17
ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function - 1 - ฟังก์ชันลอการิทึม 1. อินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล จากเรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล ถ้าให้ f แทนฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล f จะมีลักษณะดังนี1. f: + 2. f = {( , ) , , } x xyy aa a = > 0 1 เนื่องจากว่าฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลเป็นฟังก์ชันแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (ค่า x หนึ่งค่า ให้ค่า y หนึ่งค่า) ดังนั้น อิน เวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลจึงเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งด้วย ดังนี1. f -1 : + 2. f -1 = {( , ) , , } y xyx aa a = > 0 1 จาก x = a y สามารถเขียนได้ในรูปของ y = f -1 (x) โดยเราจะกําหนดสัญลักษณ์ได้เป็น y = log a x (อ่านว่า ลอการิทึมเอกซ์ฐานเอ หรือ ล็อกเอกซ์ฐานเอ) ดังนั้น ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล จึงเขียนได้เป็น f -1 = {( , ) log , , } a xyy xa a = > 0 1 เรียกฟังก์ชันดังกล่าวว่า ฟังก์ชันลอการิทึม (Logarithmic Function)” นิยาม ฟังก์ชันลอการิทึม คือ {( , ) log , , } a xy y xa a + × = > 0 1 เป็นอินเวอร์สของฟังก์ชัน เอกซ์โปเนนเชียล {( , ) , , } x xy y aa a + × = > 0 1 ตัวอย่าง จงพิจารณากราฟต่อไปนี้ว่าเป็นฟังก์ชันลดหรือเพิ่ม 1. log 2 y x = 2. log 1 2 y x = 3. log 1 1 2 y x = 4. log 1 2 y x = การเปลี่ยนฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลให้เป็นฟังก์ชันลอการิทึม สมการ x = a y สามารถเขียนได้ในรูปของ log a y x = ตัวอย่าง จงเปลี่ยนจํานวนต่อไปนี้ในรูปลอการิทึม หรือเอกซ์โปเนนเชียล 1. 9 = 3 3 …………………………………………………. 2. 10,000 = 10 4 …………………………………………………. 3. 7 = ( ) 1 2 49 …………………………………………………. 4. 8 = 3 1 2 …………………………………………………. 5. log 5 3 125 = …………………………………………………. 6. log 4 1 2 2 = …………………………………………………. 7. log 5 3 55 = ………………………………………………….

ฟังก์ชันลอการ ิทึมฟังก์ชันลอการ ิทึม : Logarithmic Function - 1 - ฟังก์ชันลอการ ิทึม

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 1 -

ฟังก์ชันลอการิทึม

1. อินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล จากเรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล ถ้าให้ f แทนฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล f จะมีลักษณะดังนี้

1. f: +→ 2. f = {( , ) , , }xx y y a a a= > ≠0 1

เนื่องจากว่าฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลเป็นฟังก์ชันแบบหนึ่งต่อหนึ่ง (ค่า x หนึ่งค่า ให้ค่า y หนึ่งค่า) ดังนั้น อินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลจึงเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งด้วย ดังนี้

1. f-1: + → 2. f-1 ={( , ) , , }yx y x a a a= > ≠0 1

จาก x = ay สามารถเขียนได้ในรูปของ y = f-1(x) โดยเราจะกําหนดสัญลักษณ์ได้เป็น y = logax (อ่านว่า ลอการิทึมเอกซ์ฐานเอ หรือ ล็อกเอกซ์ฐานเอ) ดังนั้น ฟังก์ชันอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล จึงเขียนได้เป็น

f-1 ={( , ) log , , }ax y y x a a= > ≠0 1 เรียกฟังก์ชันดังกล่าวว่า “ฟังก์ชันลอการิทึม (Logarithmic Function)” นิยาม ฟังก์ชันลอการิทึม คือ {( , ) log , , }ax y y x a a+∈ × = > ≠0 1 เป็นอินเวอร์สของฟั งก์ชัน

เอกซ์โปเนนเชียล {( , ) , , }xx y y a a a+∈ × = > ≠0 1

ตัวอย่าง จงพิจารณากราฟต่อไปนี้ว่าเป็นฟังก์ชันลดหรือเพิ่ม

1. log2y x= 2. log 12

y x=

3. log 112

y x−⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

= 4. log 12y x−=

การเปลี่ยนฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลให้เป็นฟังก์ชันลอการิทึม สมการ x = ay สามารถเขียนได้ในรูปของ logay x= ตัวอย่าง จงเปลี่ยนจํานวนต่อไปนี้ในรูปลอการิทึม หรือเอกซ์โปเนนเชียล

1. 9 = 33 …………………………………………………. 2. 10,000 = 104 ………………………………………………….

3. 7 = ( )1249 ………………………………………………….

4. 8 = 31

2

−⎛ ⎞⎜ ⎟⎝ ⎠

………………………………………………….

5. log53 125= ………………………………………………….

6. log41

22= ………………………………………………….

7. log5

3 5 5= ………………………………………………….

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 2 -

ตัวอย่าง จงหาจํานวนจรงิ x ที่สอดคล้องกับสมการ log5 625 x= ตัวอย่าง จงหาจํานวนจรงิ x ที่สอดคล้องกับสมการ logx 8 3=

2. กราฟของฟังก์ชันลอการิทึม จากหัวข้อที่ 1 เราทราบว่าฟังก์ชันลอการิทึม เป็นอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล เราจึงสามารถเขียนกราฟของฟังก์ชันลอการึทึม โดยอาศัยฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียล โดยการลาก y = x ให้เป็นแกนสมมาตรได้ดังนี้ ขอให้พิจารณากราฟมาตรฐานของฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลต่อไปนี้

4

2

-2

5g(x)=log 12

x

f x( ) = 12

x

4

2

-2

5

g(x)=log2x

f x( ) = 2x

0 < a < 1 a > 1

จากตัวอย่างของกราฟทั้งสองนี้ สามารถสรุปข้อสังเกตของกราฟในกรณี y = logax ; a > 0, a ≠ 1 ได้ดังนี้ 1. กราฟของฟังก์ชันลอการิทึม จะตัดแกน y ที่คู่อันดับ (1, 0) 2. โดเมนของฟังก์ชันลอการิทึม คือเซตของจํานวนจริงบวก

เรนจ์ของฟังก์ชันลอการิทึม คือเซตของจํานวนจริง 3. กรณีที่ a อยู่ในช่วง (1, ∞) แล้ว y = logax จะเป็นฟังก์ชันลด

กรณีที่ a อยู่ในช่วง (0, 1) แล้ว y = logax จะเป็นฟังก์ชันเพิ่ม 4. ฟังก์ชันลอการิทึม เป็นฟังก์ชัน 1 – 1 จาก + ไปทั่วถึง นั่นคือ log loga ax y= ก็ต่อเม่ือ x = y 5. การเปรียบเทียบฟังก์ชันลอการิทึม กรณี a อยู่ในช่วง (0, 1) เป็นฟังก์ชันลด จะได้ว่า x > y ก็ต่อเม่ือ log loga ax y< x < y ก็ต่อเม่ือ log loga ax y> กรณี a อยู่ในช่วง (1, ∞) เป็นฟังก์ชันเพิ่ม จะได้ว่า x > y ก็ต่อเม่ือ log loga ax y> x < y ก็ต่อเม่ือ log loga ax y<

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 3 -

นอกจากนี้ยังมีกรณีของกราฟอื่น ๆ เม่ือเทียบกับรูปแบบมาตรฐาน y = ax เช่น กราฟชอง y = loga(- x)

เม่ือ a > 0 และ a ≠ 1

0 < a < 1 a > 1 กราฟชอง y = - loga x

เม่ือ a > 0 และ a ≠ 1

0 < a < 1 a > 1 กราฟชอง y – k = loga(x – h)

เม่ือ a > 0 และ a ≠ 1

0 < a < 1 a > 1

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 4 -

กราฟชอง y = loga|x| เม่ือ a > 0 และ a ≠ 1

0 < a < 1 a > 1 กราฟชอง y = |logax|

เม่ือ a > 0 และ a ≠ 1

0 < a < 1 a > 1

แบบฝึกหัดประกอบหัวข้อท่ี 2 จงเขียนกราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้ลงบนแกนคู่เดียวกัน 1. log , log2 1

2

y x y x= =

2. log , log ( )2 2y x y x= = −

โดเมนของกราฟ คือ..................................... เรนจ์ของกราฟ คือ.....................................

โดเมนของกราฟ คือ..................................... เรนจ์ของกราฟ คือ.....................................

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 5 -

3. log , log2 2y x y x= = −

โดเมนของกราฟ คือ..................................... เรนจ์ของกราฟ คือ..................................... โจทย์เพิ่มเติม

1. กราฟที่กําหนดให้ต่อไปนี้เป็นกราฟของสมการอะไร

1. y = log x2 2. y = - log x 3. y = log |x| 4. y = |log x|

2. (คณิต กข.) ข้อความต่อไปนี้ ข้อความใดเป็นจริง 1. ฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลเป็นอินเวอร์สของฟังก์ชันลอการิทึม 2. กราฟของฟังก์ชัน y = 10x และฟังก์ชัน y = log x มีลักษณะสมมาตรเทียบกับ y = x 3. ส่วนตัดของฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลบนแกน y เท่ากับส่วนตัดของฟังก์ชันลอการิทึมบนแกน x 4. ถูกทุกข้อ

3. (คณิต ก.) จงพิจารณาว่าข้อใดผิด 1. ถ้า a > 0 และ a ≠ 1 แล้ว y = ax เป็นฟังก์ชันเพิ่ม 2. กราฟของ y = 5x ตัดกับกราฟของ y = 7x 3. อินเวอร์สฟังก์ชันของ y = ex คือ y = ln x 4. ฟังก์ชันลอการิทึมเป็นฟังก์ชัน 1 – 1 จากเซตของจํานวนจริงบวกไปทั่วถึงเซตของจํานวนจริง

4. (คณิต ก.) จงพิจารณาว่าข้อความใดถูก 1. ถ้า a < 1 แล้ว y = ax เป็นฟังก์ชันลด 2. โดเมนของฟังก์ชันลอการิทึม เป็นเซตของจํานวนจริง 3. ฟังก์ชันลอการิทึมเป็นฟังก์ชัน 1 – 1 จากเซตของจํานวนจริงบวกไปบนเซตของจํานวนจริง 4. กราฟของ y = log2 x เหมือนกับกราฟของ x = 2

y 5. (คณิต ก.) จงพิจารณาว่าข้อความใดถูก

1. กราฟของ y = ax เม่ือ a ≠ 0 ผ่านจุด (0, 1) เสมอ 2. กราฟของ y = ax เม่ือ 0 < a < 1 เป็นฟังก์ชันเพิ่ม 3. กราฟของ y = a-x เม่ือ a > 1 เป็นฟังก์ชันลด 4. กราฟของ log(x2 – x) สําหรับทุกค่าของ x ที่เป็นจํานวนจริงบวก จะผ่าน (1, 0) เสมอ

(1,0)

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 6 -

3. คุณสมบตัิของลอการิทึม

กําหนดให้ M, N เป็นจํานวนเต็มบวก ซ่ึง a > 0 และ a ≠ 1 จะได้สมบัติเบื้องต้น 6 ข้อดังต่อไปนี ้1. log log loga a aMN M N= +

2. log log loga a aM

M NN= −

3. log logpa aM p M= ⋅

4. loga a 1= 5. loga 1 0=

6. loga Ma M= ซ่ึงเราสามารถพิสูจน์ได้โดยสมบัติของเลขยกกําลัง ดังนี้

1. log log loga a aMN M N= + พิสูจน์ ให้ loga M x= และ loga N y= จะได้ว่า M = ax และ N = ay ดังนั้น MN = ax ⋅ ay MN = ax + y จะได้ loga MN x y= + ∴ log log loga a aMN M N= +

2. log log loga a aM

M NN= −

พิสูจน์ ให้ loga M x= และ loga N y= จะได้ว่า M = ax และ N = ay

ดังนั้น MN

= x

y

aa

MN

= ax - y

จะได้ logaM

x yN= −

∴ log log loga a aM

M NN= −

3. log logp

a aM p M= ⋅ พิสูจน์ ให้ loga M x= จะได้ M = ax ดังนั้น Mp = (ax)p Mp = axp

จะได้ log pa M xp=

log pa M px=

∴ log logpa aM p M= ⋅

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 7 -

4. loga a 1= พิสูจน์ ให้ loga a x= จะได้ ax = a ดังนั้น x = 1 ∴ loga a = 1

5. loga 1 0= พิสูจน์ ให้ loga 1 x= จะได้ ax = 1 ดังนั้น x = 0 ∴ loga a = 0

6. loga Ma M= พิสูจน ์ ให้ loga Ma x= จะได้ log loga aX M= ดังนั้น x = M ∴ loga Ma M=

ตัวอย่าง จงหาค่าของ log5 125

จงหาค่าของ log21

128

จงหาค่าของ log (log )4 2 16 การเปลี่ยนฐานลอการิทึม เราสามารถเปลี่ยนฐานของลอการิทึมจากฐานหนึ่ง ไปยังอีกฐานหนึ่งที่เราต้องการได้ มีประโยชน์สําหรับการคิดคํานวณ จะอาศัยทฤษฎีบทดังนี้

ทฤษฎีบท ถ้า a > 0, a ≠ 1, b > 0, b ≠ 1 และ x เป็นจํานวนจริงบวกแล้ว logloglog

ba

b

xx

a=

โดยปกติทั่วไป เรามักจะเปลี่ยนในรูปลอการิทึมฐานสามัญ (ฐานสิบ) พิสูจน ์ ให้ logay x= เม่ือ a > 0 และ a ≠ 1 จะได้ x = ay ดังนั้น logb x = log y

b x เม่ือ b > 0 และ b ≠ 1 = logby a

จะได้ y = loglog

b

b

xa

∴ loga x = loglog

b

b

xa

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 8 -

ตัวอย่าง กําหนดให้ log .3 7 1 771= จงหาค่าของ log9 7 หมายเหต ุ ลอการิทึมฐานสิบ ไม่นิยมเขียนกํากับฐาน เรียกว่า ลอการิทึมสามัญ คุณสมบัติเพิ่มเติมเกี่ยวกับลอการิทึม กําหนดให้ M, N เป็นจํานวนเต็มบวก ซ่ึง a > 0 และ a ≠ 1

1. log logp aa

1M M

p= ⋅

2. log log1 aa

x x= −

3. logloga

x

1x

a=

แบบฝึกหัดประกอบหัวข้อท่ี 3

จงแสดงวิธีทําต่อไปนี้ 1. จงเปลี่ยนเลขยกกําลังต่อไปนี้เป็นลอการิทึม หรือเปลี่ยนลอการิทึมเป็นเลขยกกําลัง

1. 82 = 64

2. 21 1

3 9⎛ ⎞ =⎜ ⎟⎝ ⎠

3. ( )16

164

2− =

4. .log0 5 8 3= −

5. log

24 4=

6. log 1

3

9 2= −

2. จงหาค่าของลอการิทึมต่อไปนี้

1. log4 1024

2. log .25 0 008

3. log5 125 5

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 9 -

4. log5 8 5. log

72401

6. log .9 3

0 1

7. log 52 2

32 4 3. จงหาค่าของ

1. log 52 64

2. log104

3

5 2

18 2

3. log log log log log10 10 10 10 1035 6 7 10 3+ − + −

4. log log log log15 24 8020 7 5 3

16 25 81+ + +

5. log log log10 25 8016 4 7

9 24 81− −

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 10 -

6. log log log loga a a a2 7 21 6 14− + −

7. log log log

log log27 8 125

6 5+ −

8. log( ) log( ) log( ) log log2 2 2 2a b a b a b a b− + + − − + − เม่ือ a = 20, b = 2

9. (log )(log ) log log2 38 81 4 400 256+ −

10. log log log8 4 364 64 27 5+ − −

11. log log .8 4128 0 25×

12. log45 ในเทอม a, b ถ้ากําหนดให้ log2 a= และ log 3 b=

13. log27 ในเทอม a, b, c ถ้ากําหนดให้ log28 a= , log21 b= และ log25 c=

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 11 -

14. log log loga b c

1 1 1abc abc abc

+ +

15. loglog 22 58 +

4. จงพิสูจน์ว่า

1. ถ้า log ( ) loga ax a by y= − − แล้ว x

ay

a b=

+

2. log log log loga a b cd b c d= × ×

3. (log log log ) ( log )2 125 125 1000 3 2 3 2+ − = −

4. log log7 32 343 3 9=

5. log log log333 2 8−

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 12 -

6. ถ้า log log logb a c

2 1 1N N N= + แล้ว b2 = ac

7. ถ้า log loga ax A y= แล้ว log logb bx A y=

5. จงหาค่าของ 1. log log log ... log2 3 4 1273 4 5 128⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅

2. log log log ... log2 3 4 1273 4 5 128⋅ ⋅ ⋅ ⋅ ⋅

3. log log log

log log7 7 7

7 7

125 27 6415 4

+ −−

โจทย์เพิ่มเติม

1. (วัดสุทธิ) จงหาค่าของ log loglog

log (log ) log (log ) log 4 2513

3 3 277 3 375 3 5 3 22 2 2 4

−− + +

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 13 -

2. (วัดสุทธิ) จงหาค่าของ log log log6

2 5 7

1 125 2 88 4 4+ +

3. (วัดสุทธิ) จงหาค่าของ log log log log1 12 5 1296 3 3 81 2

2 4+ − + −

4. (วัดสุทธิ) จงหาค่าของ log(log )(log )(log )(log )(log )(log ) log 3 53 25 49 3 59 6

55 81 7 36 3 5

9−

5. (วัดสุทธิ) จงหาค่าของ log

log5

6

21 3 1

365

− ⎛ ⎞+ ⎜ ⎟⎝ ⎠

6. (วัดสุทธิ) จงหาค่าของ log (log ) log (log ) (log )(log )12 32 3 2 3 3

2

110 10 27

8− −

7. (วัดสุทธิ) กําหนดให้ 16

3 14A 8−⎡ ⎤= ⎢ ⎥⎣ ⎦ แล้ว จงหาค่าของ log (log )4 1

2

A

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 14 -

8. (ต.อ.) จงหารูปอย่างง่ายของ (log )

[log log ]log

3a

a x a

1 xa

x ax

−⎛ ⎞+ ⎜ ⎟⎝ ⎠

กําหนดให้ a > 0, x > 0, a ≠ 1, x ≠ 1

9. (ต.อ.) ค่าของ log log log log log log2 5 27 2 27 81 1

16 9 3 425 8

× − × + × เท่ากับเท่าใด

10. ถ้า log log loglog , log ,log12 13 127 x 5 y 7 z= = = จงเรียงลําดับค่า x, y, z จากมากไปหานอ้ย 11. กําหนดให้ loga b 6= ค่าของ (log ) log logxy x

a a axy b b b+ + มีค่าเท่าใด

12. จงหาค่า x จาก log log log log2 10x xx x

5 25 2 162 5 1

2 81 5 9⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞− + + =⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠

13. (คณิต กข.) กําหนดให้ log log2 xx 2 2+ = ค่าของ log2 x

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 15 -

14. (คณิต กข.) ค่าของ log log1 16

2

15 100

38

+ +

เท่ากับเท่าใด 15. (คณิต ก.) จงหาค่าของ x ที่ทําให้ ( )log (log )x 1

3 52 125 2− =

16. (คณิต ก.) ค่าของ ( )log1116 6

3 27 81 เท่ากับเท่าใด

17. (คณิต ก.) กําหนดให้ log (log )3 10 x 1= แล้ว ค่าของ x เท่ากับเท่าใด 18. (คณิต ก.) กําหนดให้ log ( ) log ( )8 8x 6 x 6 2− + + = แล้ว ค่าของ x เท่ากับเท่าใด ข้อสอบโควตา ม.ช.

1. จงหาโดเมนของ ( )log

2x 1f x

x−

=

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 16 -

2. ถ้า log ( ) log ( )27 91

x 1 x 16

− − − = แล้ว จงหาค่าของ x

3. ถ้า (log )(log ) log3 3

3x 5 xy 3x x= แล้ว จงหาค่าของ y 4. ค่าที่ไม่ติดลอการิทึมของ loglog log log 8 26 5 4 10− + เท่ากับเท่าใด

5. กําหนดให้ log , log ,log27 2 c9

3 a b 3 24

= = − = − จงหาค่าของ a + b + c

6. กําหนด log , log30 304 a 5 b= = แล้ว จงหาค่าของ log30 9

7. กําหนด log , log , loga b c2

x 2 x 1 x5

= = − = แล้ว จงหาค่าของ logabc x

ฟังก์ชันลอการิทึม : Logarithmic Function

- 17 -

8. กําหนด loglog

2a

3= จงหาค่า y เม่ือ y = 32a+1 – 1

9. จงหาผลบวกรากของสมการ [log ( )] [log ( )] log23 3 3 12

1x 1 7 x 1

3⎛ ⎞+ − + = ⎜ ⎟⎝ ⎠

โปรดติดตาม..... ลอการิทึมสามัญ แอนติลอการิทึม ลอการิทึมธรรมชาต ิ สมการลอการิทึม อสมการลอการิทึม การประยุกต์ฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมในธรรมชาติวิทยาศาสตร์

ในเอกสารชุดต่อไป...เร็วๆนี้

เอกสารอ้างอิง

1. http://www.mathcenter.net 2. เอกสารประกอบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม. ฟังก์ชันลอการิทึม. โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย, 2548 3. สมใจ นิลเกตุ. เฉลยละเอียดข้อสอบ Quota ม.ช. เข้ามหาวิทยาลัย วิชาคณิตศาสตร์. พิมพ์คร้ังที่ 1.เชียงใหม่,2548 4. เอกสารถ่ายสําเนา. Logarithm 5. เอกสารถ่ายสําเนา : แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ช่วงชั้นที่ 4 (รวมข้อสอบ Entrance คณิตศาสตร์ กข., ก.)