23
การแก้ปัญหาความขัดแย้ง (Conflict Resolution) ความรู้ความเข้าใจ ธรรมชาติของความขัดแย้ง มีขันติ อดทน อดกลั้นต่อความแตกต่างขัดแย้ง สามารถเจรจาต่อรอง เชื่อมประสาน เพื่อลด ปัญหาหรือคลายปมขัดแย้ง โดยปราศจาก การใช้ความรุนแรง

Atack

Embed Size (px)

Citation preview

• การแก้ปัญหาความขัดแย้ง (Conflict Resolution) • ความรู้ความเข้าใจ ธรรมชาติของความขัดแย้ง มีขันติ อดทน อดกลั้นต่อความแตกต่างขัดแย้ง สามารถเจรจาต่อรอง เชื่อมประสาน เพื่อลด ปัญหาหรือคลายปมขัดแย้ง โดยปราศจาก การใช้ความรุนแรง

ขอบข่ายเนื้อหาสาระโลกศึกษา

โลกศึกษาเป็นสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ไม่มุ่งเน้นการสอนเนื้อหาใหม่ ๆ แต่เน้นการเพิ่มพูนความรู้ ความคิดรวบยอดและเนื้อหาสาระ

Social justice ความเป็นธรรมในสังคม

Diversity ความหลากหลาย

Interdependence การพึ่งพาอาศัยกัน

Sustainable Development การพัฒนาอย่างยั่งยืน

Human Rights สิทธิมนุษยชน

Conflict Resolution การแก้ปัญหาความขัดแย้ง

Values &Perceptions ค่านิยม และการสัมผัสรับรู ้

Global Citizenship ความเป็นพลเมืองโลก

GLOBAL

DIMENSION

[email protected]

การเขียนความเรียงข้ันสูง (Extended Essay) เป็นสาระการเรียนรู้ ที่จัดการเรียนการสอน

เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเขียนและเรียบเรียงความคิดข้อคิดเห็น การให้ข้อเสนอเชิงวิชาการ โดยใช้ภาษาอย่างถูกต้อง องค์ประกอบที่ใช้ส าหรับการเขียนความเรียงขั้นสูง

(Extended Essay)วิธีการเขียนชื่อเรื่อง (Title) การเขียนค าน า (Introduction) การเขียนเนื้อเรื่อง (Body Of Knowledge) และ

การเขียนบทสรุป (Conclusion)

CAS (Creativity, action, services) เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สร้างสรรค์โครงงานและปฏิบัติจริง 3 กิจกรรม หลัก ๆ ที่ประกอบไปด้วย การสร้างสรรค์โครงงาน ( Creativity ) โดยใช้ความรู้จากสาระการเรียนรู้พื้นฐาน การปฏิบัติกิจกรรมตามโครงงานที่สร้างขึ้น ( Action ) และเข้าร่วม กิจกรรรมโครงงานสาธารณะประโยชน์ ( Service )

ขอบข่ายของความรู ้Areas of

Knowledge

มุ่งพัฒนาทักษะ การคิดวิเคราะห์วิจารณ์

Critical Thinking

วิถีของการรู้ Ways of Knowing

เป็นวิชา สหวิทยาการ

Interdisciplinary Course [email protected]

How do we know? What do we (claim to )know?

Global Education การจัดการเรียนการสอนมี 8 เนื้อสาระ ได้แก่

- การเป็นพลเมืองโลก ( Global citizenship ) - การแก้ปัญหาความขัดแย้ง ( Conflict resolution ) - ความเป็นธรรมทางสังคม ( Social Justice ) - ค่านิยมและการตระหนักรับรู้สภาพการณ์ ( Value and perception )

- การพัฒนาอย่างยั่งยืน ( Sustainable development ) - สิทธิมนุษยชน ( Human rights ) - การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ( Interdependence ) - ความหลากหลาย ( Diversity ) ความแตกต่างและ ความสัมพันธ์ของมนุษยชาติ ธรรมชาติ

ขอบข่ายของความรู ้Areas of

Knowledge

มุ่งพัฒนาทักษะ การคิดวิเคราะห์วิจารณ์

Critical Thinking

วิถีของการรู้ Ways of Knowing

เป็นวิชา สหวิทยาการ

Interdisciplinary Course

[email protected]

How do we know? What do we (claim to )know?

OUTCOMES

โลกศึกษาเป็นการศึกษาความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาด้านสิทธิมนุษยชน การพัฒนาที่ยั่งยืน สันติภาพ การป้องกัน ความขัดแย้ง และการศึกษาระหว่าง วัฒนธรรมตลอดจนความเป็นพลเมืองโลก

• การวิเคราะห์สถานการณ์โลกปัจจุบัน • วิสัยทัศน์ในการก าหนดทิศทาง หรือ พัฒนาหารูปแบบวิธีการในการแก้ปัญหา • กระบวนการเปลี่ยนแปลงเพื่อมุ่งสู่ ความเป็นพลเมืองโลกที่รับผิดชอบ

• สิทธิมนุษยชน(Human Rights) ความรู้ ความเข้าใจและยึดมั่น ในสิทธิมนุษยชน

• ความเป็นพลเมืองโลก (Global Citizenship)

แนวคิดหลักการและสถาบัน การมีบทบาท ที่เกี่ยวข้องในฐานะสมาชิกของสังคม ทั้งในระดบัท้องถิ่น ประเทศ และระดับโลก ตลอดจนการมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ในฐานะพลเมืองที่ดีของสังคมที่ค านึงถึง สิทธิมนุษยชนและอุดมการณ์ประชาธิปไตย

• ความหลากหลาย (Diversity) ความรู้ความเข้าใจการยอมรับและตระหนัก ในความหลากหลายทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ สังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งความหลากหลาย ทางชีวภาพตลอดจนผลกระทบของสภาพแวดล้อมที่มีต่อเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม

• ความเป็นธรรมในสังคม (Social Justice) ความส านึกตระหนักในความส าคัญของความเสมอภาคและความยุติธรรมในสังคม มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการสร้าง ความเท่าเทียมและความเป็นธรรมในสังคม

• การแก้ปัญหาความขัดแย้ง (Conflict Resolution) ความรู้ความเข้าใจ ธรรมชาติของความขัดแย้ง มีขันติ อดทน อดกลั้นต่อความแตกต่างขัดแย้ง สามารถเจรจาต่อรอง เชื่อมประสาน เพื่อลด ปัญหาหรือคลายปมขัดแย้ง โดยปราศจาก การใช้ความรุนแรง

ขอบข่ายเนื้อหาสาระโลกศึกษา

โลกศึกษาเป็นสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ไม่มุ่งเน้นการสอนเนื้อหาใหม่ ๆ แต่เน้นการเพิ่มพูนความรู้ ความคิดรวบยอดและเนื้อหาสาระ

1. ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการโลกาภิวัตน์และการพัฒนาสังคมโลก

สภาพการด ารงชีวิตในระดับท้องถิ่น และส่วนอื่น ๆ ของโลกสังคม ที่มีวัฒนธรรมหลากหลาย สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและวัฒนธรรม ความสัมพันธ์และการพึ่งพาอาศัยกนัระหว่าง ภูมิภาค ประเทศ และทวีป ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติที่จ ากัด สังคมข้อมูลข่าวสาร และสื่อมวลชนและไซเบอร์สเปซ (Cyber Space)

2. ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ความเป็นมาและปรัชญา ความคิดของมนุษยชาต ิ

ความเป็นมนุษยชาต ิ สิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตยและธรรมาภิบาล เศรษฐศาสตร์ ความยุติธรรมในสังคม การค้าท่ีเป็นธรรม ความเสมอภาคทางเพศ สันติภาพและความขัดแย้ง การเปลี่ยนแปลง ความเป็นพลเมือง ความหลากหลาย ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรม การพัฒนาอย่างยั่งยืน สุขภาพอนามัยและความเสมอภาคเท่าเทียมในการเข้าถึงความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3. ความรู้เก่ียวกับความเป็นสังคมชุมชน

ความรู้เกี่ยวกับความเป็นชุมชน และความแตกต่างหลากหลาย (Diversity) แบบแผนของการด ารงชีวิต (Life Styles) ศาสนา วัฒนธรรม ชีวิตของคนต่างรุ่น ต่างวัย (Generations)