14
หลักการเบื้องตนในงาน 3 มิติ ถึงแมวาอินเตอรเฟสใหมของ AutoCAD 2007 จะชวยใหเราสามารถทํางานกับวัตถุ 3 มิติ (3D objects) ไดงายกวาในรีลีสกอนๆ แตเราก็ยังมีความจําเปนที่จะตองมีความรูความเขาใจในระบบคอรออรดิเนท ซึ่งใชสําหรับอางอิงตําแหนง ขนาดและทิศทางของวัตถุ (Object)ที่วางอยูบนพื้นที่วางใน 3 มิติ (3D space)พอสมควร เพราะไมวาจะเปนการสรางหรือการแกไขปรับแตงวัตถุ 3 มิติ มักจะมีคาทิศทางของ แกน X, Y, Z และคาคอรออรดิเนทจะเขามาเกี ่ยวของอยูเสมอๆ อาทิ เชน การกําหนดตําแหนงวัตถุ การกําหนดระนาบวาดภาพ การเคลื่อนยายวัตถุ การคัดลอกวัตถุและการกําหนดมุมมองวัตถุและอื ่นๆ เปนตน ดังนั้น เราจึงมีความจําเปนที่จะตองเขาใจหลักและวิธีการกําหนดคาคอรออรดิเนท 3 มิติ ซึ่งจะ ทําใหเราสามารถสรางหรือแกไขวัตถุ 3 มิติใหมีรูปทรง ขนาด ทิศทางการหันเหและตําแหนงตาม ตองการไดอยางรวดเร็ว 3.1 ระบบคอรออรดิเนท 3 มิติ รูปที3.1 เมื ่อเริ ่มเขาสู AutoCAD ในรีลีสกอนๆ (R14-2006) พื้นที่วาดภาพจะแสดงระนาบ XY หรือระนาบ ดานบน(Top view)ซึ่งจะขนานกับจอภาพ เมื ่อเรา มองเขาไปยังจอภาพตรงๆ แกน +X จะพุ งออก จากจุดกําเนิดไปทางขวาในแนวนอน แกน +Y จะ พุงออกจากจุดกําเนิดขึ้นไปดานบนในแนวตั้ง สวนแกน +Z ทํามุมตั ้งฉากกับแกน +X และ +Y พุงตรงออกจากจอภาพมุ งเขาหาตัวเราดังรูปที3.1 แตเมื่อเขาสู AutoCAD 2007 พื้นที่วาดภาพ ไมไดแสดงระนาบ XY ขนานกับจอภาพเหมือน ในรีลีสกอนๆ แตจะแสดงมุมมองแบบ เปอรสเปคทีฟ(Perspective) โดยมีแกน +X พุไปทางขวาลาง แกน +Y พุไปทางขวาคอนไป ดานบนเล็กนอย แกน +Z พุงขึ้นในแนวดิ่งตาม ยูซีเอสไอคอนดังรูปที3.2 รูปที3.2 chap-03.PMD 12/10/2549, 21:38 29

AutoCAD 2007 3D Chap-03

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: AutoCAD 2007 3D Chap-03

หลักการเบ้ืองตนในงาน 3 มิติ

ถึงแมวาอินเตอรเฟสใหมของ AutoCAD 2007 จะชวยใหเราสามารถทาํงานกบัวัตถุ 3 มติ(ิ3D objects)ไดงายกวาในรีลีสกอนๆ แตเราก็ยังมคีวามจําเปนทีจ่ะตองมคีวามรูความเขาใจในระบบคอรออรดเินทซ่ึงใชสําหรับอางอิงตําแหนง ขนาดและทิศทางของวัตถุ(Object)ที่วางอยูบนพื้นที่วางใน 3 มิต(ิ3Dspace)พอสมควร เพราะไมวาจะเปนการสรางหรือการแกไขปรับแตงวตัถุ 3 มติ ิ มกัจะมคีาทศิทางของแกน X, Y, Z และคาคอรออรดเินทจะเขามาเกีย่วของอยูเสมอๆ อาทิ เชน การกําหนดตําแหนงวัตถุการกําหนดระนาบวาดภาพ การเคล่ือนยายวัตถุ การคดัลอกวตัถุและการกาํหนดมมุมองวัตถุและอ่ืนๆเปนตน ดงันัน้ เราจงึมคีวามจําเปนทีจ่ะตองเขาใจหลักและวธิกีารกาํหนดคาคอรออรดเินท 3 มติ ิซ่ึงจะทําใหเราสามารถสรางหรือแกไขวัตถุ 3 มิติใหมีรูปทรง ขนาด ทิศทางการหันเหและตําแหนงตามตองการไดอยางรวดเร็ว

3.1 ระบบคอรออรดิเนท 3 มิติ

รูปที ่3.1

เมือ่เร่ิมเขาสู AutoCAD ในรีลีสกอนๆ (R14-2006)พื้นที่วาดภาพจะแสดงระนาบ XY หรือระนาบดานบน(Top view)ซ่ึงจะขนานกบัจอภาพ เมือ่เรามองเขาไปยังจอภาพตรงๆ แกน +X จะพุงออกจากจดุกาํเนดิไปทางขวาในแนวนอน แกน +Y จะพุงออกจากจุดกําเนิดขึ้นไปดานบนในแนวตั้งสวนแกน +Z ทํามมุตัง้ฉากกบัแกน +X และ +Yพุงตรงออกจากจอภาพมุงเขาหาตัวเราดงัรูปที ่3.1

แตเมื่อเขาสู AutoCAD 2007 พื้นที่วาดภาพไมไดแสดงระนาบ XY ขนานกบัจอภาพเหมอืนในรี ลีสกอนๆ แตจะแสดงมุมมองแบบเปอรสเปคทฟี(Perspective) โดยมแีกน +X พุงไปทางขวาลาง แกน +Y พุง ไปทางขวาคอนไปดานบนเล็กนอย แกน +Z พุงขึน้ในแนวดิง่ตามยูซีเอสไอคอนดงัรูปที ่ 3.2

รูปที ่3.2

chap-03.PMD 12/10/2549, 21:3829

Page 2: AutoCAD 2007 3D Chap-03

2D Drafting

30

Note

Note ตามที่โปรแกรมกําหนดมาให หลังจากติดตั้ง AutoCAD 2007 จอภาพจะแสดงมุมมองเปอรสเปคทีฟเพียงวิวพอรทเดียว แตหลังจากที่ติดตั้งทูลบาร 3D Modeling จากแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูมอืเลมนี ้จอภาพจะถูกแบงออกเปน 4 ววิพอรท แสดงมุมมองดาน Top, Front, Left และ Perspectiveแตกตางจากจอภาพทีต่ดิตั้งมากับ AutoCAD 2007

ไมวาจอภาพจะแสดงมุมมองใด ระบบคอรออรดิเนท World Coordinate System (WCS) ของAutoCAD ก็ยังอยูในตําแหนงและทิศทางการหันเหเดิมคือมีแกน X, Y, Z และระนาบ XY (Top), XZ(Front), YZ (Left)

ระบบคอรออรดิเนท 3 มติทิี่ใชใน AutoCAD 2007 คือ Cartisian Coordinate System ซ่ึงเหมอืนกับระบบคอรออรดิเนทใน AutoCAD รีลีสกอนๆ ทกุประการ เพียงแตวาจอภาพแรกของรีลีสกอนแสดงมุมมองดานบน(Top view) แตจอภาพแรกของ AutoCAD 2007 แสดงมุมมองเปอรสเปคทีฟ(Perspective) เราสามารถใชคําส่ัง View43D Views4Top เพือ่ปรับมมุมองของ AutoCAD 2007ใหแสดงรูปดานบน(Top view)ไดเหมอืนกับรีลีสกอนๆ แตเราไมจาํเปนทีจ่ะตองทําเชนนัน้ เพราะวาการทาํงานกบัโมเดล 3 มติิ ในววิพอรทแบบเปอรสเปคทฟีนัน้จะคอนขางสะดวกกวาการทาํงานในววิพอรทแสดงรูปดานบน(Top view)

ในวิวพอรทเปอรสเปคทฟีของรูปที ่3.2 จากจดุกําเนดิ (0,0,0) ซ่ึงเปนตําแหนงทีป่รากฏ UCS Iconถาเล่ือนเคอรเซอรไปทางขวาลางตามแกน +X ทีป่รากฏเปนสีแดง คา X จะเพิ่มมากขึน้เปน 1,2,3,...หรือมคีาเปนบวก จากจดุกําเนดิ (0,0,0) ถาเล่ือนเคอรเซอรไปทางซายบนตามแกน -X ทีป่รากฏเปนสีแดง คา X จะลดนอยลงเปน -1,-2,-3,... จากจดุกําเนิด (0,0,0) ถาเล่ือนเคอรเซอรไปทางขวาบนตามแกน +Y ทีป่รากฏเปนสีเขียว คา Y จะเพิม่มากขึน้เปน 1,2,3,... หรือมคีาเปนบวก จากจดุกําเนดิ(0,0,0) ถาเล่ือนเคอรเซอรไปทางซายลางบนตามแกน -Y ทีป่รากฏเปนสีเขียว คา Y จะลดนอยลงเปน-1,-2,-3,...ในทางปฏิบัต ิเมือ่เราอยูใน AutoCAD 2007 เราไมจาํเปนทีจ่ะตองใชกฎมอืขวา(Right-hand rule)ดังรูปที ่ 3.3 เปนเคร่ืองมือในการหาทิศทางของแกนZ เพราะเราสามารถทราบไดวาแกน X, Y, Z ช้ีไปทางทศิทางใด โดยสังเกตุไดจาก UCS Icon ทีป่รากฏบนพืน้ทีว่าดภาพไดโดยตรง โดยปกต ิUCSIcon จะอยูในสถานะเปด หาก UCS Icon ไมปรากฏบนพืน้ทีว่าดภาพ เราจะตองแนใจวาปรากฏเคร่ืองหมาย หนาคําส่ัง View4Display4UCSIcon4On จงึจะปรากฏ UCS Icon บนพืน้ทีว่าดภาพ หากตองการให UCS Icon ปรากฏ ณ ตําแหนงจดุกําเนดิ(0,0,0) เราจะตองแนใจวาปรากฏเคร่ืองหมาย หนาคาํส่ัง View4Display4UCS Icon4Origin

นอกจากนี้ ในทางปฏิบัติเราจะอาศัยตําแหนงปจจุบันของเคอรเซอรครอสแฮร(Crosshairs)เปนตัวช้ีตําแหนงพกิัดคอรออรดเินทของแกน X,Y,Z โดยปกตเิราจะทราบตาํแหนงพิกดัคอรออรดิเนทของเคอรเซอรครอสแฮรไดจากบรรทัดแสดงสถานะ(Status line)ซ่ึงจะรายงานตําแหนงปจจุบันของครอสแฮรคอืคาของแกน X แกน Y และแกน Z ดังรูปที ่3.4 โดยทัว่ไปแลวคา Z จะมคีาเทากบั 0 (ศูนย)

รูปที ่3.3

chap-03.PMD 12/10/2549, 21:3830

Page 3: AutoCAD 2007 3D Chap-03

หลักการเบื้องตนในงาน 3 มิติ 31

เสมอ เนือ่งจากครอสแฮรสามารถเล่ือนไปมาบนระนาบ XY ในระดบัซ่ึงแกน Z มคีาเทากบั 0 (ศูนย)พอด ี ดงันัน้ บรรทดัแสดงสถานะจงึแสดงคา Z เทากบั 0 เสมอ นอกจากจะมกีารกําหนดระดบัความสูง(Elevation)ในแนวแกน Z ใหมหรือมกีารใช Point Filter ชวยในการกาํหนดตําแหนงใน 3 มติ ิหรือเมือ่มีการเคล่ือนยายวตัถุ โดยใช Polar ชวยแทร็ค(Track)หรือตดิตามจดุในแนวแกน Z คา Z จงึจะเปล่ียนแปลงไป รูปที ่3.4

3.1.1 แอบโซลุทคอรออรดิเนท(Absolute Coordinate)แอบโซลุทคอรออรดิเนทเปนพิกัดบอกตําแหนงซ่ึงวัดระยะหางออกจากจุดกําเนิด 0,0,0 ของแกนX,Y,Z โดยตรง แอบโซลุทคอรออรดิเนทแบงออกเปน 4 แบบดงันี้

คารทเิชยีนคอรออรดิเนท(Cartisian Coordinate)เราสามารถระบุตําแหนงใดๆ ใน 3 มิติโดยการปอนคา X,Y,Z ของจดุทีก่ําหนด อาท ิเชน X,Y,Z = 5,8,9 นัน่คอืคา X มคีาเทากบั 5 คา Yมคีาเทากับ 8 และคา Z มคีาเทากบั 9 ดงัรูปที ่3.5 (1)

โพลารคอรออรดิเนท(Polar Coordinate)เราสามารถระบุตําแหนงใดๆ โดยปอนระยะทางจากจุดกําเนิด 0,0,0และมุมในระนาบ XY โดยคั่นดวยเคร่ืองหมาย < อาทิ เชน 8<45หมายถึงจดุทีก่ําหนดหางจากจดุกําเนดิเปนระยะทาง 8 หนวยและทาํมมุ45 องศากับแกน X ในระนาบ XY โพลารคอรออรดิเนทใชงานในลักษณะการกําหนดตาํแหนงใน 2 มติิดงัรูปที ่3.5 (2)

ไซลินดรคิอลคอรออรดิเนท(Cylindrical Coordinate)ไซลินดริคอลคอรออรดิเนทเปนระบบคอรออรดิเนทที่มีรากฐานมาจากโพลารคอรออรดิเนท แตเปนระบบคอรออรดิเนท 3 มติทิี่สามารถกําหนดระยะทาง มมุและความสูงใน 3 มติิ เราสามารถปอนระยะทางจากจุดกําเนิด 0,0,0 ตามดวยเคร่ืองหมาย < และคามมุในระนาบ XYตามดวยเคร่ืองหมาย , แลวกําหนดความสูงจากระนาบ XY อาท ิ เชน9<30,5 ดงัรูปที ่3.5 (3)

สเฟยรคิอลคอรออรดิเนท(Spherical Coordinate)สเฟยริคอลคอรออรดิเนทคลายกับไซลินดริคอลคอรออรดิเนทเปนระบบคอรออรดิเนท 3 มติ ิทีเ่ราสามารถกําหนดระยะทาง มมุและมมุใน

รูปที ่3.5

(1)

(2)

(3)

(4)

chap-03.PMD 12/10/2549, 21:3831

Page 4: AutoCAD 2007 3D Chap-03

2D Drafting

32

Note

3 มติิ เราสามารถปอนระยะทางจากจดุกําเนดิ 0,0,0 ตามดวยเคร่ืองหมาย< และคามุมในระนาบ XY ตามดวยเคร่ืองหมาย < แลวกําหนดคามมุที่กระทําจากระนาบ XY อาท ิเชน 9<30<35 ดงัรูปที ่3.5 (4)

3.1.2 รเีลทฟีคอรออรดิเนท(Relative Coordinate)รีเลทีฟคอรออรดิเนทนั้นเกือบจะเรียกไดวาเหมือนกับแอบโซลุทคอรออรดิเนททุกประการคือมีคารทิ เชียนคอรออรดิ เนท โพลารคอรออรดิเนท ไซลินดริคอลคอรออรดิ เนทและสเฟยริคอลคอรออรดเินทเหมอืนกนั อยางไรก็ตาม รีเลทีฟคอรออรดเินทมไิดอางอิงตําแหนงจากจดุกําเนิด 0,0,0เหมอืนกบัแอบโซลุทคอรออรดิเนท แตรีเลทฟีคอรออรดิเนทจะอางอิงตําแหนงออกมาจากจดุใดๆใน 3 มิติที่ ผู ใชโปรแกรมไดกําหนดไปแลวเปนจุดสุดทายหรือจากจุดที่กําหนดไปแลวลาสุดรีเลทฟีคอรอรดเินทมกันิยมใชในกรณีทีเ่ราไมสามารถทีจ่ะอางอิงตําแหนงจากจดุกําเนดิได เนือ่งจากเราไมทราบระยะทางหรือมมุที่กระทํากับจดุกําเนิด แตเราทราบระยะทางหรือมมุทีก่ระทาํกบัจดุใดๆใน 3 มติแิทน เราจงึสามารถใชจดุดังกลาวเปนจดุอางอิงโดยปอนคารีเลทีฟคอรออรดเินท ซ่ึงจะตองมีเคร่ืองหมาย @ นําหนาคอรออรดิเนท ไมวาจะเปนคอรออรดิเนทแบบคารทิเซียนคอรออรดิเนทโพลาร ไซลินดริคอลหรือสเฟยริคอล เคร่ืองหมาย @ ทีใ่ชนําหนาคอรออรดเินทจะบอกใหโปรแกรมทราบวาตาํแหนงทีต่องการกาํหนดนัน้อางอิงจากจดุสุดทายทีม่กีารกําหนดตําแหนงไปแลว มใิชอางอิงจากจดุกําเนดิ 0,0,0 สมมตุวิา จดุสุดทายทีก่ําหนดคอืคาแอบโซลุทคอรออรดเินท X,Y,Z=5,1,7 หากเรากําหนดจุดคอรออรดิเนท @2,8,4 โปรแกรมจะกาํหนดตาํแหนงโดยวดัระยะหางจากจดุ 5,1,7 ไปตามแนวแกน X เทากับ 2 หนวยไปตามแนวแกน Y เทากับ 8 หนวยและไปตามแนวแกน Z เทากับ 4หนวย ซ่ึงจะไดตาํแหนงแอบโซลุทที ่7,9,11 เปนตน

นอกจากเราจะใชรีเลทีฟคอรออรดิเนทกับคารทิเชียนคอรออรดิเนทแลว เรายังสามารถใชรีเลทีฟคอรออรดิเนทกับโพลารคอรออรดิเนท ตัวอยาง เชน @12<60 หรือใชรีเลทีฟคอรออรดิเนทกับไซลินดริคอลคอรออรดิเนท ตัวอยาง เชน @54<15,30 หรือใชรีเลทีฟคอรออรดิเนทกับสเฟยริคอลคอรออรดิเนท ตัวอยาง เชน @20<30<45 ไดอกีดวย

3.1.3 World Coordinate System และ User Coordinate Systemใน AutoCAD ระบบพิกดัคอรออรดิเนทมอียู 2 ระบบคอื World Coordinate System(WCS) และ UserCoordinate System(UCS)

World Coordinate System(WCS)คือระบบคอรออรดเินทหลักหรือถาแปลตรงตวัจะเรียกวาระบบคอรออรดิเนทโลก ในทีน่ีข้อเรียกทาํศัพทวา “เวิลรดคอรออรดิเนท” ระบบคอรออรดเินทแบบนีค้ือระบบคอรออรดิเนทหลักที่มแีกน X,Y,Z และจดุกําเนดิ(0,0,0)ของระบบจะไมสามารถเคล่ือนทีแ่ละไมสามารถหมนุเพือ่เปล่ียนแปลงทศิทางการหนัเหได เมือ่ผูใชโปรแกรมอยูในเวลิรดคอรออรดิเนทจะสามารถเขยีนรูปวตัถุ 2 หรือ 3 มติไิดเฉพาะระนาบ XY หรือระบานดานบน(Top view)ไดเทานัน้แตในทางปฏิบัต ิการขึน้รูปวตัถุ 3 มติมิคีวามจําเปนทีจ่ะตองใชระนาบอ่ืนๆ ซ่ึงอาจจะมใิชระนาบ XY

chap-03.PMD 12/10/2549, 21:3832

Page 5: AutoCAD 2007 3D Chap-03

หลักการเบื้องตนในงาน 3 มิติ 33

Note

เปนระนาบในการสรางรูปเสมอ ดงันั้น เราจงึจาํเปนตองเปล่ียนทศิทางการหันเหของแกน XY เพื่อแทนทีร่ะนาบที่ตองการเขยีนรูป User Coordinate System(UCS) จงึถูกนําเขามาใชปรับทิศทางการหนัเหของระนาบ XY แทนระบบเวิลรดคอรออรดเินทที่ไมสามารถเคล่ือนที่หรือหมนุได

ระนาบ XY ของเวลิรดคอรออรดเินท(World Coordinate Sytem)เปรียบเสมอืนระนาบพ้ืนดิน(Groundplane) ซึง่แกน X จะช้ีไปทางทศิตะวนัออก(East) ทศิตะวนัตก(West)จะอยูในทศิทางตรงกนัขาม แกนY ช้ีไปทางทศิเหนอื(North) ทศิใต(South)จะอยูในทศิทางตรงกนัขาม สวนแกน Z จะช้ีตรงดิง่ขึน้ไปบนอากาศ โดยทั่วไป เรามักจะสรางวัตถุ 3 มิต ิโดยกําหนดใหดานหนาของช้ินงานหันไปยังทิศใต ดานหลงัหันไปทางทศิเหนอื ดานซายหันไปทางทิศตะวนัตก ดานขวาหันไปทางทศิตะวนัออก ดานบนพุงขึ้นไปยังอากาศ ดานลางพุงลงดินดังรูปที่ 3.6 (ซาย-บน) แตหลังจากทีเ่ขียนช้ินงานเสร็จสมบรูณแลวเราสามารถหมนุช้ินงาน ใหหันไปยังทิศทางที่ถกูตอง เพ่ือศึกษาการทอดเงาของแสงจากดวงอาทติย

User Coordinate System(UCS)คอืระบบคอรออรดิเนททีผู่ใชโปรแกรมเปนผูกําหนดขึน้ใชงานดวยตนเองหรือเรียกวา “ยูสเซอรคอรออรดเินท” เราสามารถกาํหนดทศิทางการหนัเหและจดุกําเนดิของแกน X,Y,Z ออกจากตําแหนงเดมิของเวลิรดคอรออรดเินทได ซ่ึงจะทาํใหระนาบ XY ทีใ่ชเปนระนาบในการเขยีนรูปหันเหเปล่ียนทิศทางไป เมือ่เราเขียนหรือสรางวตัถุขึน้ใหม วัตถุนั้นจะอยูบนระนาบXY ของยูสเซอรคอรออรดเินท ซ่ึงจะอยูบนและขนานกบัระนาบ XY และอาจจะทาํใหแนวแกน X,Y,Zของยูสเซอรคอรออรดิเนทถูกปรับทิศทางการหันเหใหมดวย การที่เราสามารถหมุนแกน X,Y,Zหรือปรับระนาบ XY ของยูสเซอรคอรออรดิเนท จะทําใหเราสามารถเขียนรูปใหหันเหขนานกับระนาบดานหนา XZ ดานขาง YZ และระนาบอ่ืนๆ ของวัตถุได

จากรูปที ่3.6 (ซาย-บน) เราจะเหน็วา ยูซีเอสไอคอน(UCS Icon)ปรากฏอยูในตําแหนงและหันเหไปตามทิศทางของเวิลรดคอรออรดิเนท สังเกตุวาระนาบ XY ขนานกับระนาบดานบน(Top)และระนาบดานลาง(Bottom)ของกลอง แตมจีดุกําเนิดอยูบนระนาบดานลางของกลอง เมื่อเราเขยีนวัตถุ

รูปที ่3.6ยูซีเอสไอคอนอยูในตําแหนงเวิลรด(WCS) ระนาบ XY ของยูซีเอสไอคอนขนานกับระนาบดานหนา

ระนาบ XY ของยูซีเอสไอคอนขนานกับระนาบดานขวา ระนาบ XY ของยูซีเอสไอคอนขนานกับระนาบดานบน

chap-03.PMD 12/10/2549, 21:3833

Page 6: AutoCAD 2007 3D Chap-03

2D Drafting

34

Note

Note

Note

2 มติหิรือ 3 มติิ วัตถุ 2 มติิหรือสวนฐานของวัตถุ 3 มติิจะปรากฏอยูบนและขนานกบัระนาบดานลางของกลอง โดยปกต ิเราจะสามารถเขยีนวตัถุ 2 มติหิรือ 3 มติิไดบนระนาบ XY เทานัน้ ซ่ึงจะอยูบนพืน้ดานบนหรือดานลางของกลองนัน้ขึน้อยูกบัตําแหนงของจดุกําเนดิ(Origin)วาผานดานบนหรือดานลางของกลอง สังเกตุวาระนาบ XZ ของยูซีเอสไอคอนขนานกับระนาบดานหนา(Front)และดานหลัง(Back)ของกลอง สวนระนาบ YZ ของยูซีเอสไอคอนขนานกับระนาบดานซาย(Left)และดานขวา(Right)ของกลอง โดยทัว่ไป เราจะไมสามารถเขยีนวัตถุลงบนระนาบ XZ และ YZ ได นอกจากจะปรับทิศทางการหันเหของยูซีเอสไอคอน(UCS Icon) เพื่อเปล่ียนทิศทางการหันเหของระนาบ XYใหไปแทนทรีะนาบ XZ หรือ YZ ของเวิลรดคอรออรดิเนท จากรูปที ่3.6 (บน-ขวา) สังเกตวุาระนาบXY ขนานกับระนาบดานหนา(Front)และระนาบดานหลัง(Back)ของกลอง แตมีจุดกําเนิดอยูบนระนาบดานหนาของกลอง เมือ่เราเขยีนวัตถุ 2 มติิหรือ 3 มติ ิวตัถุ 2 มติหิรือสวนฐานของวตัถุ 3 มติจิะปรากฏอยูบนและขนานกบัระนาบดานหนาของกลอง เนือ่งจากจดุกําเนดิ(Origin)อยูบนระนาบดานหนาของกลอง จากรูปที ่ 3.6 (ลาง-ซาย) สังเกตวุาระนาบ XY ขนานกับระนาบดานขวา(Right)และระนาบดานซาย(Left)ของกลอง แตมจีดุกําเนดิอยูบนระนาบดานขวาของกลอง เมือ่เราเขยีนวตัถุ 2 มติิหรือ 3 มติิ วตัถุ 2 มติิหรือสวนฐานของวัตถุ 3 มติิจะปรากฏอยูบนและขนานกับระนาบดานขวาของกลอง เนือ่งจากจดุกําเนิด(Origin)อยูบนระนาบดานขวาของกลอง จากรูปที ่3.6 (ลาง-ขวา) สังเกตุวาระนาบ XY ขนานกบัระนาบดานบน(Top)และระนาบดานลาง(Bottom)ของกลอง แตมจีดุกําเนดิอยูบนระนาบดานบนของกลอง เมือ่เราเขียนวตัถุ 2 มติ ิหรือ 3 มติิ วตัถุ 2 มติิหรือสวนฐานของวัตถุ 3 มติิจะปรากฏอยูบนและขนานกบัระนาบดานบนของกลอง เนือ่งจากจดุกําเนดิ(Origin)อยูบนระนาบดานบนของกลอง เปนตน

ใน AutoCAD 2007 มีไดนามิกยูซีเอส(Dynamic UCS) ซึ่งจะชวยใหการกําหนดทิศทางการหันเหของยูสเซอรคอรออรดิเนทนัน้สามารถทําไดงายและรวดเร็ว เพราะเราไมจําเปนทีจ่ะตองเรียกใชคําสั่ง ในการกําหนดยูซเีอสซึง่อยูในกลุมคําสั่ง Tools4New UCS4... หากปุม บนบรรทดัแสดงสถานะอยูในสถานะเปด เมื่อเราเรียกใชคําสั่งใดๆ ในการสรางวัตถุ 2 มิติหรือ 3 มิติและเมื่อเลื่อนเคอรเซอรครอสแฮรไปบนผวิหนา(Face)ของโซลดิ 3 มติ ิผวิหนานัน้จะถกูไฮไลทโดยอัตโนมตั ิหากเราคลกิบนผวิหนานัน้ ผวิหนานัน้จะถกูกาํหนดใหเปนระนาบ XY ของยูสเซอรคอรออรดิเนท ซึง่พรอมที่จะเขยีนวัตถ ุ2 มติหิรือ 3 มิตลิงบนผวิหนานัน้ในทนัที

ไดนามิกยูซเีอส(Dynamic UCS) ใน AutoCAD 2007 นั้นชวยใหการกําหนดยูสเซอรคอรออรดเินทนัน้งายกวารีลสีกอน ๆดงันัน้ ผูเขยีนจงึไมจําเปนทีจ่ะกลาวถงึยูสเซอรคอรออรดเินทอยางละเอยีดดงัเชนในหนังสือ AutoCAD 3D เลมกอนๆ ทั้งนี้ เพ่ือไมใหสิ้นเปลีองหนากระดาษ

จะเห็นไดวาในการสรางวัตถุ 3 มติ ิเราจะตองปรับระนาบ XY ของ UCS ใหหันไปในทิศทางที่เราตองการสรางวัตถ ุ2 มติหิรือสวนฐานของวตัถ ุ3 มิตเิสียกอน เมื่อไดวัตถ ุ2 มติหิรือสวนฐานของวตัถ ุ3 มิติบนระนาบทีเ่ราตองการแลว เราจงึกาํหนดความหนาใหกบัวตัถนุัน้ตอไป วตัถนุัน้กจ็ะมคีวามหนาตัง้ฉากกับระนาบ XY หรือย่ืนออกไปตามแกน Z ของ UCS นั้น

chap-03.PMD 12/10/2549, 21:3834

Page 7: AutoCAD 2007 3D Chap-03

หลักการเบื้องตนในงาน 3 มิติ 35

3.2 ระนาบวาดภาพใน 3 มติ(ิPlanes in 3D Space)ในการสรางวตัถุในระบบ 3 มติ ิโดยปกติ เราจะสรางวัตถุโดยกําหนดสวนฐานของวตัถุใหวางอยูบนระนาบ XY เสมอ โดยทีส่วนสูงของวตัถุจะพุงไปตามทศิทางเดยีวกับแนวแกน Z เสมอดงัรูปที่ 3.7

เราสามารถเปรียบเทียบระนาบ XYไดกับระนาบพื้นดิน(Ground plane)ซ่ึงใชเปนระนาบฐานที่จะวางวัตถุ 3มิต ิ เมื่อเขาสู AutoCAD 2007 จะปรากฏมุมมองเปอรสเปคทีฟ เราสามารถสังเกตุทิศทางการหันเหของวัตถุ 3 มิติไดจากทิศทางของ UCSIcon ทีป่รากฏบนพืน้ที่วาดภาพถาเราสรางวตัถุ 3 มติขิึน้มาเหมอืนในรูปที ่3.7 และถาหากเราตองการแสดงมุมมองด านบน(Top view) เรา

สามารถใชคําส่ัง View 43D Views4Top จะ ปรากฏมมุมองจอภาพขนานกบัดานบนของช้ินงานเราจะมองเหน็ระนาบ XY สวนแกน Z จะพุงเขาหาตัวเรา ซ่ึงเปรียบเสมอืนตัวเราลอยขึน้ไปอยูบนอากาศ แลวมองลงมาที่วตัถุดังรูปที่ 3.8 (ซาย) หากเราตองการแสดงมุมมองดานหนา(Front view)เราสามารถใชคําส่ัง View43D Views4Front จะปรากฏมมุมองจอภาพขนานกบัดานหนา เราจะมองเหน็ระนาบ XZ สวนแกน Y จะพุงออกจากตวัเรา ซ่ึงเหมอืนกบัเรายืนอยูดานหนาแลวมองเขาไปที่ช้ินงานดงัรูปที ่3.8 (กลาง) หากเราตองการแสดงมมุมองดานซาย (Left view) เราสามารถใชคาํส่ัง View43D Views4Left จะปรากฏมมุมองจอภาพขนานกบัดานซาย เราจะมองเหน็ระนาบ YZ สวนแกนX จะพุงออกจากตวัเรา ซ่ึงเหมือนกบัเรายืนอยูดานซายแลวมองเขาไปทีช้ิ่นงานดังรูปที ่3.8 (ขวา)

รูปที ่3.7

X

Y

X

Z

Y

Z

รูปที ่3.8

ในระบบเวลิรดคอรออรดเินท ระนาบใน 3 มติทิีใ่ชในการสรางวตัถุมอียูระนาบเดยีวเทานัน้คอืระนาบXY ซ่ึงวัตถุทีถู่กสรางขึน้จะขนานกับระนาบดานบนหรือระนาบ XY ดงัรูปที ่3.9 (ซาย) หากตองสรางวตัถุใหขนานกับระนาบดานหนา (ระนาบ XZ) ดงัรูปที ่3.9 (กลาง) หรือระนาบดานซาย (ระนาบ YZ)ดงัรูปที ่ 3.9 (ขวา) เราสามารถทําไดโดยปรับทศิทางการหันเหของยูสเซอรคอรออรดิเนท โดยบังคบัใหระนาบ XY ของยูสเซอรคอรออรดเินทมาแทนทีร่ะนาบ XZ หรือแทนทีร่ะนาบ YZ เรากจ็ะสามารถสรางวตัถุใหขนานกบัระนาบดานหนาหรือระนาบดานขวาไดตามตองการ

chap-03.PMD 12/10/2549, 21:3835

Page 8: AutoCAD 2007 3D Chap-03

2D Drafting

36

3.3 UCS Icon(ยูซีเอสไอคอน)ยูซีเอสไอคอน(UCS Icon) จดัวาเปนสัญญลักษณที่สําคญัซ่ึงจะชวยใหเราสามารถทราบตาํแหนงของจดุกําเนดิและทศิทางการหนัเหของระนาบสรางวตัถุ 3 มติไิดดทีีสุ่ด โดยทีโ่ปรแกรมกําหนดมาให

ระนาบ XY (ดานบน)

ระนาบ XZ (ดานหนา) ระนาบ YZ (ดานซาย)รูปที ่3.9

UCS Iconรูปที ่3.10

UCS ไอคอนจะปรากฏ ณ ตําแหนงจดุกําเนดิ ซ่ึงมคีา X,Y,Z = 0,0,0UCS ไอคอนจะแสดงทิศทางของระบบคอรออรดิเนทในแนวแกน X, Y และ Z ซ่ึงแกน X ของ UCS Icon จะปรากฏเปนสีแดง(Red) แกน Y ของ UCS Icon จะปรากฏเปนสีเขยีว(Green) แกนX ของ UCS Icon จะปรากฏเปนสีน้ําเงิน(Blue)ดังรูปที่ 3.10นอกจากนี้ UCS ไอคอนยังบอกใหเราทราบตําแหนงของจุด

กําเนดิและทิศทางการหันเหของระนาบใชงานของระบบคอรออรดเินททัง้ระบบ 2 และ 3 มติ ินัน่คอืเราจะทราบจาก UCS Icon ไดวาแกน X แกน Y และแกน Z พุงไปในทศิทางใด โดยปกต ิแกน X ซ่ึงมคีาเปนบวกมีทศิทางช้ีไปทางทิศตะวนัออก แกน Y ซ่ึงมคีาเปนบวกมีทศิทางช้ีไปทางทศิเหนอื แกนZ ซ่ึงมคีาเปนบวกมีทศิทางช้ีขึน้ไปในอากาศ

ใน AutoCAD 2007 รูปแบบของ UCS Icon ที่ปรากฏบนพื้นที่วาดภาพนั้นมีหลายรูปแบบ แตละรูปแบบจะขึน้อยูกับการกําหนด Visual Style หรือโหมดในการแสดงเชดสีหรือโหมดในการแสดงโครงลวดดงัรูปที ่ 3.11

(1) (2) (3) (4)

(5) (6) (7) (8) (9)

รูปที ่3.11

chap-03.PMD 12/10/2549, 21:3836

Page 9: AutoCAD 2007 3D Chap-03

หลักการเบื้องตนในงาน 3 มิติ 37

Note

Note

Note

ใน AutoCAD 2007 เราจะพบยูซีเอสไอคอนดงัรูปที ่3.11 (1) ปรากฏในเกอืบจะทกุๆ โหมดของ VisualStyle อาท ิเชน 3D Wireframe, 3D Hidden, Conceptual, Realistic, Sketchy, X-Ray ยกเวนในโหมด2D Wireframe เพยีงโหมดเดยีวซ่ึงยูซีเอสไอคอนจะปรากฏดงัรูปที ่3.11 (2) - 3.11 (9) อนึง่ เมื่อมกีารกําหนด Visual Style เปน 2D Wireframe เราสามารถกาํหนดโหมดในการแสดงยูซีเอสไอคอนเปน 3มติ ิดงัรูปที ่3.11 (2) - 3.11 (4) หรือเปน 2 มติ ิดงัรูปที ่3.11 (5) - 3.11 (9) ได โดยใชคําส่ัง View4Display4UCS Icon4Properties ในโหมด 2D Wireframe หากยูซีเอสไอคอนปรากฏอยูในตําแหนงของจดุกําเนดิและหันเหไปในทิศทางเดียวกนักบัเวลิรดคอรออรดิเนท ยูซีเอสไอคอนจะปรากฏดงัรูปที ่3.11(2) หากยูซีเอสไอคอนปรากฏอยูในตําแหนงของจดุกําเนดิและหนัเหไปในทศิทางเดยีวกนักบัยูสเซอรคอรออรดเินท ยูซีเอสไอคอนจะปรากฏดงัรูปที ่3.11 (3) หากยูซีเอสไอคอนไมปรากฏอยูในตําแหนงของจดุกําเนิดหรือไมหนัเหไปในทิศทางเดยีวกนักบัเวลิรดคอรออรดิเนทหรือยูสเซอร คอรออรดิเนทยูซีเอสไอคอนจะปรากฏดงัรูปที ่3.11 (4)

เนื่องจากยูซีเอสไอคอนแบบ 2 มิติที่ปรากฏดังรูปที ่3.11 (5) -3.11 (9) นั้นลาสมัยไมนิยมใชงานแลวเราจึงไมจําเปนตองทราบความหมายใดๆ เกี่ยวกับยูซีเอสดังกลาวนี ้แตถาใชรีลีสที่ต่ํากวา AutoCAD2007 เราจําเปนตองศกึษาความหมายของยูซีเอสที่ปรากฏแตละแบบวามีความแตกตางกนัอยางไร

ยูซเีอสไอคอนรูปดนิสอหักดงัรูปที ่3.11 (9) จะปรากฏในโหมด 2D ของ UCS Icon และเมือ่มกีารกาํหนดใหยูซเอสในแตละวิวพอรทมีความสัมพันธกัน โดยมีการกําหนดตัวแปรระบบ UCSPV = 0 ซึ่งหมายความวาเราไมสามารถเขยีนวตัถ ุ2 หรือ 3 มิตใิหขนานกบัพ้ืนทีว่าดภาพหรือวิวพอรทนัน้ได วตัถทุี่ถกูสรางขึน้จะมทีศิทางหันเหขนานกบัระนาบ XY ของยูสเซอรคอรออรดเินทใชงาน ซึง่เปนระนาบอืน่ทีไ่มใชระนาบทีป่รากฏสญัลกัษณดนิสอหัก

โดยทั่วไปแลวการเขยีนภาพวัตถุ 3 มิตมิักจะเร่ิมจากการเขียนโครงรางของวตัถใุน 2 มิตใินระนาบ XYมากอนเสมอ แลวจึงกําหนดใหวัตถุที่เขียนขึ้นใน 2 มิติมีความหนาย่ืนออกไปตามแกน Z ดังนั้นกอนทีเ่ราจะเร่ิมเขียนวตัถใุน 2 มิตเิราจะตองหมุนระนาบ XY ของ UCS ใหทํามมุในทศิทางและขนานกับระนาบที่เราตองการใหโครงราง 2 มติปิรากฏเสียกอนจึงจะเร่ิมเขียนวตัถไุด

3.4 การมองวตัถุในระนาบ XY (Viewing Object in XY Plane)ใน AutoCAD 2007 ความจําเปนทีจ่ะตองทําความเขาใจหลักการกาํหนดมุมมองนัน้มนีอยลง เพราะมคีําส่ัง View4Orbit4Contrained Orbit และ View4Orbit4Free Orbit ชวยใหเราสามารถกําหนดมุมมองที่ตองการไดโดยที่ไมตองเขาใจระบบคอรออรดิเนทและการวัดมุมมากเทาใดนักเนื่องจากในการกาํหนดมุมมองในคาํส่ังดังกลาว ผูใชโปรแกรมสามารถใชเมาสคลิกและลากวัตถุที่ปรากฏในวิวพอรทใหหมุนไปในทิศทางที่ตองการไดอยางรวดเร็ว อยางไรก็ตาม หากเราตองการกําหนดตาํแหนงและทศิทางของมมุมองทีแ่นนอน เราจะตองศึกษาหลักการกาํหนดมุมมองใหเปนทีเ่ขาใจ เพราะยังมคีําส่ังอ่ืนๆ อีกหลายคําส่ังทีใ่ชในการควบคมุมมุมองใน 3 มติไิดอยางแมนยํา อาทิเชน คําส่ัง View43D Views4Viewpoint, View43D Views4Viewpoint Presets และคําส่ัง DVIEWเปนตน ซ่ึงในการใชคําส่ังเหลานี ้ เราจาํเปนทีจ่ะตองเขาใจมมุทีก่ระทําในระนาบ XY(Angle in XY

chap-03.PMD 12/10/2549, 21:3837

Page 10: AutoCAD 2007 3D Chap-03

2D Drafting

38

Note

จากรูปที ่3.12 แสดงคามมุและทศิตางๆ ในระนาบ XY (Angle in XY Plane) การวดัมมุในระนาบ XYอางอิงจากแกน X ซ่ึงมคีา 0 (ศูนย) องศา คามมุจะเพิม่ขึน้เมือ่วดัมมุทวนเข็มนาฬิกา 0, 90, 180, 270องศาตามลําดับ คามุมจะลดลง เมื่อวัดมุมทวนเข็มนาฬิกา 0, -90, -180, -270 องศา สังเกตุวามมุในระนาบ XY คอืมมุทีเ่ราใชอางอิงทศิทางในงานเขียนแบบ 2 มติินัน่เอง

โดยปกตใินการกาํหนดมมุมองในระนาบ XY หากเราตองการกําหนดมุมมองไปยังกลองสีเ่หลีย่มทีว่างอยูบนระนาบ XY โดยทีก่ลองดงักลาววางอยูในลกัษณะทีด่านบน(Top)ของกลองหันไปทางแกน +Zดานหนา(Front)หันไปทางแกน -Y ดานขวา(Right)หันไปทางแกน +X ดานซาย(Left)หันไปทางแกน-X หากเราตองการกําหนดมุมมองเพ่ือใหมองเห็นดานซาย(Left) เราจะตองกําหนดคามุมในระนาบXY เทากับ 180 หรือ -180 องศา หากเราตองการกําหนดมุมมองเพ่ือใหมองเห็นดานหนา(Front)เราจะตองกําหนดคามุมในระนาบ XY เทากับ 270 หรือ -90 องศา เปนตน

3.5 การมองวตัถุจากระนาบ XY (Viewing Object from XY Plane)ในการกําหนดมมุมอง เรามกัจะใชคามมุในระนาบ XY รวมกบัมมุจากระนาบ XY เสมอ Angle fromXY Plane หมายถึงมมุทีก่ระทําขึน้หรือลงตามแกน Z โดยอางอิงคามมุจากระนาบ XY เราสามารถใชคามมุไดทัง้คาบวกและลบซ่ึงมคีามมุระหวาง 0 ถึง 180 องศาหรือ 0 ถึง -180 องศาดงัรูปที ่3.13

-Y (270°)South

+Y (90°)North

+X (0°)East

-X (180°)West

plane) และมมุทีก่ระทําจากระนาบ XY(Angle from XY plane) เพื่อที่จะกําหนดตําแหนงที่ตั้งของมมุมองหรือตําแหนงทีต่ัง้กลอง ใหอยูในตําแหนงทีต่องการไดอยางถูกตอง

รูปที ่3.12Top view Perspective view

Perspective view

รูปที ่3.13

(0,0,0)

-Z (-90°)

+Z (+90°)

-X (+180°)(-180°) +X (0°)

Front view

(0,0,0)

chap-03.PMD 12/10/2549, 21:3838

Page 11: AutoCAD 2007 3D Chap-03

หลักการเบื้องตนในงาน 3 มิติ 39

คามมุทีเ่ปนบวกใชสําหรับกําหนดมมุมองใหอยูเหนอืระดบัพืน้ระนาบ XY คามมุทีเ่ปนลบใชสําหรับกาํหนดมมุมองใหอยูใตพืน้ระนาบ XY ถาพดูใหมใหงายขึน้ คามมุเปนบวกจะมองวตัถุจากดานบนหรือ

รูปที ่3.14-Y (270°)South

+Y (90°)North

+X (0°)East

-X (180°)West (0,0,0)

จากอากาศสูพืน้ คามมุเปนลบจะมองวตัถุจากดานลางหรือจากใตดนิไปสูพืน้ดนิ ถามมุมองมคีาเขาใกล+90 องศามากเทาใด ตําแหนงมมุมองจะย่ิงเขาใกลตําแหนงทีอ่ยูเหนือวัตถุมากเทานัน้ ซ่ึงจะทําใหเรามองเห็นเฉพาะดานบน(Top)เพยีงดานเดียวดงัรูปที ่3.14 (ซาย) ในทํานองเดียวกนั ถามมุมองมคีาเขาใกล -90 องศามากเทาใด มมุมองจะย่ิงเขาใกลตําแหนงทีอ่ยูขางใตวัตถุมากเทานั้น ซ่ึงจะทําใหเรามองเหน็เฉพาะดานลาง (Bottom)เพยีงดานเดยีวดงัรูปที ่3.14 (ขวา)

ในทางปฏิบตั ิการกําหนดมมุมองนัน้ เราจะตองใชคามมุในระนาบ XY และคามมุจากระนาบ XY รวมกนั ตวัอยาง เชน สมมตุวิาเราตองการมองวตัถุจากทศิตะวนัออกเฉยีงใต ระนาบ XY และมมีมุมองเอียงทํามุม 35 องศาจากระนาบพืน้ เราสามารถใชคามมุในระนาบ XY(Angle in XY Plane) เทากบั 315องศาและใชคามมุจากระนาบ XY(Angle from XY Plane) เทากบั 35 องศา เราจะไดมมุมองไปยังวัตถุดงัรูปที ่3.15 เปนตน

-Y (90°)North

+Y (270°)South

+X (0°)East

-X (180°)West (0,0,0)

รูปที ่3.15

Angle in XY Plane = 315°Angle from XY Plane = 35°

chap-03.PMD 12/10/2549, 21:3839

Page 12: AutoCAD 2007 3D Chap-03

2D Drafting

40

Note

3.6 หลักทัว่ไปในการสรางวตัถุ 3 มติิกอนทีเ่ราจะเร่ิมสรางวัตถุ 3 มติิใน AutoCAD 2007 เราควรพิจารณาหลักการทัว่ไปในการสรางวัตถุ3 มติ ิ เพื่อปองกนัมใิหเกดิความผิดพลาดของงาน 3 มติิ เพราะถาหากเราไดทํางานเสร็จเรียบรอยแลวและพบขอผิดพลาด อาจจะทาํใหเปนการยากทีจ่ะแกไขขอผิดพลาด ในการสรางวัตถุ 3 มติิมหีลักการทัว่ไปดงัตอไปนี้

1. ส่ิงแรกทีเ่ราตองทราบคือจดุประสงคในการนาํวัตถุ 3 มิติไปใชงาน เพราะวางานแตละประเภทนัน้มคีวามตองการความละเอียดในการขึ้นรูปแตกตางกัน ตัวอยางเชน หากเราสรางวตัถุ 3 มติเิพือ่นําไปใชงานวศิวกรรม ความละเอียด(Precision)และความแมนยํา(Accuracy)ของขนาดและรูปรางเปนส่ิงสําคญัทีต่องพจิารณา หากเราสรางวัตถุ 3 มติิเพื่อใชในงานสถาปตยกรรม ความซับซอนของวตัถุ จาํนวนวัตถุความเร็วในการขึน้รูปและขนาดของไฟลควรจะเปนส่ิงที่จะตองพิจารณา

2. พจิารณารูปทรงของวตัถุ 3 มติแิตละช้ิน เพือ่หาขอสรุปวาวตัถุทีเ่ราตองการสรางนัน้ควรจะใชวธิกีารขึน้รูปแบบ Surface Modeling หรือ Solid Modeling ถาวตัถุทีม่สีวนโคงสวนเวาในตัวเองมีพื้นผิวที่ไมสม่ําเสมอ มักจะใชวิธีการขึ้นรูปแบบ SurfaceModeling ถาวัตถุเปนรูปทรงเปนสันเปนเหล่ียมอาจจะมสีวนโคงบาง แตเปนสวนโคงทีไ่ดสัดสวนมกัจะใชวิธกีารขึน้รูปแบบ Solid Modeling

การขึ้นรูปวัตถ ุ3 มิติแบบ Surface Modeling ใน AutoCAD นั้นคอนขางใชเวลาอยางมาก เนื่องจากจะตองเขยีนโครงรางซึง่เรียกวาเสนโครงลวด(Wire frame)ขึน้มาเสยีกอนแลวจงึเขยีนสวนทีเ่ปนพ้ืนผวิวัตถ ุสวนการขึ้นรูปวัตถุแบบ Solid Modeling จัดวาเปนวิธีที่ขึ้นรูปวัตถ ุ3 มิติที่สะดวกและรวดเร็วแตมขีอจาํกดัในการขึน้รูปวตัถทุี่มพ้ืีนผิวโคงเวาไมสม่ําเสมอ

3. เราควรศึกษาขอบเขตความสามารถของคําส่ังที่ใชในการสรางและแกไขวัตถุที่ขึน้รูปดวยวธิ ีSurface Modeling และ Solid Modeling ใหเปนทีเ่ขาใจอยางดเีสียกอนเมือ่ทราบความสามารถและขดีจาํกดัของคําส่ังทัง้หมดของทัง้สองวธิแีลว เราจงึจะสามารถเลือกใชคําส่ังและวธิกีารขึน้รูปวัตถุ 3 มติิไดอยางถูกตองและเหมาะสม

4. ถาเปนงานทางดานสถาปตยกรรม สวนใหญมกัตองการใช AutoCAD เปนเคร่ืองมอืในการขึ้นรูปโมเดลสําหรับสรางภาพเปอรสเปคทีฟแบบเหมือนจริง เราควรจะเขียนเฉพาะวัตถุ 3 มิติที่ปรากฏอยูภายในขอบเขตของมุมกลองหรือมุมมองที่จะฉายภาพเปอรสเปคทฟีเทานัน้ ไมจาํเปนทีจ่ะตองเขียนวัตถุทีอ่ยูนอกขอบเขตของมมุกลอง ตวัอยาง เชน หากเราตองการสรางภาพเปอรสเปคทฟีซ่ึงแสดงภาพฉายในหลายๆ มุมมองของดานหนาของบานหลังหนึ่ ง เราไมจําเปนที่จะตองเขียนรายละเอียดของผนงั ประต ูหนาตาง หลังคาและสวนประกอบอ่ืนๆ ทีอ่ยูดานหลังเราจะเขยีนเฉพาะวัตถุทีป่รากฏอยูดานหนาเทานัน้ ยกเวนในกรณีทีบ่านหลังนัน้มีพืน้ทีท่ีเ่ปนกระจกมากเพยีงพอทีจ่ะมองทะลุเห็นดานหลังของบาน

chap-03.PMD 12/10/2549, 21:3840

Page 13: AutoCAD 2007 3D Chap-03

หลักการเบื้องตนในงาน 3 มิติ 41

Note

5. ความหนาแนนของผิวหนา(Face)ของวัตถุ 3 มติเิปนส่ิงสําคญัทีจ่ะเปนตวักําหนดคณุภาพของภาพเหมอืนจริงทีไ่ดจากเซอรเฟส(Surface)หรือโซลิด(Solid) หากวตัถุมคีวามหนาแนนนอยเกนิไป สวนโคงของวตัถุจะกลายเปนสัน หากวตัถุมคีวามหนาแนนมากเกนิไป จะทําใหการเรนเดอรภาพแบบเหมอืนจริง จะใชเวลามากขึน้และขนาดของไฟลทีจ่ดัเกบ็วตัถุ 3 มติจิะใหญขึน้ดวย

ในการกาํหนดความหนาแนนของโครงลวดหรือผิวหนานัน้ยังขึน้อยูกับระยะทางทีว่ตัถอุยูหางจากมมุมองหรือมมุกลอง ถาวตัถอุยูใกลมุมกลองมาก เราควรสรางวตัถุใหมคีวามหนาแนนของผวิหนามากขึน้แตถาวตัถุอยูไกลกบัมุมกลอง เราควรสรางวตัถใุหมีความหนาแนนของผิวหนานอยลง

6. หากในแบบแปลนมวีตัถุ 3 มติทิีม่รูีปทรงเหมอืนกนัจาํนวนมากๆ เราควรทีจ่ะแปลงวัตถุ 3 มิติใหกลายเปนบล็อค(Block)หรือเอกซเรฟ(External Reference)เสียกอนแลวจึงทําการคัดลอกวัตถุ 3 มิติไปวางไวในตําแหนงตางๆ หากเรามีวัตถุที่เหมอืนกนัเปนจาํนวนหลายรอยช้ิน หากมกีารแปลงวัตถุใหกลายเปนบล็อคหรือเอกซเรฟกอนการคัดลอก ขนาดของไฟลจะแตกตางไปจากเดิมเพียงเล็กนอยเทานัน้ เนือ่งจากบล็อคและเอกซเรฟจะเกบ็ขอมลูเฉพาะวตัถุ 3 มติตินฉบบัเทานัน้จงึชวยลดขนาดในการจัดเก็บไฟลไดเปนอยางมาก แตถาเราคดัลอกวตัถุ 3 มติไิปวางยังตําแหนงตางๆ โดยที่มไิดมกีารแปลงใหเปนบล็อคหรือเอกซเรฟขนาดของไฟลจะเพิม่ขึน้แบบทวีคณูตามจาํนวนวัตถุ 3 มติทิีเ่พิม่ขึน้ในไฟล ดงันัน้ จงึทําใหไฟลแบบแปลนมขีนาดใหญเพิม่ขึน้หลายสิบเทาตวั ซ่ึงอาจจะไมสามารถทํางานกบัไฟลทีม่ขีนาดใหญนัน้ได

เปนอันวาเราไดรูจักกับหลักการเบื้องตนในการสรางวัตถุ 3 มิติมาพอสมควรแลว รายละเอียดและเนื้อหาในบทนี้จะเปนพื้นฐานใหเราสามารถศึกษาการใชคําส่ังตางๆ ในบทตอๆ ไปไดโดยงายในบทตอไป เราจะศึกษาการใชคําส่ังตางๆ สําหรับควบคุมมมุมองและแสดงผลใน 3 มติิ

*****************************

chap-03.PMD 12/10/2549, 21:3841

Page 14: AutoCAD 2007 3D Chap-03

2D Drafting

42

ขึน้รปูโมเดลดวย AutoCAD 2007 สงไปเรนเดอรใน 3DSMAX 8

รูปถายจากสถานที่จริง

chap-03.PMD 12/10/2549, 21:3842