ที่เกิดจากความตองการ แสวงหาสิ่งที่เชื่อวาเปนการใหความสุขแกตนเองได

องคการที่คนทํางานมีปญหาหนี้สินมาก ยอมประสบปญหาในการบริหารจัดการดานกําลังคน เพราะคนทํางานนั้นมีประสิทธิภาพในการทํางานลดลง ขาดความต้ังใจ และสมาธิในการทํางาน เกิดความเครียด เจ็บปวยและลางานบอยขึ้น ขาดความสามัคคี มีความขัดแยงมากขึ้น ปจจุบันองคการหลายแหงมีการสรางเสริมความรูในการดําเนินชีวิตและวิธีการใชจายที่เหมาะสม ไมเปนหนี้ มีเงินออม การขาดความรูในการทําบัญชีคาใชจาย ขาดความใสใจในการเก็บออมเงิน การใชจายที่ไมเหมาะสม เกินความจําเปน องคการควรมีโครงการสรางความรูความเขาใจในการใชจายที่เหมาะสมและรณรงคการออมเงิน เชน การทําบัญชีครัวเรือน สิ่งเหลานี้นําไปสูการแกปญหาหนี้ไดอยางย่ังยืน เมื่อคนทํางานมีสติและรูวิธีใชจ ายที่เหมาะสม จะลดความเครียดและกอใหเกิดความสุขในการทํางาน ประสิทธิภาพคนทํางานจะเพิ่มขึ้นนําไปสูความสามารถในการผลิตที่มากขึ้น

4. การผอนคลายการสรางความสนุกสนานผอนคลาย ความเมื่อยลา ความเครียดจากการ

ทํางาน การทํางานที่เรงรีบและแขงขัน การทํางานหนักขาดการพักผอน ปญหาตางๆ ในชีวิตหาก

Page 19: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

11

คนทํางานไมรูจักผอนคลายตอการแกปญหาในการดําเนินชีวิต จะนําไปสูความเครียดทั้งทางรางกายและจิตใจที่มากขึ้น ปราศจากความสุขในการดําเนินชีวิตและการทํางาน สิ่งเหลานี้สรางปญหาใหกับองคการเพราะความสามารถและประสิทธิภาพในการทํางานของคนทํางานลดลงเพื่อใหไดผลผลิตตามเปาหมายทางองคการจึงตองพยายามนําเอามาตรการและวิธีการตางๆ มาใช เชน กิจกรรมบันเทิงหรือพักผอนเวลาพัก จะชวยลดความเหนื่อยลาและความเครียดในการทํางาน เปนตน

5. การศึกษาหาความรูการศึกษาหาความรูพัฒนาตนเองอยูเสมอจากแหลงตางๆ นําไปสูการเปนมือ

อาชีพและความมั่นคงกาวหนาในการทํางาน การแสวงหาความรูเปนสิ่งสําคัญของคนทํางานในการเพิ่มพูนความรูความสามารถของตนเอง ความกาวหนาในการทํางาน และความมั่นคงในอาชีพการเปนมืออาชีพในการทํางานนั้นตองมีการศึกษาหาความรูตลอดเวลา เพื่อสามารถถายทอดความรูแกคนอ่ืนได ความรูที่ไดนั้นนอกจากใชในการทํางานแลว ยังมีความรูที่สามารถนํามาใชในการดําเนินชีวิต เพื่อประโยชนของตนเองและสังคม ทุกวันนี้สังคมแหงการเรียนรู เปดกวางไมจํากัดแคในหองเรียนเทานั้น คนทํางานสามารถศึกษาหาความรูไดจากแหลงต างๆ ไมวา หองสมุดสถานศึกษา อินเตอรเน็ต สื่อตางๆ เปนตน

6. การมีศีลธรรมมีความศรัทธาในศาสนาและมีศีลธรรมในการดําเนินชีวิต การมีชีวิตที่เรงรีบ

และการแขงขันกันของคนทํางานทุกวันนี้ ทําใหโอกาสปฏิบัติกิจทางศาสนาตางๆ มีโอกาสนอยองคการจึงตองมีการสงเสริมใหคนทํางานใชหลักธรรม หลักศาสนา ในการดําเนินชีวิตจะชวยลดความขัดแยงในการทํางาน คนทํางานมีสติ มีสมาธิในการทํางาน โดยการจัดกิจกรรมในการปฏิบัติกิจทางศาสนาอยางสม่ําเสมอ เชน การสวดมนตรวมกันกอนเขาทํางาน เปนวิธีการหนึ่งในการสรางสมาธิ สรางสติกอนทํางาน เพื่อการทํางานที่มีประสิทธิภาพ การจัดกิจกรรมเผยแพรธรรมะหลักคําสอนของศาสนา การนิมนตพระสงฆมาเทศนา เพื่อใหมีแนวทางที่ดีในการดําเนินชีวิตเปนตน

7. ครอบครัวอบอุนคนทํางานที่มีครอบครัวอบอุนและมั่นคง ยอมมีความสุขในการดําเนินชีวิต

นําไปสูการทํางานที่มีความสุขและมีประสิทธิภาพ การจะมีครอบครัวที่อบอุนตองประกอบไปดวยสมาชิกในครอบครัวที่มีความรักความสามัคคี ไมมีปญหาในครอบครัว มีความมั่นคงทางการเงินการใชชีวิตที่พอเพียง มีความเขาใจซึ่งกันและกัน มีหลักธรรมการครองเรือน ดังนั้น คนในครอบครัว

Page 20: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

12

ตองมีความสุขในทุกมิติ มีสุขภาพดี มีน้ําใจใหแกกัน มีความเอ้ือเฟอเผื่อแผกัน มีการทํากิจกรรมตางๆ รวมกัน เปนตน

การมีครอบครัวที่อบอุนและมั่นคงยอมนําไปสูการทํางานที่มุงมั่นและมีความสุข มีความต้ังใจในการทํางาน มีสมาธิ สติในการทํางาน องคการควรจัดกิจกรรมรวมกับครอบครัวคนทํางาน เพื่อสรางความเปนกันเอง ความรูสึกที่ดีตอกันระหวางคนทํางาน และครอบครัวกับองคการเพื่อนําไปสูความใกลชิดกันมากขึ้น

8. สังคมดีสังคมดีคือ สังคมที่มีความสงบสุข และเอ้ือเฟอตอกัน เปนสิ่งที่พึงปรารถนาใน

ทุกสังคม การเกิดสังคมที่ดีได คนในสังคมตองมีความรักความสามัคคีเอ้ือเฟอตอชุมชนที่ตนทํางาน สงเสริมใหมีความเอ้ือเฟอตอชุมชนที่ทํางานและที่พักอาศัย มีสภาพแวดลอมที่ดี ทุกคนในสังคมตองมีความรักความสามัคคีตอกัน มีความปรารถนาดีตอผูอ่ืน มีความหวงใยตอปญหาและสิ่งแวดลอมรอบตัวชวยเหลือสังคมรอบขาง ซึ่งหากสังคมรอบขางดี องคการที่อยูในสังคมนั้นก็มีความสุขไปดวย

แนวทางการดําเนินงานในหนวยงานเพื่อใหเกิดสังคมที่ดีนั้น เปนสิ่งที่ทุกฝายตองรวมมือกัน เพื่อสรางความรักความสามัคคีและลดความขัดแยงในที่ทํางาน การชวยกันดูแลแกไขสภาพแวดลอมในการทํางาน เพื่อใหเกิดความสุขและความพรอมในการทํางาน เชน กิจกรรมการแขงขันกีฬาสีภายใน กิจกรรมการทําความสะอาด 5 ส กิจกรรมที่ทํารวมกับชุมชนในวันสําคัญตางๆ การมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชน เปนตน

หลักความสุขในการทํางาน 8 ประการนั้น ใหความสําคัญทั้งระดับตัวบุคคลระดับครอบครัว และระดับสังคม ซึ่งเปนหลักที่สําคัญและเชื่อมโยงกัน ถาบุคคลมีความสุข ยอมทําใหครอบครัวมีความสุข เมื่อครอบครัวมีความสุขยอมทําใหสังคมมีความสุข

สุภาณี สุขะนาคินทร (2550) ไดกลาววา องคประกอบของความสุขประกอบดวย4 องคประกอบ ไดแก

1. ความสุขทางกาย หมายถึง รางกายแข็งแรง คลองแคลว ไมเปนโรค ไมพิการ มีเศรษฐกิจพอเพียง

2. ความสุขทางจิต หมายถึง จิตใจที่มีความสุข รื่นเริง คลองแคลว ไมติดขัด มีความเมตตา

3. ความสุขทางสังคม หมายถึง การอยูรวมกันดวยดี มีครอบครัวอบอุน ชุมชนเขมแข็งสังคมมีความยุติธรรม มีระบบบริการในสังคมที่ดี

Page 21: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

13

4. ความสุขทางปญญา หมายถึง ความสุขที่เกิดขึ้นเมื่อทําความดี หรือจิตสัมผัสกับสิ่งที่มีคุณคา

พิสมัย วัฒนาวรสกุล (2551) ไดใหทัศนะเก่ียวกับปจจัยของความสุขวา ความสุขนั้นประกอบดวยความผาสุก (Well-being) 4 ประการ ไดแก

1. ความผาสุกทางกาย (Physical Well-being) ไดแก ความจําเปนพื้นฐานหรือปจจัย 4 คือ อาหาร ที่อยูอาศัย สุขอนามัย เครื่องนุงหม รวมทั้งความจําเปนอ่ืนๆ เชน การขนสงการคมนาคมตางๆ การทองเที่ยวพักผอนหยอนใจ สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ เปนตน

2. ความผาสุกทางใจ (Mental Well-being) ไดแก ความมีอิสระ ความสันโดษความพอดี การมีสุขภาพจิตดี ราเริง แจมใส ปฏิบัติตามหลักคําสอนของศาสนา มีความเครียดนอยมีความสุขไดงาย เห็นความสําคัญของคุณคา และความดี

3. ความผาสุกทางสังคม (Social Well-being) เชน ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ความมั่นคงในชีวิต เชน มีเงินออม มีสวัสดิการที่ดี ความเอ้ืออาทรมีน้ําใจของชุมชนชุมชนเขมแข็ง โรงเรียนดี ลูกหลานมีโอกาสทางการศึกษาสูง มีการอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม มีสิ่งแวดลอมที่ดีทางธรรมชาติและทางสังคม มีความเสมอภาคและความเปนธรรมทางสังคมสังคมสันติธรรม ปราศจากอบายมุข และไมมีการคอรัปชั่น

4. ความผาสุกทางจิตวิญญาณ (Spiritual Well-being) เชน การปฏิบัติตามระบบมัชฌิมาปฏิปทา (ทางสายกลาง) หรือมรรค เพื่อการพนทุกข การพัฒนาคุณภาพ สมรรถภาพและสุขภาพของจิต พัฒนาทางปญญาจนรูจริงแกไขปญหาได ลดความโลภ และความเห็นแกตัว

สรุปไดวา องคประกอบของความสุข หมายถึง สิ่งตางๆ ที่ตอบสนองความตองการของบุคคลสงผลใหบุคคลผูนั้นเกิดความสุขในการดําเนินชีวิตและการทํางานของตนเองการทํางานอยางมีความสุข คือการมีความคิดเชิงบวก การไมมีความเครียดหรือความกังวลใจ การมีความจริงใจกับเพื่อนรวมงาน ความสามัคคี การสรางสัมพันธที่ดี รวมทั้งการผูกมิตรและการสื่อสารที่ชัดเจน เมื่อสิ่งเหลานี้ไดรวมกันแลว ก็จะทําใหเกิดความสุขในการทํางาน

2.1.3 แนวคิดเกี่ยวกับความสุขในการทํางานความสุขในการทํางานตามแนวคิดของ Manion (2003, อางถึงใน ประทุมทิพย

เกตุแกว, 2551: 39-45) หมายถึง ผลที่เกิดจากการเรียนซึ่งเปนผลตอบสนองจากการกระทํา การสรางสรรคของตนเอง มีความปลาบปลื้มใจ นําไปสูการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ โดยคํานึงถึงการรับรู การแสดงออก การปฏิบัติงานดวยความรูสึกอยากที่จะทํางาน บุคลากรมีความผูกพันกันและมีความพึงพอใจที่ไดปฏิบัติงานรวมกัน สําหรับความสุขในการทํางานเปนการแสดง

Page 22: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

14

อารมณในทางบวก เกิดความสนุกสนาน แสดงพฤติกรรมใหการชวยเหลือซึ่งกันและกัน มีความคิดสรางสรรค การตัดสินใจที่ดี สัมพันธภาพระหวางบุคคล เกิดความรักในงานและมีความยึดมั่นในองคการสูง ซึ่งมุงอธิบายดวยปจจัยหรือองคประกอบของความสุข 4 องคประกอบ ไดแก

1. การติดตอสัมพันธ (Connection) หมายถึง การรับรูพื้นฐานที่ทําใหเกิดความสัมพันธของบุคลากรในสถานที่ทํางาน โดยที่บุคลากรมารวมกันทํางาน เกิดสังคมการทํางานขึ้น เกิดสัมพันธภาพที่ดีกับบุคลากรที่ตนปฏิบัติงาน ใหความรวมมือชวยเหลือซึ่งกันและกัน การสนทนาพูดคุยอยางเปนมิตร เกิดมิตรภาพระหวางปฏิบัติงานกับบุคลากรตางๆ และความรูสึกเปนสุข ตลอดจนรับรูวาไดอยูทามกลางเพื่อนรวมงานที่มีความรักและความปรารถนาดีตอกัน

2. ความรักในงาน (Love of The Work) หมายถึง การรับรูความรูสึกรักและผูกพันอยางเหนียวแนนกับงาน รับรูวาตนมีพันธกิจในการปฏิบัติงานใหสําเร็จ มีความยินดีในสิ่งที่เปนองคประกอบของงานกระตือรือรน ดีใจเพลิดเพลินในการที่จะปฏิบัติงานและปรารถนาที่จะปฏิบัติงานดวยความเต็มใจ รูสึกเปนสุขเมื่อไดปฏิบัติงาน มีความภูมิใจที่ตนมีหนาที่รับผิดชอบในงาน

3. ความสําเร็จในงาน (Work Achievement) หมายถึง การรับรูวาตนปฏิบัติงานไดบรรลุตามเปาหมายที่กําหนดไว โดยไดรับความความสําเร็จในการทํางาน ไดรับมอบหมายใหทํางานที่ทาทายใหสําเร็จ มีอิสระในการทํางาน เกิดผลลัพธการทํางานไปในทางบวก ทําใหรูสึกมีคุณคาในชีวิต เกิดความภาคภูมิใจในการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงสิ่งตางๆ เพื่อปฏิบัติงานใหสําเร็จมีความกาวหนาและทําใหองคการเกิดการพัฒนา

4. การเปนที่ยอมรับ (Recognition) หมายถึง การรับรูวาตนเองไดรับการยอมรับและความเชื่อถือจากผูรวมงาน ผูรวมงานไดรับรูถึงความพยายามเก่ียวกับเรื่องงานที่ไดปฏิบัติของตนและไดรับการยอมรับจากผูบังคับบัญชาในการปฏิบัติงาน ไดรับความคาดหวังที่ดีในการปฏิบัติงานและความไววางใจจากผูรวมงาน แลกเปลี่ยนประสบการณกับผูรวมงานตลอดจนไดใชความรูอยางตอเนื่อง

ความสุขในการทํางานมีสวนชวยใหผูบริหารสามารถนําไปพิจารณาในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงาน ที่สงเสริมใหบุคลากรเกิดความรูสึกอยากทํางาน จัดสภาพแวดลอมใหจูงใจ อยากที่จะทํางาน ซึ่งมีผลใหบุคลากรเกิดความยินดีในงานที่ทํา มีสวนรวมในงาน และเกิดความสุขในงานตามมา นอกจากนี้ความสุขยังเปนพลังของอารมณในทางบวกความรูสึกสดชื่นมีชีวิตชีวา ประสบการณความสุข ความสนุกสนานในการทํางาน คือ ผลงานบรรลุ

Page 23: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

15

ตามเปาหมายที่วางไว เกิดการคงอยูในงานมีความต้ังใจปฏิบัติงานใหมีคุณคาและประสิทธิภาพตอไป

Gavin and Mason (2004, อางถึงใน ประทุมทิพย เกตุแกว, 2551: 40) กลาวถึงความสุขวาเปนผลจากความรูสึกภายในของแตละคน เปนผลทําใหเกิดความรูสึกทางบวก เชนชื่นชอบ พึงพอใจ โดยความสุขประกอบดวย 3 องคประกอบ คือ

1. ความอิสระ คือ บุคคลมีความสามารถที่คิด เลือกในสิ่งที่ตองการและอํานาจเสรีภาพในการตัดสินใจ ทําใหตนมีความพึงพอใจในชีวิต สามารถควบคุมและกําหนดการกระทําของตนใหตอบสนองความสุขของตน

2. ความรูเปนผลสําคัญในการตัดสินใจในสิ่งที่ตองการไดถูกตอง รูวาควรใชความรูอยางไร เกิดความคิดเชิงสรางสรรคและใชความรูใหเกิดประโยชน มีการติดตอสัมพันธกับบุคคลอ่ืน เกิดการยอมรับและไววางใจจากบุคคลรอบขาง

3. ความสามารถเปนลักกษณะเฉพาะตัวของแตละบุคคล สามารถฝกฝนไดดวยการจัดอบรมตางๆ ใหเกิดความรูความชํานาญ สงเสริมใหเกิดวิสัยทัศน และประสบการณที่กวางขวางขึ้น

Warr (1990, อางถึงใน ชนินันท จันทรสวาง, 2553: 4) กลาวถึง ความสุขในการทํางานวาเปนความรูสึกที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของบุคคลที่ตอบสนองตอเหตุการณที่เกิดขึ้นในการทํางานหรือประสบการณของบุคคลในการทํางาน ประกอบดวย

1. ความรื่นรมยในงาน เปนความรูสึกของบุคคลที่เกิดขึ้นในขณะทํางานโดยเกิดความสนุกในการทํางาน ปราศจากความวิตกกังวลใดๆ ในการทํางาน

2. ความพึงพอใจในงาน เปนความรูสึกของบุคคลที่เกิดขึ้นในขณะทํางาน โดยเกิดจากความรูสึกเพลิดเพลิน ชอบใจ พอใจ เต็มใจ สนใจ มีความถูกใจ และยินดีในการปฏิบัติงานในหนาที่ของตน

3. ความกระตือรือรนในการทํางาน เปนความรูสึกของบุคคลที่เกิดขึ้นในขณะทํางาน โดยมีความรูสึกวาอยากทํางาน มีความต่ืนตัว ทํางานไดอยางคลองแคลวรวดเร็วกระฉับกระเฉง มีชีวิตชีวาในการทํางาน

2.1.4 ผลของการมีความสุขในการทํางานการที่บุคคลมีความสุขในการทํางานทําใหผลการปฏิบัติงานดี และทําใหบุคคลมี

ความคิดสรางสรรคในการทํางาน จากการที่บุคคลมีอารมณในทางบวกทําใหมองโลกในแงดี ทําใหมีความมั่นใจในการทํางานและมีความกลาในการเผชิญความยุงยากหรือกิจกรรมใหม และเขาไป

Page 24: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

16

มีสวนรวมในการแกปญหา นอกจากนี้คนที่มีความสุขในการทํางานยังแสดงออกถึงพฤติกรรมการเปนสมาชิกขององคการที่ดี และมีความเปนมิตร ชอบที่จะชวยเหลือเพื่อนรวมงาน อาสางาน อีกทั้งยังปฏิบัติตามกฎขององคการ และใหคําแนะนําเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานอีกดวย และผลที่ตามมาคือ ทําใหลดการขาดงานและการลาออก (Manion, 2003)

การมีความสุขในการทํางานอาจทําใหองคการไดประโยชนอยางมากมายเทากับที่บุคลากรแตละคนจะไดรับ ซึ่งสิ้นเปลืองคาใชจายเพียงเล็กนอย แตผลดีที่ไดรับกลับมาอยางมากมายมหาศาล อันจะเปนผลดีตอทั้งองคการ การบริหารจัดการและตอบุคลากรดังตอไปนี้(Ketchian, 2003)

1. ประโยชนตอองคการ1.1 การมีความสุขในการทํางานทําใหผลิตผลเพิ่มขึ้น คนที่มีความสุขในการ

ทํางานเปนคนที่ทํางานไดผลิตผลมากกวา เมื่อเวลาผานไป ความสามารถในการทํางานก็จะเพิ่มขึ้นความสุขไมเพียงแตพัฒนาปริมาณใหมากขึ้นแตเปนการเพิ่มคุณภาพ ดวยการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ การทุมเทความต้ังใจทําใหดีที่สุดจากคุณคา ความเชื่อและความยึดมั่นผูกพันที่บุคคลมีใหกับงานนั้น

1.2 การมีความสุขในการทํางานทําใหความสามารถในการตัดสินใจดีขึ้นเนื่องจากความสุขทําใหความสับสนจากความเครียดและความไมแนนอนลดลง บุคคลจะหยุดความหวาดกลัวตอผลที่ตามมาจากการแกปญหา แทนการสรางปญหา และรูสึกดีเมื่อไดทํางานอยางดีที่สุด

1.3 การมีความสุขในการทํางานทําใหลูกคาไดรับประสบการณความสุข สิ่งหนึ่งที่คนที่มีความสุขไดทําใหองคการมีความแตกตางในสายตาของลูกคาและชุมชน โดยคนที่มีความสุขจะดูแลลูกคาอยางดี ดวยความสุขุมรอบคอบ ทั้งในสิ่งที่พูด ในน้ําเสียงที่ใชจะทําใหผูคนรูสึกดี และจะดึงดูดลูกคาใหมใหมาใชบริการ

1.4 การมีความสุขในการทํางานทําใหลดการขาดงานและการลาปวยเนื่องจากความสุขมีความสัมพันธกับสุขภาพ คนที่มีความสุขมีแนวโนมที่จะปวยนอยกวา และหายปวยไวกวา

1.5 การมีความสุขในการทํางานทําใหบุคคลมีพลังงานพรอมที่จะทํางานในสิ่งที่รักและความสุขสามารถสงผานไปยังผูอ่ืนได และพลังงานดังกลาวจะแผขยายไปทั่วทั้งองคการ

Page 25: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

17

1.6 การมีความสุขในการทํางานทําใหการสื่อสารดีขึ้น ซึ่งสิ่งสําคัญสําหรับการดําเนินธุรกิจคือการสื่อสาร การสื่อสารที่ดีทําใหองคการประสบความสําเร็จ คนที่มีความสุขในการทํางานสามารถสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวา

1.7 การมีความสุขในการทํางานสงเสริมการทํางานเปนทีม การสงเสริมใหบุคลากรมีความสุขเปนการเพิ่มความเขมแข็งใหความสัมพันธภายในกลุม จากประสบการณการใหความรวมมือในการทํางาน

1.8 การมีความสุขในการทํางานทําใหความยึดมั่นผูกพันตอองคการเพิ่มขึ้นเมื่อบุคคลรูสึกวาเปนสวนหนึ่งขององคการ และไดทํางานที่มีคุณคาใหแกองคการ

2. ประโยชนตอการบริหาร2.1 การมีความสุขในการทํางาน ทําใหเกิดนวัตกรรมใหมในการจั ดการ

เนื่องจากผูคนไมไดถูกจูงใจดวยเงินเสมอไป แตถูกดึงดูดดวยความผูกพันที่บุคคลมีตองาน ทําใหองคการเปนผูนําในการแขงขัน

2.2 การมีความสุขในการทํางานทําใหองคการไดรับผลกําไรสูง เนื่องจากบุคลากรมีประสิทธิภาพ การลาออกนอย และทําใหการทํางานเปนทีมดี

2.3 การมีความสุขในการทํางานทําใหวิสัยทัศนขององคการเปนจริง บุคคลจะคํานึงถึงและทําใหเปนจริงในการทํางานทุกวัน

2.4 การมีความสุขในการทํางานทําใหองคการเปนที่ รู จักของสั งคมภาพลักษณขององคการดีเปนที่ดึงดูดสาหรับบุคลากรที่มีความสามารถ

2.5 การมีความสุขในการทํางานทําใหบุคลากรเอาใจใสในการทํางาน มีแรงจูงใจในการทํางาน บรรยากาศในการทํางานดี และคุณภาพของงานพัฒนาขึ้นจากทัศนคติที่ดีบรรยากาศแหงความเปนเพื่อนทําใหผลิตภาพของงานเพิ่มขึ้น

2.6 การมีความสุขในการทํางานสงเสริมการบังคับบัญชา คนที่มีความสุขไมตอตานการบริหารจัดการ

2.7 การมีความสุขในการทํางานทําใหเพิ่มคุณคาการเปนผูนํา โดยการใหโอกาสบุคคลไดสรางสรรคความหมายของชีวิตที่มากกวาเงิน ตอทั้งตัวเอง และครอบครัว

3. ประโยชนตอตัวบุคคล3.1 การมีความสุขในการทํางานทําใหมีความสุขตอเนื่องที่บาน เนื่องจากเมื่อ

เสร็จจากการทํางานกลับบานดวยความสุข การมีความสุขทําใหบุคคลมีสภาพจิตใจที่แข็งแรงการที่บุคคลมีความสุขที่บานทําใหเขาไดพักผอนอยางเต็มที่และพรอมที่จะทํางานในวันใหม

Page 26: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

18

3.2 การมีความสุขในการทํางานทําใหการควบคุมอารมณดีขึ้น ทําใหทักษะในการปรับตัวดีขึ้นและควบคุมตนเองไดดีขึ้น ทําใหมีความฉลาดทางอารมณ

3.3 การมีความสุขในการทํางานเพิ่มความสนใจในการทํางาน ทําใหแกปญหาไดดีขึ้น

3.4 การมีความสุขในการทํางานทําใหบุคคลรักงาน ความสุขในการทํางานทําใหสิ่งแวดลอมในการทํางานดีทําใหรักในสิ่งที่เขาทํา และไดรับประสบการณเก่ียวกับความรูสึกรักงานของตนเอง

3.5 การมีความสุขในการทํางานทําใหคุณคากับตําแหนงที่บุคคลดํารงอยู ทําใหรูสึกถึงคุณคาในสถานะตําแหนงในการทํางาน และรูสึกดีเก่ียวกับหนาที่และความรับผิดชอบ

3.6 การมีความสุขในการทํางานทําใหมีความรูสึกปลื้มใจ ทําใหบุคคลรูสึกดีกับตัวเอง ที่ไดทําสิ่งที่ดีใหกับองคการ เปนการสรางความแตกตาง

การมีความสุขในการทํางานกอใหเกิดผลดีซึ่งทําใหผลิตภาพในงานดีขึ้นดวยเหตุผลดังนี้

1. คนที่มีความสุขทํางานกับคน อ่ืนได ดี สนุกที่ จะอยู ในกลุ มคนและมีความสัมพันธที่ดีในที่ทํางานซึ่งทําใหการทํางานเปนทีมดี มีความสัมพันธที่ดีกับผูรวมงาน ทําใหลูกคาพึงพอใจ

2. ถาผลิตภาพขึ้นอยูกับความสามารถในการสรางสรรคความคิดใหม การที่บุคคลมีอารมณดีในตอนเชาจะทําใหมีความคิดสรางสรรคในวันนั้น และเชนเดียวกับวันตอๆ ไปมันเปนเหมือนกระบวนการจําเมื่อบุคคลรูสึกดีทําใหยืดหยุนในการทํางาน ทํางานไดอยางราบรื่น มีความคิดที่ไมเหมือนใคร ซึ่งจะเปนตัวบมเพาะใหวันตอไปดีดวย

3. คนที่มีความสุขจะจัดการกับปญหาแทนการบนถึงปญหาโดยไมหาทางแกไขเมื่อคนไมชอบงานปญหาเล็กๆ ก็จะกลายเปนปญหาใหญ เปนการยากที่จะแกปญหาโดยปราศจากความเจ็บปวดทางใจ หรือการบนเปนสิ่งแรก เมื่อคนมีความสุขในการทํางานจะว่ิงเขาหาความวุนวายนั้นแลวแกปญหา

4. คนที่มีความสุขในการทํางานมีพลังงานมา กกวา และทํางานอยางมีประสิทธิภาพในทุกสิ่งที่ทํา

5. คนที่มีความสุขในการทํางานจะเปนคนที่มองโลกในแงดี คิดในทางบวก ซึ่งการมองโลกในแงดีทําใหประสบความสําเร็จและสรางผลงาน จากความเชื่อวาหากมีความเชื่อวาทําไดหรือทําไมได มันจะเปนจริงตามนั้น

Page 27: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

19

6. คนที่มีความสุขในการทํางานจะมีแรงจูงใจสูง ซึ่งจะทําใหผลิตภาพสูงตามความย่ังยืนในการสรางแรงจูงใจในการทํางานคือ การมีความสุข และชอบในสิ่งที่ทํา

7. คนที่มีความสุขในการทํางานมักไมขาดงาน เนื่องจากการทํางานทําใหบุคคลมีความสุข ดังนั้นจึงไมขาดงาน ถาคนไมชอบงานที่ทํา ความเครียดและความเบ่ือหนายจะทําใหเกิดแผลในกระเพาะอาหาร มะเร็งหรือเบาหวาน จากผลกระทบของความเครียดในงานตอสุขภาพ เมื่อไมชอบงานที่ทําอยู

8. คนที่มีความสุขในการทํางานมีการเรียนรูไว เมื่อคนมีความสุขและผอนคลายคนก็พรอมที่จะเรียนรูสิ่งใหมๆ

9. คนที่มีความสุขมักมีความวิตกกังวลนอยในการทํางานผิดพลาด และทํางานผิดพลาดนอยเนื่องจากการมีความรับผิดชอบ ยอมรับเมื่อเกิดความผิดพลาด เรียนรูจากความผิดพลาดนั้นและพรอมที่แกไขในสิ่งที่ผิดพลาด

10. คนที่มีความสุขมีการตัดสินใจที่ดี คนที่ไมมีความสุขในการทํางานอยูในภาวะวิกฤติมีมุมมองแคบ ไมมองภาพกวางใชสัญชาติญาณความอยูรอด ตัดสินใจโดยมองระยะสั้นในการตัดสินใจ จะคํานึงเพียงสถานการณเฉพาะหนาที่ตัดสินใจเทานั้น ตางจากคนที่มีความสุข ซึ่งจะมีการตัดสินใจที่ดีกวาและใหความสําคัญกับงานมากกวา จะเห็นไดวาการมีความสุขในการทํางานกอใหเกิดผลดีและประโยชนอยางมากมาย

โดยสามารถสรุปความสําคัญของความสุขในการทํางานไดคือ ความสุขในการทํางานจะทําใหบุคคลอยากทํางาน และใชศักยภาพที่มีอยูในการทํางานอยางเต็มที่ มีความต้ังใจและมีความรับผิดชอบในการทํางาน ลดการขาดงาน ลดการลางานและลดการมาสาย ความสุขในการทํางานเปนการเพิ่มผลผลิตของบุคคลทําใหองคการมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ไดบรรลุเปาหมายขององคการและการรับรูปจจัยตางๆ ที่มีความสัมพันธกับความสุขในการทํางานจะทําใหหนวยงานสามารถนําไปใชในการสรางปจจัยเหลานั้นใหเกิดขึ้นเพื่อเปนประโยชนตอการทํางาน

2.2 แนวคิดประสิทธิผลการปฏิบัติงาน2.2.1 ความหมายของประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

ความหมายของประสิทธิผล (Effectiveness) ไดมีผูใหคําจํากัดความไวหลายความหมายเก่ียวกับประสิทธิผลไวดังนี้

ติน ปรัชญพฤทธิ์ (2536: 130) ระบุวา ประสิทธิผล หมายถึง ระดับที่คนทํางานสามารถปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายไดมากนอยเพียงใด

Page 28: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

20

พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542: 415) ใหความหมายของประสิทธิผลไววา ประสิทธิผล หมายถึง ผลสําเร็จ ผลที่เกิดขึ้น

สุพจน ทรายแกว (2545: 18) ไดใหความหมายไววา การทํากิจกรรมดําเนินงานขององคการสามารถสรางผลงานไดสอดรับกับเปาหมาย วัตถุประสงคที่กําหนดไวลวงหนา ทั้งในสวนของผลผลิตและผลลัพธ ที่ตรงตามความคาดหวัง ที่กําหนดลวงหนาไวมากนอยเพียงใด การมีประสิทธิผลจึงมีความเก่ียวของกับผลผลิตและผลลัพธ การดําเนินงานเปนกระบวนการวัดผลงานที่เนนดานปจจัยนําออก

จุฑารัตน สุนทรสัจจะศิลป (2546: 13) ระบุวา ประสิทธิผล หมายถึงการพิจารณาผลการปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่ต้ังไว และบังเกิดผลที่แทจริงกับประชาชนผูรับบริการในทางบวก ความสําเร็จของงานมีประสิทธิผลนั้นอาจเกิดจากการปฏิบัติงานที่ประหยัดหรือไมประหยัดทรัพยากรก็ได

ทิพวรรณ หลอสุวรรณรัตน (2547: 260) ใหความหมายของประสิทธิผล คือ ระดับของความสามารถในการตอบสนองของวัตถุประสงคของหนวยงาน หรือความสามารถในการบรรลุวัตถุประสงคของโครงการ

รุง แกวแดง (2538, อางถึงใน วิเชียร จันทะเนตร, 2558) กลาววาประสิทธิผลของการปฏิบัติงานมีความสัมพันธกับผลงานที่องคการพึงประสงค หรือหมายถึงความสําเร็จของผลการปฏิบัติงานที่เปนไปหรือบรรลุตามเปาหมายและวัตถุประสงคขององคการ ซึ่งผลสําเร็จหรือผลที่เกิดขึ้นของงานจะตองตอบสนองหรือ บรรลุตามวัตถุประสงคขององคการหรือหนวยงาน

พยอม วงศสารศรี (2542, อางถึงใน วิเชียร จันทะเนตร, 2558) กลาววาประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน หมายถึง การปฏิบัติงานที่มีคุณคาของบุคคล ซึ่งประกอบดวยศักยภาพความสามารถของบุคคล มาตรฐานในการปฏิบัติงาน ผลลัพธของงานที่ไดผานเกณฑตามที่องคการกําหนด หรือตรงตามการพรรณนางาน (Job Description) ของตําแหนงงาน

2.2.2 วัตถุประสงคการประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานวรนาค แสงมณี (2543: 154-156, อางถึงใน ปราณี กมลทิพยกุล, 2552: 20) ได

กลาววาวัตถุประสงคการประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานขององคการไวดังนี้1. เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานและรักษาประสิทธิภาพการทํางาน

การประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานเปนขอมูลยอนกลับใหแกผูถูกประเมินโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหพนักงานรูจักขอบกพรองในการปฏิบัติงานของตน เพื่อใหเกิดการยอมรับและปรับปรุงสมรรถภาพการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น สําหรับดานการรักษาระดับ

Page 29: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

21

มาตรฐานการทํางานการประเมินประสิทธิภาพผลการปฏิบัติงานจะมีบทบาทในการกระตุนหรือทําใหเกิดแรงจูงใจในการรักษาไวซึ่งการทํางานที่มีประสิทธิภาพของพนักงาน

2. เพื่อพัฒนาพนักงานการประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานสามารถนําไปประยุกตใชไดหลายวิธีใน

การที่จะสนับสนุนการพัฒนาพนักงาน เชน การกําหนดหาความจําเปนในการฝกอบรม กําหนดเสนทาง ความสําเร็จในอาชีพและการวางแผนสืบทอดตําแหนง

3. เพื่อการเปลี่ยนแปลงงานการประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานเปนเครื่องมือในการชวยตัดสินใจใน

เรื่อง การเลื่อนตําแหนง โอนยาย ลดขั้น ออกจากงาน โดยการประเมินนั้นอาจเปนมาตรฐานหรือหลักเกณฑที่แนนอนมีระบบ ทั้งนี้ เพื่อใหการเปลี่ยนแปลงงานดังกลาวเปนไปอยางมีเหตุผลและยุติธรรมกับทุกฝาย

4. เพื่อการปฏิบัติในเรื่องคาจางเงินเดือนการประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานเปนเครื่องมือในการพิจารณาความดี

ความชอบ สําหรับการขึ้นเงินเดือนประจําปแกพนักงานใหเปนไปโดยความเสมอภาคและยุติธรรม5. เพื่อตรวจสอบระบบการสรรหาและวาจาง

การประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานเปนเครื่องมือที่สามารถใชวัดความถูกตองของกระบวนการคัดเลือกพนักงานตามระบบการสรรหาและวาจางได โดยผลการประเมินจะถูกวัดโดยการเปรียบเทียบเพื่อหาความสัมพันธระหวางการประเมินการปฏิบัติงานกับคะแนนที่ไดจากการทดสอบและผลการประเมินของผูสัมภาษณ

6. เพื่อความเขาใจในการบังคับบัญชาการประเมินอยางเปนทางการและตามระยะเวลาจะกระตุนผูบังคับบัญชาให

ทําการสังเกตพฤติกรรมของผูอยูใตบังคับบัญชา การที่ถูกกระตุนโดยทัศนคติที่เหมาะสมของผูบริหารระดับสูง ผูบังคับบัญชาสามารถไดรับการจูงใจใหมีความสนใจบุคคลแตละคนและเสนอใหความชวยเหลือ และถาหากวาไดมีการดําเนินการอยางเหมาะสมแลว กระบวนการประเมินผลทั้งหมดสามารถชวยเสริมสรางสัมพันธภาพอันดีระหวางผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชาได

การประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงาน นอกจากใชเพื่อเปนเครื่องมือในการพิจารณาและตัดสินใจงานทางดานการบริหารงานบุคคล เพื่อใหเกิดเปนระบบที่เปนมาตรฐาน โดยอาศัยความรูความสามารถและผลงานของแตละบุคคลแลว ยังสามารถนํามาใชในการพัฒนาหรือเปนแนวทางในการปรับปรุงการทํางานใหมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น

Page 30: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

22

2.2.3 ประโยชนของการประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานพยอม วงศสารศรี (2542: 170-171, อางถึงใน ปราณี กมลทิพยกุล, 2552: 22)

ไดกลาววาประโยชนของการประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ไวดังนี้1. ชวยปรับปรุงการปฏิบัติงาน การประเมินจะชวยสรางและรักษาไวซึ่งระดับการ

ทํางานใหอยูในลักษณะที่นาพอใจ ขณะที่มีการประเมินและทบทวนการปฏิบัติงานของพนักงานคนใดคนหนึ่งก็อาจสงผลทําใหพนักงานคนอ่ืนพยายามปรับปรุงการปฏิบัติงานของงานใหดีขึ้น

2. ชวยพัฒนาตัวพนักงาน การประเมินอาจทําใหผูประเมินทราบวาพนักงานตองการอะไร มีโอกาสที่จะกาวหนาและพัฒนาตัวเองอยางไร ซึ่งอาจมีการจัดใหเขารับการฝกอบรมเพื่อพัฒนาความสามารถและคุณสมบัติบางอยางขึ้น

3. ชวยใหเกิดความมีสัมพันธอันดีระหวางผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชาเพราะการประเมินอยางเปนทางการและสม่ําเสมอ จะชวยกระตุนใหผูบังคับบัญชาสังเกตพฤติกรรมผูใตบังคับบัญชาและเปนการสรางมนุษยสัมพันธซึ่งกันและกัน

4. เปนโอกาสขยับขยายเปลี่ยนแปลงหนาที่การพิจารณาตัดสินใจเก่ียวกับการเลื่อนตําแหนง โยกยาย ลดขั้น และงดจาง เปนตน

5. เปนมาตรการนํามาใชพิจารณาคาจางและเงินเดือน ผลจากการประเมินจะเปนขอมูลในการพิจารณาขึ้นคาแรง และเงินเดือนของพนักงานภายในองคการ

6. ชวยฝายบุคคลวาจางพนักงาน ฝายบุคคลเปนผูคัดเลือกพนักงานเขามา ฉะนั้นเพื่อพนักงานเหลานี้ไดปฏิบัติงานแลว พบวาผลงานเปนอยางไร สงผลใหฝายบุคคลพิจารณาเปรียบเทียบจะเปนแนวทางใหฝายบุคคลปรับปรุงเครื่องมือที่ใชคัดเลือกพนักงานได

2.2.4 การวัดและประเมินประสิทธิผลพยอม วงศสารศรี (2542: 170, อางถึงใน ปราณี กมลทิพยกุล, 2552: 19) ได

กลาววา การประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงาน หมายถึง การประเมินคุณคาการทํางานของบุคคล เปนวิธีการที่ผูบังคับบัญชาบันทึกและลงความเห็นเก่ียวกับการปฏิบัติงาน ในระยะเวลาที่กําหนดไว เพื่อเปนเครื่องประกอบการพิจารณาตอบแทนความดีความชอบแกผูปฏิบัติงานขอพิจารณา ขั้นตอนในการประเมินการปฏิบัติงานมีดังนี้

1. มาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานเปนสิ่งที่กําหนดขึ้นเพื่อใชจัดการการปฏิบัติงานของพนักงาน มาตรฐานจะเปนบรรทัดฐานใหผูบังคับบัญชาและผูใตบังคับบัญชาทําการตกลงวาจะทําตามนั้นไดหรือไม การพรรณนางาน (Job description) เปนจุดเริ่มตนของการเขียนมาตรฐานการปฏิบัติงาน

Page 31: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

23

2. การปฏิบัติงานและศักยภาพ ประเมินอาจมุงวัดการทํางานจริงๆ หรือมุงที่จะวัดบุคคลนั้นมีศักยภาพเพียงใด (ศักยภาพ หมายถึง คุณสมบัติประจําตัว ไดแก ความถนัดความสามารถและความสนใจที่มีอยูของแตละบุคคล) ทั้งนี้ เพื่อพิจารณาที่จะเลื่อนตําแหนงผูมีความสามารถและมีการปฏิบัติงานที่ดีใหกาวไปสูตําแหนงที่สูงขึ้น

3. การกําหนดผูประเมิน โดยปกติแลวไมวาจะเปนองคการธุรกิจหรือของรัฐก็ตามผูจัดการหรือผูบังคับบัญชาจะเปนผูทําการประเมินการปฏิบัติงานของพนักงานที่อยูภายใตบังคับบัญชาของตน แตบางครั้งผูบังคับบัญชาใกลชิดอาจไมรูเทาเพื่อนหรือผูบังคับบัญชาฝายอ่ืน ฉะนั้นจึงมีการประเมินจากเพื่อนและการใชกลุมประเมิน

4. การตระหนักถึงคุณสมบัติของผูประเมินที่ดี ในการประเมินการปฏิบัติงานนั้นผูประเมินนับวามีความสําคัญ ไดมีการศึกษาคุณสมบัติของผูประเมินที่ดี ไวดังนี้ 1) มีเชาวและสติปญญาดี 2) มีความสามารถทางวิชาการ 3) มีอารมณมั่นคง 4) มีประสบการณทางสังคมสูง5) มีความรอบรู 6)รักความยุติธรรม 7) เขาใจสภาพการณตางๆ

สําหรับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของขาราชการนั้น เพื่อใหเปนไปตามมาตรา 76วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2552 และเพื่อใหการประเมินผลการปฏิบัติราชการเปนไปโดยโปรงใส เปนธรรม และตรวจสอบได ก.พ. จึงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการพลเรือนสามัญไว โดยอธิบายวา การประเมินผลการปฏิบัติราชการเปนการประเมินความสําเร็จของงานที่ผูปฏิบัติงานรายบุคคล ปฏิบัติไดจริงตลอดรอบการประเมินตามวิธีการที่องคการกําหนด เปรียบเทียบกับเปาหมายผลการปฏิบัติราชการตามแผนการปฏิบัติราชการ และมาตรฐานผลงานที่วางไว โดยผลที่ไดจากการประเมินนําไปประกอบการพิจารณา ตอบแทนความดีความชอบแกผูปฏิบัติงาน และทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ไดกําหนดหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของขาราชการดังตอไปนี้

1. การประเมินผลการปฏิบัติงานราชการ ใหดําเนินการประเมินปละ 2 รอบ ตามปงบประมาณ ดังนี้

รอบที่ 1 ต้ังแตวันที่ 1 ตุลาคม – 31 มีนาคม ของปถัดไปรอบที่ 2 ต้ังแตวันที่ 1 เมษายน – 30 กันยายน ของปเดียวกัน

2. การประเมินผลการปฏิบัติราชการจะพิจารณาจากองคประกอบ 3 ดาน คือ2.1 ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน หมายถึง ปริมาณผลงาน คุณภาพผลงาน ความ

รวดเร็ว หรือตรงตามเวลาที่กําหนด หรือความประหยัด หรือความคุมคาของการใชทรัพยากร

Page 32: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

24

2.2 ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ หรือสมรรถนะ หมายถึง คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่กําหนดเปนคุณลักษณะรวมของขาราชการพลเรือนทั้งระบบ เพื่อเปนการหลอหลอมคานิยมและพฤติกรรมที่พึงประสงครวมกัน ตามที่ก.พ. กําหนด 5 ดาน ประกอบดวย

1) การมุงผลสัมฤทธิ์ หมายถึงความมุงมั่นที่จะปฏิบัติหนาที่ราชการใหดี หรือใหเกินมาตรฐานที่มีอยู รวมถึงการสรางสรรค พัฒนาผลงานตามเปาหมายที่ยาก และทาทาย

2) การบริการที่ดี หมายถึง ความต้ังใจและพยายามในการใหบริการตอประชาชน ขาราชการ หรือหนวยงานอ่ืนที่เก่ียวของ

3) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ หมายถึง ความสนใจใฝรู สั่งสมความสามารถของตนในการปฏิบัติหนาที่ดวยการศึกษา คนควา และพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องจนสามารถประยุกตใชความรูเขากับการปฏิบัติราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์

4) จริยธรรม การยึดมั่นในความถูกตองชอบธรรม หมายถึงการดํารงตนและความประพฤติปฏิบัติอยางถูกตองเหมาะสมทั้งตามกฎหมาย คุณธรรม จรรยาบรรณแหงวิชาชีพและจรรยาบรรณแหงขาราชการ

5) การทํางานเปนทีม หมายถึง ความต้ังใจที่จะทํางานรวมกันกับผูอ่ืน เปนสวนหนึ่งของทีม หรือหนวยงาน รวมทั้งความสามารถในการสรางและรักษาสัมพันธภาพกับสมาชิกในทีม

2.3 ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ หมายถึง การชี้วัดผลการปฏิบัติงานที่ผูปฏิบัติงานรับผิดชอบ จากการประเมินผลในดานตางๆ ไดแก ขอมูลการลากิจ ลาปวย การมาทํางานสาย การรักษาวินัยตามพระราชบัญญัติวินัยขาราชการกรมราชทัณฑ พ.ศ.2482

2.3 ผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวของงานวิจัยเกี่ยวกับความสุขในการทํางานจงจิต เลิศวิบูลยมงคล (2546) ศึกษาเรื่องระดับความสุขในการทํางานของพยาบาล

ประจําการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ และศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคล การไดรับการเสริมสรางพลังอํานาจในแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ กับความสุขในการทํางานของพยาบาลประจําการ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุมตัวอยางเปนพ ยาบาลประจําการระดับปฏิบัติการจํานวน 375 คน ผลการวิจัยพบวา 1. ความสุขในการทํางานของพยาบาลประจําการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อยูในระดับสูง 2. ปจจัยสวนบุคคลดานอายุมีความสัมพันธทางบวกกับความสุขในการทํางานของพยาบาลประจําการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อยาง

Page 33: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

25

มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สถานภาพสมรสมีความสัมพันธกับความสุขในการทํางาน รวมถึงเรื่องของการศึกษามีความสัมพันธทางบวกกับความสุขในการทํางาน 3. การเสริมสรางพลังอํานาจในงาน แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ มีความสัมพันธทางบวกกับความสุขในการทํางานของพยาบาลประจําการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

พรรณิภา สืบสุข (2548) ศึกษาเรื่องความสัมพันธระหวางการรับรูลักษณะงาน ภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงของหัวหนาหอผูปวย กับความสุขในการทํางานของพยาบาลประจําการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ วัตถุประสงคในการวิจัยคือ เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการรับรูลักษณะงานและภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงของหัวหนาหอผูปวยกับความสุขในการทํางานของพยาบาลประจําการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ ผลการวิจัยพบวา 1. ความสุขในการทํางานของพยาบาลประจําการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐกับการสื่อสารที่มีคุณภาพอยูในระดับสูงที่ทําใหเกิดการชวยเหลือซึ่งกันและกัน รวมถึงเรื่องของการสรางความสามัคคีในหนวยงานที่จะสงผลตอการปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่ต้ังไวขององคการ 2. การรับรูลักษณะงานมีความสัมพันธทางบวกกับความสุขในการทํางานของพยาบาลประจําการ ในระดับปานกลาง และ 3. ภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงของหัวหนาหอผูปวยมีความสัมพันธทางบวกกับความสุขในการทํางานของพยาบาลประจําการในระดับปานกลาง

ประทุมทิพย เกตุแกว (2551) ศึกษาเรื่อง ความสัมพันธระหวางการรับรูคุณลักษณะงานความสามารถในการเผชิญและฟนฝาอุปสรรคกับความสุขในการทํางานของพยาบาลงานพยาบาลผาตัด โดยกลุมตัวอยางในการวิจัยเปนพยาบาลจํานวน 162 คน ผลการศึกษาพบวาพยาบาลมีการรับรูคุณลักษณะงานและความสุขในการทํางานอยูในระดับสูง ซึ่งมีคาความสุขเฉลี่ยโดยรวมและรายไดทุกดาน ไดแก ดานการติดตอสัมพันธ ดานความรักในงาน ดานความสําเร็จในงาน และดานการเปนที่ยอมรับอยูในระดับสูง

อภิชาต ภูพานิช (2551) ศึกษาเรื่อง การใชดัชนีวัดระดับความสุขในการทํางานของบุคลากรสังกัดสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนการศึกษาเชิงพรรณนา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาทัศนคติตอความสุขในการทํางานระดับความสุขในการทํางานของบุคลากรสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ซึ่งกลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง อยูในชวงอายุ 35-40 ป การศึกษาระดับปริญญาตรี หรือเทียบเทา ซึ่งผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางมีทัศนะตอความสุขในการทํางานและระดับความสุขในการทํางานในระดับปานกลาง โดยพบวาทัศนะความสุขในการทํางานที่มีคามากที่สุด ไดแก ดานความสัมพันธทางสังคมภายในหนวยงานและที่มีคานอยที่สุด ไดแก ดานสวัสดิการที่มหาวิทยาลัยจัดให

Page 34: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

26

กัญชพร ผาสุก (2552) ศึกษาเรื่อง สุขภาวะในที่ทํางานตามทัศนะของพนักงาน บริษัทไลออน (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง อายุระหวาง 26-35 ป การศึกษาระดับปริญญาตรี ตําแหนงปฏิบัติการ มีภาระหนี้สินและมีผูอยูในอุปการะ 1-3 คน ซึ่งกลุมตัวอยางมีความเขาใจในเรื่องสุขภาวะในที่ทํางานระดับปานกลาง และมีการรับรูเก่ียวกับกิจกรรมสุขภาวะมาก ซึ่งองคประกอบที่ใหความสําคัญมากที่สุดคือ ความมีน้ําใจกิจกรรมสุขภาวะที่มีการเขารวมมากที่สุด คือ การสงเสริมการออม สวนกิจกรรมสุขภาวะที่มีการเขารวมมากที่สุดและมีความสุขมากที่สุด คือ กิจกรรมทางศาสนา

ชนินันท จันทรสวาง (2553) ศึกษาเรื่อง ความสุขในการทํางานของพนักงานบริษัทเดอะแวลลูซิสเตมส จํากัด โดยทําการสุมตัวอยางกับพนักงานบริษัทเดอะแวลลูซิสเตมส จํากัดจํานวน 179 คน ผลการศึกษาพบวา พนักงานมีระดับความสุขในการทํางานอยูในระดับปานกลางมีระดับความคิดเห็นตอปจจัยความสุขในการทํางานอยูในระดับเห็นดวย จํานวน 4 ดาน ซึ่งแสดงวาองคการดําเนินงานใน 4 ดานนี้อยูในระดับที่ดี โดยสามารถเรียงลําดับระดับความคิดเห็นตอปจจัยความสุขในการทํางานทั้ง 4 ดานจากมากไปหานอยไดดังนี้ ดานคานิยมรวมขององคการดานความสัมพันธในที่ทํางาน ดานงาน และดานผูนํามีเพียงปจจัยเดียว ที่มีคาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นอยูในระดับเฉยๆ คือ ดานคุณภาพชีวิตในการทํางาน ซึ่งองคการควรแกไข ปรับปรุงวิธีการดําเนินงานในดานนี้เพื่อใหพนักงานมีคาเฉลี่ยระดับความคิดเห็นอยูในระดับที่สูงขึ้น สวนปจจัยความสุขในการทํางานที่มีผลตอระดับความสุขในการทํางาน คือ ปจจัยความสุขในการทํางานดานผูนํา ดานความสัมพันธในที่ทํางาน ดานงาน และคุณภาพชีวิตในการทํางาน สวนปจจัยความสุขในการทํางานดานคานิยมรวมขององคการไมมีผลตอระดับความสุขในการทํางาน

เพ็ญพิชชา ต้ังมาลา (2553) ศึกษาเรื่อง ความสุขในการทํางานของพนักงานกองบํารุงรักษากลางโรงไฟฟาฟาแมเมาะ จังหวัดลําปาง กลุมตัวอยางเปน พนักงานที่ปฏิบัติงานในกองบํารุงรักษากลางโรงไฟฟาแมเมาะ จังหวัดลําปาง จํานวน 272 คน โดยแบงแบบสอบถามออกเปน 2 สวน คือ แบบสอบถามปจจัยสวนบุคคล และแบบสอบถามระดับความคิดเห็นเก่ียวกับปจจัยที่กอใหเกิดความสุขในการทํางาน ผลการศึกษาพบวา ภาพรวมความสุขในการทํางานของพนักงานอยูในระดับสูง โดยมีความคิดเห็นตอปจจัยที่กอใหเกิดความสุขในการทํางานอยูในระดับเห็นดวยอยางย่ิงตอปจจัยดานคานิยมรวมขององคการ ปจจัยดานลักษณะงาน ดานคุณภาพชีวิตในการทํางานดานความสัมพันธในที่ทํางานและดานผูนํา พนักงานมีความคิดเห็นในระดับเห็นดวย

พิทักษ พิสัยพันธุ (2553) ศึกษาความสุขในการทํางานของครู สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 2 เพื่อการศึกษาและเปรียบเทียบระดับความสุขของครู สังกัดสํานักงานเขต

Page 35: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

27

พื้นที่การศึกษาระยอง เขต 2 ผลการศึกษาพบวา ความสุขในการทํางานของครู สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยอง เขต 2 โดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา ทุกดานมีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากทั้งหมด โดยความสุขในการทํางานดานการมองวิชาชีพเชิงบวกมีคาเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ดานความสม่ําเสมอในงาน และดานความภาคภูมิใจในความสําเร็จ สวนดานความเชื่อถือศรัทธามีคาเฉลี่ยตํ่าสุด

รัตนา เตจะวารี (2553) ศึกษาเรื่อง ความสุขในการทํางานของบุคลากรสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม จํานวน 341 คน สวนมากเปนเพศหญิง อายุระหวาง20-39 ป ระดับการศึกษาปริญญาตรี สถานภาพโสด บุคลากรสวนมากเปนลูกจางโครงการวิจัยมีอายุงาน 1-5 ป และมีรายไดตอเดือน 10,001-15,00 บาท ในภาพรวมความสุขในการทํางานของบุคลากรสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผลการศึกษาพบวา บุคลากรมีความสุขอยูในระดับมาก (คาเฉลี่ยระดับความสุขเทากับ 3.87) โดยมีระดับความสุขอยูในระดับมากตอองคประกอบยอยของความสุขในการทํางานทั้ง 3 ดาน ไดแก ความพึงพอใจในความกระตือรือรนในการทํางาน และความรื่นรมยในงาน ตามลําดับ เมื่อวิเคราะหการถดถอยพหุคูณพบวาปจจัยที่มีผลตอความสุขในการทํางานภาพรวมของบุคลากรสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดแก ลักษณะงาน ลักษณะบุคลิกภาพและสภาพแวดลอมในการทํางานมีความสัมพันธกับความสุขในการทํางาน

นันทพันธ เปรี้ยวนอย (2554) ศึกษาเรื่อง ความสุขในการทํางานของพนักงานรับจางเหมาชวง มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความสุขในการทํางาน 8 ดาน ตามกรอบแนวคิด HappyWorkplace ของพนักงานรับจางเหมาชวงในโรงงานแหงหนึ่ง และศึกษาความสัมพันธระหวางคุณลักษณะของพนักงานรับจางเหมาชวง กับระดับความสุขในการทํางาน เปนการศึกษาเชิงปริมาณ

ผลการศึกษาพบวา พนักงานสวนใหญมีอายุเฉลี่ยประมาณ 28 ปสวนใหญทํางานมาแลวไมถึง 2 ป สําเร็จการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนมากที่สุด มีรายได 7,001-9,000บาท สวนมากไมมีภาระหนี้สิน โดยภาพรวมพนักงานสวนใหญมีระดับความสุขตามแนวคิดHappy Workplace ในระดับปานกลาง ซึ่งดานที่มีผลเก่ียวของกับความสุขในการทํางานมากที่สุดคือ การมีครอบครัวที่อบอุนและมั่นคง สามารถพูดคุยปรึกษาหารือกับคนในครอบครัวไดทุกเรื่องและสมาชิกในครอบครัวเอาใจใสดูแลซึ่งกันและกันอยางสม่ําเสมอ มีเวลาสําหรับสมาชิกในครอบครัว อยางไรก็ตาม การมีสุขภาพแข็งแรงทั้งรางกายและจิตใจเปนปจจัยสําคัญตอความสุขในการทํางานดวยเชนกัน

Page 36: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

28

งานวิจัยเกี่ยวกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานปราณี กมลทิพยกุล (2552) ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตการทํางานกับประสิทธิผลการ

ปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท ยูเซ็น แอร แอนด ซี เซอรวิส (ประเทศไทย) จํากัด พบวา พนักงานใหความสําคัญกับคุณภาพชีวิตการทํางานไมมากเทากับผลตอบแทนจากการปฏิบัติงาน เนื่องจากไมวาพนักงานจะมีคุณภาพชีวิตการทํางานอยูในระดับใด พนักงานก็ตองปฏิบัติงานใหเต็มความสามารถและแสดงใหเห็นวาตนเองสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิผล เพื่อลดความเสี่ยงในการถูกปลดออกจากงาน และประกอบกับการปรับเปลี่ยนตําแหนงงานใหม ซึ่งสงผลทําใหคุณภาพชีวิตการทํางานอาจจะลดนอยลง มีความเหนื่อยลาในการทํางานมากขึ้น แตพนักงานก็ตองพยายามปฏิบัติงานใหมีประสิทธิผลมากที่สุด การปฏิบัติงานใหมีประสิทธิผลตามที่บริษัทตองการนั้น พนักงานตองมีความรู ความสามารถ และความชํานาญเก่ียวกับงานในหนาที่อยางครบถวนทุกขั้นตอน สามารถแกไขปญหาที่เกิดขึ้นระหวางการปฏิบัติงานไดเปนอยางดี สามารถตัดสินใจเก่ียวกับขั้นตอนการปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง จึงจะทําใหงานที่ไดรับมอบหมายสําเร็จลุลวงไดทันเวลา

ธันยชนก ธิติพงษพิวัฒน (2552) ศึกษาเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการปฏิบัติงานของพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย สํานักงานใหญ พบวา คานิยมสวนใหญขององคการมีความสัมพันธกับความสําเร็จในการปฏิบัติงานของพนักงานดานประสิทธิผล ดานประสิทธิภาพและพฤติกรรมในการทํางานเปนไปในทิศทางเดียวกันในระดับสูงสวนใหญแลวพนักงาน กฟผ. มีความผูกพันและจงรักภักดีและความเชื่อมั่นในความมั่นคงตอองคการ รวมทั้งพนักงานมีความรูสึกวาไดเปนสวนหนึ่งขององคการ และดานทักษะกอง กฟผ. มีความสัมพันธกับความสําเร็จในการปฏิบัติงานดานประสิทธิผล และประสิทธิภาพและพฤติกรรมในการทํางานเปนไปในทิศทางเดียวกันในระดับสูง สงผลให กฟผ. มีความเชี่ยวชาญในการดําเนินงานดานการผลิตกระแสไฟฟา รวมทั้งพนักงานเห็นวาเปนองคการที่มีมาตรฐานในการดําเนินงานและเปนองคการที่มีบุคลากรที่มีทักษะในการปฏิบัติงานสูง จึงสงผลถึงความสําเร็จในการปฏิบัติงาน

สมลักษณ นามวัฒน (2552) ศึกษาเรื่อง ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานจางสังกัดองคการปกครองสวนทองถ่ิน ในเขตอําเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ผลการวิจัยพบวาดานประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานจาง พบวา พนักงานจางสวนใหญมีประสิทธิผลการปฏิบัติงานทั้งในดานปริมาณ และดานคุณภาพ อยูในระดับปานกลาง ปจจัยที่มีความสัมพันธกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานจาง ไดแก ระยะเวลาที่ทํางาน ความพึงพอใจในงาน

Page 37: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

29

แรงจูงใจในการทํางานไดรับการสนับสนุนจากองคการ ความสัมพันธกับเพื่อนรวมงาน การควบคุมงานของผูบังคับบัญชา และความรูความเขาใจเนื้องาน ที่ปฏิบัติสวนปจจัยที่ไมมีความสัมพันธกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานจาง ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส รายได และ ระดับการศึกษา

สุพักตร เวียงอินทร (2554) ศึกษาเรื่อง ความผูกพันตอองคการและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจกองรอยตํารวจตระเวนชายแดนที่ 236 อําเภอเมือง จังหวัดนครพนม ผลการวิจัยพบวา ฝายการปฏิบัติงาน อายุ ประสบการณในการทํางาน และระดับการศึกษาที่แตกตางกันมีความคิดเห็นที่แตกตางกัน การศึกษาดานความผูกพันตอองคการจําแนกตามคุณสมบัติของบุคลากรพบวา ไมแตกตางกัน โดยรวมอยูในระดับมาก ดานความตองการที่จะอยูเปนสมาชิกในองคการ อยูในระดับมาก และดานความเชื่อมั่นในการยอมรับเปาหมายและคานิยมองคการ อยูในระดับปานกลาง การเปรียบเทียบความคิดเห็นของเจาหนาที่ดานความผูกพันตอองคการและประสิทธิผลการปฏิบัติงานที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีความคิดเห็นโดยรวมตอความผูกพันองคการแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความคิดเห็นโดยรวมตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.05

กิติคุณ ซื่อสัตยดี (2556) ศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตการทํางานกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของเจาพนักงานชวเลข สังกัดสํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร พบวา คุณภาพชีวิตการทํางานทั้ง 8 ดาน อยูในระดับดี มีประสิทธิผลในการปฏิบัติงานโดยรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาในแตละดานพบวา ดานคุณภาพของงาน อยูในระดับสูง รองลงมาคือดานปริมาณงานและดานการทันเวลา ตามลําดับ สําหรับการทดสอบสมมติฐานเมื่อพิจารณาจากคา R มีคาเทากับ .701 และเมื่อพิจารณาถึงสัดสวนความแปรปรวนที่อธิบายดวยสมการถดถอยR2 เทากับ .491 แสดงวาคุณภาพชีวิตการทํางานสงผลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานและเปนไปในทิศทางเชิงบวก ไดแก การไดรับคาตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม สภาพการทํางานที่มีความปลอดภัย และในสภาพสิ่งแวดลอมที่ ถูกสุขลักษณะของงานที่สงเสริมความเจริญเติบโตความกาวหนาและความมั่นคงใหแกผูปฏิบัติงาน เปดโอกาสใหผูปฏิบัติงานไดพัฒนาขีดความรูความสามารถของตนในการปฏิบัติงานไดเปนอยางดี และลักษณะงานที่ต้ังอยูบนพื้นฐานของกฎหมาย หรือกระบวนการยุติธรรม และเคารพสิทธิสวนบุคคล สวนการทํางานรวมกันและสัมพันธกับบุคคลอ่ืน ความสมดุลระหวางชี วิตกับการทํางานโดยสวนรวมและลักษณะงานที่มี

Page 38: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

30

สวนเก่ียวของสัมพันธกับสังคมโดยตรง ไมสงผลตอประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของเจาพนักงานชวเลข สังกัดสํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร ตามนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

2.4 กรอบแนวคิดในการศึกษา

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม(Independent Variable) (Dependent Variable)

แผนภาพที่ 2.1 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา

2.5 สมมติฐานในการศึกษาสมมติฐานที่ 1 ความสุขในการทํางานดานสุขภาพกายและใจดีมีอิทธิพลตอประสิทธิผล

การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑสมมติฐานที่ 2 ความสุขในการทํางานดานมีน้ําใจเอ้ืออาทรมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการ

ปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑสมมติฐานที่ 3 ความสุขในการทํางานดานการมีเงินมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการ

ปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑสมมติฐานที่ 4 ความสุขในการทํางานดานการผอนคลายมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการ

ปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

ความสุขในการทํางาน 1. สุขภาพกายและใจดี 2. มีน้ําใจเอ้ืออาทร 3. การมีเงิน 4. การผอนคลาย 5. การศึกษาหาความรู 6. การมีศีลธรรม 7. ครอบครัวอบอุน 8. สังคมดี

ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน1. ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน2. ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ3. ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ

Page 39: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

31

สมมติฐานที่ 5 ความสุขในการทํางานดานการศึกษาหาความรูมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

สมมติฐานที่ 6 ความสุขในการทํางานดานการมีศีลธรรมมีอิทธิพลตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

สมมติฐานที่ 7 ความสุขในการทํางานดานครอบครัวอบอุนมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

สมมติฐานที่ 8 ความสุขในการทํางานดานสังคมดีมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

2.6 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการความสุขในการทํางาน หมายถึง สิ่งที่ตอบสนองความตองการของบุคคลสงผลให

บุคคลผูนั้นเกิดความสุขในการดําเนินชีวิตและการทํางานของตนเอง โดยองคการอนามัยโลกไดกําหนดคุณภาพชีวิตของมนุษย หรือสุขภาวะที่ดี 4 มิติ คือ กาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณ โดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ไดกําหนดองคประกอบแหงความสุขของคนทํางานขึ้นมาที่นําไปสูการมีคุณภาพชีวิตที่ดีอยางย่ังยืน ดังนี้

1. สุขภาพกายและใจดี หมายถึง การมีสุขภาพรางกายและจิตใจที่สมบูรณ แข็งแรง มีการดูแลสุขภาพรางกาย ออกกําลังกายและรับประทานอาหารที่มีประโยชน

2. มีน้ําใจเอ้ืออาทร หมายถึง การมีน้ําใจเอ้ืออาทรตอกันในที่ทํางาน เพื่อกอใหเกิดความสามัคคีรักใครปองดองกัน

3. การมีเงิน หมายถึง การที่ไมมีหนี้สิน การรูจักใชจายอยางประหยัด มีเงินเก็บออมไวใชยามจําเปน

4. การผอนคลาย หมายถึง การสรางความสนุกสนานผอนคลายเมื่อยลา ความเครียดจากการทํางาน

5. การศึกษาหาความรู หมายถึง การศึกษาหาความรูพัฒนาตนเองจากแหลงความรูตางๆ เพื่อสรางความกาวหนาในการทํางาน

6. การมีศีลธรรม หมายถึง การปฏิบัติตามหลักคําสอนของศาสนา ยึดหลักศีลธรรมจริยธรรมในการดําเนินชีวิต

7. ครอบครัวอบอุน หมายถึง การที่สมาชิกในครอบครัวมีความรักความสามัคคี มีความเขาใจซึ่งกันและกัน

Page 40: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

32

8.สังคมดี หมายถึง สังคมที่มีความสงบสุข และมีความเอ้ือเฟอตอกัน มีความปรารถนาดีตอผูอ่ืน มีความหวงใยตอปญหาและสิ่งแวดลอมรอบตัวและสังคมรอบขาง

ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน หมายถึง การปฏิบัติงานที่มี คุณคาของบุคคล ซึ่งประกอบดวย ศักยภาพความสามารถของบุคคล มาตรฐานในการปฏิบัติงาน ผลลัพธของงานที่ไดผานเกณฑตามที่องคการกําหนด ทั้งนี้ สําหรับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของขาราชการนั้น เพื่อใหเปนไปตามมาตรา 76 วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2552และทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ไดกําหนดหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของขาราชการ จะวัดผลและพิจารณาจากองคประกอบ 3 ดาน คือ

1. ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน หมายถึง ปริมาณผลงาน คุณภาพผลงาน ความรวดเร็ว หรือตรงตามเวลาที่กําหนด หรือความประหยัด หรือความคุมคาของการใชทรัพยากร

2. ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ หรือสมรรถนะ หมายถึง คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่กําหนดเปนคุณลักษณะรวมของขาราชการพลเรือนทั้งระบบ เพื่อเปนการหลอหลอมคานิยมและพฤติกรรมที่พึงประสงครวมกัน ตามที่ ก.พ. กําหนด 5 ดาน ประกอบดวย 1) การมุงผลสัมฤทธิ์2) การบริการที่ดี 3) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงาน4) จริยธรรม การยึดมั่นในความถูกตองชอบธรรม และ 5) การทํางานเปน

3.ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ หมายถึง การชี้ วัดผลการปฏิบัติงานที่ผูปฏิบัติงานรับผิดชอบ จากการประเมินผลในดานตางๆ ไดแก ขอมูลการลากิจ ลาปวย การมาทํางานสาย การรักษาวินัยตามพระราชบัญญัติวินัยขาราชการกรมราชทัณฑ พ.ศ. 2482

Page 41: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

33

บทที่ 3วิธีการศึกษา

การศึกษาเรื่อง ความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ในครั้งนี้ เปนการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ (QuantitativeResearch) ใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล (Questionnaire) ซึ่งผูศึกษาไดกําหนดแนวทางในการศึกษาโดยมีรายละเอียดในเรื่องการกําหนดประชากร การเก็บรวบรวมขอมูลการจัดทํา และการวิเคราะหขอมูลดังนี้

3.1 วิธีดําเนินการศึกษา3.2 ประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษา3.3 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา3.4 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ3.5 การเก็บรวบรวมขอมูล3.6 การวิเคราะหขอมูล3.7 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

3.1 วิธีดาํเนินการศึกษา3.1.1 ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Source) เปนขอมูลที่รวบรวมจากเจาหนาที่ทัณฑสถาน

โรงพยาบาลราชทัณฑ จํานวน 83 คนที่ปฏิบัติงานภายในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ โดยใชแบบสอบถาม (Questionnaire) ต้ังคําถามแบบปลายปด มีการกําหนดคําตอบไวลวงหนาเพื่อใหผูตอบแบบสอบถามเลือกตอบคําถามที่ใกลเคียงกับความเปนจริงมากที่สุด

3.1.2 ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Source) เปนขอมูลที่ไดจากการศึกษาคนควารวบรวมจากหนังสือ ผลงานวิจัย และเอกสารตางๆ ที่เก่ียวของ เพื่อเปนแนวทางในการกําหนดกรอบแนวคิดในการศึกษาและสรางเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล

3.2 ประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษาประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ จํานวน 83

คนที่ปฏิบัติงานภายในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ โดยผูศึกษาจะใชกลุมตัวอยางจากประชากรทั้งหมด

Page 42: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

34

3.3 เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษาในการศึกษาครั้งนี้ใชแบบสอบถาม (Questionnaire) ที่ผูศึกษาเอามาจากการศึกษา

แนวคิด ทฤษฎีตลอดจนผลงานวิจัยที่เก่ียวของ โดยแบงคําถามออกเปน 3 สวน ดังนี้สวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามเก่ียวกับ เพศ อายุ

อายุราชการ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายได เปนคําถามแบบใหเลือกตอบ จํานวน 6 ขอสวนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับความสุขในการทํางานของเจาหนาที่

ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ เปนขอคําถามแบบมาตรวัด (Rating Scale) ตามรูปแบบของLikert’s Scale แบงระดับการประเมินออกเปน 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด มีจํานวนทั้งสิ้น 40 ขอ ดังนี้

1) ดานสุขภาพกายและใจดี จํานวน 5 ขอ2) ดานมีน้ําใจเอ้ืออาทร จํานวน 5 ขอ3) ดานการมีเงิน จํานวน 5 ขอ4) ดานการผอนคลาย จํานวน 5 ขอ5) ดานการศึกษาหาความรู จํานวน 5 ขอ6) ดานการมีศีลธรรม จํานวน 5 ขอ7) ดานครอบครัวอบอุน จํานวน 5 ขอ8) ดานสังคมดี จํานวน 5 ขอ

สวนที่ 3 แบบสอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ เปนขอคําถามแบบมาตรวัด (Rating Scale) ตามรูปแบบของLikert’s Scale แบงระดับการประเมินออกเปน 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด มีจํานวนทั้งสิ้น 15 ขอ ดังนี้

1) ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน จํานวน 5 ขอ2) ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ จํานวน 5 ขอ3) ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ จํานวน5 ขอ

สําหรับสวนที่ 2 และ 3 มีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ระดับความคิดเห็น มากที่สุด 5 คะแนน

มาก 4 คะแนนปานกลาง 3 คะแนนนอย 2 คะแนนนอยที่สุด 1 คะแนน

Page 43: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

35

สําหรับเกณฑการแปลความหมายของระดับความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ผูศึกษาใชเกณฑการแบงชวงชั้น ดังนี้

คะแนนสูงสุด – คะแนนตํ่าสุด = 5 – 1 = 0.80 จํานวนชั้น 5

การแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลี่ย ไดดังนี้- คะแนนเฉลี่ยต้ังแต 4.21 – 5.00 หมายถึง ระดับมากที่สุด- คะแนนเฉลี่ยต้ังแต 3.41 – 4.20 หมายถึง ระดับมาก- คะแนนเฉลี่ยต้ังแต 2.61 – 3.40 หมายถึง ระดับปานกลาง- คะแนนเฉลี่ยต้ังแต 1.81 – 2.60 หมายถึง ระดับนอย- คะแนนเฉลี่ยต้ังแต 1.00 – 1.80 หมายถึง ระดับนอยที่สุด

3.4 การตรวจสอบคณุภาพของเคร่ืองมอืนําแบบสอบถามที่ผานการพิจารณาจากอาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบไปทดลองใชในการ

ทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) หลังจากผานการทดสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือแลวผูศึกษาไดนําแบบสอบถามไปแจกใหเจาหนาที่เรือนจําพิเศษกรุงเทพมหานคร เพื่อทําการทดสอบความเชื่อมั่นจํานวน 30 ชุด จากนั้นนําแบบสอบถามมาวิเคราะห (Reliability Analysis) เพื่อหาสัมประสิทธิ์ความเชื่ อมั่นโดยการคํานวณคาสัมประสิทธ อัลฟาของ Cronbach (AlphaCoefficient)

ผลการวิเคราะหหาคาความเชื่อมั่นของความสุขในการทํางาน 8 ดาน พบวา1. ดานสุขภาพกายและใจดี มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.8722. ดานมีน้ําใจเอ้ืออาทร มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.7983. ดานการมีเงิน มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.8414. ดานการผอนคลาย มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.7945. ดานการศึกษาหาความรู มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.8556. ดานการมีศีลธรรม มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.8957. ดานครอบครัวอบอุน มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.8888. ดานสังคมดี มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.888

Page 44: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

36

ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน จํานวน 3 ดาน พบวา1. ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.9122. ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.8323. ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ มีคาความเชื่อมั่นเทากับ 0.832

3.5 การเก็บรวบรวมขอมูล3.5.1 ผูศึกษานําแบบสอบถามทั้งหมดไปเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเองจากประชากร

ทั้งสิ้น 83 คน3.5.2 เมื่อผูศึกษาไดรวบรวมแบบสอบถามทั้งหมดแลวทําการตรวจสอบความถูกตอง

สมบูรณของแบบสอบถามเพื่อนํามาวิเคราะหขอมูลตามขั้นตอนตอไป

3.6 การวิเคราะหขอมูลหลังจากรวบรวมแบบสอบถามทั้งหมดที่ผานการตอบแบบสอบถามเรียบรอยแลว

ผูศึกษานําแบบสอบถามทั้งหมดมาดําเนินการดังนี้3.6.1 นําแบบสอบถามที่ไดจากการเก็บรวบรวมขอมูลมาตรวจสอบความสมบูรณกอน

ไปวิเคราะห3.6.2 นําแบบสอบถามที่ถูกตองเรียบรอยแลวมาลงรหัสเพื่อประมวลผลขอมูล3.6.3 นําขอมูลที่ลงรหัสแลวมาบันทึกโดยใชเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อประมวลผลขอมูล

ดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติสําหรับการวิเคราะหขอมูลตามสมมติฐานที่ต้ังไว

3.7 สถติิท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล3.7.1 สถิติเชิงพรรณนา ประกอบดวย

3.7.1.1 คารอยละ (Percentage) ใชวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามไดแก เพศ อายุ อายุราชการ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายได

3.7.1.2 คาเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) คือ คาคะแนนตัวหนึ่งซึ่งเกิดจากการเอาคาคะแนนทุกตัวรวมกันแลวหารดวยจํานวนของคะแนนทั้งหมด ใชวิเคราะหระดับความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

3.7.1.3 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) คือ คารากที่สองของผลรวมของความแตกตางระหวางขอมูลดิบกับคาเฉลี่ยกําลังสองหารดวยจํานวนขอมูลทั้งหมดใชวิเคราะห

Page 45: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

37

คาเบ่ียงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นเก่ียวกับความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

3.7.2 สถิติเชิงอนุมานการทดสอบสมมติฐานใชสถิติการวิเคราะหสหสัมพันธ (Correlation Analysis)

และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression) โดยการหาคาสัมประสิทธิ์การพยากรณแบบพหุคูณ ดวยวิธีการคัดเลือกตัวแปรเขาสมการพยากรณแบบ Stepwise เพื่อวิเคราะหหาอิทธิพลของตัวแปรตนตอตัวแปรตาม

Page 46: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

38

บทที่ 4ผลการวิเคราะหขอมลู

การศึกษาเรื่อง “ความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ” ผูศึกษาเก็บรวบรวมขอมูลกับเจาหนาที่ จํานวน 83 คน และไดรับกลับคืน จํานวน 83 คน คิดเปนรอยละ 100 ซึ่งผูศึกษาไดนํามาวิเคราะหและนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล โดยแบงออกเปน 4 สวน ดังนี้

4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง4.2 ผลการวิเคราะหความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ4.3 ผลการวิเคราะหประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาล

ราชทัณฑ4.4 ผลการทดสอบสมมติฐาน

4.1 ผลการวิเคราะหขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยางจากการศึกษาเก่ียวกับขอมูลทั่วไปของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ เปน

การศึกษาเก่ียวกับขอมูล เพศ อายุ อายุราชการ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายได ซึ่งผูศึกษาทําการแจกแบบสอบถาม จํานวน 83 ชุด ผลการวิเคราะหมี ดังนี้

ตารางที่ 4.1 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศ

เพศ จํานวน รอยละชาย 61 73.5หญิง 22 26.5รวม 83 100.0

จากตารางที่ 4.1 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศชาย จํานวน 61 คน คิดเปนรอยละ 73.5 และเพศหญิง จํานวน 22 คน คิดเปนรอยละ 26.5

Page 47: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

39

ตารางที่ 4.2 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอายุ

อายุ จํานวน รอยละตํ่ากวา 30 ป 13 15.730 – 40 ป 24 28.941 – 50 ป 30 36.151 – 60 ป 16 19.3

รวม 83 100.0

จากตารางที่ 4.2 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีอายุอยูระหวาง 41-50 ป จํานวน 30คน คิดเปนรอยละ 36.1 รองลงมามีอายุระหวาง 30-40 ป จํานวน 24 คน คิดเปนรอยละ 28.9 อายุระหวาง 51-60 ป จํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ 19.3 และอายุตํ่ากวา 30 ป จํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 15.7 ตามลําดับ

ตารางที่ 4.3 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอายุราชการ

อายุราชการ จํานวน รอยละ1 – 5 ป 16 19.36 – 10 ป 18 21.711 – 15 ป 18 21.716 – 20 ป 14 16.921 ปขึ้นไป 17 20.4

รวม 83 100.0

จากตารางที่ 4.3 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีอายุราชการระหวาง 6-10 ป กับชวงอายุราชการะหวาง 11-15 ป จํานวน 18 คนเทากัน คิดเปนรอยละ 21.7 รองลงมาคือมีอายุราชการ21 ปขึ้นไป จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 20.4 อายุราชการระหวาง 1-5 ป จํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ 19.3 อายุราชการะหวาง 16-20 ป จํานวน 14 คน คิดเปนรอยละ16.9 ตามลําดับ

Page 48: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

40

ตารางที่ 4.4 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามสถานภาพ

จากตารางที่ 4.4 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีสถานภาพสมรส จํานวน 40 คนคิดเปนรอยละ 48.2 รองลงมาคือ สถานภาพโสด จํานวน 32 คน คิดเปนรอยละ 38.6 สถานภาพหมาย จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 10.8 และสถานภาพหยาราง/แยกกันอยู จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 2.4 ตามลําดับ

ตารางที่ 4.5 แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา จํานวน รอยละตํ่ากวาปริญญาตรี 10 12.1ปริญญาตรี 47 56.6ปริญญาโท 25 30.1ปริญญาเอก 1 1.2

รวม 83 100

จากตารางที่ 4.5 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญจบการศึกษาในระดับปริญญาตรี มากที่สุด จํานวน 47 คน คิดเปนรอยละ 56.6 รองลงมาเปนผูจบการศึกษาระดับปริญญาโท จํานวน 25คน คิดเปนรอยละ 30.1 และจบการศึกษาตํ่ากวาปริญญาตรี จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 12.1จบการศึกษาระดับปริญญาเอกนอยที่สุด จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 1.2 ตามลําดับ

สถานภาพ จํานวน รอยละโสด 32 38.6สมรส 40 48.2หมาย 9 10.8หยาราง/แยกกันอยู 2 2.4

รวม 83 100.0

Page 49: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

41

ตารางที่ 4.6แสดงจํานวนและคารอยละของกลุมตัวอยาง จําแนกตามรายได

รายไดตอเดือน จํานวน รอยละ15,000 - 20,000 บาท 14 16.920,001 - 25,000 บาท 17 20.525,001 - 30,000 บาท 29 34.930,001 บาทขึ้นไป 23 27.7

รวม 83 100.0

จากตารางที่ 4.6 พบวากลุมตัวอยางสวนใหญมีรายไดตอเดือน 25,00-30,000 บาทจํานวน 29 คน คิดเปนรอยละ 34.9 และรองลงมา มีรายไดตอเดือน 30,001 บาท ขึ้นไป จํานวน23 คน คิดเปนรอยละ 27.7 มีรายไดตอเดือน 20,001-25,000 บาท จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ20.5 และมีรายไดระหวาง 15,001-20,000 บาทจํานวน 14 คน คิดเปนรอยละ16.9 ตามลําดับ

4.2 ผลการวิเคราะหความสุขในการทํางานของเจาหนาท่ีทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

ผูศึกษาไดนําแบบสอบถามความคิดเห็นมาวิเคราะหความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ สามารถสรุประดับความคิดเห็นไดดังนี้

Page 50: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

42

ตารางที่ 4.7 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความสุขในการทํางานในภาพรวม

ความสุขในการทํางาน x SD แปลผล1. ดานสุขภาพกายและใจดี 3.90 .701 มาก2. ดานมีน้ําใจเอ้ืออาทร 3.98 .591 มาก3. ดานการมีเงิน 3.93 .582 มาก4. ดานการผอนคลาย 4.16 .538 มาก5. ดานการศึกษาหาความรู 3.95 .602 มาก6. ดานการมีศีลธรรม 4.25 .574 มากที่สุด7. ดานครอบครัวอบอุน 4.02 .667 มาก8. ดานสังคมดี 3.91 .487 มาก

รวม 4.01 .407 มาก

จากตารางที่ 4.7 พบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีความสุขในการทํางานในภาพรวมอยูในระดับมาก ( x = 4.01, SD = .407) และเมื่อพิจารณาเปนรายดานตามลําดับ คาเฉลี่ย พบวา ดานการมีศีลธรรม ( x =4.25,SD = .574) อยูในระดับที่มากที่สุดรองลงมาคือ ดานการผอนคลาย ( x =4.16,SD = .538) ดานครอบครัวอบอุน ( x =4.02,SD =.667) ดานศึกษาหาความรู ( x =3.95,SD =.602) ดานมีน้ําใจเอ้ืออาทร ( x =3.98,SD = .591)ดานการมีเงิน ( x =3.93,SD = .582) ดานสังคมดี ( x =3.91,SD = .487) และดานสุขภาพกายและใจดี ( x =3.90,SD = .701) อยูในระดับมาก

จากภาพรวมดังกลาวผูศึกษาขอนําเสนอผลการวิเคราะหความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ แยกเปนดานตางๆ ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

Page 51: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

43

1. ดานสุขภาพกายและใจดี สามารถสรุประดับความคิดเห็นไดดังนี้

ตารางที่ 4.8 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานสุขภาพกายและใจดี

ดานสุขภาพกายและใจดี x SD แปรผล1. ทานมีสุขภาพรางกายแข็งแรง 3.92 .784 มาก2. ทานมีความสุขจากการออกกําลังกาย 4.01 .757 มาก3. ทานหาวิธีดูแลสุขภาพของตนเอง 3.96 .788 มาก4. ทานเขารวมกิจกรรมสงเสริมสุขภาพอยูเสมอ 3.77 1.004 มาก5. ทานเชื่อมั่นวาตนเองมีสุขภาพดี 3.83 .824 มาก

รวม 3.90 0.701 มาก

จากตารางที่ 4.8 พบวา เจาหนาที่สถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีความสุขในการทํางานดานสุขภาพกายและใจดี ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( x =3.90, SD = .701) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยพบวา ทานมีความสุขจากการออกกําลังกาย ( x =4.01,SD=.757) รองลงมา คือ ทานหาวิธีดูแลสุขภาพของตนเอง ( x =3.96, SD =.788) ทานมีสุขภาพรางกายแข็งแรง ( x =3.92,SD = .784) ทานเชื่อมั่นวาตนเองมีสุขภาพดี ( x =3.83,SD =.824)และทานเขารวมกิจกรรมสงเสริมสุขภาพอยูเสมอ( x =3.77, SD =1.004)อยูในระดับมากตามลําดับ

Page 52: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

44

2. ดานมีนํ้าใจเอื้ออาทร สามารถสรุประดับความคิดเห็นไดดังนี้

ตารางที่ 4.9 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานมีน้ําใจเอ้ืออาทร

ดานมีนํ้าใจเอื้ออาทร x SD แปลผล1. ทานมีความสุขจากการที่ไดเปนผูใหแกผูอ่ืน 4.34 .649 มากที่สุด2. ทานมีความสุขจากการที่ไดเปนผูรับจากผูอ่ืน 3.89 1.000 มาก3. ทานพึงพอใจกับรายไดที่ไดรับจากการทํางานในปจจุบัน

3.66 .954 มาก

4. ทานมีความยินดีที่เห็นเพื่อนรวมงานประสบความสําเร็จ

4.18 .608 มาก

5. ทานมีความสุขกับงานที่ทํา 3.83 .935 มากรวม 3.98 .591 มาก

จากตารางที่ 4.9 พบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีความสุขในการทํางานดานมีน้ําใจเอ้ืออาทร ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( x =3.98, SD =.591) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยพบวา ทานมีความสุขจากการที่ไดเปนผูใหแกผูอ่ืน ( x =4.34,SD =.649) อยูในระดับมากที่สุด ทานมีความยินดีที่เห็นเพื่อนรวมงานประสบความสําเร็จ( x =4.18,SD = .608) อยูในระดับมาก รองลงมา คือ ทานมีความสุขจากการเปนผูรับจากผูอ่ืน( x =3.89, SD = 1.000) ทานมีความสุขกับงานที่ทํา ( x =3.83,SD = .935) และทานพึงพอใจกับรายไดที่ไดรับจากการทํางานในปจจุบัน ( x =3.66,SD= .954) อยูในระดับมาก ตามลําดับ

Page 53: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

45

3. ดานการมีเงิน สามารถสรุประดับความคิดเห็นไดดังนี้

ตารางที่ 4.10 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานการมีเงิน

ดานการมีเงิน x SD แปลผล1. ทานมีการวางแผนการใชเงิน 4.10 .674 มาก2. ทานระมัดระวังการใชจายเพื่อไมใหเงินขาดมือ 4.10 .726 มาก3. ทานมีเงินสํารองไวใชเมื่อยามฉุกเฉิน 3.75 .922 มาก4. ทานมีรายรับเพียงพอกับรายจาย 3.41 1.048 มาก5. ทานมีความสุขกับการที่ไมมีหนี้ 4.40 .869 มากที่สุด

รวม 3.93 .582 มาก

จากตารางที่ 4.10 พบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีความสุขในการทํางานดานการมีเงิน ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( x = 3.93,SD = .582) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยพบวา ทานมีความสุขกับการที่ไมมีหนี้ ( x =4.40,SD = .869) อยูในระดับมากที่สุด สวนทานมีการวางแผนใชเงิน ( x =4.10, SD =.674) กับทานระมัดระวังการใชจายเพื่อไมใหเงินขาดมือ ( x =4.10, SD =.726) อยูในระดับมาก รองลงมา คือ ทานมีเงินสํารองไวใชในยามฉุกเฉิน ( x =3.75,SD = .922) ทานมีรายรับเพียงพอกับรายจาย ( x =3.41,SD =1.048) อยูในระดับมาก ตามลําดับ

Page 54: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

46

4. ดานการผอนคลาย สามารถสรุประดับความคิดเห็นไดดังนี้

ตารางที่ 4.11 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานการผอนคลาย

ดานการผอนคลาย x SD แปลผล1.ทานสามารถทนตอแรงกดดันที่เกิดจากการทํางานได 3.78 .870 มาก2. ทานสามารถหาวิธีผอนคลายความเครียดได 4.04 .706 มาก3. ไดพักผอนในวันหยุดประจําสัปดาหชวยใหทานรูสึกผอนคลาย

4.52 .687 มากที่สุด

4. การสงบสติอารมณชวยใหทานสบายใจขึ้น 4.23 .770 มากที่สุด5. วิธีมองโลก มองคนของทานทําใหทานมีความสุข 4.22 .645 มากที่สุด

รวม 4.16 .538 มาก

จากตารางที่ 4.11 พบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีความสุขในการทํางานดานการผอนคลาย ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( x =4.16,SD = .538) เมื่อพิจารณาเปนรายขอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยพบวา การไดพักผอนในวันหยุดประจําสัปดาหชวยใหทานรูสึกผอนคลาย ( x =4.52,SD =.687) อยูในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ การสงบสติอารมณชวยใหทานสบายใจขึ้น ( x =4.23,SD = .770) วิธีมองโลกมองคนของทานทําใหทานมีความสุข( x =4.22, SD = .645) สวนทานสามารถหาวิธีผอนคลายความเครียดได ( x =4.04, SD =.706) อยูในระดับมาก และทานสามารถทนตอแรงกดดันที่เกิดจากการทํางานได ( x =3.78, SD= .870) อยูในระดับอยูในระดับมากตามลําดับ

Page 55: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

47

5. ดานการศึกษาหาความรู สามารถสรุประดับความคิดเห็นไดดังนี้

ตารางที่ 4.12 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานการศึกษาหาความรู

ดานการศึกษาหาความรู x SD แปลผล1. ทานศึกษาหาความรูทุกครั้งที่มีโอกาส 3.93 .745 มาก2. ทานคิดหาวิธีตางๆ เพื่อพัฒนาการทํางานของทานอยางตอเนื่อง

3.90 .755 มาก

3. ทานศึกษาหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองเสมอ 3.83 .762 มาก4. ทานยินดีรับคําแนะนําจากหัวหนาเพื่อพัฒนาการทํางาน

4.16 .634 มาก

5. ทานรูสึกวามีความมั่นคงในงานที่ทํา 3.95 .825 มากรวม 3.95 .602 มาก

จากตารางที่ 4.12 พบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีความสุขในการทํางาน ดานการศึกษาหาความรู ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( x =3.95,SD =.602) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยพบวา ทานยินดีรับคําแนะนําจากหัวหนาเพื่อพัฒนาการทํางาน ( x =4.16,SD = .634) อยูในระดับมาก รองลงมา คือ ทานรูสึกวามีความมั่นคงในงานที่ทํา ( x =3.95,SD = .825) ทานศึกษาหาความรูทุกครั้งที่มีโอกาส( x =3.93,SD= .745) ทานคิดหาวิธีตางๆ เพื่อพัฒนาการทํางานของทานอยางตอเนื่อง( x =3.90,SD= .755) ทานศึกษาหาความรูเพื่อการพัฒนาตนเองเสมอ ( x =3.83,SD =.762)ตามลําดับ

Page 56: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

48

6. ดานการมีศีลธรรม สามารถสรุประดับความคิดเห็นไดดังนี้

ตารางที่ 4.13 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ดานการมีศีลธรรม

ดานการมีศีลธรรม x SD แปลผล1. ทานไดปฏิบัติตนตามหลักคําสอนของศาสนา 4.18 .701 มาก2. ทานปฏิบัติตนโดยยึดหลักศีลธรรมจริยธรรม 4.24 .673 มากที่สุด3. ทานรูสึกมีความสุขเมื่อไดทําบุญ 4.36 .673 มากที่สุด4. ทานใชชีวิตโดยไมเบียดเบียนผูอ่ืน 4.42 .587 มากที่สุด5. ทานมีสวนสนับสนุนใหผูอ่ืนปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา

4.05 .840 มาก

รวม 4.25 .574 มากท่ีสุด

จากตารางที่ 4.13 พบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีความสุขในการทํางาน ดานการมีศีลธรรม ในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด ( x =4.25, SD =.574) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยพบวา ทานใชชีวิตโดยไมเบียดเบียนผูอ่ืน ( x =4.42, SD =.587) อยูในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ทานรูสึกมีความสุขเมื่อไดทําบุญ ( x =4.36, SD =.673) ทานปฏิบัติตนโดยยึดหลักศีลธรรมจริยธรรม ( x =4.24, SD = .673) สวนทานไดปฏิบัติตนตามหลักคําสอนของศาสนา ( x =4.18, SD = .701) ทานมีสวนสนับสนุนใหผูอ่ืนปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา ( x =4.05, SD = .840) อยูในระดับมาก ตามลําดับ

Page 57: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

49

7. ดานครอบครัวอบอุน สามารถสรุประดับความคิดเห็นไดดังนี้

ตารางที่ 4.14 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ดานครอบครัวอบอุน

ดานครอบครัวอบอุน x SD แปลผล1. ทานมีเวลาใหกับสมาชิกในครอบครัว 3.73 .964 มาก2. ทานรูสึกวาครอบครัวของทานมีความมั่นคง 3.92 .768 มาก3.ทานและสมาชิกในครอบครัวพูดคุยปรึกษากันไดทุกเรื่อง 4.10 .775 มาก4. ทานสามารถเปนหลักประกันของครอบครัวได 4.11 .781 มาก5. ทานและครอบครัวเอาใจใสดูแลและซึ่งกันและกันอยางสม่ําเสมอ

4.25 .713 มากที่สุด

รวม 4.02 .667 มาก

จากตารางที่ 4.14 พบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีความสุขในการทํางานดานครอบครัวอบอุน ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( x =4.02, SD =.667) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยพบวาทานและครอบครัวเอาใจใสดูแลซึ่งกันและกันอยางสม่ําเสมอ ( x = 4.25, SD =.713) อยูในระดับมากที่สุด ทานสามารถเปนหลักประกันของครอบครัวได ( x =4.11, SD =.781) อยูในระดับมาก รองลงมา คือ ทานและสมาชิกในครอบครัวพูดคุยปรึกษากันไดทุกเรื่อง ( x =4.10, SD =.775) ทานรูสึกวาครอบครัวของทานมีความมั่นคง( x =3.92, SD =.768) ทานมีเวลาใหกับสมาชิกในครอบครัว ( x =3.73, SD =.964) ตามลําดับ

Page 58: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

50

8. ดานสังคมดี สามารถสรุประดับความคิดเห็นไดดังนี้

ตารางที่ 4.15 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานสังคมดี

ดานสังคมดี x SD แปลผล1. ทานมีความสุขในการทํางานรวมกับผูอ่ืน 3.94 .526 มาก2. ทานยินดีใหคําปรึกษาแกผูที่ตองการความชวยเหลือ

4.10 .532 มาก

3. ทานมีสวนรวมพัฒนาชุมชนของทานตามโอกาสอันควร

3.73 .664 มาก

4. ทานและเพื่อนรวมงานของทานรวมมือกันปฏิบัติงานในความรับผิดชอบจนสําเร็จตามเปาหมาย 3.90 .709 มาก

5. ทานและเพื่อนรวมงานมีการเอ้ือเฟอเก้ือกูลกันและกัน 3.88 .670 มากรวม 3.91 .487 มาก

จากตารางที่ 4.15 พบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีความสุขในการทํางานดานสังคมดี ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( x =3.91, SD =.487) เมื่อพิจารณาเปนรายขอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยพบวาทานยินดีใหคําปรึกษาแกผูที่ตองการความชวยเหลือ ( x =4.10,SD =.532) อยูในระดับมาก รองลงมาคือ ทานมีความสุขในการทํางานรวมกับผูอ่ืน ( x =3.94,SD =.526) ทานและเพื่อนรวมงานของทานรวมมือกันปฏิบัติงานในความรับผิดชอบจนสําเร็จตามเปาหมาย ( x =3.90, SD =.709) ทานและเพื่อนรวมงานมีการเอ้ือเฟอเก้ือกูลกันและกัน( x =3.88, SD = .670) ทานมีสวนรวมพัฒนาชุมชนตามโอกาสอันควร ( x = 3.73, SD = .664)ตามลําดับ

Page 59: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

51

4.3 ผลการวิเคราะหประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

สําหรับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ไดกําหนดหลักเกณฑการประเมินไว 3 ดาน โดยผูศึกษาไดนําแบบสอบถามความคิดเห็นมาวิเคราะหเก่ียวกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ประสิทธิผลการปฏิบัติงานสามารถสรุปความคิดเห็นไดดังนี้

ตารางที่ 4.16 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของประสิทธิผลการปฏิบัติงานในภาพรวม

ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน x SD แปลผล1. ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน 4.07 .490 มาก2. ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ 3.90 .523 มาก3. ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ 4.20 .522 มาก

รวม 4.06 .383 มาก

จากตารางที่ 4.16 พบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( x =4.06,SD = .383) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยพบวา ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ( x =4.20, SD =.522) อยูในระดับมาก รองลงมาคือ ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน ( x =4.07, SD = .490) และดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ( x =3.90, SD = .523) ตามลําดับ

จากภาพรวมดังกลาว ผูศึกษาขอนําเสนอผลการวิเคราะหประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ โดยแยกเปนดานตางๆ ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

Page 60: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

52

1. ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน สามารถสรุประดับความคิดเห็นไดดังนี้

ตารางที่ 4.17 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนดานผลสัมฤทธิ์ของงาน

ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน x SD แปลผล1. ทานสามารถปฏิบัติงานประจําไดสําเร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนดไว

4.13 .558 มาก

2. เมื่อไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงาน ทานสามารถดําเนินการใหสําเร็จทุกครั้ง

4.14 .627 มาก

3. กรณีที่ตองทํางานประสานงานรวมกับหนวยงานอ่ืนทานสามารถทํางานใหสําเร็จไดตามเปาหมายที่กําหนดไว

4.00 .584 มาก

4. ทานจัดลําดับความสําคัญกอนหลังของงานอยูเสมอเพื่อใหงานเสร็จทันเวลา 4.04 .551 มาก

5. ทานปฏิบัติงานโดยใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุดคุมคา ตอองคการ

4.02 .624 มาก

รวม 4.07 .490 มาก

จากตารางที่ 4.17 พบวาเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีประสิทธิผลการปฏิบัติงานดานผลสัมฤทธิ์ของงานในภาพรวมอยูในระดับมาก ( x =4.07, SD =.490) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยพบวา เมื่อไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงาน ทานสามารถดําเนินการใหสําเร็จทุกครั้ง ( x =4.14, SD =.627) อยูในระดับมาก รองลงมา คือทานสามารถปฏิบัติงานประจําไดสําเร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนดไว ( x =4.13, SD=.558) ทานจัดลําดับความสําคัญกอนหลังของงานอยูเสมอเพื่อใหงานเสร็จทันเวลา ( x =4.04,SD =.551) ทานปฏิบัติงานโดยใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด คุมคาตอองคการ ( x =4.02,SD =.624) และกรณีที่ตองทํางานประสานงานรวมกับหนวยงานอ่ืนทานสามารถทํางานใหสําเร็จไดตามเปาหมายที่กําหนดไว ( x =4.00, SD =.584) ตามลําดับ

Page 61: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

53

2. ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ สามารถสรุประดับความคิดเห็นไดดังนี้

ตารางที่ 4.18 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ

ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ x SD แปลผล1. หากเกิดขอผิดพลาดในการปฏิบัติงานทานสามารถแกไขไดโดยทันที

3.83 .659 มาก

2. ทานสามารถใหขอมูลขาวสารแกผูมาขอรับบริการไดอยางชัดเจน ถูกตอง

3.95 .697 มาก

3. ทานศึกษาพัฒนาตนเองเพื่อการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง

3.90 .743 มาก

4. ทานมีความรู ความเชี่ยวชาญแบบสหวิทยา 3.65 .833 มาก5. ทานสามารถทํางานรวมกับเพื่อนภายในองคการไดเปนอยางดี 4.14 .587 มาก

รวม 3.90 .523 มาก

จากตารางที่ 4.18 พบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( x =3.90, SD =.523)เมื่อพิจารณาเปนรายขอเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยพบวา ทานสามารถทํางานรวมกับเพื่อนภายในองคการไดเปนอยางดี ( x =4.14, SD =.587) อยูในระดับมาก รองลงมา คือ ทานสามารถใหขอมูลขาวสารแกผูมาขอรับบริการไดอยางชัดเจนถูกตอง ( x =3.95, SD =.697) ทานศึกษาพัฒนาตนเองเพื่อการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง ( x = 3.90, SD = .743) หากเกิดขอผิดพลาดในการปฏิบัติงานทานสามารถแกไขไดโดยทันที ( x =3.83, SD =.659) ทานมีความรู ความเชี่ยวชาญแบบสหวิทยา ( x =3.65, SD =.833) ตามลําดับ

Page 62: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

54

3. ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ สามารถสรุประดับความคิดเห็นไดดังนี้

ตารางที่ 4.19 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ

ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ x SD แปลผล1. ทานมีความมุงหวังที่จะประสบความสําเร็จไดรับความกาวหนาในการรับราชการ

4.59 .542 มากที่สุด

2. ผลการปฏิบัติราชการของทานอยูในเกณฑมาตรฐาน และยอมรับได

4.12 .632 มาก

3. ทานมีความพึงพอใจผลการพิจารณาการทํางานของทานในรอบการประเมินที่ผานมา

3.81 .788 มาก

4. ในรอบการประเมินทานสามารถมาปฏิบัติงานไดตามเวลาที่กําหนด (08.30 น.) 4.11 .716 มาก

5. ทานรักษาระเบียบวินัยขาราชการอยางเครงครัด 4.40 .604 มากที่สุดรวม 4.20 .522 มาก

จากตารางที่ 4.19 พบวาเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีประสิทธิผลการปฏิบัติงานดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการในภาพรวมอยูในระดับมาก ( x =4.20,SD =.522) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ เรียงตามลําดับคาเฉลี่ยพบวา ทานมีความมุงหวังที่จะประสบความสําเร็จไดรับความกาวหนาในการรับราชการ ( x =4.59,SD = .542) อยูในระดับมากที่สุดรองลงมา คือ ทานรักษาระเบียบวินัยขาราชการอยางเครงครัด ( x =4.40, SD =.604) สวนผลการปฏิบัติราชการของทานอยูในเกณฑมาตรฐานและยอมรับได ( x =4.12,SD = .632) อยูในระดับมาก รองลงมา คือ ในรอบการประเมินทานสามารถมาปฏิบัติงานไดตามเวลาที่กําหนด(08.30 น.) ( x = 4.11,SD = .716) ทานมีความพึงพอใจผลการพิจารณาการทํางานของทานในรอบการประเมินที่ผานมา ( x =3.81,SD =.788) อยูในระดับมาก ตามลําดับ

Page 63: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

55

4.4 ผลการทดสอบสมมติฐานในการทดสอบสมมติฐานครั้งนี้ผูศึกษาไดใชสถิติสหสัมพันธของเพียรสัน (Pearson’s

Product Correlation) มาทดสอบหาความสัมพันธระหวางความสุขในการทํางาน เพื่อทดสอบความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระวาไมมีความสัมพันธกัน คือ คาสหสัมพันธระหวางตัวแปรตองไมเกิน .75 ดังแสดงคาสัมประสิทธิ์ความสัมพันธระหวางตัวแปร ดังตารางที่ 4.20

โดยกําหนดสัญลักษณที่ใชในการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลดังนี้X1 หมายถึง สุขภาพกายและใจดีX2 หมายถึง มีน้ําใจเอ้ืออาทรX3 หมายถึง การมีเงินX4 หมายถึง การผอนคลายX5 หมายถึง การศึกษาหาความรูX6 หมายถึง การมีศีลธรรมX7 หมายถึง ครอบครัวอบอุนX8 หมายถึง สังคมดี

ตารางที่ 4.20 แสดงคาสหสัมพันธระหวางตัวแปรความสุขในการทํางานทั้ง 8 ดาน

X1 X2 X3 X4 X5 X6 X7 X8

X1สุขภาพกายและใจดี 1.000X2มีน้ําใจเอ้ืออาทร .498** 1.000X3การมีเงิน .481** .958** 1.000X4การผอนคลาย .419** .505** .523** 1.000X5การศึกษาหาความรู .535** .341** .370** .325** 1.000X6การมีศีลธรรม .211 429** .437** .264* .299** 1.000X7ครอบครัวอบอุน .217* .498** .476** .335** .146 .512** 1.000X8สังคมดี .390** .365** .319** .311** .252* .149 .390** 1.000

**นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Page 64: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

56

จากตารางที่ 4.20 พบวา คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางตัวแปรมีคาความสัมพันธอยูที่ 0.146-0.958 โดยมีคาความสัมพันธของตัวแปรระหวางตัวแปรดานการมีเงิน และดานการมีน้ําใจเอ้ืออาทร มีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธที่เกิน .75 มีคาเกินขอจํากัดการหาคาถดถอยพหุคูณแตในการหาคาอิทธิพลของตัวแปรอิสระ ผูศึกษาไดใชการวิเคราะหสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณ(Multiple Regression) แบบ Stepwise เพื่อใหโปรแกรมไดตัดตัวแปรที่มีคาความสัมพันธสูง(Multicollinearity) และคัดเลือกตัวแปรที่ดีที่สุดในการหาคาอิทธิพลของตัวแปรตนตอตัวแปรตามซึ่งจากการวิเคราะหปรากฏผลดังตารางที่ 4.21

ตารางที่ 4.21 แสดงตัวแบบจําลองสมการถดถอยพหุคูณ

Model R R2 AdjustedR2

Std.Error ofThe Estimate

1 .516 .266 .257 .330282 .644 .414 .400 .29687

Model 1 Predictors: (constant), ดานสังคมดีModel 2 Predictors: (constant), ดานสังคมดี, ดานการศึกษาหาความรูDependent Variable: ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

จากตารางที่ 4.21 พบวา จากการใส ตัวแปรทั้ง 8 ตัวเขาสมการ แลวทดสอบคาสหสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม หากไมพบนัยสําคัญทางสถิติโปรแกรมก็จะคัดออกจากสมการ แลวทดสอบตัวแปรที่เหลือ ดังนี้

รูปแบบที่ 1 จะมีตัวแปรอิสระ 1 ตัว คือ ดานสังคมดีมีอิทธิพลตอตัวแปรตามมีคาสัมประสิทธิสหสัมพันธ (R) เทากับ .516 และสามารถพยากรณตัวแปรอิสระนี้ที่รอยละ 26.6 (R2

=.266) มีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณตัวแปรตามเทากับ 0.33028รูปแบบที่ 2 จะมีตัวแปรอิสระ 2 ตัว คือ ดานสังคมดีและดานการศึกษาหาความรูมีอิทธิพล

ตอตัวแปรตามมีคาสัมประสิทธิสหสัมพันธ (R) เทากับ .644 และสามารถพยากรณตัวแปรอิสระนี้ที่รอยละ 41.4 (R2 =.414) และการพยากรณตัวแปรอิสระนี้มีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณตัวแปรตามเทากับ 0.29687

Page 65: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

57

ตารางที่ 4.22 แสดงการวิเคราะหความแปรปรวนสองทาง

ANOVA

Model Sum ofSquares

df Mean Square F Sig.

Regression 3.204 1 3.204 29.370 .000Residual 8.836 81 .109

1

Total 12.040 82Regression 4.989 2 2.495 28.306 .000Residual 7.050 80 .088

2

Total 12.040 82Model 1 Predictors: (constant), ดานสังคมดีModel 2 Predictors: (constant), ดานสังคมดี, ดานการศึกษาหาความรูDependent Variable: ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

จากตารางที่ 4.22 เปนการวิเคราะหความแปรปรวนเพื่อตรวจสอบวาตัวแปรอิสระในตัวแบบ (Model) สามารถใชพยากรณตัวแปรตามไดหรือไม โดยหากมีคานอยกวา คาระดับนัยสําคัญที่กําหนด คือ .05 แสดงวาตัวแปรอิสระใชพยากรณตัวแปรตามได และเมื่อพิจารณาจากตารางสามารถอธิบายไดดังนี้

ตัวแบบที่ 1 แสดงวาตัวแปรอิสระ ดานสังคมดี ไดรับการคัดเลือกเปนตัวแปรพยากรณเขาสมการเพื่อพยากรณตัวแปรตามไดเนื่องจากมีคา Sig. (.000) นอยกวาระดับนัยสําคัญที่กําหนด

ตัวแบบที่ 2 ใชตัวแปรอิสระได 2 ตัว คือ ดานสังคมดีและดานการศึกษาหาความรูไดรับการคัดเลือกเปนตัวแปรพยากรณเขาสมการเพื่อมาพยากรณตัวแปรตามไดเนื่องจากมีคา Sig.(.000) นอยกวาระดับนัยสําคัญที่กําหนด

Page 66: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

58

ตารางที่ 4.23 แสดงผลการวิเคราะห คาสัมประสิทธิ์การถดถอยแบบพหุคูณ

CoefficientsUnstandardized

CoefficientsStandardizedCoefficientsModel

B Std. Error Betat Sig.

(Constant) 2.469 .295 8.370 .0001ดานสังคมดี .406 .075 .516 5.419 .000(Constant) 1.776 .307 5.792 .000ดานสังคมดี .327 .070 .416 4.700 .000

2

ดานการศึกษาหาความรู

.253 .056 .398 4.501 .000

Dependent Variable: ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

จากตารางที่ 4.23 พบวา การวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์ความถดถอย (Beta) โดยวิธีการคัดเลือกตัวแปรแบบ Stepwise อธิบายไดดังนี้

รูปแบบที่ 1 จะไดคาสัมประสิทธิ์ถดถอยของตัวแปรอิสระ คือ ดานสังคมดี เทากับ (Beta=.516) และมีคาคงที่ (Constant) เทากับ 2.469 คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวแปรอิสระ ดานสังคมดี เทากับ .075 (S.E. = .075) คาสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวแปรอิสระในรูปคะแนนมาตรฐาน ดานสังคมดี เทากับ 0.406 ( B =.406)

รูปแบบที่ 2 จะไดคาสัมประสิทธิ์ถดถอยของตัวแปรอิสระ คือ ดานสังคมดี เทากับ (Beta=.416) และดานการศึกษาหาความรูเทากับ (Beta = .398) และมีคาคงที่ (Constant) เทากับ1.776 คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวแปรอิสระ ดานสังคมดีเทากับ .070 (S.E. = .070) ดานการศึกษาหาความรู เทากับ 0.056 (S.E. = .056) คาความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของสัมประสิทธิ์การถดถอยในรูปคะแนนมาตรฐานตัวแปรอิสระ ดานสังคมดีเทากับ 0.327 (B = 0.327) ดานการศึกษาหาความรู เทากับ 0.253 (B =0.253)

Page 67: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

59

จากผลการทดสอบสมมติฐานสามารถสรุปไดวา ความสุขในการทํางานดานการศึกษาหาความรู และดานสังคมดี มีอิทธิผลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน คิดเปนรอยละ 41.4 สามารถสรางเปนสมการถดถอยแบบพหุคูณไดดังนี้

ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน = 1.776 (Constant) + .327 สังคมดี + .253 การศึกษาหาความรู

ตารางที่ 4.24 แสดงสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน

ผลการทดสอบสมมติฐานสมมติฐานยอมรับ ปฏิเสธ

สมมติฐานที่ 1 ความสุขในการทํางานดานสุขภาพกายและใจดีมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

-

สมมติฐานที่ 2 ความสุขในการทํางานดานมีน้ําใจเอ้ืออาทรมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

-

สมมติฐานที่ 3 ความสุขในการทํางานดานการมีเงินมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

-

สมมติฐานที่ 4 ความสุขในการทํางานดานการผอนคลายมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

-

สมมติฐานที่ 5 ความสุขในการทํางานดานการศึกษาหาความรูมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

-

สมมติฐานที่ 6 ความสุขในการทํางานดานการมีศีลธรรมมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

-

สมมติฐานที่ 7 ความสุขในการทํางานดานครอบครัวอบอุนมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

-

สมมติฐานที่ 8 ความสุขในการทํางานดานสังคมดีมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

-

Page 68: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

60

บทที่ 5สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่อง “ความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ” มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ และเพื่อศึกษาความสุขในการทํางานที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ จํานวน 83 คน เก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม สําหรับการวิเคราะหขอมูลใชสถิติเชิงพรรณนา เพื่อบรรยายลักษณะตัวแปรตางๆ ไดแก คาแจกแจงความถ่ี คารอยละ คาเฉลี่ย และคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และใชสถิติเชิงอนุมาน เพื่อทดสอบสมมติฐาน และการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple RegressionAnalysis) ดวยวิธีการคัดเลือกตัวแปรเขาสมการพยากรณแบบ Stepwise จากผลการศึกษาสามารถสรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะไดดังตอไปนี้

5.1 สรุปผล5.2 อภิปรายผล5.3 ขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผล5.1.1 ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยาง

ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง พบวาเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑจํานวน 83 คนสวนใหญ เปนเพศชาย จํานวน 61 คน คิดเปนรอยละ 73.5 มีอายุระหวาง 41-50 ปจํานวน 30 คน คิดเปนรอยละ 36.1 มีอายุราชการระหวาง 6-10 ป และ 11-15 ป คิดเปนรอยละ21.7 สถานภาพสมรส จํานวน 40 คน คิดเปนรอยละ 48.2 จบระดับการศึกษาระดับปริญญาตรีจํานวน 47 คน คิดเปนรอยละ 56.6 และมีรายไดเฉลี่ย 25,001-30,000 บาท จํานวน 29 คนคิดเปนรอยละ 34.9

5.1.2 ความสุขในการทํางานของเจาหนาท่ีทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑผลการศึกษาความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาล

ราชทัณฑในภาพรวม พบวาอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 4.01 เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา

Page 69: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

61

ความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑอยูในระดับมากที่สุด และระดับมาก สามารถเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดังนี้ ดานการมีศีลธรรมอยูในระดับมากที่สุด คาเฉลี่ย 4.25 ดานการผอนคลายอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 4.16 ดานครอบครัวอบอุนอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 4.02 ดานมีน้ําใจเอ้ืออาทรอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.98 ดานการศึกษาหาความรู อยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.95ดานการมีเงิน อยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.93 ดานสังคมดีอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.91 และดานดานสุขภาพกายและใจดีอยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 3.90ตามลําดับ

5.1.3 ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑผลการศึกษาประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาล

ราชทัณฑในภาพรวม พบวา อยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 4.06 เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวาประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑอยูในระดับมากทุกขอสามารถเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดังนี้ ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ คาเฉลี่ย4.20 รองลงมาคือ ดานผลสัมฤทธิ์ของงานคาเฉลี่ย 4.07 และดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการคาเฉลี่ย 3.90 ตามลําดับ

5.1.4 ผลการทดสอบสมมติฐานจากผลการทดสอบสมมติฐานพบวาสมมติฐานที่ 1 ความสุขในการทํางานดานสุขภาพกายและใจดีไมมีอิทธิพลตอ

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑสมมติฐานที่ 2 ความสุขในการทํางานดานมีน้ําใจเอ้ืออาทรไมมีอิทธิพลตอ

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑสมมติฐานที่ 3 ความสุขในการทํางานดานการมีเงินไมมีอิทธิพลตอประสิทธิผล

การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑสมมติฐานที่ 4 ความสุขในการทํางานดานการผอนคลายไมมีอิทธิพลตอ

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑสมมติฐานที่ 5 ความสุขในการทํางานดานการศึกษาหาความรูมีอิทธิพลตอ

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑสมมติฐานที่ 6 ความสุขในการทํางานดานการมีศีลธรรมไมมี อิทธิพลตอ

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑสมมติฐานที่ 7 ความสุขในการทํางานดานครอบครัวอบอุนไมมีอิทธิพลตอ

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

Page 70: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

62

สมมติฐานที่ 8 ความสุขในการทํางานดานสังคมดีมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

5.2 อภิปรายผล5.2.1 ความสุขในการทํางานของเจาหนาท่ีทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

ผูศึกษาไดนําองคประกอบเก่ียวกับความสุขในการทํางาน ทั้ง 8 ดาน ของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสรางสุขภาพ (สสส.) (2552, อางถึงใน ประพนธ ผาสุกยืด,2553) มาเปนแนวทางในการสรางกรอบแนวคิด ผลการศึกษาพบวา ความสุขในการทํางานภาพรวมอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.01 สอดคลองกับผลการศึกษาของพรรณิภา สืบสุข(2548) เรื่อง ความสัมพันธระหวางการรับรูลักษณะงาน ภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงของหัวหนาหอผูปวยกับความสุขในการทํางานของพยาบาลประจําการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ พบวาความสุขในการทํางานของพยาบาลประจําการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐอยูในระดับสูงเพ็ญพิชชา ต้ังมาลา (2553) เรื่อง ความสุขในการทํางานของพนักงานกองบํารุงรักษากลางโรงไฟฟาแมเมาะ จังหวัดลําปาง พบวา ภาพรวมความสุขในการทํางานของพนักงานอยูในระดับสูงและรัตนา เตจะวารี (2553) เรื่อง ความสุขในการทํางานของบุคลากรสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม พบวาบุคลากรมีความสุขอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ทั้ง 8 ดาน เรียงจากมากไปหานอยผูศึกษาสามารถอภิปรายผลไดดังนี้

1. ดานการมีศีลธรรม ผลการศึกษาพบวา ความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑดานการมีศีลธรรม อยูในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.25ดวยงานของราชทัณฑเปนงานที่ตองดูแลผูกระทําผิด เจาหนาที่ราชทัณฑมีหนาที่หลักคือ การควบคุมดูแลไมใหผูกระทําผิดหลบหนี และอีกดานหนึ่งก็มีหนาที่ในการชวยขัดเกลาจิตใจผูกระทําผิดใหกลับใจกลับตนเปนคนดีคืนสูสังคม ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑจึงไดจัดกิจกรรมที่เก่ียวของเพื่อใหเจาหนาที่ไดปฏิบัติตนตามหลักคําสอนของศาสนา โดยยึดหลักศีลธรรม จริยธรรมเชน การนิมนตพระมาเทศนในวันสําคัญทางศาสนา การฝกอบรมสัคสาสมาธิ การจัดอบรมเรือนจําเรือนธรรม ฯลฯ เพื่อมุงพัฒนาจิตใจที่ดีทั้งเจาหนาที่และผูกระทําผิด เพราะหากเจาหนาที่มีจิตใจที่ดีแลวก็จะสงผลตอพฤติกรรมที่ดี โดยจะออกมาในลักษณะของการเอ้ือเฟอเผื่อแผ ใชชีวิตโดยไมเบียดเบียนผูอ่ืน เกิดการแบงปน การเสียสละ ปฏิบัติตนตามหลักคําสอนของศาสนา เมื่อบรรยากาศแบบนี้เกิดขึ้นในหนวยงาน ก็จะสงผลใหเจาหนาที่มีความสุข และเกิดผลงานที่ดี

Page 71: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

63

สอดคลองกับผลการศึกษาของกัญชพร ผาสุก (2552) เรื่อง สุขภาวะในที่ทํางานตามทัศนะของพนักงานบริษัทไลออน (ประเทศไทย) จํากัด พบวากิจกรรมสุขภาวะที่มีการเขารวมมากที่สุดและมีความสุขมากที่สุด คือ กิจกรรมทางศาสนา

2. ดานการผอนคลาย ผลการศึกษาพบวาความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑดานการผอนคลาย อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.16 ทั้งนี้เนื่องมาจากงานราชทัณฑนอกจากจะปฏิบัติหนาที่ตามวันและเวลาราชการแลว ยังตองมีการอยูปฏิบัติหนาที่ลวงเวลาหลังเลิกงานและในวันหยุด อันเปนเหตุใหเจาหนาที่เกิดความเหนื่อยลาจากการปฏิบัติหนาที่ ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑไดเห็นความสําคัญในเรื่องนี้จึงไดใหเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานลวงเวลา มาปฏิบัติงานในวันถัดไปเวลา 10.00 น. เพื่อสงเสริมใหเจาหนาที่รูสึกดี มีความสุขในการทํางาน นอกจากนี้ทางหนวยงานยังไดจัดทําหองพักระหวางพักกลางวัน เพื่อใหเจาหนาที่ไดทําการพูดคุย พบปะสังสรรค แลกเปลี่ยนทัศนคติ มีอินเทอรเน็ตไวสําหรับคนหาขาวสารขอมูล หรือเพื่อความบันเทิง เมื่อวางจากการทํางานเจาหนาที่ก็จะใชเวลาวางในวันหยุดประจําสัปดาหพาครอบครัวไปพักผอนเปนการผอนคลายความเครียด สอดคลองกับแนวคิดของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสรางสุขภาพ (สสส.) (2552, อางถึงใน ประพนธ ผาสุกยืด,2553) ในดานการผอนคลาย วาเปนการสรางความสนุกสนานผอนคลายควา มเมื่อยลาความเครียดจากการทํางานแลวยังสงผลถึงประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานดวย

3. ดานครอบครัวอบอุน ผลการศึกษาพบวาความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑดานครอบครัวอบอุน อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.02แสดงวาเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑมีสัมพันธภาพในครอบครัวดี ทําใหมีความสุขในการทํางาน ทั้งนี้เพราะครอบครัวเปนสวนสําคัญในการผลักดัน รวมไปถึงการใหความดูแลเอาใจใสซึ่งกันและกัน การแสดงออกถึงความรัก การใหคําปรึกษา การมีกิจกรรมรวมกันในครอบครัว สงผลใหเจาหนาที่มีความสุขในการทํางาน สอดคลองกับผลการศึกษาของนันทพันธเปรี้ยวนอย (2554) พบวา ดานที่มีผลเก่ียวของกับความสุขในการทํางานมากที่สุดคือ การมีครอบครัวที่อบอุนและมั่นคง สามารถพูดคุยปรึกษาหารือกับคนในครอบครัวไดทุกเรื่อง และสมาชิกในครอบครัวเอาใจใสดูแลซึ่งกันและกันอยางสม่ําเสมอ มีเวลาสําหรับสมาชิกในครอบครัว

4. ดานมีน้ําใจเอ้ืออาทร ผลการศึกษาพบวา ความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑดานมีน้ําใจเอ้ืออาทรอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.98ทั้งนี้ เนื่องจากนโยบายการทํางานของกรมราชทัณฑที่มุงเนนการทํางานที่ตองเสียสละ ดังนั้น การเขามาปฏิบัติหนาที่ตองมีความสุขและเตรียมพรอมในการทํางาน ตองมีใจรักในงานดานนี้ ซึ่ง

Page 72: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

64

สอดคลองกับแนวคิดของ Manion (2003, อางถึงใน ประทุมทิพย เกตุแกว, 2551: 39-45) ที่กลาววาการปฏิบัติงานดวยความรูสึกอยากที่จะทํางาน บุคลากรจะมีความผูกพันกันและมีความพึงพอใจที่ไดปฏิบัติงานรวมกัน เกิดความสนุกสนาน แสดงพฤติกรรมใหการชวยเหลือซึ่งกันและกันมีความคิดสรางสรรค การตัดสินใจที่ดี เกิดสัมพันธภาพระหวางบุคคล เกิดความรักในงานและมีความยึดมั่นในองคการ

5. ดานการศึกษาหาความรู ผลการศึกษาพบวา ความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑดานการศึกษาหาความรู อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.95 จะเห็นไดวา เจาหนาที่ของทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีความกระตือรือรนในการศึกษาหาความรูเพิ่มเติมทุกครั้งที่มีโอกาส เพื่อนําความรูที่ไดมาพัฒนาการทํางานอยางตอเนื่อง รักความกาวหนาในหนาที่การงาน ซึ่งกรมราชทัณฑไดเห็นความสําคัญในเรื่องนี้ จึงไดมีการจัดการฝกอบรมเพิ่มเติม เพื่อพัฒนาขีดความรูความสามารถของ เจาหนาที่ในสังกัดกรมราชทัณฑทุกระดับใหมีความรูความเชี่ยวชาญเฉพาะดานอยางตอเนื่อง เชน การจัดการฝกอบรมดานภาษาตางประเทศเพื่อรองรับการเขาสูสมาคมอาเซียน การไปศึกษาดูงานตางประเทศ ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Gavin and Mason (2004, อางถึงใน ประทุมทิพยเกตุแกว, 2551: 40)ที่วาความสามารถเปนลักษณะเฉพาะตัวของแตละบุคคล สามารถฝกฝนไดดวยการจัดอบรมตางๆใหเกิดความชํานาญ สงเสริมใหเกิดวิสัยทัศน และประสบการณที่กวางขวางขึ้น และเจาหนาที่ราชทัณฑในระดับลางยินดีที่จะไดรับคําแนะนําจากหัวหนางาน เพื่อเปนการพัฒนาการทํางานใหกาวหนาในอาชีพราชการที่ถือวาเปนงานที่มั่นคง

6. ดานการมีเงิน ผลการศึกษาพบวา ความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ดานการมีเงินอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.93 โดยจะเห็นไดจากแบบสอบถามพบวาเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ สวนใหญมีรายไดเฉลี่ย25,001-30,000 บาท ซึ่งถือไดวามีรายไดที่เหมาะสม และยังมีรายไดที่นอกเหนือจากเงินเดือนประจําเชน คาเวร คาเสี่ยงภัย ซึ่งทําใหเจาหนาที่มีรายไดเพียงพอกับรายจาย โดยการแบงรายไดออกเปนสวนๆ คือ สวนหนึ่งไวเปนคาใชจาย และอีกสวนหนึ่งเปนการออมเพื่อไวใชยามฉุกเฉิน ทั้งนี้ ทางกรมราชทัณฑยังใหเจาหนาที่ทุกคนตองสมัครเปนสมาชิกของสหกรณออมทรัพยกรมราชทัณฑ ที่ชวยสงเสริมในดานการออม โดยการหักเงินไวเปนเงินออมเมื่อยามเกษียณอายุราชการ จะทําการหักเงินเดือนไวทุกเดือนเปนทุนเรือนหุน และจะจายเปนเงินปนผลคืนเมื่อตอนสิ้นป นอกจากนี้สมาชิกของสหกรณจะไดเงินชวยเหลือการศึกษาของบุตร เงินสวัสดิการเก่ียวกับสมาชิกเสียชีวิตฯลฯ แมในยามที่เจาหนาที่ประสบภาวะทางการเงินก็สามารถกูยืมเงินกับสหกรณในอัตราดอกเบ้ีย

Page 73: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

65

ตํ่า ทําใหเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑมีความสุขจากการที่ไมมีหนี้สิน สอดคลองกับแนวคิดของวรรณพร พรายสวาท (2552) ที่กลาววา ความสุขที่ทุกคนไดจากการทํางาน คือความสุขจากการดํารงชีวิตที่เหมาะสม มีผลงานที่ดีมีความมั่นคงในอาชีพ ไดรับคาตอบแทนและสวัสดิการที่ดี

7. ดานสังคมดี ผลการศึกษาพบวา ความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑดานสังคมดี อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.91 แสดงวาเจาหนาที่รูสึกไดรับการยอมรับนับถือจากเพื่อนรวมงาน และเปนสวนหนึ่งขององคการ ตลอดจนไดรับการยอมรับ ยกยอง นับถือในบทบาทหนาที่ จะเห็นไดวาการที่บุคคลไดรับการยอมรับจากสังคมก็จะทําใหเกิดความสุขและพอใจที่จะทํางานใหประสบความสําเร็จ นอกจากนั้น การทํางานของทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑเปนงานที่ตองทํางานเปนทีม ทั้งแพทย พยาบาล เจาหนาที่ราชทัณฑ ตองมีการชวยเหลือเก้ือกูล ใหความชวยเหลือกันในดานตางๆ ดังนั้นเพื่อเปนการเสริมสรางความสามัคคีภายในหนวยงาน และสนับสนุนการทํางานรวมกันใหการปฏิบัติงานสําเร็จลุลวงตามวัตถุประสงค ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑจึงมีการจัดกิจกรรมหรือโครงการตางๆเพื่อเปนการสานสัมพันธภายในหนวยงาน เชน การจัดงานกีฬาสีประจําป งานเลี้ยงปใหม การจัดการอบอรมนอกสถานที่ ใหเจาหนาที่ภายในหนวยงานสามารถทํางานรวมกันไดอยางมีความสุข สอดคลองกับแนวคิดของพิทักษ พิสัยพันธุ (2553) กลาววา ความสุขในการทํางานหมายถึง ผลของการที่บุคคลรับรูพฤติกรรมการทํางานของตนเอง ผูรวมงาน และสัมพันธภาพระหวางกัน ทําใหแสดงอารมณที่มีตองานในทางบวก รับรูไดถึงการใหความรวมมือและใหการชวยเหลือเก้ือกูลกัน ระหวางผูรวมงานทําใหเกิดมิตรภาพและความปรารถนาดีตอกัน มีความรักชอบ ผูกพันในงานที่ตนทํา กระตือรือรนและยินดีที่ไดกระทําในงานที่ตนเองรัก ยินดีกับความสําเร็จที่ไดมาจากงานที่ทาทายมีคุณคาและนาภาคภูมิใจที่จะพยายามทํางานใหประสบความสําเร็จไดรับการยอมรับนับถือและความคาดหวังที่ดีจากผูรวมงาน ทําใหเกิดความพยายามและความรับผิดชอบในการทํางานมากย่ิงขึ้น

8. ดานสุขภาพกายและใจดี ผลการศึกษาพบวา ความสุขในการทํางานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑดานสุขภาพกายและใจดี อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.90 จะเห็นไดวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีความเชื่อมั่นวาตนเองมีสุขภาพดี มีรางกายที่แข็งแรง โดยเจาหนาที่จะใชเวลาวางหลังจากเลิกงานไปออกกําลังกายที่สวนสาธารณะหรือหองออกกําลังกายภายในหนวยงานเพื่อเตรียมความพรอมของรางกาย ทั้งนี้ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑไดจัดใหมีการทดสอบสมรรถนะของรางกาย และการตรวจ

Page 74: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

66

สุขภาพประจําป เพื่อที่จะไดทราบวาเจาหนาที่มีรางกายที่แข็งแรงสมบูรณหรือไม และเจาหนาที่ไดเขารวมกิจกรรมที่เก่ียวกับการสงเสริมการดูแลสุขภาพ เปนการสงเสริมความความพรอมในการปฏิบัติงานสอดคลองกับแนวคิดของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสรางสุขภาพ (สสส.)(2552, อางถึงใน ประพนธ ผาสุกยืด, 2553) กลาววา การสงเสริมดานการดูแลสุขภาพและรางกาย ถือเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหสุขภาพรางกายแข็งแรงจิตใจดีมีความสุข

5.2.2 ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑผลการศึกษาครั้งนี้พบวาประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถาน

โรงพยาบาลราชทัณฑ ไดแก 1) ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน 2) ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ3) ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการในภาพรวมอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.06 เมื่อพิจารณาประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ทั้ง 3 ดานเรียงจากมากไปหานอยผูศึกษาสามารถอภิปรายผลไดดังนี้

1. ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ จากการศึกษาพบวา การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการอยูในระดับมากมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.20 แสดงวาเจาหนาที่สวนใหญมีความมุงหวังที่จะประสบความสําเร็จ และตองการไดรับความกาวหนาในการรับราชการ จากความมุงหวังดังกลาว กอใหเกิดผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่อยูในเกณฑมาตรฐาน ซึ่งพัฒนามาไดจากการประเมินผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ในรอบการประเมินที่ผานมา พบวาเจาหนาที่มีความพึงพอใจในผลการปฏิบัติงานที่ไดรับ มีความกระตือรือรนในการทํางานอยางเต็มความสามารถสามารถรักษาระเบียบวินัยอยางเครงครัด ตลอดจนมีการประพฤติตนอยางถูกตองเหมาะสมในแนวทางวิชาชีพของตน สอดคลองกับ พยอม วงศสารศรี (2542, อางถึงใน วิเชียร จันทะเนตร, 2558) กลาววา ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน หมายถึง การปฏิบัติงานที่มีคุณคาของบุคคล ซึ่งประกอบดวย ศักยภาพความสามารถของบุคคล มาตรฐานในการปฏิบัติงาน ที่ผานเกณฑตามที่องคการกําหนด

2. ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน จากการศึกษาพบวา การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน อยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.07แสดงวาเจาหนาที่สามารถปฏิบัติงานไดสําเร็จตามวัตถุประสงค และเปาหมายที่ไดกําหนดไวโดยทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑไดกําหนดรายละเอียดของงาน ในรูปคําสั่งมอบหมายงานและหนาที่ความรับผิดชอบใหกับเจาหนาที่แตละคนอยางชัดเจน เพื่อใหเจาหนาที่ไดทราบภารกิจขอบเขตหนาที่ของงานที่ตนเองตองดําเนินการ นอกจากนี้ยังตองมีการวางแผนการทํางาน การลําดับความสําคัญของงานกอน-หลัง และหากงานดังกลาวเก่ียวของกันหลายหนวยงานก็มีการ

Page 75: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

67

ประสานงานรวมกับหนวยงานนั้นๆ เพื่อใหงานสําเร็จลุลวงตามเปาหมาย หนวยงานยังมีการรณรงคในการใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด คุมคาตอองคการ เชน การนํากระดาษที่ใชแลวมาทําการรีไซเคิลเพื่อใหใชงานได 2 ดาน หรือการสงขอมูล ขาวสารตางๆ ผานระบบ อินเตอรเน็ตจากแนวทางการปฏิบัติงานขางตน จึงสงผลใหเจาหนาที่สามารถปฏิบัติงานไดบรรลุวัตถุประสงคสอดคลองกับแนวคิดของสุพจน ทรายแกว (2545) และจุฑารัตน สุนทรสัจจะศิลป (2546) ที่กลาวไววา ประสิทธิผลเปนการปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่ต้ังไว และเกิดผลที่แทจริง โดยใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด

3. ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ จากการศึกษาพบวา การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย 3.90 แสดงใหเห็นวาเจาหนาที่มีความเชี่ยวชาญในงานที่ตนปฏิบัติ ผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ดําเนินไปดวยความเรียบรอยราบรื่น มีการศึกษาพัฒนาตนเองเพื่อการปฏิบัติงานอยางตอเนื่องจนสามารถประยุกตใชความรูเขากับการปฏิบัติราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ เจาหนาที่ในองคการมีความสนใจในการปรับปรุงการทํางานใหดีขึ้น มีการชวยเหลือซึ่งกันและกันในการทํางานรวมกันเปนทีม ไมวาจะเปนเรื่องงานหรือเรื่องสวนตัว มีความต้ังใจที่จะทํางานรวมกับผูอ่ืน มีการใหคําแนะนําขอมูลขาวสารแกผูมาติดตอขอรับบริการดวยความเต็มใจ มีจริยธรรมประพฤติปฏิบัติตนอยางถูกตองเหมาะสมทั้งตามกฎหมาย คุณธรรม อยูในจรรยาบรรณแหงวิชา ชีพ และจรรณยาบรรณแหงขาราชการ สอดคลองกับหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการพลเรือนสามัญ (2552) ที่วาการประเมินผลการปฏิบัติราชการเปนการประเมินความสําเร็จของงานที่ผูปฏิบัติงานรายบุคคล ปฏิบัติไดจริงตลอดรอบการประเมินตามวิธีการที่องคการกําหนด เปรียบเทียบกับเปาหมายผลการปฏิบัติราชการตามแผนการปฏิบัติราชการ และมาตรฐานผลงานที่วางไว

5.2.3 การศึกษาความสัมพันธของความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

จากการศึกษาความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ พบวา ความสุขในการทํางานที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ โดยตัวแปรที่มีอิทธิพลในการพยากรณประสิทธิผลในการทํางาน ไดแก ดานการศึกษาหาความรู (Beta = .398) และดานสังคมดี (Beta =.416) ตามนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และมีคาสัมประสิทธิ์ถดถอยเปนบวก โดยสามารถอธิบายไดดังนี้

Page 76: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

68

1. ดานการศึกษาหาความรู ผลการศึกษาพบวา ความสุขในการทํางานดานการศึกษาหาความรูมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน (Beta = .398) ตามนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงวาเจาหนาที่มีความกระตือรือรน รักความกาวหนาในหนาที่การงานทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ตลอดรวมถึงผูบริหารไดใหการสนับสนุนเจาหนาที่ไดมีโอกาสเพิ่มพูนความรู ทักษะ และความชํานาญสาขาวิชาชีพในรูปแบบตางๆ เพื่อเปนการจูงใจและพัฒนาสมอง เชน สนับสนุนการศึกษาตอ การจัดโปรแกรมการฝกอบรม การสัมมนา และการดูงานรวมทั้งการเขารวมกิจกรรมตางๆ ที่ทางหนวยงานอ่ืนๆ จัดใหซึ่งเปนการชวยเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่มากขึ้น การใหการศึกษาจึงเครื่องสนับสนุนถึงความกาวหนาในการปฏิบัติงานการ เพราะจําทําใหการไดเลื่อนขั้น เลื่อนตําแหนงที่สูงขึ้น สิ่งตางๆ เหลานี้ลวนทําใหเจาหนาที่อุทิศเวลา ทุมเทกําลังกายและใจ และความสามารถ ในการปฏิบัติงานไดอยางเต็มที่ความรูจึงสงผลให เ กิดประสิทธิผลในการทํางานสอดคลองกับผลการศึกษาของจง จิตเลิศวิบูลยมงคล (2547) ที่พบวาการศึกษามีความสัมพันธในเชิงบวกกับความสุขในการทํางานรวมถึงเรื่องของงานที่มีโอกาสกาวหนาทําใหมีแรงจูงใจ ความพึงพอใจ และมีความสุขในการทํางาน ดังนั้น การศึกษาหาความรูจึงเปนการสรางความกาวหนาในหนาที่การงานเปนปจจัยที่สงผลตอความสุขในการทํางาน

2. ดานสังคมดี ผลการศึกษาพบวา ความสุขในการทํางานดานสังคมดีมีอิทธิพลตอประสิทธิผลการปฏิบัติงาน (Beta = .416) ตามนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สามารถอธิบายไดวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑมีสัมพันธภาพที่ดีในการทํางาน สามารถแกไขปญหาจากการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑไดใหความสําคัญกับการทํางานเปนทีม การมีสวนรวม การสรางความสัมพันธระหวางเพื่อนรวมงานและผูบังคับบัญชา เพราะจากลักษณะงานของทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑประกอบดวยบุคลากรที่หลากหลาย เชน แพทย พยาบาล เภสัชกร และเจาหนาที่ควบคุมผูตองขัง การทํางานอาจเกิดความขัดแยงกันระหวางวิชาชีพ แตเจาหนาที่ในทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑสวนใหญมีความสัมพันธอันดี การยอมรับ รูสึกถึงการเปนสวนหนึ่งของหนวยงาน การไดชวยเหลือเก้ือกูลกัน การประสานงานกันระหวางฝายตางๆภายในหนวยงานก็จะไดรับความรวมมือและชวยเหลือเต็มที่ สอดคลองกับแนวคิดของพรรณิภา สืบสุข (2548) และนภัสชล รอดเที่ยง (2550)ที่กลาววา สัมพันธภาพที่ดีที่ชวยใหเกิดการติดตอสื่อสารที่มีคุณภาพที่จะสรางความสัมพันธระหวางเพื่อนรวมงาน เกิดการชวยเหลือซึ่งกันและกัน ตลอดจนความสามัคคีในหนวยงาน สงผลตอดานสังคมที่ดีที่ทําใหการปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่ต้ังไวขององคการ ทํา

Page 77: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

69

ใหเกิดความสําเร็จของซึ่งนํามาซึ่งความสุขในการทํางาน และสอดคลองกับผลการศึกษาของอภิชาต ภูพานิช (2551) พบวาความสัมพันธทางสังคมภายในหนวยงานทําใหเกิดผลลัพธของงานตามเกณฑที่องคการกําหนด สงผลตอทัศนะความสุขในการทํางานที่มีคามากที่สุด

อยางไรก็ตาม ความสุขในการทํางานอีก 6 ดาน ที่ไมมีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการทํางาน คือ ดานสุขภาพกายและใจดี ดานมีน้ําใจเอ้ืออาทร ดานการมีเงิน ดานการผอนคลายดานการมีศีลธรรม และดานครอบครัวอบอุน ซึ่งโดยรวมอยูในระดับมาก และความสุขในการทํางานทั้ง 6 ดานที่กลาวมาขางตน เปนเพียงสิ่งที่ทําใหเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑมีความสุขในการทํางานเทานั้น แตไมมีอิทธิพลตอประสิทธิผลในการทํางาน จึงถือวาเปนเปนผลอีกนัยยะหนึ่ง เพราะการที่เจาหนาที่มีความสุขดานสุขภาพกายและใจดี จะทําใหปญหาการขาดการลา จากภาวะเจ็บปวยลดนอยลง เจาหนาที่มีมีน้ําใจเอ้ืออาทรตอกันก็จะทําใหการประสานติดตองานกันในองคการมีความราบรื่น การพักผอนหรือการใชเวลากับครอบครัว การไปเที่ยวตางจังหวัด เปนการไดพักผอนกาย และใจไปพรอมกัน และยังสงเสริมใหมีความสุขความอบอุนระหวางสมาชิกในครอบครัว การไปสวดมนต ทําบุญ รักษาศีล ก็ถือเปนสงเสริมดานศีลธรรมนํามาซึ่งความสุข เติมพลังการมองชีวิตและสังคมในดานบวก ลดการกระทบขัดแยงในองคการทํางานดวยความสุข งานก็จะออกมาดวยความสําเร็จ หรือหากมีขอปญหาติดขัด ก็สามารถแกปญหาดวยสติ ซึ่งสิ่งตางๆ เหลานี้ลวนชวยสนับสนุนใหจาหนาที่ปฏิบัติงานไดดี เมื่อผลงานรวมกับความสุขจากสังคมดี และการพัฒนาตนเองดวยการศึกษาหาความรูเพิ่มเติมก็จะสงผลใหเจาหนาที่ราชทัณฑปฏิบัติงานไดเกิดประสิทธิผลย่ิงขึ้น สอดคลองกับผลการศึกษาของปราณีกมลทิพยกุล (2552) ที่ไดศึกษาเรื่อง คุณภาพชีวิตการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบริษัท ยูเซ็น แอรแอนด ซี เซอรวิส (ประเทศไทย) จํากัด พบวาไมวาพนักงานจะมีคุณภาพชีวิตการทํางานอยูในระดับใด พนักงานก็ตองปฏิบัติงานใหเต็มความสามารถและแสดงใหเห็นวาตนเองสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิผล เพื่อลดความเสี่ยงในการถูกปลด ออกจากงาน และประกอบกับการเปลี่ยนตําแหนงงานใหม แสดงใหเห็นวาความสุขในการทํางานทั้ง 6 ดาน ไมสามารถพยากรณไดวามีสวนทําใหประสิทธิผลการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้นหรือลดลงเปนเพียงสิ่งที่ชวยใหเจาหนาที่มีความสุขในการทํางานเทานั้น

Page 78: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

70

5.3 ขอเสนอแนะ5.3.1 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษา

จากผลการศึกษาเรื่อง “ความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ” ทําใหผูศึกษาไดเล็งเห็นปญหาตางๆ ในทุกๆ ดานที่ไดศึกษามา และมีขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ดังนี้

ความสุขในการทํางาน1. ดานสุขภาพกายและใจดี จากการศึกษาทําใหทราบวา เจาหนาที่ทัณฑสถาน

โรงพยาบาลราชทัณฑ มีความสุขในการทํางานจากการออกกําลังกาย ทั้งนี้พบวาการเขารวมกิจกรรมสงเสริมสุขภาพนั้นอยูในระดับที่ควรจะมีการจัดกิจกรรมที่เก่ียวกับการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้นทั้งทางดานรางกายและจิตใจของเจาหนาที่อยางสม่ําเสมอ เพื่อใหเจาหนาที่มีความพรอมในการปฏิบัติงาน เชน การตรวจสุขภาพประจําป การทดสอบสมรรถภาพรางกายเจาหนาที่ ที่จะสงผลตอความสุขในการทํางาน

2. ดานมีน้ําใจเอ้ืออาทร จากการศึกษาทําใหทราบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ มีความสุขในการทํางานกับการที่ไดเปนผูใหแกผูอ่ืน ทั้งนี้พบวาความสุขในการทํางานกับความพึงพอใจกับรายไดที่ไดรับจากการทํางานในปจจุบันที่ควรไดรับการสงเสริมทางทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑนั้นควรปลูกฝงดานความสามัคคี ความมีน้ําใจ การชวยเหลือซึ่งกันและกัน ใหกับเจาหนาที่ในองคการ เชน การจัดต้ังกองทุนใหความชวยเหลือเมื่อเจาหนาที่ในองคการเดือดรอนเพื่อแกไขปญหาเรื่องของรายไดที่ไดรับจากการทํางานจะทําใหความพึงพอใจเพิ่มมากขึ้นที่จะสงผลตอความสุขในการทํางาน

3. ดานการมีเงิน จากการศึกษาทําใหทราบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑมีความสุขในการทํางานกับการไมมีหนี้ แตกลับพบวาความสุขในทํางานกับการมีรายรับเพียงพอกับรายจาย ควรไดรับการสงเสริมใหกับเจาหนาที่รูจักเก็บ รูจักใชเงิน การบริหารการใชจายเงินของตนเองและครอบครัวอยางถูกวิธี เพื่อใหเกิดความมั่นคงทางการเงิน เชน การสมัครเปนสมาชิกของสหกรณ ใหเจาหนาที่จัดทําบัญชีครัวเรือนเพื่อจะไดรูรายรับ-รายจายตอเดือนจึงจะสามารถแกไขปญหาของเรื่องของรายรับเพียงพอกับรายจายได ที่จะสงผลตอความสุขในการทํางานที่เพิ่มมากขึ้น

4. ดานการผอนคลาย จากการศึกษาทําใหทราบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑมีความสุขในการทํางานกับการไดพักผอนในวักหยุดประจําสัปดาห ชวยใหทานรูสึกผอนคลายที่จะสงผลตอความสุขในการทํางานอยางมาก แตกลับพบวาความสมารถทนตอแรงกดดันที่ เกิดจากการทํางานไดนั้นสงผลตอความสุขในการทํางาน ทางทัณฑสถาน

Page 79: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

71

โรงพยาบาลราชทัณฑควรมีชวงเวลาใหเจาหนาที่ไดคลายความเครียดจากการปฏิบัติหนาที่ประจําและการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ เชน การจัดทําหองพักเวรใหกับเจาหนาที่ไดพักผอนอยางเต็มที่หลังจากปฏิบัติภาระกิจการเขาเวรยาม เพื่อจะลดแรงกดดันที่เกิดจากการทํางานได

5. ดานการศึกษาหาความรู จากการศึกษาทําใหทราบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑมีความสุขในการทํางานกับการยินดีรับคําแนะนําจากหัวหนาเพื่อพัฒนาการทํางาน แตกลับพบวาความสุขในการทํางานกับการศึกษาหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองอยูในระดับที่ควรสงเสริมใหเจาหนาที่ไดพัฒนาขีดความรูความสามารถของตนในการปฏิบัติงาน เชน เปดโอกาสใหเจาหนาที่ไดรับการฝกอบรมและพัฒนาความรูใหมๆ เพิ่มเติมอยูเสมอ สนับสนุนการเลื่อนตําแหนงงาน สงเสริมจัดอบรมสัมมนาความรู และสรางความเชี่ยวชาญในตําแหนงหนาที่ทั้งนี้ กระบวนการสรางขีดความสามารถในการทํางาน จะเปนสิ่ งที่สรางความสุขในการทํางานเพิ่มขึ้น

6. ดานการมีศีลธรรม จากการศึกษาทําใหทราบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑมีความสุขในการทํางานกับการใชชีวิตโดยไมเบียดเบียนผูอ่ืน แตกลับพบวาความสุขในการทํางานกับการมีสวนสนับสนุนใหผูอ่ืนปฏิบัติตนตามหลักศาสนาควรมีการสงเสริมจัดกิจกรรมตามประเพณีทางศาสนาอยางสม่ําเสมอ เพื่อเปนการปลูกฝง และพัฒนาจิตใจใหกับเจาหนาที่ เชน การนิมนตพระมาเทศนในวันสําคัญทางศาสนา การทําบุญตักบาตร การปฏิบัติธรรม

7. ดานครอบครัวอบอุน จากการศึกษาทําใหทราบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑมีความสุขในการทํางานกับตนเองและครอบครัวเอาใจใสดูแลซึ่งกันและกันอยางสม่ําเสมอ แตกลับพบวาความสุขกับการมีเวลาใหกับสมาชิกในครอบครัวอยูในระดับที่ควรจัดกิจกรรมการเสริมสรางความสัมพันธใหครอบครัวเจาหนาที่เกิดความรูสึกดีตอองคการ เชน การจัดกิจกรรมวันเด็ก การใหทุนการศึกษาบุตรของเจาหนาที่ เปนตน

8. ดานสังคมดี จากการศึกษาทําใหทราบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑมีความสุขในการทํางานกับการที่ตนเองยินดีใหคําปรึกษาแกผูที่ตองการความชวยเหลือแตกลับพบวาความสุขในการทํางานกับการมีสวนรวมพัฒนาชุมชนของทานตามโอกาสอันควรควรไดรับการสงเสริมในการจัดหากิจกรรมที่ชวยสรางความสัมพันธที่ดีใหกับเจาหนาที่ในองคการทําใหเจาหนาที่สามารถทํางานรวมกันไดอยางมีความสุข ปราศจากอคติในการทํางานรวมกันและยังเปนการทําประโยชนใหกับสังคมไดดวย เชน การจัดกิจกรรมการปลูกปา การออกคายอาสา

Page 80: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

72

ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน1. ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน จากการศึกษาทําใหทราบวา เจาหนาที่ทัณฑสถาน

โรงพยาบาลราชทัณฑมีประสิทธิผลการปฏิบัติงานเมื่อไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงานและสามารถดําเนินการใหสําเร็จทุกครั้ง สวนของประสิทธิผลดานผลสัมฤทธิ์ของงานที่ควรจะไดรับพัฒนาเพิ่มเติมนั้นคือ ในกรณีที่ตองทํางานประสานงานรวมกับหนวยงานอ่ืนและสามารถทํางานใหสําเร็จไดตามเปาหมายที่กําหนดไวนั้น ทางทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑควรจัดอบรมในเรื่องของการปฏิบัติงานอยางไรใหเกิดผลสัมฤทธิ์ การจัดลําดับความสําคัญของงานกอน-หลัง การใชทรัพยากรอยางไรใหเกิดประโยชนสูงสุด คุมคา ตอองคการเพื่อประโยชนสูงสุดตอองคการ และจะสามารถสรางผลสัมฤทธิ์ของงานใหเกิดประสิทธิผลที่มากขึ้น

2. ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ จากการศึกษาทําใหทราบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑมีประสิทธิผลการปฏิบัติงานอยางมากดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการกับความสามารถทํางานรวมกับเพื่อนภายในองคการไดเปนอยางดี แตกลับพบวาการมีความรู ความเชี่ยวชาญแบบสหวิทยาทําใหประสิทธิผลการปฏิบัติงานอยูในระดับที่ควรจะแกไขควรมีจัดอบรมใหความรูแกเจาหนาที่ตามตําแหนงงานที่รับผิดชอบ เพื่อเปนการเพิ่มพูนความรูความสามารถ ในขอบขายการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่เพื่อไมใหเกิดขอผิดพลาดในการปฏิบัติงาน ที่จะสงผลตอการเพิ่มประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑตอไป

3. ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ จากการศึกษาทําใหทราบวา เจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑมมีประสิทธิผลการปฏิบัติงานอยางมากในดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการกับการมีความมุงหวังที่จะประสบความสําเร็จไดรับความกาวหนาในการรับราชการแตกลับพบวาประสิทธิผลการปฏิบัติงานดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการกับความพึงพอใจผลการพิจารณาการทํางานของตนเองในรอบการประเมินที่ผานมาของการปฏิบัติงานนั้น ทางทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑควรจะมีการสงเสริมและสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติงานใหกับเจาหนาที่ ควรมีการปรับปรุงหลักเกณฑวิธีการในการประเมินผลการปฏิบัติงานใหมีความยุติธรรมโดยเนนที่ผลงาน เพื่อเปนการสรางขวัญและกําลังใจใหกับเจาหนาที่ในการปฏิบัติงาน เพื่อจะสงผลใหเกิดประสิทธิผลการปฏิบัติงานดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการเพิ่มขึ้น

Page 81: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

73

5.3.2 ขอเสนอแนะในการศึกษาคร้ังตอไปดวยลักษณะงานของทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑที่แตกตางกัน จึงควร

ทําการศึกษาความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตําแหนงอ่ืนๆ ดวยเชน หมอ พยาบาล เพื่อใหทราบถึงแนวทางพัฒนาปรับปรุงความสุขในการทํางานอันจะนําไปสูประสิทธิผลการปฏิบัติงานที่ดีย่ิงขึ้นตอไป

Page 82: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

74

บรรณานุกรม

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. “การพัฒนาและทดสอบดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทย”. เขาถึงไดจาก http://www.dmh.go.th/test/thaihapnew, สืบคนเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน2558.

กัญชพร ผาสุก. “สุขภาวะในที่ทํางานตามทัศนะของพนักงานบริษัท ไลออน (ประเทศไทย) จํากัด”.สารนิพนธหลักสูตร พัฒนาแรงง านและส วัส ดิการม หาบัณ ฑิต คณะ สั ง คมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2552.

กิตติสัณห ชะนะ. “ประสิทธิภาพการบริหารงานของตํารวจภูธรจังหวัดตราดภายใตการบริหารงานแบบบูรณาการ”. ปญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา,2548.

จงจิต เลิศวิบูลยมงคล. “ความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคลากรไดรับการเสริมสรางพลังอํานาจในงานแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ กับความสุขในการทํางานของพยาบาลประจําการโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ”. วิทยานิพนธหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการบริหารการพยาบาล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2546.

จิรณัฐ สกุลชัยสิทฐิ์. “ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครู และบุคลากรทางการศึกษาที่นํานโยบายเ ท ค โ น โ ล ยี ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า NOE Plaza ไ ป ป ฏิ บั ติ ” . ส า ร นิ พ น ธ ห ลั ก สู ต รรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร, 2556.

จุฑารัตน สุนทรสัจจะศิลป. “ประสิทธิผลการพัฒนาระบบฐานขอมูลตามทรรศนะของผูบริหารและนักวิชาการศึกษา สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดและสํานักงานศึกษาธิการอําเภอในเขตการศึกษา 12”. วิทยานิพนธหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต, 2546.

เจริญชัย เพ็งสวาง. “ความสัมพันธระหวางความเปนผูสมบูรณแบบกับความสุขในการทํางานของพนักงาน สายงานบริหารทรัพยสินในสถาบันการเงิน”. วิทยานิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2553.

ชนินันท จันทรสวาง. “ความสุขในการทํางานของพนักงานบริษัท เดอะแวลลูซิสเต็ม จํากัด”.วิทยานิพนธหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2553.

Page 83: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

75

ชุติมณฑน ฟาภิญโญ. “ความสุขในการทํางานของพนักงานบริษัท ควอลิต้ีเซรามิก จํากัด จังหวัดลําปาง”. วิทยานิพนธหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2552.

ติน ปรัชญพฤทธิ์. ความสัมพันธระหวางลักษณะทางสังคมเศรษฐกิจและวิธีทางการบริหารงานบุคคลกับความพึงพอใจในงานและสัมฤทธิ์ผลของงาน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2536.

ทิพวรรณ หลอสุวรรณรัตน. ทฤษฎีองคการสมัยใหม. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: แซทโฟรพริ้นต้ิง จํากัด, 2547.

ธงชัย สันติวงษ. องคการและการบริหาร. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2535.ธารณ ทองงอก. “ความสุขและความตองการความสุขในการทํางานของบุคลากรในสํานัก

การศึกษา เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ”. วิทยานิพนธหลักสูตรสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา, 2552.

นภาพร พิศุทธิกฤตยา. “ความสุขในการทํางานของพนักงานกองบํารุงรักษาเครื่องจักรเหมืองแม เ ม า ะ จั ง ห วั ด ลํ า ป าง ”. วิท ย านิ พ น ธห ลั กสู ต รบ ริ หา ร ธุ ร กิ จม ห าบั ณ ฑิ ตมหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2553.

นภัชชล รอดเที่ยง. “ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสุขในการทํางานของบุคลากรที่สังกัดศูนยอนามัยในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข”. วิทยานิพนธหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเอกอนามัยครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล, 2550.

นันทพันธ เปรี้ยวนอย. “ความสุขในการทํางานของพนักงานรับจางเหมาชวง”. สารนิพนธหลักสูตรพัฒนาแรงงานและสวัสดิการมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2554.

นิตยา เงินประเสริฐศรี. ทฤษฎีองคการ: แนวทางการศึกษาเชิงบูรณาการ. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2542.

ประทุมทิพย เกตุแกว. “ความสัมพันธระหวางการรับรูคุณลักษณะงานความสามารถในการเผชิญและฟนฝาอุปสรรคกับความสุขการทํางานของพยาบาลงานการพยาบาลผาตัดกรณีศึกษาโรงพยาบาลรัฐแหงหนึ่ง”. วิทยานิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2551.

ประพนธ ผาสุกยืด. “Happy Workplace - สวรรคในที่ทํางาน”. เขาถึงไดจากhttp://gotoknow.org/ blog/beyondkm/58183, สืบคนเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2558.

Page 84: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

76

ปยอร ลีระเติมพงษ. “ความสุขในการทํางานของโรงพยาบาล งานการพยาบาลศัลยศาสตรและศัลยศาสตรออรโธปดิกสโรงพยาบาลศิริราช”. วิทยานิพนธหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาการสังคมและการจัดระบบสุขภาพ มหาวิทยาลัยศิลปากร,2552.

พิทยา บวรรัตนา. ทฤษฎีองคการสาธารณะ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541.พิทักษ พิสัยพันธุ. “การศึกษาความสุขของครู สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระยองเขต 2”.

วิทยานิพนธหลักสูตรสาขาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา, 2553.

พิสมัย วัฒนาวรสกุล. “ปจจัยพยากรณความสุขในชีวิตของพนักงานองคการรัฐบาลและเอกชนในเขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม”. วิทยานิพนธหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2551.

เพ็ญพิชชา ต้ังมาลา. “ความสุขในการทํางานของพนักงานกองบํารุงรักษากลางโรงไฟฟาแมเมาะจังหวัดลําปาง”. วิทยานิพนธหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม,2553.

ภรณี กีรติบุตร. การประเมินประสิทธิผลขององคการ. กรุงเทพมหานคร: โอเอสพริ้นต้ิงเฮาส, 2529.รัตนา เตจะวารี. “ศึกษาความสุขในการทํางานของบุคลากรสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสุขภาพ

มหาวิทยาลัยเชียงใหม”. วิทยานิพนธหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2553.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุคสพับบลิเคชั่น, 2542.

ลมัย ทองเรือง. “ภาวะผูนํากับประสิทธิผลของหนวยงาน: ศึกษาเฉพาะกรณี สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดในภาคกลาง”. วิทยานิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(รัฐศาสตร) มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2543.

ลลิตา ศรีเสาวคนธร. “การศึกษาความสุขในการทํางานของพนักงานบริษัทเบลโซนาโพลีเมอริกสลิมิเต็ด (ประเทศไทย)”. วิทยานิพนธหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา, 2554.

วรรณพร พรายสวาท. “ความสัมพันธระหวางการฟงเพลงในขณะทํางานกับความสุขในการทํางานของพนักงาน: ศึกษาเฉพาะกรณี พนักงานของบริษัทอีริคสัน (ประเทศไทย) จํากัด”.

Page 85: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

77

วิทยานิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 2552.

วัชระ ประสาทแกว. “ประสิทธิผลการดําเนินงานโครงการคนรักษครอง ของสํานักงานเขตทุงครุ ”.วิทยานิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต ,2549.

วิเชียร จันทะเนตร. “วัฒนธรรมองคการกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลในเขตปริมณฑล”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตรมหาวิทยาลัยเกริก, 2558.

สนั่น สันหลี. “สมรรถนะตามตําแหนงงานกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่คดีพิเศษและพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ”. สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก, 2556.

สมลักษณ นามวัฒน. “ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานจางสังกัดองคกรปกครองสวนทอง ถ่ิน ในเขตอําเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ” . สารนิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองทองถ่ิน วิทยาลัยการปกครองทองถ่ิน มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2552.

สัมฤทธิ์ สุขสงค. “ประสิทธิผลการบริหารงานขององคการบริหารสวนตําบล ศึกษากรณีองคการบริหารสวนตําบลในจังหวัดกาฬสินธุ”. วิทยานิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสถาบันราชภัฎมหาสารคาม, 2545.

สิรินทร แซฉั่ว. “ความสุขในการทํางานของบุคลากรเชิงสรางสรรค : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมเชิงสรางสรรคกลุมสื่อและกลุมงานสรางสรรคเพื่อการใชงาน”. วิทยานิพนธหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2553.

สุพจน ทรายแกว. การจัดการภาครัฐแนวใหม. พระนครศรีอยุธยา: เทียนวัฒนา, 2545.สุพักตร เวียงอินทร. “ความผูกพันตอองคการและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ

กองรอยตระเวนชายแดนที่ 236 อําเภอเมือง จังหวัดนครพนม”. วิทยานิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร, 2554.

สุพัชรี คลายขํา. “ประสิทธิผลการปฏิรูประบบราชการของสํานักงานเศรษฐกิจการคลัง ”.วิทยานิพนธหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต ,2548.

Page 86: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

78

สุภาณี สุขะนาคินทร. “ปจจัยที่มีความสัมพันธกับความสุขของประชาชนอําเภอทาปลา จังหวัดอุตรดิตถ”. วิทยานิพนธหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ,2550.

สุ เมธ ชัยเลิศวนิชกุล . การวางแผนและติดตามผลลัพธ การบริหารโดยมุ งผลสัมฤทธิ์ .กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพสวนทองถ่ิน, 2542.

สุรางครัตน วศินารมณ. สวัสดิการในองคกร: แนวคิดและวิธีการบริหาร. กรุงเทพมหานคร:เม็ดทรายปริ้นต้ิง, 2540.

สํานักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สํานักงาน (ก.พ.). คูมือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ:ภ า พ ร ว ม ร ะ บ บ บ ริ ห า ร ผ ล ง า น แ ล ะ ร ะ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร .กรุงเทพมหานคร: บริษัท พี.เอ.ลีฟว่ิง จํากัด, 2552.

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.). จุดประกาย Happy Workplace องคกรแหงความสุข. กรุงเทพมหานคร: บริษัท รุงศิริพลับบลิชิ่ง, 2551.

อภิชาต ภูพานิช. “การใชดัชนีวัดระดับความสุขในการทํางานของบุคลากรสังกัดสํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ”. วิทยานิพนธหลักสูตรพัฒนาแรงงานและสวัสดิการมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2551.

อาภรณ ภูวิทยาพันธ. ทํางานอยางไรให Happy. กรุงเทพมหานคร: เนชั่นบุคส, 2548.อุทัยทิพย เจี่ยวิวรรธนกุล และคณะ. สรางสรรค สานฝนสูองคกรสุขภาวะ: มองผาน Happy 8

Menu. กรุงเทพมหานคร: ที. เอ. ลีฟว่ิง จํากัด, 2555.Herzberg, F. Mausner, and Synderman, B. The Motivation to Work. 2nd (ed). New York:

Wiley, 1959.Hoy, Waynek K. and Cecil G. Miskel. Educational Theory Research and Practice. 4th

(ed). Singapore: McGraw-Hill, 1991.Manion, J. Joy. “At Work: As Experienced, As Expressed.” Doctor of Philosophy in

Human and Organizational System. University of Michigan, 2003.Maslow, Abraham H. Motivation and Personality. New York: Harper and Brothers, 1954.McClelland, D. The Idea of Happiness. 2nd (ed). New York: Institute for Philosophical

Research, 1961.Strees, R. M. Organization Effectiveness: A Behavior View. Santa Monica: Goodyear,

1977.

Page 87: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

ภาคผนวก

Page 88: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

80

แบบสอบถามเร่ือง ความสุขในการทํางานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน

ของขาราชการทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ

คําชี้แจงแบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาอิทธิพลของความสุขในการทํางานตอ

ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ ซึ่งเปนการศึกษาเพื่อประกอบการศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก ซึ่งผลการศึกษาไมมีผลกระทบใดๆ ตอผูตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น ดังนั้น ผูศึกษาจึงขอความอนุเคราะหจากทานในการตอบแบบสอบถามใหตรงกับความคิดเห็นของทานมากที่สุด และขอความกรุณาตอบคําถามใหครบทุกขอ เพื่อประโยชนในการนําไปวิเคราะหขอมูลตอไป

แบบสอบถามนี้ประกอบดวยขอคําถาม 3 ตอน คือตอนที่ 1 เปนแบบสอบถามเก่ียวกับปจจัยสวนบุคคล มีลักษณะเปนแบบเลือกตอบ

(Check List) ไดแก เพศ อายุ อายุราชการสถานภาพระดับการศึกษารายไดตอเดือน

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเก่ียวกับความสุขในการทํางาน จํานวน 40 ขอตอนที่ 3 แบบสอบถามเก่ียวกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของขาราชการ จํานวน 15 ขอ

ขอแสดงความนับถือ

นางสุมาลี ดวงกลาง นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

มหาวิทยาลัยเกริก

Page 89: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

81

ตอนท่ี 1 ขอมลูท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามคําชี้แจง กรุณาตอบแบบสอบถาม โดยทําเครื่องหมาย √ ลงใน ( ) ตามขอมูลที่เปนจริง1. เพศ

1. ( ) ชาย 2. ( ) หญิง

2. อายุ1. ( ) ตํ่ากวา 30 ป 2. ( ) 30 – 40 ป3. ( ) 41 – 50 ป 4. ( ) 51 – 60 ป

3. อายุราชการ1. ( ) 1 – 5 ป 2. ( ) 6 – 10 ป3. ( ) 11 – 15 ป 4. ( ) 16 – 20 ป5. ( ) 21 ปขึ้นไป

4. สถานภาพ1. ( ) โสด 2. ( ) สมรส3. ( ) หมาย 4. ( ) หยาราง / แยกกันอยู

5. ระดับการศึกษา1. ( ) ตํ่ากวาปริญญาตรี 2. ( ) ปริญญาตรี3. ( ) ปริญญาโท 4. ( ) ปริญญาเอก

6. รายไดตอเดือน (เงินเดือน , คาลวงเวลา , เบ้ียเลี้ยง)1. ( ) 15,000 – 20,000 บาท 2. ( ) 20,001 – 25,000 บาท3. ( ) 25,001 – 30,000 บาท 4. ( ) 30,001 บาทขึ้นไป

Page 90: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

82

สวนท่ี 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความสุขในการทํางานคําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริงของทานมากที่สุด

ระดับความคิดเห็นความสุขในการทํางาน(Happy Workplace)

(5)มากท่ีสุด

(4)มาก

(3)ปานกลาง

(2)นอย

(1)นอยท่ีสุด

1. ดานสุขภาพกายและใจดี1. ทานมีสุขภาพรางกายแข็งแรง2. ทานมีความสุขจากการไดออกกําลังกาย3. ทานหาวิธีดูแลสุขภาพของตนเอง4. ทานเขารวมกิจกรรมสงเสริมสุขภาพอยูเสมอ5. ทานเชื่อมั่นวาตนเองมีสุขภาพดี2. ดานมีนํ้าใจเอื้ออาทร6. ทานมีความสุขจากการที่ไดเปนผูใหแกผูอ่ืน7. ทานมีความสุขจากการที่ไดเปนผูรับจากผูอ่ืน8. ทานพึงพอใจกับรายไดที่ไดรับจากการทํางานในปจจุบัน9. ทานมีความยินดีที่เห็นเพื่อนรวมงานประสบความสําเร็จ10. ทานมีความสุขกับงานที่ทํา3. ดานการมีเงิน11. ทานมีการวางแผนการใชเงิน12. ทานระมัดระวังการใชจายเพื่อไมใหเงินขาดมือ13. ทานมีเงินสํารองไวใชเมื่อยามฉุกเฉิน14. ทานมีรายรับเพียงพอกับรายจาย15. ทานมีความสุขจากการที่ไมมีหนี้สิน4. ดานการผอนคลาย16. ทานสามารถทนตอแรงกดดันที่เกิดจากการทํางานได17. ทานสามารถหาวิธีผอนคลายความเครียดได

Page 91: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

83

ระดับความคิดเห็นความสุขในการทํางาน(Happy Workplace)

(5)มากท่ีสุด

(4)มาก

(3)ปานกลาง

(2)นอย

(1)นอยท่ีสุด

18. การไดพักผอนในวันหยุดประสัปดาหชวยใหทานรูสึกผอนคลาย19. การสงบสติอารมณชวยใหทานสบายใจขึ้น20. วิธีมองโลก มองคนของทานทําใหทานมีความสุข5. ดานการศึกษาหาความรู21. ทานศึกษาหาความรูทุกครั้งที่มีโอกาส22. ทานคิดหาวิธีตางๆ เพื่อพัฒนาการทํางานของทานอยางตอเนื่อง23. ทานศึกษาหาความรูเพื่อพัฒนาตนเองเสมอ24. ทานยินดีรับคําแนะนําจากหัวหนาเพื่อพัฒนาการทํางาน25. ทานรูสึกวามีความมั่นคงในงานที่ทํา6. ดานการมีศีลธรรม26. ทานไดปฏิบัติตนตามหลักคําสอนของศาสนา27. ทานปฏิบัติตนโดยยึดหลักศีลธรรมจริยธรรม28. ทานรูสึกมีความสุขเมื่อไดทําบุญ29. ทานใชชีวิตโดยไมเบียดเบียนผูอ่ืน30. ทานมีสวนสนับสนุนใหผูอ่ืนปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา7. ดานครอบครัวอบอุน31. ทานมีเวลาใหกับสมาชิกในครอบครัว32. ทานรูสึกวาครอบครัวของทานมีความมั่นคง33. ทานและสมาชิกในครอบครัวพูดคุยปรึกษากันไดทุกเรื่อง34. ทานสามารถเปนหลักประกันของครอบครัวได

Page 92: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

84

ระดับความคิดเห็นความสุขในการทํางาน(Happy Workplace)

(5)มากท่ีสุด

(4)มาก

(3)ปานกลาง

(2)นอย

(1)นอยท่ีสุด

35. ทานและครอบครัวเอาใจใสดูและซึ่งกันและกันอยางสม่ําเสมอ8. ดานสังคมดี36. ทานมีความสุขในการทํางานรวมกับผูอ่ืน37. ทานยินดีใหคําปรึกษาแกผูที่ตองการความชวยเหลือ38. ทานมีสวนรวมพัฒนาชุมชนของทานตามโอกาสอันควร39. ทานและเพื่อนรวมงานของทานรวมมือกันปฏิบัติงานในความรับผิดชอบจนสําเร็จตามเปาหมาย40. ทานและเพื่อนรวมงานมีการเอ้ือเฟอเก้ือกูลซึ่งกันและกัน

Page 93: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

85

สวนท่ี 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานคําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองวางที่ตรงกับความเปนจริงของทานมากที่สุด

ระดับความคิดเห็นประสิทธิผลการปฏิบัติงาน (5)

มากท่ีสุด

(4)มาก

(3)ปานกลาง

(2)นอย

(1)นอยท่ีสุด

1. ดานผลสัมฤทธิ์ของงาน1. ทานสามารถปฏิบัติงานประจําไดสําเร็จตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนดไว2. เมื่อไดรับมอบหมายใหปฏิบัติงาน ทานสามารถดําเนินการใหสําเร็จไดทุกครั้ง3. กรณีที่ตองทํางานประสานงานรวมกับหนวยงานอ่ืนทานสามารถทํางานใหสําเร็จไดตามเปาหมายที่กําหนดไว4. ทานจัดลําดับความสําคัญกอนหลังของงานอยูเสมอเพื่อใหงานเสร็จทันเวลา5. ทานปฏิบัติงานโดยใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด คุมคา ตอองคการ2. ดานพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ6. หากเกิดขอผิดพลาดในการปฏิบัติงานทานสามารถแกไขไดโดยทันที7. ทานสามารถใหขอมูลขาวสารแกผูมาขอรับบริการไดอยางชัดเจน ถูกตอง8. ทานศึกษาพัฒนาตนเองเพื่อการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง9. ทานมีความรูความเชี่ยวชาญแบบสหวิทยา10. ทานสามารถทํางานรวมกับเพื่อนรวมงานภายในองคการไดเปนอยางดี

Page 94: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

86

ระดับความคิดเห็นประสิทธิผลการปฏิบัติงาน (5)

มากท่ีสุด

(4)มาก

(3)ปานกลาง

(2)นอย

(1)นอยท่ีสุด

3. ดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ11. ทานมีความมุงหวังที่จะประสบความสําเร็จไดรับความกาวหนาในการรับราชการ12. ผลการปฏิบัติราชการของทานอยูในเกณฑมาตรฐานและยอมรับได13. ทานมีความพึงพอใจผลการพิจารณาการทํางานของทานในรอบการประเมินที่ผานมา14. ในรอบการประเมินทานสามารถมาปฏิบัติงานไดตามเวลาที่กําหนด (08.30 น.)15. ทานรักษาระเบียบวินัยขาราชการอยางเครงครัด

Page 95: ความสุขในการทํางานกับ ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MPA/2560/F_Sumalee...4.19 แสดงค าเฉล ยและส วนเบ ยงเบนมาตรฐานด

87

ประวัติผูศึกษา

ชื่อ – สกุล นางสุมาลี ดวงกลางวัน/เดือน/ปเกิด 4 มิถุนายน 2518สถานท่ีเกิด จังหวัดสระบุรีประวัติการศึกษา

ปการศึกษา 2541 ปริญญาตรี สาขาการจัดการทั่วไปมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต

ประวัติการทํางานพ.ศ. 2548 งานควบคุมผูตองขังไป-กลับศาลอาญากรุงเทพใต

ทัณฑสถานหญิงกลางพ.ศ. 2556 งานควบคุมสวนปกครองผูตองขังหญิง

เรือนจํากลางฉะเชิงเทราพ.ศ. 2558 งานควบคุมสวนปกครองผูตองขังหญิง

ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ