57
รายงานผลการดําเนินงาน เรื่อง โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐานปี 2553 อําเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี โดย นายชูชาติ เสืองามเอี่ยม เกษตรอําเภอ (นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชํานาญการ) สํานักงานเกษตรอําเภอวัดเพลง สํานักงานเกษตรจังหวัดราชบุรี รายงานผลการดําเนินงานนี้ เป็ นเอกสารประกอบการประเมินบุคคลเพื่อแต ่งตั ้งให ้ดํารงตําแหน่ง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชํานาญการพิเศษ ตําแหน่งเลขที9240 กลุ ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สังกัดสํานักงานเกษตรจังหวัดสมุทรสงคราม กรมส่งเสริมการเกษตร .. 2554

รายงานผลการดำเนินงาน · กรอบแนวคิดในการชี้นําทิศทางการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบบูรณาการ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • รายงานผลการดาํเนินงาน

    เร่ือง

    โครงการส่งเสริมการผลติสินค้าเกษตรปลอดภยัและได้มาตรฐานปี 2553

    อาํเภอวดัเพลง จงัหวดัราชบุรี

    โดย

    นายชูชาติ เสืองามเอีย่ม

    เกษตรอาํเภอ (นักวชิาการส่งเสริมการเกษตรชํานาญการ)

    สํานักงานเกษตรอาํเภอวดัเพลง

    สํานักงานเกษตรจงัหวดัราชบุรี

    รายงานผลการดาํเนินงานนี้

    เป็นเอกสารประกอบการประเมนิบุคคลเพือ่แต่งตั้งให้ดาํรงตําแหน่ง

    นักวชิาการส่งเสริมการเกษตรชํานาญการพเิศษ ตําแหน่งเลขที ่9240

    กลุ่มส่งเสริมและพฒันาการผลติ

    สังกดัสํานักงานเกษตรจงัหวดัสมุทรสงคราม

    กรมส่งเสริมการเกษตร

    พ.ศ. 2554

  • คาํนํา

    รายงานผลการดาํเนินงานโครงการส่งเสริมการผลิตสินคา้เกษตรปลอดภยัและไดม้าตรฐาน

    ปี 2553 อาํเภอวดัเพลง จงัหวดัราชบุรี ฉบบัน้ีจดัทาํขึ้นเพือ่นาํเสนอขอ้มูลดา้นต่างๆ ของโครงการ

    ซ่ึงโครงการส่งเสริมการผลิตสินคา้เกษตรปลอดภยัและไดม้าตรฐาน น้ีเป็นนโยบายหลกัของกระทรวง

    เกษตรและสหกรณ์ ในการพฒันาอาชีพและความเป็นอยูข่องเกษตรกร ในการ ดาํเนินงานโครงการ จะ

    ทาํใหรั้บทราบปัญหาอุปสรรค จะไดน้าํขอ้มูลท่ีไดไ้ปกาํหนดเป็นแนวทางในการส่งเสริมและพฒันา

    โครงการส่งเสริมการผลิตสินคา้เกษตรปลอดภยัและไดม้าตรฐานใหป้ระสบผลสาํเร็จและสอดคลอ้ง

    กบัสภาพพื้นที่ของเกษตรกรต่อไป

    ในการจดัทาํรายงานผลการดาํเนินงานฉบบัน้ี ได้ รับความอนุเคราะห์ขอ้มูลจาก เกษตรกรที่เขา้

    ร่วมโครงการ ที่ปรึกษาเกษตรกร นกัวชิาการส่งเสริมการเกษตรสาํนกังานเกษตรอาํเภอ วดัเพลงทุกคน

    ที่ไดร้วบรวมขอ้มูลในการจดัทาํรายงานผลการดาํเนินงานโครงการ และขอขอบคุณ นาย รังสรรค ์

    กองเงิน เกษตรจงัหวดั ราชบุรี เ ป็นอยา่งยิง่ที่ใหค้าํแนะนาํและขอ้เสนอแนะ ตรวจสอบแกไ้ขสรุป

    รายงานใหมี้คุณภาพและเสร็จส้ินตามวตัถุประสงคท์ุกประการ

    ขอขอบคุณทุกท่านไว ้ณ โอกาสน้ี และหวงัเป็นอยา่งยิง่วา่รายงานผลการดาํเนินงานโครงการ

    ส่งเสริมการผลิตสินคา้เกษตรปลอดภยัและไดม้าตรฐาน ปี 255 3 จะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบติั

    ราชการใหมี้ประสิทธิภาพมากขึ้นในลาํดบัต่อไป

    ชูชาติ เสืองามเอ่ียม

    มิถุนายน 2554

  • สารบัญ

    หนา้

    ความรู้ทางวชิาการหรือแนวคิดที่ใชใ้นการดาํเนินการ 1

    สาระและขั้นตอนการดาํเนินการ 34

    ความยุง่ยากในการดาํเนินการ 37

    ระยะเวลาที่ดาํเนินการ 38

    ผลสาํเร็จของงาน 38

    การนาํไปใชป้ระโยชน์ 40

    ปัญหาอุปสรรคและขอ้เสนอแนะ 41

    ผูร่้วมดาํเนินการ 42

    ส่วนของงานที่ผูเ้สนอเป็นผูป้ฎิบติั 42

    เอกสารอา้งอิง 43

  • ข้อเสนอแนวความคดิเพือ่พฒันางานให้มปีระสิทธิภาพ

    เร่ือง

    การส่งเสริมการผลติผกัให้ปลอดภยัตามมาตรฐานการปฏบิัติทางการเกษตรทีด่ี

    จงัหวดัสมุทรสงคราม

    โดย

    นายชูชาติ เสืองามเอีย่ม

    เกษตรอาํเภอ (นักวชิาการส่งเสริมการเกษตรชํานาญการ)

    สํานักงานเกษตรอาํเภอวดัเพลง

    สํานักงานเกษตรจงัหวดัราชบุรี

    ข้อเสนอแนวความคดินี้

    เป็นเอกสารประกอบการประเมนิบุคคลเพือ่แต่งตั้งให้ดาํรงตําแหน่ง

    นักวชิาการส่งเสริมการเกษตรชํานาญการพเิศษ ตําแหน่งเลขที ่ 9240

    กลุ่มส่งเสริมและพฒันาการผลติ

    สํานักงานเกษตรจงัหวดัสมุทรสงคราม

    กรมส่งเสริมการเกษตร

  • พ.ศ. 2554

    คาํนํา

    ขอ้เสนอแนวความคิดเพือ่พฒันางานใหมี้ประสิทธิภาพ เร่ือง การส่งเสริมการผลิตผกั ให้

    ปลอดภยัตามมาตรฐานการปฏิบติัทางการเกษตรที่ดี จงัหวดัสมุทรสงคราม ใหส้อดคลอ้งกบัศกัยภาพ

    ของพื้นที่ สภาพพื้นฐาน สภาพการดาํเนินงาน ปัญหาและขอ้เสนอแนะของเกษตรกร เพือ่นาํไปใชเ้ป็น

    กรอบแนวคิดในการช้ีนาํทิศทางการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบบูรณาการ เพือ่ประกอบการทาํ

    แผนการส่งเสริมการผลิตผกัใหป้ลอดภยัตามมาตรฐานของจงัหวดัสมุทรสงคราม โดยกาํหนดแนวทาง

    ขั้นตอนในการปฏิบติัและตวัช้ีวดัความสาํเร็จใหมี้ประสิทธิภาพยิง่ขึ้นต่อไป

    เอกสารฉบบัน้ี สาํเร็จไดด้ว้ยดีเพราะความร่วมมือของหลายฝ่ายดว้ยกนัและ ขอขอบคุณ

    นายรังสรรค ์กองเงิน เกษตรจงัหวดั ราชบุรี นายสุดสาคร ภทัรกุลนิษฐ ์ เกษตรจงัหวดั กาญจนบุรี

    และนายสมพล แกว้ศรี เกษตรอาํเภอสวนผึ้ง เป็นอยา่งยิง่ ท่ีใหค้าํแนะนาํและขอ้เสนอแนะ ทาํให้

    ขอ้เสนอแนวคิดเพือ่พฒันางานใหมี้ประสิทธิภาพ เสร็จสมบูรณ์เป็นไปตามวตัถุประสงค ์

    ชูชาติ เสืองามเอ่ียม

    มิถุนายน 2554

  • สารบัญ

    หนา้

    หลกัการและเหตุผล 1

    บทวเิคราะห์/แนวความคิด 2

    ขอ้เสนอ 13

    ผลที่คาดวา่จะไดรั้บ 15

    ตวัช้ีวดัความสาํเร็จ 15

    เอกสารอา้งอิง 17

  • 1

    ช่ือเร่ือง รายงานผลการดําเนินงานโครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน

    ปี 2553 อําเภอวัดเพลง จังหวัดราชบุรี

    ความรู้ทางวิชาการหรือแนวความคดิที่ใช้ในการดําเนินการ

    1. แนวความคดิทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

    1.1 การส่งเสริมการผลิต

    1.2 มาตรฐานสินคา้เกษตร

    1.3 แนวคิดเก่ียวกบัการประเมินโครงการ

    1.4 โครงการส่งเสริมการผลิตสินคา้เกษตรปลอดภยัและไดม้าตรฐาน

    2. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

    1. แนวความคดิทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

    1.1 การส่งเสริมการผลิต

    พงษศ์กัด์ิ องักสิทธ์ิ (2543) ไดก้ล่าวถึง ความหมาย ของ การส่งเสริมการผลิต ไวว้า่ เป็น

    กระบวนการพฒันาความรู้ของเกษตรกรจากการนาํเทคโนโลยท่ีีเหมาะสม ผสมผสานภูมิปัญญา

    ทอ้งถ่ิน เพือ่มุ่งพฒันาผลผลิตที่เหมาะสมกบัการใชท้รัพยากรธรรมชาติ ก่อใหเ้กิดพฒันารายได ้

    เศรษฐกิจ ทาํใหชี้วติครอบครัวเกษตรกรอยูอ่ยา่งพอมี พอกิน และมีความสุข อนัเป็นผลต่อการพฒันา

    ชุมชนชนบทใหมี้ความมัน่คงและมัง่คัง่ในที่สุด

    1วชัรินทร์ อุปนิสากร 1(2551) ไดก้ล่าววา่ การส่งเสริมการผลิต 7หมายถึง การใหค้าํแนะนาํ การ

    ช่วยเพิ่ มกระบวนกา รเปล่ียนรูปแปรรูป หรือสภาพจากวตัถุดิบใหก้ลายเป็นผลิตภณัฑซ่ึ์งผูบ้ริโภค

    สามารถนาํไปใชไ้ดห้รือ อาจจะนาํไปเป็นวตัถุดิบในการผลิต ผลิตภณัฑช์นิดอ่ืนๆ อีกต่อหน่ึงก็ได้

    ผลิตภณัฑ์ ที่ไดน้ี้จะมีคุณค่าเพิม่ขึ้นซ่ึงเกิดจากตน้ทุนที่ใชใ้นการเปล่ียนรูป แปรรูปหรือสภาพ

    วตัถุดิบนั้น มกัจะเป็นขั้นตอนต่างๆ ตามลาํดบัจนกระทัง่ไดผ้ลิตภณัฑต์ามท่ีตอ้งการ

    มหาวทิยาลยัสุโขทยัธรรมาธิราช ( 2548) ไดก้ล่าววา่ การส่งเสริมการผลิต หมายถึง การช่วย

    เสริมสร้างเศรษฐทรัพยแ์ละบริการต่างๆใหดี้ขึ้น เพือ่บาํบดัความตอ้งการของมนุษย์ การช่วยเพิม่การ

    ผลิตส่ิงของและบริการทุกอยา่ง จะตอ้งเป็นการสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจขึ้นใหม่ การผลิตหรือการ

    สร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจขึ้นใหม่ อาจจดัอยูใ่นลกัษณะใดลกัษณะหน่ึง ต่อไปน้ี

  • 2

    1. ลกัษณะการส่งเสริมการผลิต

    1.1 การสร้างรูปร่างผลิตผลขึ้นใหม่ คือ การทาํใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงรูปร่างของปัจจยั

    การผลิตต่างๆ เพือ่ใหเ้กิดสินคา้ตามลกัษณะและรูปร่างที่ตอ้งการ เพือ่เพิม่ความ พงึพอใจใหแ้ก่ผูใ้ช้

    และผูบ้ริโภคมากที่สุด

    1.2 การเคล่ือนยา้ยผลิตผล คือการเปล่ียนที่ของผลิตผล เพือ่ก่อใหเ้กิดประโยชน์และอาํนาจ

    บาํบดัความตอ้งการมากขึ้น

    1.3 การเก็บผลิตผล คือการเก็บรักษา ไวร้อเวลาท่ีตอ้งการคือการเก็บสินคา้บางอยา่งไว้

    นานๆเพือ่เพิม่ประโยชน์และเพิม่มูลค่า

    1.4 การทาํใหก้รรมสิทธ์ิในทรัพยเ์ปล่ียนมือ เช่น การทาํหนา้ท่ีเป็นนายหนา้ขายบา้น

    เท่ากบัเป็นการช่วยดาํเนินการโอนเปล่ียนกรรมสิทธ์ิในบา้นจากคนหน่ึงไปยงัอีกคนหน่ึง เจา้ของบา้น

    ใหม่จะเกิดความพอใจที่ไดบ้า้นมาเป็นกรรมสิทธ์ิของตน

    2. ปัจจยัการผลิต

    ในการผลิตจาํเป็นตอ้งอาศยัปัจจยัการผลิต ซ่ึงแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ

    2.1 ทรัพยากรธรรมชาติ ไดแ้ก่ ที่ดินรวมถึงสภาพธรรมชาติที่อยูใ่ตดิ้น บนดินและเหนือดิน

    2.2 แรงงาน หมายถึง การทาํงานทุกชนิดที่ก่อใหเ้กิดสินคา้และบริการ แรงงานน้ีรวมไป

    ถึงแรงงานดา้นการใชก้าํลงักายและกาํลงัความคิดของมนุษย ์อนัก่อใหเ้กิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจดว้ย

    2.3 ทุน ในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง สินคา้ หรือส่ิงที่มนุษยส์ร้างขึ้นเพือ่ใชใ้นการผลิต

    2.4 ผูป้ระกอบการไดแ้ก่ ผูมี้หนา้ที่เก่ียวกบัการวนิิจฉยัโดยตรง เป็นผูใ้หค้วามริเร่ิม

    นโยบายต่างๆ หรือเปล่ียนแปลงนโยบายในส่วนสาํคญัในอนัท่ีจะทาํใหก้ารผลิตดาํเนินไปอยา่งมี

    ประสิทธิภาพ

    3. ลาํดบัขั้นในการผลิต

    3.1 การผลิตขั้นปฐมหรือการผลิตขั้นแรก ไดแ้ก่ การผลิตทางดา้นการเกษตร การทาํป่าไม ้

    การประมง การทาํสวน ทาํไร่ ซ่ึงเป็นการผลิตแบบดั้งเดิมของมนุษยต์ั้งแต่สมยัโบราณ

    3.2 การผลิตขั้นมธัยมหรือขั้นท่ีสอง ไดแ้ก่ การผลิตทางดา้นหตัถกรรม และอุตสาหกรรม

    การผลิตขั้นน้ี จะนาํเอาผลิตผลในขั้นปฐมมาดดัแปลง เพือ่ถนอมหรือผลิตเป็นสินคา้อ่ืน

    3.3 การผลิตขั้นอุดมหรือขั้นที่สาม ไดแ้ก่ การใหบ้ริการดา้นการขนส่ง การคา้ส่ง การคา้

    ปลีก การธนาคาร และการประกนัภยั ซ่ึงเป็นงานท่ีช่วยใหก้ารผลิตไปถึงมือผูบ้ริโภค หลงัจากผลิตขั้น

    ที่สองเสร็จแลว้

    กนกวรรณ นิลเพช็ร์ (2550) ไดก้ล่าวถึงการพฒันาผลิตภณัฑไ์วว้า่ การพฒันาผลิตภณัฑ์ ต่างๆ

    เป็นส่ิงจาํเป็นอยา่งยิง่ต่อการขายสินคา้ผลิตภณัฑห์ตัถกรรม เพราะผูซ้ื้อมกัจะไม่ชอบความจาํเจ ในการ

    พฒันาคุณภาพสินคา้หตัถกรรมแต่ละชนิด ยอ่มจะมีความแตกต่างกนัไปตามลกัษณะเฉพาะตวัสินคา้

    http://guru.sanook.com/search/knowledge_search.php?qID=&wi=&hnl=&ob=&asc=&q=%A1%D2%C3%CA%E8%A7%E0%CA%C3%D4%C1%A1%D2%C3%BC%C5%D4%B5&select=1

  • 3

    เช่น สินคา้ที่มีประโยชน์ทางดา้นการใชส้อย นอกจากจะตอ้งมีรูปแบบใหม่สวยงามแลว้ จะตอ้งมีความ

    คงทนดว้ย ส่วนสินคา้ที่เป็นของที่ระลึกก็จะตอ้งเนน้ถึงวสัดุใชส้อยในทอ้งถิ่นนั้นๆ ใหเ้ห็นถึง

    เอกลกัษณ์เฉพาะตวั และส่ิงที่ขาดไม่ไดค้ือความประณีต พถีิพถินัในการผลิต ส่วนสินคา้ประเภทที่ใช้

    ในดา้นการตกแต่งและเคร่ืองประดบัชนิดต่างๆ จะตอ้งเนน้ทั้งในดา้นความงดงามของศิลปะและ

    รูปแบบ ซ่ึงจะตอ้งเปล่ียนแปลงไปตามสมยันิยม นอกจากการพฒันารูปแบบใหมี้ความแปลกใหม่แลว้

    ส่ิงที่ควรทาํอยา่งยิง่คือ การนาํเอาเทคนิคการผลิตสมยัใหม่รวมทั้งเคร่ืองมือสมยัใหม่เขา้มาช่วย เพือ่ให้

    ผลิตภณัฑมี์คุณภาพดีและตน้ทุนการผลิตท่ีไม่สูงจนเกินไป

    กรมส่งเสริมการเกษตร ( 2548) ได้ระบุถึงหน่วยงานการส่งเสริมการผลิต มีหน่วยงานทั้ง

    ภาครัฐบาลและเอกชนใหก้ารส่งเสริมการผลิตอยา่งต่อเน่ือง ไดแ้ก่ กระทรวงอุตสาหกรรม โดย

    กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กองส่งเสริมหตัถกรรมไทยในส่วนกลาง รวมทั้งศูนยส่์งเสริมอุตสาหกรรม

    ภาคเหนือ จงัหวดัเชียงใหม่ ศูนยส่์งเสริมอุตสาหกรรมภาค ตะวนัออกเฉียงเหนือ จงัหวดัขอนแก่น

    ศูนยส่์งเสริมอุตสาหกรรมภาคใต ้จงัหวดัสงขลา และสาํนกัเงินทุนหมุนเวยีนเพือ่ส่งเสริมอุตสาหกรรม

    ในครอบครัวและหตัถกรรมไทย สาํนกังานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กรมพฒันาชุมชน

    กรมศิลปากร กรมอาชีวศึกษา เกษตรจงัหวดั หอการคา้จงัหวดั เป็นตน้ ไดด้าํเนินการส่งเสริมการผลิต

    สินคา้หตัถกรรม ดว้ยการใหค้าํแนะนาํ ฝึกอบรมวธีิการผลิต การพฒันาผลิตภณัฑต์่างๆ ตลอดจนการ

    ใหกู้ย้มืเงินของสาํนกังานเงินทุนหมุนเวยีนเพือ่นาํไปลงทุนในดา้นผลิตสินคา้ผลิตภณัฑพ์ื้นบา้น

    ออกจาํหน่าย เป็นตน้

    1.2 มาตรฐานสินค้าเกษตร

    คณะกรรมการมาตรฐานสินคา้เกษตรและอาหารแห่งชาติ (2546)ไดมี้มติ ออกมา เม่ือวนัที่

    29 กรกฎาคม 2546 ใหห้น่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ใชเ้คร่ืองหมายรับรองมาตรฐาน

    สินคา้เกษตรและอาหารใหเ้ป็นเคร่ืองหมายเดียวกนั คือ เคร่ืองหมาย " Q" เพือ่ลดความซํ้ าซอ้นในการ

    ใชเ้คร่ืองหมายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซ่ึงเคร่ืองหมายน้ีแสดงใหเ้ห็นวา่สินคา้เกษตรและ

    อาหารมีคุณภาพและความ ปลอดภยัพร้อมทั้งยงัส่ือไปถึงผูบ้ริโภคภายในประเทศและประเทศคู่คา้ให้

    เกิดความเช่ือมัน่ในระบบการผลิตและผลิตภณัฑสิ์นคา้เกษตรและอาหารใหเ้ป็นไปตาม มาตรฐานและ

    เป็นที่ยอมรับของนานาประเทศ ซ่ึงหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดมี้การจดัทาํบนัทึก

    ขอ้ตกลงความร่วมมือ (MOU) เร่ืองการใชเ้คร่ืองหมายรับรองมาตรฐานสินคา้เกษตรและอาหาร โดยมี

    การลงนามวนัที่ 26 กนัยายน 2546 ร่วมกนั 8 หน่วยงาน ไดแ้ก่ กรมวชิาการเกษตร กรมประมง

    กรมปศุสตัว์ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมพฒันาที่ดิน องคก์ารตลาดเพือ่

    เกษตรกร และสาํนกังานมาตรฐานสินคา้เกษตรและอาหารแห่งชาติ เพือ่เป็นขอ้ผกูพนัใหมี้การนาํ

    เคร่ืองหมายรับรอง " Q" ไปใชใ้นแนวทางเดียวกนั และมีการดาํเนินการตามวธีิการและแนวทางที่

  • 4

    กาํหนดไวใ้น MOU โดยหน่วยรับรองใหก้ารรับรอง ตั้งแต่ระดบัไร่นาจนถึงผูบ้ริโภค ( From Farm To

    Table) เพือ่ใหผู้บ้ริโภคไดรั้บสินคา้ที่มีคุณภาพและมีความปลอดภยั รวมถึงเป็นการส่งเสริมใหเ้ป็น

    ผูผ้ลิต ผูป้ระกอบการสินคา้เกษตรและอาหารของไทย ไดต้ระหนกัถึงคุณค่าความสาํคญัของ

    เคร่ืองหมายรับรอง "Q" ที่แสดงถึงความมีคุณภาพและปลอดภยั ดงันั้นจาํเป็นตอ้งมีระบบการควบคุม

    กาํกบัดูแลการนาํเคร่ืองหมายรับรอง " Q" ไปใชอ้ยา่งถูกตอ้งและมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นยงัมี

    ระบบการจดัรหสัประกอบการแสดงเคร่ืองหมาย เพือ่ใหส้ามารถตรวจสอบยอ้นกลบัไดก้รณีที่มีการ

    ปลอมแปลงเอกสารใบรับรองหรือ กรณีตรวจพบสินคา้มีปัญหาดา้นคุณภาพท่ีไม่เป็นไปตามมาตรฐาน

    กรมส่งเสริมการเกษตร (2550) ไดก้ล่าวไวว้า่ กรมส่งเสริมการเกษตร ไดใ้ห้ความสาํคญักบั

    การผลิตวตัถุดิบ และอาหารแปรรูปใหป้ลอดภยัจากส่ิงปนเป้ือนต่างๆ และมีการดาํเนินการตั้งแต่

    ปี 2546 ไดจ้ดัทาํโครงการรณรงคก์ารผลิตพชืปลอดภยัจากสารพษิ เพือ่รองรับนโยบายปีแห่งอาหาร

    ปลอดภยั ( Food Safety Year)โดยมีเป้าหมายเพือ่รณรงคป์ระชาสมัพนัธ ์กระตุน้ใหเ้กษตรกรผูผ้ลิต

    และผูบ้ริโภคตระหนกั และรับรู้อนัตรายจากวตัถุอนัตรายทางการเกษตรหรือสารเคมีท่ีปนเป้ือนอยูใ่น

    อาหาร และใหเ้กษตรกรผูผ้ลิตมีความรู้ ความสามารถ พร้อมท่ีจะผลิตพชืปลอดภยัจากสารพษิ โดยมี

    การดาํเนินการครอบคลุมพื้นที่ 76 จงัหวดัทัว่ประเทศ และจดัใหมี้งานมหกรรมพชือาหารปลอดภยันาํ

    ไทยสู่ครัวโลก คร้ังที่ 1 เม่ือเดือนกนัยายน 2546 สาํหรับในปี 2547 จะตอ้งดาํเนินการเร่งรัดใหก้าร

    ดาํเนินการเป็นรูปธรรมโดยกาํหนดให ้ดาํเนินการใน 3 ลกัษณะ คือ

    1. ส่งเสริมการผลิตใหแ้ก่เกษตรกรทัว่ไป กรมส่งเสริมการเกษตรมีนโยบายท่ีจะส่งเสริม

    แนะนาํใหเ้กษตรกรผูผ้ลิตพชืทุกรายมีการปฏิบติัดูแลพชืที่ถูกตอ้งตามแนวทางการปฏิบติัทางการ

    เกษตรที่ดีสาํหรับพชื ( GAP) เพือ่ใหไ้ดผ้ลผลิตที่มีคุณภาพ โดยเนน้ดา้นความปลอดภยัจากสารพษิ

    ตกคา้งเกินค่ามาตรฐานความปลอดภยัท่ีกาํหนดต่อตวัเกษตรกร ผูผ้ลิต ผูบ้ริโภค และส่ิงแวดลอ้ม เพือ่

    เป็นการเตรียมความพร้อมเกษตรกร ใหส้ามารถเขา้สู่ระบบการจดัการคุณภาพ หรือขอขึ้นทะเบียนเพือ่

    การรับรองแปลงต่อไปโดยสนบัสนุนใหจ้งัหวดัจดัทาํโครงการส่งเสริมการจดัการคุณภาพ และ

    มาตรฐานสินคา้เกษตรโครงการส่งเสริมและพฒันาสินคา้เกษตรอินทรียแ์ละพชืปลอดภยัจากสารพษิ

    โครงการโรงเรียนเกษตรกรในพระราชดาํริ ซ่ึงไดรั้บการสนบัสนุนการดาํเนินงานจากจงัหวดั เช่นการ

    จดัการศตัรูพชื งานบริการเทคโนโลยรัีงสี และงานบริการพฒันาคุณภาพผกั ผลไม ้เพือ่การส่งออก

    โดยใหจ้งัหวดัเนน้ที่สินคา้เกษตร พชืเป้าหมายการส่งออกก่อน จาํนวน 27 ชนิด ไดแ้ก่ ทุเรียน มงัคุด

    ลาํไย ล้ินจ่ี มะม่วง สม้โอ มะขามเปร้ียว ลองกอง สม้เขียวหวาน มะพร้าวอ่อน เงาะ มะละกอ ขิง

    พริก ขา้วโพดฝักอ่อน หน่อไมฝ้ร่ัง กระเจ๊ียบเขียว มนัฝรั่ง ขา้ว ออ้ย มนัสาํปะหลงั สบัปะรด กาแฟ

    ถัว่เขียว ถัว่เหลือง ถัว่ลิสง และทานตะวนั สาํหรับสินคา้เกษตรอ่ืนๆ นั้น ใหพ้จิารณาจากพชืและแมลง

    เศรษฐกิจที่มีศกัยภาพ ทั้งที่เป็นสินคา้เกษตรอุตสาหกรรมหรือสินคา้เกษตรชนิดใหม่ โดยมีขอ้คาํนึงวา่

    เป็นสินคา้เกษตรที่มีความสาํคญัทางเศรษฐกิจ และเป็นพชืตามนโยบายของจงัหวดัหรือของกรม

  • 5

    ส่งเสริมการเกษตร เป็นพชืที่เกษตรกรมีการใชส้ารเคมีกาํจดัศตัรูพชืท่ีมากเกินความจาํเป็น สาํหรับการ

    คดัเลือกเกษตรกรใหส้นบัสนุนเกษตรกรที่มีความสมคัรใจที่จะผลิตพชืปลอดภยัจากสารพษิ และ

    สามารถเขา้ร่วมกิจกรรม เขา้ร่วมโครงการไดอ้ยา่งต่อเน่ืองโดยสมคัรลงทะเบียนเขา้ร่วมโครงการ

    จดัใหมี้การอบรมเจา้หนา้ที่ส่งเสริมการเกษตรทุกระดบัทั้งในระดบัจงัหวดั และอาํเภอ เพือ่ใหมี้

    ความรู้ทกัษะในการปฏิบติังานทางการเกษตรที่ดีสาํหรับพชื ( GAP) การจดัการศตัรูพชื โดยวธีิ

    ผสมผสาน ซ่ึงจะใชก้ารป้องกนักาํจดัแบบชีววธีิเป็นวธีิการหลกั สนบัสนุนใหมี้การถ่ายทอด

    เทคโนโลยไีปสู่เกษตรกร ตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกรโดยการพฒันาเจา้หนา้ท่ีส่งเสริม

    การเกษตรใหมี้ความสามารถในการถ่ายทอดเทคโนโลย ีและใหค้วามสาํคญักบัการจดบนัทึก

    การปฏิบติังานของเกษตรกรโดยเฉพาะเร่ืองของการจดัการศตัรูพชื การใชส้ารเคมีป้องกนักาํจดั

    ศตัรูพชืและสนบัสนุนการควบคุมศตัรูพชื โดยการจดัตั้งหน่วยเคล่ือนท่ีเร็วในการใหค้วามช่วยเหลือ

    และสนบัสนุนปัจจยัชีวอินทรียท์ี่ใชใ้นการควบคุมศตัรูพชื โดยใหจ้งัหวดัประสานงานโดยตรงกบัศูนย์

    บริหารศตัรูพชืที่ใกลเ้คียง

    2 . ส่งเสริมเกษตรกรเขา้สู่ระบบการจดัการคุณภาพ กรมส่งเสริมการเกษตรส่งเสริมให้

    เกษตรกรมีความพร้อม ในการจดัการปฏิบติัดูแลรักษาการผลิตพชื ระบบการจดัการคุณภาพ การ

    ปฏิบติัทางเกษตรที่ดีสาํหรับพชื ( GAP) มีการบนัทึกขอ้มูลตามเง่ือนไขการรับรองระบบฯ เพือ่ให้

    เกษตรกรสมคัรเขา้รับการตรวจรับรองจากกรมวชิาการเกษตร ซ่ึงเป็นหน่วยงาน ที่ทาํการตรวจรับรอง

    (Certification Body)

    3. ส่งเสริมการผลิตภณัฑแ์ปรรูปที่มีความปลอดภยั ในเร่ืองของผลิตภณัฑแ์ปรรูปนั้นกรม

    ส่งเสริมการเกษตรเป็นหน่วยงานกาํหนดมาตรฐานและระบบในการรับรองมาตรฐานของกระทรวง

    เกษตรและสหกรณ์ ภายใตส้ญัลกัษณ์รูปตวั Q ซ่ึงขณะน้ีอยูใ่นระหวา่งการกาํหนดหลกัเกณฑใ์นการ

    ขึ้นทะเบียนและมาตรการในการใหก้ารรับรอง โดยเนน้ผลิตภณัฑข์องกลุ่มแม่บา้นที่ขึ้นทะเบียนกบั

    กรมส่งเสริมการเกษตรเป็นอนัดบัแรก และผลิตภณัฑแ์ปรรูปนั้นหมายรวมถึงผลิตภณัฑท์ั้งท่ีเป็น

    อาหารและไม่ใช่อาหาร แต่เป็นผลิตภณัฑท่ี์แปรรูปมาจากวตัถุดิบทางการเกษตร

    กรมส่งเสริมการเกษตร ( 2552) ไดก้ล่าวถึงการ กาํหนดมาตรฐานสินคา้เกษตรและอาหาร

    แห่งชาติ และการปฏิบติัทางการเกษตรที่ดีสาํหรับพชือาหารไวด้งัน้ี

    1. มาตรฐานสินคา้เกษตรและอาหารแห่งชาติฉบบัน้ี เป็นมาตรฐานกลางท่ีครอบคลุม

    การปฏิบติัทางการเกษตรที่ดีสาํหรับการผลิตพชือาหาร เช่น ผกั ผลไม ้ธญัพชื เคร่ืองเทศ สมุนไพรฯ

    ในทุกขั้นตอนการผลิตที่ดาํเนินการในระดบัเกษตรกร เพือ่ใหไ้ดผ้ลผลิตที่ปลอดภยัและเหมาะสมต่อ

    การบริโภค

    2. การปฏิบติัที่ดีทางการเกษตรสาํหรับพชือาหารน้ี ใหใ้ชร่้วมกบัมาตรฐานสินคา้เกษตร

    และอาหารแห่งชาติ ที่กาํหนดไวส้าํหรับผลิตผลแต่ละชนิด

  • 6

    กรมส่งเสริมการเกษตร (2552)ไดก้ล่าวถึงการ กาํหนด และกล่าวถึงวตัถุอนัตรายทาง

    การเกษตรไวว้า่ วตัถุอนัตรายทางการเกษตร หมายถึงวตัถุอนัตรายท่ีกรมวชิาการเกษตรเป็น

    ผูรั้บผดิชอบตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เร่ือง บญัชีรายช่ือวตัถุอนัตราย ออกตามความใน

    พระราชบญัญติัวตัถุอนัตราย พ.ศ.2535 ซ่ึงหมายถึง วตัถุดงัต่อไปน้ี

    - วตัถุระเบิด - วตัถุไวไฟ - วตัถุออกซิไดซ์และวตัถุเปอร์ออกไซด ์- วตัถุมีพษิ - วตัถุที่ทาํใหเ้กิดโรค - วตัถุกมัมนัตรังสี - วตัถุที่ก่อใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงทางพนัธุกรรม - วตัถุกดักร่อน - วตัถุที่ก่อใหเ้กิดการระคายเคือง - วตัถุอยา่งอ่ืน ไม่วา่จะเป็นเคมีภณัฑห์รือส่ิงอ่ืนใด ที่อาจทาํใหเ้กิดอนัตราย

    บุคคล สตัว ์พชื ทรัพยสิ์นหรือส่ิงแวดลอ้ม

  • 7

    3. ขอ้กาํหนด

    ขอ้กาํหนดระบบการจดัการคุณภาพสินคา้เกษตรประกอบดว้ยการจดัการในดา้นต่างๆดงัน้ี

    ขอ้กาํหนด เกณฑข์อ้กาํหนด

    1. แหล่งนํ้ า เกษตรกรจะตอ้งตรวจสอบวา่แหล่งนํ้ าที่นาํมาใชใ้นแปลงนั้น

    นาํมาจากแหล่งใดมีโอกาสปนเป้ือนสารพษิหรือโลหะหนกัตกคา้ง หรือไม่

    ถา้มีความเส่ียงใหน้าํตวัอยา่งนํ้ าไปตรวจสอบก่อน

    2. พื้นที่ปลูก เกษตรกรตอ้งประเมินความเส่ียงของพื้นที่ที่จะทาํการเพาะปลูกและ

    พื้นที่ใกลเ้คียงวา่มีประวติัการใชพ้ื้นที่วา่มีโอกาสปนเป้ือนสารพษิ

    และโลหะหนกัหรือไม่ถา้มีความเส่ียงใหน้าํตวัอยา่งดินไปตรวจสอบก่อน

    3.การใชว้ตัถุอนัตรายทาง

    การเกษตร

    ใหใ้ชส้ารเคมีที่มีการขอขึ้นทะเบียนอยา่งเป็นทางการในประเทศไทย

    หรือเป็นไปตามขอ้กาํหนดของลูกคา้ (หา้มใชว้ตัถุอนัตรายที่ระบุไวใ้น

    ทะเบียนวตัถุอนัตรายทางการเกษตรที่หา้มใช)้

    4. การเก็บรักษาและการขนยา้ย

    ผลิตผลภายในแปลง

    สถานท่ีเก็บรักษาตอ้งสะอาดอากาศถ่ายเทไดดี้และสามารถป้องกนั

    การปนเป้ือนของวตัถุแปลกปลอม วตัถุอนัตราย และสตัวพ์าหนะนาํโรค

    (อุปกรณ์และพาหนะในการขนยา้ยตอ้งสะอาดปราศจากการปนเป้ือน

    ส่ิงอนัตรายที่มีผลต่อความปลอดภยัในการบริโภค) และตอ้งขนยา้ยผลผลิต

    อยา่งระมดัระวงั

    5. การบนัทึกขอ้มูล ตอ้งบนัทึกขอ้มูลการปฏิบติัจริง เช่น การใชส้ารเคมี ปริมาณ

    ที่ใช ้การสาํรวจและป้องกนักาํจดัศตัรูพชื การปฏิบติัในขั้นตอนการผลิตทีมี

    ความสาํคญั ซ่ึงมีผลต่อคุณภาพและความปลอดภยัในกระบวนการผลิตตาม

    แบบบนัทึก

    6. การผลิตใหป้ลอดภยัจาก

    ศตัรูพชื

    สาํรวจการเขา้ทาํลายของศตัรูพชืและป้องกนักาํจดัเม่ือสาํรวจ

    พบความเสียหายและผลผลิตที่เก็บเก่ียวแลว้ตอ้งไม่มีศตัรูพชืติดอยู ่ถา้พบ

    ตอ้งคดัแยกไวต้่างหาก

    7. การจดัการกระบวนการผลิต

    เพือ่ใหไ้ดผ้ลผลิตคุณภาพ

    การปฏิบติัและการจดัการตามแผนการควบคุมการผลิต

    และคดัแยกผลิตผลดอ้ยคุณภาพไวต้่างหาก

    8. การเก็บเก่ียวและการปฏิบติั

    หลงัการเก็บเก่ียว

    เก็บเก่ียวผลผลิตในระยะที่เหมาะสมตามเกณฑใ์นแผนควบคุมการผลิต

    และอุปกรณ์ที่ใชใ้นการเก็บเก่ียว ภาชนะบรรจุ และวธีิการเก็บเก่ียวตอ้ง

    สะอาด ไม่ก่อใหเ้กิดอนัตรายต่อคุณภาพของผลและปนเป้ือน

    ส่ิงอนัตรายที่มีผลต่อความปลอดภยัในการบริโภค

  • 8

    4. การปฏิบติัทางการเกษตรที่ดีสาํหรับพชื

    คาํแนะนาํหลกัการปฏิบติัทางการเกษตรที่ดีสาํหรับพชือาหารน้ี มีไวเ้พือ่ใชแ้นะนาํ

    เกษตรกรใหมี้การปฏิบติัทางการเกษตรท่ีดีในการผลิตพชือาหารท่ีดาํเนินการในระดบัเกษตรกร

    เพือ่ใหไ้ดผ้ลิตผลปลอดภยัและเหมาะสมต่อการบริโภค ซ่ึงมีรายละเอียด ดงัน้ี

    4.1 แหล่งนํ้ าและคุณภาพนํ้ า

    4.1.1 นํ้ าที่ใชใ้นกระบวนการผลิต ควรเป็นนํ้ าที่มาจากแหล่งนํ้ าที่ไม่อยูส่ภาพ

    แวดลอ้ม ที่เส่ียงต่อการปนเป้ือนและนํ้ ามีคุณภาพเหมาะสมกบัการใชใ้นการเกษตร ตอ้งไม่ใชน้ํ้ าเสีย

    จากโรงงานอุตสาหกรรม หรือ กิจกรรมอ่ืนๆ ท่ีก่อใหเ้กิดการปนเป้ือนส่ิงท่ีเป็นอนัตราย กรณี

    จาํเป็นตอ้งใช ้ตอ้งมีหลกัฐานหรือขอ้พสูิจน์ท่ีชดัเจนวา่นํ้ านั้นไดผ้า่นการบาํบดันํ้ าเสียมาแลว้ และ

    สามารถนาํมาใชใ้นกระบวนการผลิตได ้

    4.1.2 ควรมีการเก็บตวัอยา่งนํ้ าอยา่งนอ้ย 1 คร้ัง ในระยะเร่ิมจดัระบบการผลิต

    ส่งหอ้งปฏิบติัการของทางราชการหรือหอ้งปฏิบติัการที่ไดรั้บการรับรองระบบคุณภาพเพือ่วเิคราะห์

    การปนเป้ือนและบนัทึกรายระเอียดตามตวัอยา่งแบบบนัทึกที่ 1 (ผลการวเิคราะห์ดินและนํ้ า) รวมทั้ง

    เก็บใบแจง้ผลการวเิคราะห์นํ้ าไวเ้ป็นหลกัฐาน

    4.1.3 แหล่งนํ้ าสาํหรับการเกษตรไม่ควรเป็นแหล่งนํ้ าท่ีเกิดขึ้นเน่ืองจากการ

    ทาํลายส่ิงแวดลอ้ม

    4.2 พื้นที่เพาะปลูก

    4.2.1 มีการจดัทาํขอ้มูลประจาํแปลงปลูก โดยระบุช่ือเจา้ของพื้นที่เพาะปลูก

    สถานที่ติดต่อ ช่ือผูดู้แลแปลง(ถา้มี) สถานที่ติดต่อ ที่ตั้งแปลงปลูก แผนผงัที่ตั้งแปลงปลูก แผนผงั

    แปลงปลูก ชนิดพชืและพนัธุท์ี่ปลูก ประวติัการใชท้ี่ดินยอ้นหลงัอยา่งนอ้ย 3 ปี และรายละเอียดอ่ืนๆ

    ตามตวัอยา่งแบบบนัทึกที่ 2 (ขอ้มูลทัว่ไปของเจา้ของพื้นที่เพาะปลูก)

    4.2.2 ในกรณีสถานที่ปลูกอยูใ่กลห้รืออยูใ่นแหล่งอุตสาหกรรมหรือพื้นที่ที่มี

    ความเส่ียงในระยะเร่ิมจดัระบบการผลิตควรมีการวเิคราะห์ดินเพือ่ตรวจสอบคุณภาพดิน และการ

    ปนเป้ือนจากวตัถุอนัตรายอยา่งนอ้ย 1 คร้ัง โดยเก็บตวัอยา่งดินส่งหอ้งปฏิบติัการของทางราชการ หรือ

    หอ้งปฏิบติัการที่ไดรั้บการรับรองระบบคุณภาพ ตรวจวเิคราะห์ และบนัทึกขอ้มูลตามตวัอยา่งแบบ

    บนัทึกที่ 1 (ผลการวเิคราะห์ดินและนํ้ า) รวมทั้งเก็บใบแจง้ผลการวเิคราะห์ไวเ้ป็นหลกัฐาน

    4.3 การใชว้ตัถุอนัตรายทางการเกษตร

    4.3.1 หากมีการใชว้ตัถุอนัตรายทางการเกษตรใหใ้ชต้ามคาํแนะนาํของ

    กรมวชิาการเกษตร หรือ ตามคาํแนะนาํในฉลากท่ีขึ้นทะเบียนอยา่งถูกตอ้งกบักรมวชิาการเกษตร

    กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การใชว้ตัถุอนัตรายทางการเกษตรตอ้งสอดคลอ้งกบัศตัรูพชืท่ีสาํรวจพบ

  • 9

    และใหเ้ป็นไปตามคาํแนะนาํการใชว้ตัถุอนัตรายทางการเกษตรของทางราชการ และบนัทึกขอ้มูลตาม

    ภาคผนวก ก (ตวัอยา่งแบบบนัทึกขอ้มูลการสาํรวจศตัรูพชืและการใชว้ตัถุอนัตรายการเกษตร)

    4.3.2 การใชว้ตัถุอนัตรายทางการเกษตร ตอ้งใชใ้หถู้กตอ้งตามกฎหมาย โดยมี

    เลขทะเบียนวตัถุอนัตรายและมีคาํแนะนาํในฉลากใหใ้ชก้บัพชืนั้นๆ ตอ้งไม่ใชว้ตัถุอนัตราย

    ทางการเกษตรที่หา้มผลิต นาํเขา้ ส่งออก หรือการมีไวใ้นครอบครอง ตามพระราชบญัญติัวตัถุ

    อนัตราย พ.ศ.2535 และที่ระบุในรายการวตัถุอนัตรายทางการเกษตรที่ประเทศคู่คา้หา้มใช ้ตอ้งหยดุใช้

    วตัถุอนัตรายทางการเกษตรก่อนการเก็บเก่ียวตามช่วงเวลาท่ีระบุไวใ้นฉลากกาํกบัการใชว้ตัถุอนัตราย

    ทางการเกษตรแต่ละชนิด หรือใหเ้ป็นไปตามคาํแนะนาํของทางราชการ

    4.3.3 อ่านคาํแนะนาํท่ีฉลากเพือ่ใหท้ราบคุณสมบติั และวธีิการใชว้ตัถุอนัตราย

    ทางการเกษตรก่อนนาํไปใช ้

    4.3.4 ผูป้ระกอบการและแรงงานที่ปฏิบติังานดา้นการป้องกนักาํจดัศตัรูพชื

    ควรรู้จกัศตัรูพชื การเลือกชนิดและอตัราการใชว้ตัถุอนัตรายทางการเกษตร การเลือกใชเ้คร่ืองพน่

    สารเคมีและอุปกรณ์หวัฉีด รวมทั้งวธีิการพน่สารเคมีท่ีถูกตอ้ง โดยตอ้งตรวจสอบเคร่ืองพน่สารเคมีให้

    อยูใ่นสภาพพร้อมที่จะใชง้านตลอดเวลา เพือ่ป้องกนัสารพษิเป้ือนเส้ือผา้และร่างกายของผูป้ฏิบติังาน

    ตอ้งสวมเส้ือผา้มิดชิด มีอุปกรณ์ป้องกนัสารพษิ ไดแ้ก่ หนา้กาก หรือผา้ปิดปากปิดจมูก ถุงมือ หมวก

    และสวมรองเทา้เพือ่ป้องกนัอนัตรายจากสารพษิ

    4.3.5 เตรียมวตัถุอนัตรายทางการเกษตรใหมี้ความเขม้ขน้ที่ถูกตอ้ง โดยปรับ

    ปริมาตรนํ้ าและคนใหเ้ป็นเน้ือเดียวกนัก่อนนาํไปพน่ ควรพน่วตัถุอนัตรายทางการเกษตรในช่วงเชา้

    หรือเยน็ ขณะลมสงบ หลีกเล่ียงการพน่ในเวลาแดดจดัหรือลมแรง และขณะปฏิบติังานผูพ้น่ตอ้งอยู่

    เหนือลมตลอดเวลา

    4.3.6 เตรียมวตัถุอนัตรายทางการเกษตรและใชใ้หห้มดในคราวเดียวไม่ควร

    เหลือติดคา้งในถงัพน่

    4.3.7 เม่ือใชว้ตัถุอนัตรายทางการเกษตรหมดแลว้ ใหล้า้งภาชนะบรรจุสารเคมี

    ดงักล่าวดว้ยนํ้ า 2 - 3 คร้ัง เทนํ้ าลงในถงัพน่สาร ปรับปริมาณนํ้ าตามความตอ้งการก่อนนาํไปใชพ้น่

    วตัถุอนัตรายทางการเกษตร ภาชนะบรรจุวตัถุอนัตรายทางการเกษตรท่ีใชห้มดแลว้ ตอ้งทาํใหช้าํรุด

    เพือ่ป้องกนัการนาํกลบัมาใช ้ แลว้นาํไปทิ้งในสถานที่ที่จดัสาํหรับทิ้งภาชนะบรรจุวตัถุอนัตรายทาง

    การเกษตรโดยเฉพาะหรือทาํลายโดยการฝังดินห่างจากแหล่งนํ้ า ใหมี้ความลึกมากพอท่ีสตัว์ ต่างๆ

    ไม่สามารถคุย้ขึ้นมาได ้และหา้มเผาทาํลาย

    4.3.8 หลงัการพน่วตัถุอนัตรายทางการเกษตรทุกคร้ัง ผูพ้น่ตอ้งอาบนํ้ า สระผม

    และเปล่ียนเส้ือผา้ทนัที เส้ือผา้ที่สวมใส่ขณะพน่สารเคมีตอ้งนาํไปซกัใหส้ะอาดทุกคร้ัง

  • 10

    4.3.9 วตัถุอนัตรายทางการเกษตรท่ีไม่สามารถใชไ้ดห้มดในคราวเดียว ใหปิ้ดฝา

    ภาชนะบรรจุใหส้นิทเม่ือเลิกใช ้และเก็บในสถานที่เก็บวตัถุอนัตรายทางการเกษตรกร

    4.3.10 จดัเก็บวตัถุอนัตรายทางการเกษตรชนิดต่างๆ ที่ใชใ้นกระบวนการผลิต

    ในสถานที่มิดชิดปลอดภยั ป้องกนัแดดและฝนได ้และมีอากาศถ่ายเทไดส้ะดวก

    4.3.11 แยกสถานท่ีเก็บวตัถุอนัตรายทางการเกษตรใหเ้ป็นสดัส่วน เพือ่ป้องกนั

    การปนเป้ือนของวตัถุอนัตรายทางการเกษตรสู่อาหารและส่ิงแวดลอ้ม

    4.3.12 วตัถุอนัตรายทางการเกษตรแต่ละชนิดตอ้งจดัเก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด

    แสดงป้ายใหช้ดัเจน และแยกเก็บเป็นหมวดหมู่ ไม่ปะปนกบัปุ๋ย สารควบคุมการเจริญเติบโตพชื และ

    อาหารเสริมต่างๆ ของพชื วตัถุอนัตรายทางการเกษตรท่ีเปิดใชแ้ลว้หา้มถ่ายออกจากภาชนะบรรจุเติม

    4.3.13 สถานที่เก็บวตัถุอนัตรายทางการเกษตรตอ้งมีเคร่ืองมือและวสัดุป้องกนั

    อุบติัเหตุอยา่งครบถว้น เช่น นํ้ ายาลา้งตา นํ้ าสะอาด ทราย และอุปกรณ์ดบัเพลิง เป็นตน้

    4.3.14 ตอ้งไม่มีวตัถุอนัตรายท่ีหา้มผลิต นาํเขา้ ส่งออก หรือมีไวค้รอบครอง

    ตามพระราชบญัญติัวตัถุอนัตราย พ.ศ.2535 เก็บรักษาอยูใ่นสถานที่เก็บสารเคมี หรือภายในแปลง

    เพาะปลูก

    4.4. การกาํจดัของเสียและวสัดุเหลือใช้

    4.4.1 ส่วนของก่ิงพชืท่ีมีโรคเขา้ทาํลายตอ้งเผาทาํลายนอกแปลงปลูก

    4.4.2 เศษพชืหรือก่ิงท่ีตดัแต่งจากตน้ไมแ้ละไม่มีโรคเขา้ทาํลาย สามารถนาํมา

    ทาํเป็นปุ๋ ยหมกั หรือปุ๋ ยพชืสดได ้

    4.4.3 แยกประเภทของขยะใหช้ดัเจน เช่น กล่องกระดาษ พลาสติก แกว้ นํ้ ามนั

    สารเคมี และเศษซากพชื เป็นตน้ รวมทั้งควรมีถงัขยะใหเ้พยีงพอ หรือระบุจุดทิ้งขยะใหช้ดัเจน

    4.5 การจดัการเคร่ืองมือและอุปกรณ์การเกษตร

    4.5 .1 จดัทาํรายการและการจดัเก็บเคร่ืองมือและอุปกรณ์การเกษตร

    4.5 .2 จดัใหมี้อุปกรณ์การเกษตรที่เหมาะสมและเพยีงพอต่อการปฏิบติังาน

    4.5.3 จดัใหมี้สถานที่เก็บรักษาเคร่ืองมือและอุปกรณ์การเกษตรเป็นสดัส่วน

    ปลอดภยั ง่ายต่อการนาํไปใชง้าน

    4.5.4 จดัทาํแผนการซ่อมบาํรุงรักษาเคร่ืองมือ อุปกรณ์การเกษตรมีการ

    บาํรุงรักษาเคร่ืองมือและอุปกรณ์การเกษตร ตามแผนที่กาํหนดไว ้พร้อมบนัทึกขอ้มูลการบาํรุงรักษา

    ทุกคร้ัง

    4.5.5 มีการตรวจสภาพเคร่ืองมือและอุปกรณ์การเกษตร เช่น เคร่ืองพน่สารเคมี

    อุปกรณ์การเก็บเก่ียว ก่อนนาํออกไปใชง้าน เคร่ืองมือและอุปกรณ์การเกษตรที่ตอ้งอาศยัความ

    เที่ยงตรงในการปฏิบติังาน เช่น หวัฉีดพน่วตัถุอนัตรายทางการเกษตร ตอ้งมีการตรวจสอบความ

  • 11

    เที่ยงตรงอยา่งสมํ่าเสมอ หากพบวา่มีความคลาดเคล่ือนตอ้งปรับปรุงซ่อมแซมหรือเปล่ียนใหม่ใหมี้

    ประสิทธิภาพตามมาตรฐานเม่ือนาํมาใชง้าน

    4.5.6 มีการทาํความสะอาดเคร่ืองมือและอุปกรณ์การเกษตร รวมทั้งภาชนะท่ีใช้

    ในการบรรจุ และขนส่งผลิตผลทุกคร้ังก่อนการใชง้าน และหลงัใชง้านเสร็จแลว้ก่อนนาํไปเก็บ

    4.6 การจดัการปัจจยัการผลิต

    4.6.1 จดัทาํรายการปัจจยัการผลิต แหล่งท่ีมา และรายละเอียดเฉพาะของปัจจยั

    การผลิตที่สาํคญั ไดแ้ก่ พนัธุ ์ ปุ๋ ย วตัถุอนัตรายทางการเกษตร ที่ใชใ้นกระบวนการผลิต พร้อมทั้งระบุ

    รายการ ปริมาณ วนั เดือน ปี ที่จดัซ้ือ และบนัทึกขอ้มูลตามตวัอยา่งแบบบนัทึกที่ 3 (รายการและ

    รายละเอียดปัจจยัการผลิต)

    4.6.2 การใชปุ้๋ ยคอก ปุ๋ ยอินทรีย ์และปุ๋ ยธรรมชาติต่างๆ ควรมีการจดัการที่ดีที่

    จะป้องกนัไม่ใหเ้กิดการปนเป้ือนทั้งในดา้น จุลินทรีย ์เคมี และกายภาพสู่ผลผลิตในระดบัท่ีจะทาํให้

    ไม่ปลอดภยัต่อการบริโภค

    4.7 การจดัการในขั้นตอนการผลิต

    4.7.1 มีการจดัการเพือ่ใหผ้ลิตผลมีคุณภาพเป็นไปตามขอ้กาํหนด ในมาตรฐาน

    สินคา้เกษตรและอาหารแห่งชาติที่กาํหนดสาํหรับผลิตผลแต่ละปี โดยมีการจดัการเพือ่การดูแลตั้งแต่

    ขั้นตอนการเตรียมแปลงปลูกหรือความสมบูรณ์ตน้หลงัการเก็บเก่ียว (กรณีเป็นไมผ้ล)จนถึงระย ะ

    เก็บเก่ียว รวมถึงการใส่ปุ๋ ยและการใหน้ํ้ าเพือ่ใหพ้ชืมีความสมบูรณ์ และพฒันาการของพชืที่เหมาะสม

    มีผลผลิตสูง และมีคุณภาพ เป็นไปตามมาตรฐานสินคา้เกษตรและอาหารแห่งชาติท่ีกาํหนดสาํหรับ

    ผลิตผลแต่ละชนิดและมีการบนัทึกขอ้มูลขั้นตอนการปฏิบติัที่สาํคญัที่มีผลต่อคุณภาพของผลิตผล

    4.7.2 มีการติดตามการระบาดของศตัรูพชืในระยะต่างๆ หากตรวจพบใน

    ปริมาณที่เกิดความเสียหายในระดบัเศรษฐกิจใหป้้องกนักาํจดัศตัรูพชืนั้นอยา่งเหมาะสมตามคาํแนะนาํ

    ของทางราชการ และบนัทึกขอ้มูลการสาํรวจศตัรูพชืและการใชว้ตัถุอนัตรายทางการเกษตร

    4.8 การจดัการในการเก็บเก่ียวและการปฏิบติัหลงัการเก็บเก่ียว

    4.8.1 เก็บผลผลิตที่มีพฒันาการเหมาะสมกบัพนัธุ ์และแหล่งปลูก โดยเก็บเก่ียว

    ตามความแก่ อ่อน ที่กาํหนดในมาตรฐานสินคา้เกษตรและอาหารแห่งชาติของผลิตผลแต่ละชนิด

    4.8.2 ควรใชเ้คร่ืองมือและวธีิการเฉพาะเพือ่ป้องกนัการชํ้าหรือเป็นรอยตาํหนิ

    ของผลิตผล เน่ืองจากการเก็บเก่ียว

    4.8.3 ใชว้สัดุปูรองพื้นในบริเวณที่พกัผลิตผลเก็บเก่ียว เพือ่ป้องกนัการปนเป้ือน

    ของจุลินทรีย ์ส่ิงปฏิกูล เศษดิน และส่ิงสกปรก หรือส่ิงที่เป็นอนัตรายอ่ืนๆ จากพื้นดิน

  • 12

    4.8.4 แยกภาชนะที่ใชใ้นการบรรจุ จากภาชนะท่ีใชใ้นการขนยา้ยหรือขนส่ง

    วตัถุอนัตรายทางการเกษตร หรือปุ๋ ย เพือ่ป้องกนัการปนเป้ือนทั้งทางเคมี ชีวภาพ และกายภาพ ที่เป็น

    อนัตรายต่อการบริโภคและสร้างความเสียหายแก่ผลิตผล ในกรณีท่ีไม่สามารถแยกภาชนะบรรจุ

    ผลิตผลจากภาชนะขนยา้ยสารเคมีหรือปุ๋ยได ้ตอ้งมีการทาํความสะอาดเพือ่ป้องกนัการปนเป้ือน

    ดงักล่าว

    4.8.5 เลือกใชภ้าชนะที่ใชใ้นการบรรจุขั้นตน้เพือ่การขนถ่ายผลิตผลภายในพื้นท่ี

    แปลงปลูกไปยงัพื้นที่คดัแยกบรรจุที่เหมาะสม มีวสัดุกรุภายในภาชนะเพือ่ป้องกนัการกระแทกเสียดสี

    4.8.6 การจดัวางผลิตผลในบริเวณพกั ผลิตผลที่เก็บเก่ียวในแปลงเพาะปลูกตอ้ง

    เหมาะสม สามารถป้องกนัการเกิดรอยแผลท่ีเกิดจากการขดูขีดหรือกระแทกกนัระหวา่งผลิตผลรวมทั้ง

    ปัญหาการเส่ือมสภาพของผลิตผลอนัเน่ืองจากความร้อน และแสงแดด

    4.8.7 การขนยา้ยผลิตผลภายในแปลงเพาะปลูก ควรปฏิบติัดว้ยความระมดัระวงั

    4.8.8 ใหข้นส่งผลิตผลที่บรรจุภาชนะแลว้ดว้ยความระมดัระวงั และขนส่งไปยงั

    จุดรวบรวมสินคา้ทนัที ที่เก็บเก่ียว และหรือหลงัการตดัแต่งคดัคุณภาพหรือคดัขนาดแลว้

    4.9 การบนัทึกขอ้มูลและการจดัเก็บบนัทึกขอ้มูล

    4.9.1 จดัทาํเอกสารและแบบบนัทึก ใหเ้ป็นปัจจุบนัสาํหรับการผลิตในฤดูกาล

    นั้นๆ รวมทั้งมีการบนัทึกขอ้มูลใหค้รบถว้น และลงช่ือผูป้ฏิบติังานทุกคร้ังที่มีการบนัทึกขอ้มูล

    4.9.2 ในกรณีมีแปลงปลูกมากกวา่ 1 แปลง ตอ้งแยกบนัทึกขอ้มูลเป็นรายแปลง

    4.9.3 มีการจดัเก็บเอกสาร และหรือบนัทึกขอ้มูลเป็นหมวดหมู่แยกเป็นฤดูกาล

    ผลิตแต่ละฤดูกาล เพือ่สะดวกต่อการตรวจสอบ และการนาํมาใช ้

    4.9.4 เก็บรักษาบนัทึกขอ้มูลการปฏิบติังานและเอกสารที่สาํคญั ที่เกี่ยวขอ้งกบั

    การปฏิบติังานไวเ้ป็นอยา่งดี อยา่งนอ้ย 3 ปี ของการผลิตติดต่อกนั หรือตามที่ผูป้ระกอบการ หรือ

    ประเทศคู่คา้ตอ้งการ เพือ่ใหส้ามารถตรวจสอบยอ้นหลงัได ้

    5. ขั้นตอนการปฏิบติังาน สาํหรับเกษตรกร

    5.1 การขอรับรองแปลง

    5.1.1 ยืน่คาํร้องตามแบบ GAP – 01 พร้อมดว้ยหลกัฐานที่กาํหนดไว ้ต่อ

    นายทะเบียนสาํนกังานเกษตรจงัหวดัในพื้นที่รับผดิชอบสาํหรับแปลงที่จะขอรับรอง

    5.1.2 เขา้รับการฝึกอบรมหรือช้ีแจงขอ้เสนอแนะ การปฏิบติังานใหไ้ดต้าม

    เกณฑใ์นระบบการจดัการคุณภาพ GAP พชื วชิาการเกษตรโดยท่ีปรึกษาของเกษตรกร

    5.1.3 นดัหมาย อาํนวยความสะดวกใหค้ณะท่ีปรึกษาของเกษตรกร หรือคณะ

    ผูต้รวจรับรองดาํเนินการตรวจสอบสถานที่ผลิต บนัทึกขอ้มูลต่างๆ พร้อมทั้งปรับปรุงแกไ้ขให้

    เรียบร้อยตามขบวนการตรวจรับรองการจดัการคุณภาพ GAP พชื

  • 13

    5.1.4 เม่ือมีคุณสมบติัครบถว้นตามระบบการจดัการคุณภาพ GAP พชื

    กรมวชิาการเกษตรจะออกใบรับรองการจดัการคุณภาพ GAP พชื

    5.2 การคงสภาพของมาตรฐานการผลิต

    5.2.1 เกษตรกรตอ้งคอยเอาใจใส่ตรวจสอบสถานท่ีผลิตของตนเองใหอ้ยูใ่น

    เกณฑม์าตรฐานอยา่งสมํ่าเสมอ

    5.2.2 กรณีมีการเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นไม่วา่กรณีใดๆ เช่น เปล่ียนผูป้ฏิบติังานตอ้ง

    ใหค้วามสนใจงานในจุดนั้นเป็นกรณีพเิศษ หากไม่แน่ใจวา่งานในจุดนั้นจะมีคุณสมบติัตามมาตรฐาน

    การผลิตเดิม ใหน้ดัหมายคณะผูต้รวจรับรองดาํเนินการตรวจสอบต่อไป

    สาํนกังาน ก.พ.ร.( 2553)ได้กล่าวไวว้า่ สินคา้เกษตรปลอดภยั หรือคาํวา่ “GAP” ยอ่มา

    จากคาํวา่ “Good Agricultural Practice” หมายถึง แนวทางในการทาํการเกษตร เพือ่ใหไ้ด ้ 1) ผลผลิตที่

    มีคุณภาพดีตรงตามมาตรฐานที่กาํหนด 2) มีขบวนการผลิตท่ีมีความปลอดภยัต่อเกษตรกรและ

    ผูบ้ริโภค 3) มีการใชท้รัพยากรที่เกิดประโยชน์สูงสุด 4) ก่อใหเ้กิดความย ัง่ยนืทางการเกษตรและ

    5) ไม่ทาํใหเ้กิดมลพษิ ต่อส่ิงแวดลอ้ม เป็นระบบที่สร้างผลผลิตตรงตามมาตรฐานคุณภาพที่ตลาด

    ตอ้งการ โดยเกษตรกรจะตอ้งปฏิบติัตามคาํแนะนาํที่ถูกตอ้ง ตั้งแต่การเพาะปลูก จนถึงการเก็บเก่ียว

    การจดัการหลงัการเก็บเก่ียว การบรรจุหีบห่อ และการขนส่งเพือ่จาํหน่าย เพือ่ป้องกนัปัญหาเก่ียวกบั

    การตกคา้งของสารกาํจดัศตัรูพชื และเช้ือโรคต่าง ๆ ในการปฏิบติังาน ทั้งน้ีเพือ่เป้าหมายสุดทา้ย คือ

    ผลผลิตที่ปลอดภยัสาํหรับผูบ้ริโภค ดงันั้นในการผลิตสินคา้เกษตรเพือ่ใหไ้ดม้าตรฐานตามระบบ GAP

    เกษตรกรจะตอ้งดูแลทุกกระบวนการ ตั้งแต่การใชน้ํ้ า จะตอ้งใชน้ํ้ าจากแหล่งนํ้ าที่สะอาด พื้นที่ในการ

    ผลิตตอ้งไม่มีเช้ือโรคและสารพษิ กรรมวธีิในการเก็บรักษาปุ๋ยและสารเคมีตอ้งมีความถูกตอ้ง การเก็บ

    เก่ียวผลผลิตตอ้งเป็นไปตามระยะเวลา นอกจากน้ีระบบ GAP จะดูไปถึงการแปรรูป เช่นนํ้ าพริกจะดู

    วา่พริกที่นาํมาใชใ้นการทาํนํ้ าพริกมาจากไหน มีความปลอดภยัหรือไม่มีกระบวนการผลิตอยา่งไร

    เป็นตน้

    กรมวชิาการเกษตร ( 2550) กล่าววา่ GAP ยอ่มาจาก คาํวา่ “Good Agricultural Practice” ซ่ึง

    หมายถึง “ เกษตรดีที่เหมาะสม” โดยมีความหมายวา่เป็นแนวทางในการทาํเกษตรกรรม เพือ่ใหไ้ด ้

    - ผลผลิตที่มีคุณภาพดี เป็นที่ตอ้งการของตลาด

    - ตรงตามมาตรฐานที่กาํหนด

    - ใหผ้ลผลิตคุม้ค่ากบัการลงทุน

    - กระบวนการผลิตปลอดภยัต่อเกษตรกร

    - ผลผลิตที่ปลอดภยัต่อผูบ้ริโภค

    - ใชท้รัพยากรที่มีอยูใ่หเ้กิดประโยชน์สูงสุด

    - สามารถตรวจสอบและสอบทวนได ้

  • 14

    - ไม่ก่อใหเ้กิดมลพษิต่อส่ิงมีชีวติอ่ืนๆ และ สภาพแวดลอ้ม

    - เกิดความย ัง่ยนืทางการเกษตร

    GAP เป็นระบบ ของการจดัการคุณภาพดา้นการผลิตทางการเกษตร ซ่ึงใชใ้นการควบคุม

    กระบวนการผลิตใหไ้ดผ้ลผลิตที่มีความปลอดภยั ปราศจากการปนเป้ือนจากสารเคมีป้องกนักาํจดั

    ศตัรูพชื จุลินทรียก่์อโรค และดาํเนินการผลิตอยา่งเป็นระบบ มีการจดัการท่ีดี ถูกตอ้งแ