64
ASEAN from Below มกราคม / ม นาคม 2558 Vol.02

Becoming 02 asean from below

Embed Size (px)

DESCRIPTION

จดหมายข่าว BECOMING ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฉบับ ASEAN from Below (มกราคม-มีนาคม 2558)

Citation preview

Page 1: Becoming 02 asean from below

ASEAN from Below

มกรา

คม /

มนีาค

ม 25

58

Vol.02

Page 2: Becoming 02 asean from below

ศูนย์อาเซียนศึกษาวทิยาลยันานาชาต ิมหาวทิยาลยัเชยีงใหม่

ถนนห้วยแก้ว ต�าบลสเุทพ อ�าเภอเมอืง จงัหวดัเชยีงใหม่ 50200โทรศพัท์: 053-943595-6

โทรสาร: 053-89-3279Email: [email protected]

บรรณาธกิาร

ดร.ชยนัต์ วรรธนะภูติผู้อ�ำนวยกำรศูนย์อำเซยีนศกึษำ

มหำวทิยำลยัเชยีงใหม่

กองบรรณาธกิาร

สมคัร์ กอเซม็อ.ดร.นทัมน คงเจรญิ

อ.ดร.มาโนช โพธาภรณ์กาญจนา กลุพสิทิธเิจรญิ

ภาพปก

สมคัร์ กอเซม็

ASEAN from BelowPu

blica

tion

desig

n: น

บัวงศ

์ ช่วย

ชูวงศ

์ >>

nabw

@m

e.co

m >

> te

l. 08

1472

1400

Page 3: Becoming 02 asean from below

Contents

บทบรรณาธิการ 02

CMU Focus 04สถานการณ์เขื่อนแม่น�้าสาละวิน:ความต้องการพลังงานจีน-ไทยบนฐานความขัดแย้งกลุ่มชาติพันธุ์ในพม่า 04โดย อำนนท์ ตันติวิวัฒน์

ASEAN Activities in CMU 11โครงการ“ค่ายพัฒนาผู้น�าเยาวชนสู่ประชาคมอาเซียน” 11

บรรยายวิชาการเรื่อง“นับถอยหลังAEC–ความท้าทายและการเตรียมความพร้อมของประชาคมภาคเหนือ” 12

ประชุม‘ASEAN+3Rectors’Conferenceครั้งที่2 12

นิทรรศการภาพถ่ายAPhotographicJourneyIntoSoutheastAsianMovieTheaterArchitecture 13

การรวบรวมจัดแสดงภาพสะท้อนผู้คนในอาเซียนFamilySnaps:PhotographyinSoutheastAsia 14

“ตะอาง(ปะหล่อง)กลุ่มชาติพันธุ์สามแผ่นดิน:พม่าไทยจีน” 14

CAS Activities 15ASEANResearchWorkshop:“เติมเต็มความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน” 15

เวทีแลกเปลี่ยนทางวิชาการเรื่อง“มุสลิมและกระแสอิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” 16

อาเซียนเสวนา(ASEAN+StudiesGroup) 17

ASEAN Youth 19ความแวดไวทางวัฒนธรรม(CulturalSensitivity)ในสังคมพหุลักษณ์:แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในการก้าวข้ามมายาคติทางชาติพันธุ์และการสลายส�านึกเส้นแบ่งพรมแดนระหว่างรัฐชาติอุษาคเนย์ 19ธนพงษ์ หมื่นแสน

ความคาดหวังด้านอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์และความเข้าใจเรื่องกลุ่มชาติพันธุ์ในอาเซียนของคนไทยผ่านสื่อต่างๆ:กรณีน้องแนนสาวเสิร์ฟร้านลาบเชียงใหม่ 23สมคิด แสงจันทร์

ASEAN Watch Indonesia 27รัฐสภาอินโดนีเซียให้การรับรองสนธิสัญญาอาเซียนเพื่อการควบคุมหมอกควันข้ามพรมแดน 27มำโนช โพธำภรณ์

ASEAN Watch Cambodia 28ธุรกิจสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อมในอาเซียน:ผลกระทบของโครงการเพาะปลูกอ้อยจังหวัดเกาะกงในกัมพูชาเพื่อการตรวจสอบวิเคราะห์สถานะและการเยียวยา 28แดเนียล คิง

ASEAN Watch Phil ippines 31การ“ต่อสู้”บนพื้นที่ความทรงจ�าของคนจีนในฟิลลิปปินส์ 31อรรถจักร์ สัตยำนุรักษ์

ASEAN Watch Vietnam 33จากชาตินิยม(Nationalism)สู่ลัทธิคลั่งชาติ(Chauvinism)?:การสร้างส�านึกสมบัติแห่งชาติของเวียดนามต่อหมู่เกาะในทะเลจีนใต้ 33มรกตวงศ์ ภูมิพลับ

ASEAN Watch Malaysia 36AnEpicVoyagewithUrbanscapesความท้าทายของอุตสาหกรรมดนตรีในอาเซียนตอนใต้กับ13ปีแห่งบทพิสูจน์ความเป็นผู้น�าของมาเลเซีย 36คุณวุฒิ บุญฤกษ์

ASEAN Critical 39เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดใต้เงาคสช.ความลักลั่นของโจทย์การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานคิดความมั่นคง 39อำนนท์ ตันติวิวัฒน์

ASEAN Economics 46ทางสองแพร่ง:การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนและสหภาพยุโรปที่แตกต่างกัน 46ปริวรรต กนิษฐะเสน

ASEAN Thesis 48โอกาสของการศึกษาข้ามแดนของนักศึกษาชาวเวียดนามระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 48ธนศักดิ์ โพธิ์ศรีคุณ

ASEAN Reflection 50อาเซียนในเรื่องสั้น 50วีรฉัตร แก้วประดิษฐ์

ASEAN scape 51เรื่องเหล้าจากติมอร์ตะวันออก 51อกนิษฐ์ หอรัตนคุณ

ASEAN Art Update 54จากGMSสู่ASEAN:การขยายความเป็นไปได้ทางศิลปะวัฒนธรรม? 54สุทธิรัตน์ ศุภปริญญำ

BOOK Review 58คาราวานและพ่อค้าทางไกล:การก่อเกิดรัฐสมัยใหม่ในภาคเหนือของไทยและดินแดนตอนในของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 58

มังกรหลากสี:การขยายอิทธิพลเหนือดินแดนและพันธกิจเผยแผ่อารยธรรมในอุษาคเนย์ 59

GhostsoftheNewCity:Spirits,Urbanity,andtheRuinsofProgressinChiangMai 60

EthnicityBordersandtheGrassrootsInterfacewiththeState 61

Page 4: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 02

ASEAN from Belowบทบรรณาธิการดร.ชยันต์ วรรธนะภูติ / ผู้อ�ำนวยกำรศูนย์อำเซียนศึกษำ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่

จดหมายข่าวของศูนย์อาเซยีน มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ มชีื่อเรยีกว่า Becoming

ทั้งนี้เพื่อสื่อความหมายถงึภาวะการเปลี่ยนผ่านไปสู่สถานะใหม่ที่ต่อเนื่องที่ก�าลงัเกดิ

ขึ้นในประชาคมอาเซยีน จดหมายข่าวฉบบันี้ออกมาช้ากว่าก�าหนดที่คาดไว้ เนื่องจาก

ใช้เวลาในการเตรยีมต้นฉบบันานกว่าที่ควร ทั้งนี้เพื่อให้มเีนื้อหาสอดคล้องกบักจิกรรม

ต่างๆ ที่เกดิขึ้นเป็นจ�านวนมากในช่วงเวลาที่ผ่านมา จดหมายข่าวของศูนย์อาเซยีนศกึษา

มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ เกดิขึ้นเพื่อเป็นช่องทางในการน�าเสนอเรื่องราวข่าวสารต่างๆ ของ

อาเซยีนที่ด�าเนนิการโดยหน่วยงานต่างๆ ในมหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ และกจิกรรมที่ศูนย์

อาเซยีนได้ด�าเนนิการไปในการเตรยีมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซยีนในปี 2015

โดยหวงัว่าจะท�าให้ประชาคมมหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ และสงัคมโดยทั่วไปจะได้ทราบถงึ

เรื่องราวที่น่าสนใจในด้านเศรษฐกจิ การเมอืง สงัคม และวฒันธรรม สามารถก้าวทนักบั

การเปลี่ยนแปลงที่เกดิขึ้นอย่างรวดเรว็ในประเทศสมาชกิของประชาคมอาเซยีน

ใน Becoming ฉบบัที่ 2 ฉบบัเดอืน มกราคม-มนีาคม 2558 เล่มนี้ ท่านผู้อ่านจะ

ไม่ได้เพยีงรบัทราบถงึข่าวสารความเคลื่อนไหวของคณะและหน่วยงานของมหาวทิยาลยั

เชยีงใหม่ที่มกีจิกรรมที่น่าสนใจที่พยายามสร้างความร่วมเมอื และประสานสมัพนัธ์กบั

ประเทศต่างๆ เกี่ยวกบัประชาคมอาเซยีน เท่านั้น แต่จะได้เข้าถงึข้อมูลผ่านงานเขยีน

ของนกัวชิาการ อาจารย์ และนกัศกึษาที่ได้ศกึษาประเดน็ต่างๆ ที่เกี่ยวกบัประชาคม

อาเซยีนและประเทศสมาชกิในประชาคมอาเซยีน ฯลฯ ส่วนใหญ่แล้ว เรื่องราวที่น�ามา

เสนอเหล่านี้ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องราวของประชาชน หรอืผู้คนธรรมดาเกี่ยวข้องหรอืได้

รบัผลกระทบในชวีติประจ�าวนั ดงันั้น จงึเป็นเสนอจากมมุมองของ ASEAN from Below

มใิช่เป็นเรื่อง ราวเกี่ยวกบัโครงสร้างในระดบัชาตหิรอืภูมภิาค หรอืกลไกเชงิสถาบนัที่ขบั

เคลื่อนประชาคมอาเซยีน

ส่วนหนึ่งของความหลากหลายในจดหมายข่าวเล่มนี้ ท่านผู้อ่านจะได้พบกบัรายงาน

สถานการณ์เขื่อนในลุ่มน�้าสาละวนิ จากการจดัประชมุวชิาการระดบันานาชาตคิรั้ง

ที่ 1 ที่ศูนย์ภูมภิาคด้านสงัคมศาสตร์และการพฒันาอย่างยั่งยนื คณะสงัคมซาสตร์และ

ศูนย์อาเซยีนศกึษา มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ ร่วมกบั The Salween-Thanlwin-Nu (STN)

Studies Group ในหวัข้อ “State of Knowledge: Environmental Change, Livelihoods and

Page 5: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 03

ASEAN from BelowDevelopment” ที่ได้จดัขึ้นในช่วงเดอืน พฤศจกิายน 2557 ที่

ผ่านมา ซึ่งทางส�านกัข่าวประชาธรรม ได้สรปุประเดน็จากการ

ประชมุ ที่นกัวชิาการจากประเทศต่างๆ นกัพฒันาและองค์กร

ภาคประชาชนแสดงความห่วงใยถงึการขาดการมสี่วนร่วมและ

ความโปร่งใสในการวางแผน รวมทั้งปัญหาอนัอาจจะเกดิขึ้น

จากการสร้างเขื่อนในลุ่มน�้าสาละวนิเพื่อผลติกระแส ไฟฟ้าสนอง

ตอบต่อความต้องการในการพฒันาเศรษฐกจิและอตุสาหกรรม

ปัญหาหนึ่งที่ได้น�ามาพจิารณากค็อื ความเสี่ยงจากการเกดิ

แผ่นดนิไหวทั้งในบรเิวณใกล้เคยีงแม่น�้าสาละวนิในเขตประเทศ

จนีและประเทศเมยีนมาร์ตอนบน เนื่องจากแม่น�้าสาละวนิไหล

ผ่านประเทศจนี ไทยและเมยีนมาร์ ดงันั้น ที่ประชมุจงึได้เสนอ

แนวคดิที่จะให้มคีวามร่วมมอืประเหว่างปทเศในการจดัการแม่น�้า

สาละวนิร่วมกนั (Transboundary Management) มอีงค์กรภาค

ประชาชนที่ร่วมมอืกนัดูแล และตดิตามการจดัการแม้น�้าสายนี้

เพื่อให้ประชาชนในระดบัล่างได้รบัผลประโยชน์อย่างเท่าเทยีมกนั

มคีวามรบัผดิชอบต่อการสร้างความสมดลุระหว่างการพฒันา

และการปกป้องทรพัยากร รวมทั้งการออกมาตรการต่างๆ ที่จะ

ลดผลกระทบทางลบที่จะเกดิขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชนใน

พื้นที่

ประเดน็เรื่องเศรษฐกจิพเิศษ ของคณุอานนท์ ตนัตวิวิฒัน์

ที่ได้เขยีนบทความ “เขตเศรษฐกจิพเิศษแม่สอด” ใต้เงาคสช.

ความลกัลั่นของโจทย์การพฒันาเศรษฐกจิบนฐานคดิความมั่นคง

ที่ได้พยายามอธบิายถงึความย้อนแย้งของการพฒันาเศรษฐกจิ

ที่เกดิขึ้นจากการบรหิารของรฐับาล คศช. ที่ด�าเนนินโยบายทาง

เศรษฐกจิตามระบบทนุเสรคี่อนข้างสวนทางกบั นโยบายความ

มั่นคง จากกรณนีายกรฐัมนตร ีได้น�าเสนอโรดแมปทางเศรษฐกจิ

ผ่านรายการ “คนืความสขุให้คนในชาต”ิ ในวนัศกุร์ที่ 13 ม.ิย.

57 ว่า การก�าหนดแนวทางเปิดพื้นที่เศรษฐกจิพเิศษจะไม่ได้มุ่ง

เน้นแค่ช่องทางเข้า-ออก แต่ยงัรวมถงึเน้นไปสู่ชนบทด้วย แต่ด้าน

หน่วยงานความมั่นคงกลบัมองว่าการเคลื่อนย้ายแรงงานข้าม

ชาตโิดยเฉพาะพื้นที่เขตเศรษฐกจิพเิศษ เป็นต้นเหตใุห้เกดิการ

กระท�าความผดิทางกฎหมาย อาชญากรรม ยาเสพตดิ การกกั

คนเหล่านี้ไว้ได้ตามแนวชายแดนจะท�าให้ลดปัญหาตรงนี้ลงได้

ซึ่งท�าให้เกดิความลกัลั่นในการด�าเนนิแนวคดิเรื่องพื้นที่เศรษฐกจิ

พเิศษที่ได้กล่าวไว้ แต่การเข้าใจถงึประเดน็เขตเศรษฐกจิพเิศษ

ค่อนข้างเข้าใจยาก เนื่องจากมปีระเดน็ที่ซบัซ้อน ซึ่งในเรว็ๆ นี้

ทางศูนย์อาเซยีนศกึษาฯ กบั ส�านกัข่าวประชาธรรม จะได้ร่วม

มอืกนัจดัเวทสีาธารณะครั้งที่ 1 ในเรื่องสถานการณ์เศรษฐกจิการ

ค้าชายแดนและการเคลื่อนย้ายแรงงานในบรบิทพื้นที่เศรษฐกจิ

พเิศษชายแดนไทย-พม่า ที่ อ.แม่สอด จ.ตาก ผ่านการพูดคยุเพื่อ

เข้าใจความซบัซ้อนของประเดน็นี้เพิ่มมากขึ้น

เนื้อหาของจดหมายข่าวที่กล่าวถงึข้างต้นนี้ น่าจะท�าให้ผู้

อ่านได้ตดิตามความเคลื่อนไหวของภาวะการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่

ประชาคมอาเซยีน ซึ่งมกัจะถูกก�าหนดด้วยปัจจยัทางเศรษฐกจิ

และการเมอืง และมกัจะมผีลกระทบต่อผู้คนในระดบัล่าง ท่าน

ผู้อ่านที่สนใจอาจจะขอรายละเอยีดเพิ่มเตมิจากศูนย์อาเซยีน

ศกึษาหรอืเริ่มต้นค้นคว้าด้วยตนเองในโอกาสต่อไป หากท่านมี

ประเดน็ หรอืเรื่องราวที่น่าสนใจ ที่จะส่งมาให้ตพีมิพ์ในจดหมาย

ข่าวของเรา ศูนย์อาเซยีนยนิดอีย่างยิ่งที่จะรบัพจิารณา

Page 6: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 04

CMU Focusสถานการณ์เขื่อนแม่น�้าสาละวิน :ความต้องการพลังงานจีน-ไทย บนฐานความขัดแย้งกลุ่มชาติพันธุ์ในพม่า โดย อานนท์ ตันติวิวัฒน์ เผยแพร่ครั้งแรกในส�ำนักข่ำวประชำธรรม

เมื่อวนัที่ 14-15 พฤศจกิายนที่ผ่านมา ศูนย์ภูมภิาคด้าน

สงัคมศาสตร์และการพฒันาอย่างยั่งยนื คณะสงัคมศาสตร์,

ศูนย์อาเซยีนศกึษา มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ ร่วมกบั The Salween-

Thanlwin-Nu (STN) Studies Group จดัประชมุวชิาการครั้งที่ 1 เรื่อง

Salween-Thanlwin-Nu Studies ในหวัข้อ “State of Knowledge:

Environmental Change, Livelihoods and Development” ณ ส�านกั

บรกิารวชิาการ (UNISERV) มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่

เนื้อหาและข้อมูลในการเสวนาหวัข้อนี้ค่อนข้างน่าสนใจโดย

เฉพาะข้อมูลเกี่ยวกบัการแผนและแนวคดิการสร้างเขื่อนบนแม่น�้า

สาละวนิรวมถงึสถานการณ์ในพื้นที่ฝั่งรฐัฉานประเทศพม่า

ศาสตราจารย์หม่อง หม่อง เอ ประธาน Geographical

Association of Myanmar (GAM) และ Patron & Chief Advisor,

Myanmar Environment Institute (MEI) กล่าวในหวัข้อ “Situation

analysis present plans, present politics and present situation on

the ground” ว่า แม่น�้าสาละวนิมพีื้นที่ประมาณ 320,000 ตร.กม.

กนิพื้นที่ประมาณร้อยละ 1.5 ในพื้นที่เอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต้ มี

ผู้คน 10 ล้านคน 13 ชาตพินัธุ์ มกีารกระจายตวัของผู้คนประมาณ

76 คน ต่อ 1 ตร.กม. มพีื้นที่เกบ็น�้าประมาณ 320,000 km2

ปากแม่น�้าสาละวนิที่เมาะล�าไย

พื้นที่แม่น�้าสาละวนิเป็นพื้นที่ที่ถูกส�ารวจเพื่อสร้างเขื่อน

พลงังานไฟฟ้ามาตั้งแต่ทศวรรษ 1950 (ทศวรรษ 2490) เป็นต้นมา

แต่เนื่องจากในอดตีลุ่มน�้าที่ยงัเข้าไม่ถงึหลายแห่งจงึท�าให้มสี�ารวจ

เฉพาะพื้นที่ Baluchaung, Kayah State, Myanmar ต่อมาด้วยปัจจยั

จากความต้องการพฒันาทางเศรษฐกจิ, การเมอืงที่ต้องการผนวก

เอาแคว้นต่างๆ ฯลฯ ดงันั้นจงึมคีวามต้องการที่จะใช้เขื่อนพลงังาน

ไฟฟ้าบนแม่น�้าสาละวนิเพื่อตอบสนองความต้องการด้านเอกภาพ,

ความเป็นเมอืงและอตุสาหกรรมรวมถงึการเดนิทางด้วยเรอื

(หมายเหต-ุแม่น�้าสาละวนิไหลเชี่ยวและแรงมเีกาะแก่งจ�านวนมาก

ท�าให้เรอืสนิค้าขนาดใหญ่ไม่สะดวกในการเดนิทางขนส่งสนิค้าซึ่ง

การด�าเนนิการสร้างเขื่อนมแีผนที่บรรจกุารระเบดิแก่งเหล่านี้เข้าไป

ด้วยส่วนหนึ่งเพื่อท�าให้เรอืสามารถเดนิทางได้) ด้วยเหตปุัจจยั

เหล่านี้ท�าให้ประเทศต่างๆ ที่แม่น�้าสาละวนิไหลผ่านเปิดเผยแผน

พฒันาพลงังานและสิ่งก่อสร้างบนแม่น�้าสาละวนิ

Page 7: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 05

ในปี 2003 ประเทศจนีประกาศแผนสร้างเขื่อน 13 เขื่อน

ตลอดล�้าน�้านู (Nu River สาละวนิตอนบน) ใน Songta,

Bingzhongluo, Maji, Lumadeng, Fugong, Bijiang, Yabiluo, Lushui,

Liuku, Shitouzhai, Saige, Yansangshu and Guangpo รวมผลติ

กระแส 23,320 MW. และทั้ง 13 เขื่อนจะผลติกระแสไฟฟ้าได้

ทั้งหมดประมาณ 21.32 ล้านเมกะวตัต์

“พื้นที่สร้างเขื่อน 9 จาก 13 อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติและอยู่ใกล้พื้นที่มรดกโลก”

“80 องค์กรเกี่ยวกบัสิ่งแวดล้อมและสทิธมินษุยชนทั้งที่อยู่ใน

ไทย พม่าและจนีออกแถลงการณ์ให้จนีฟังความเหน็จากประเทศ

ที่อยู่ปลายน�้าก่อนด�าเนนิโครงการ และในเดอืนเมษายนปี 2004

เหวนิ เจยี เป่า ประธานาธบิดจีนีได้สั่งให้ยตุโิครงการ และด�าเนนิ

การท�า EIA”

ในปี 2006 คณะกรรมการที่ด�าเนนิการภายใต้ National

Environmental Protection Agency (NEPA) and the National

Development and Reform Commission (NDRC) ได้มขี้อสรปุออก

มาว่าจะด�าเนนิการสร้างเขื่อนบนแม่น�้าสาละวนิตอนบน 4 เขื่อน

โดยอาศยัตวัเลขความต้องการการใช้พลงังานไฟฟ้าในประเทศซึ่ง

ทางหน่วยงานของจนีมแีผนจะส�ารองก�าลงัไฟฟ้าที่ 270,000 เมกะ

วตัต์ภายในปี 2020

Page 8: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 06

“ความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าของจีนที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ท�าให้ผมเชื่อว่าในท้ายสุดจะมีเขื่อนที่ถูกสร้างขึ้นมากกว่า 13 เขื่อนเพราะล่าสุดสื่อรายงานว่ายังไงโครงการเขื่อน 4 เขื่อนของจีนที่ลดขนาดลงยังคงด�าเนินการต่อตอนนี้ได้เริ่มส�ารวจและก่อสร้างเบื้องต้นในพื้นที่แล้ว”

ส่วนที่ไทยและพม่ากม็กีารศกึษาศกัยภาพลุ่มน�้าและความ

เป็นไปได้ในการลงทนุในช่วงทศวรรษ 2510 แต่ต่างคนต่างศกึษา

ต่อมาในปี 2532 ไทยและพม่าได้ตั้งคณะท�างานร่วมเรื่องเทคนคิ

เพื่อศกึษาความเป็นไปได้ (feasibility studies )ในการสร้างเขื่อน

ไฟฟ้าพลงังานน�้าลุ่มน�้าสาละวนิ

ในปี 2547 ไทยกบัพม่ากต็กลงที่จะร่วมกนัสร้างเขื่อนบน

แม่น�้าสาละวนิ 5 เขื่อน (ดูภาพประกอบ) โดยเขื่อนท่าซาง ถอืว่า

เป็นเขื่อนใหญ่ที่สดุมศีกัยภาพในการผลติไฟฟ้า 7,110 เมกะ

วตัต์ มคีวามสูงมากกว่า 180 ม.ไฟฟ้าส่วนใหญ่จะขายให้กบั

ประเทศไทยและจนี

นอกจากนี้ไทยยงัมโีครงการที่จะผนัน�้าจากแม่น�้าสาละวนิเข้า

ล�าน�้าเจ้าพระยาผ่านแม่น�้าปิงเข้าเขื่อนภูมพิลเพื่อแก้ปัญหาการ

ขาดแคลนน�้าอกีด้วย

“ปัจจุบันมีเอกสารและแผนก่อสร้างเขื่อนบนแม่น�้าสาละวินอยู่แต่ยังไม่มีโครงการขนาดใหญ่ก่อสร้างเสร็จแต่ในอนาคตน่าจะมีความเป็นไปได้มากโดยเฉพาะสาละวินตอนบน”

ตอนนี้ไทย จนี พม่ายงัไม่มขี้อตกลงร่วมกนัในการจดัการ

การใช้ทรพัยากรน�้าในลุ่มน�้าสาละวนิเพราะฉะนั้นเหน็ว่าทั้งสาม

ประเทศควรจะมแีผนการตกลงร่วมกนัในการปกป้องให้แม่น�้า

สาละวนิไหลตามสะดวก ประเทศจนียงัไม่เคยเข้ามามสี่วนร่วมใน

การพูดคยุเลยรวมถงึไม่เคยเชญิทั้งไทยและพม่าไปคยุเกี่ยวกบัการ

สร้างบนลุ่มน�้าสาละวนิตอนบนด้วย

อย่างไรกต็ามกม็กีารตกลงพูดคยุกนัในระดบัรฐับาลอยู่บ้าง

แต่ชาวบ้านระดบัล่างหรอืผู้ที่ได้รบัผลกระทบยงัไม่ได้เข้าไปมสี่วน

ร่วมในกระบวนการตดัสนิใจต่างๆ เพราะฉะนั้นการวางแผนใช้

ทรพัยากรตามแหล่งน�้าเหล่านี้ต้องดงึประชาชนที่เกี่ยวข้องเข้า

มสี่วนร่วมมากที่สดุเพื่อป้องกนัปัญหาความขดัแย้งโดยเฉพาะ

สงครามระหว่างชาตพินัธุ์

Page 9: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 07

“ประเทศที่มอี�านาจมากที่สดุคอื จนีมทีั้งอ�านาจทาง

เศรษฐกจิและอ�านาจทหารมากกว่าไทยและพม่าฉะนั้นการดงึ

เข้ามาร่วมพูดคยุเป็นสิ่งที่ส�าคญัมากโดยเฉพาะต้องดงึเข้ามาพูด

คยุกบัประชาชนในระดบัล่างที่จะได้รบัผลกระทบจากโครงการ

ก่อสร้างเหล่านี้ ทั้งในไทยและพม่า”

โดยสรปุแล้วเหน็ว่าประเทศในลุ่มน�้าควรจะมหีลกัการดงันี้

ประชาชนต้องมาก่อนต้องมคีวามเสมอภาค มคีวามรบัผดิชอบ

สร้างความสมดลุระหว่างการพฒันาและการปกป้องทรพัยากรจะ

ต้องมคีวามร่วมมอืกนัระหว่างประเทศควรจะมมีาตรการอะไรบาง

อย่างเพื่อที่จะเยยีวยาหรอืลดผลกระทบทางลบที่จะเกดิขึ้นต่อสิ่ง

แวดล้อมไม่ว่าจะเป็นการท�าตามกฎหมายท�าตามข้อตกลงหรอื

ระเบยีบต่างๆ ในการศกึษาเรื่องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมก่อน

โครงการจะเสรจ็

“ประเทศที่อยู่ตอนบนของแม่น�้าควรจะมคีวามรบัผดิชอบใน

โครงการการของตวัเองรวมถงึผลกระทบที่จะเกดิขึ้นต่อประเทศ

ปลายน�้าประเทศทางตอนบนควรจะสนบัสนนุให้มกีารพูดคยุแลก

เปลี่ยนถงึผลประโยชน์ส่วนรวมของหลายๆ ประเทศ”

“แม่น�้าสาละวินควรจะเป็นแม่น�้าแห่งสันติภาพ เป็นแม่น�้าแห่งความร่วมมือและแม่น�้าแห่งมิตรภาพระหว่างประเทศ”

นายวฑิูรย์ เพิ่มพงศาเจรญิ จากเครอืข่ายพลงังาน

เพื่อนเิวศวทิยาแม่น�้าโขง (Mekong Energy and Ecology

Network:MEE-NET) กล่าวในหวัข้อเดยีวกนัว่า World Energy

Assessment ได้ให้นยิาม “ความมั่นคงด้านพลงังาน” ว่ามพีลงั

พร้อมใช้อยู่ตลอดเวลาจากหลายแหล่งในจ�านวนที่เพยีงพอ และ

ในราคาจะสามารถจ่ายได้”

ค�านยิามที่กล่าวมาค่อนข้างส�าคญัเพราะกลายเปน็วฒันธรรม

ครอบง�าภาคอตุสาหกรรมพลงังานไฟฟ้าทั้งในประเทศไทย รวมถงึ

จนีด้วยทั้งที่จรงิแล้วพวกเขามพีลงังานไฟฟ้าอย่างเพยีงพอ

เมื่อดูคู่ไปกบัค�านยิาม “พลงังานที่ยั่งยนื” ซึ่งถูกให้ความ

หมายว่า“พลงังานที่ถูกผลติและใช้ในทางที่ค�้าจนุพฒันาการของ

มนษุย์ในระยะยาวทั้งในด้านสงัคม เศรษฐกจิ และมติดิ้านสิ่ง

แวดล้อม”

เราจะเหน็ถงึความแตกต่างกนัถงึความหมายเพราะเมื่อเวลา

คนพูดถงึความมั่นคงด้านพลงังาน เรากลบัไม่สนใจในระยะยาว

หรอืคนรุ่นต่อๆ ไปพวกเขาเพยีงแค่ต้องการท�าให้ทกุคนสะดวก

สบายเท่าที่ผู้คนต้องการเท่านั้น

จากภาพด้านบนจะเหน็ถงึความแตกต่างของการใช้พลงังาน

ของประเทศต่างๆ ในภูมภิาคนี้ ประเทศไทยและจนีใช้ร้อยละ

99 จากประชากรทั้งหมดฉะนั้นกระแสไฟฟ้าในสองประเทศนี้

เพยีงพอต่อการเลี้ยงประชากรได้เกอืบทั้งประเทศอาจจะเกนิ 100

เปอร์เซน็ต์ แต่เมื่อดูที่ประเทศพม่าใช้เพยีงแค่ร้อยละ 23 จาก

ประชากรทั้งหมดเมื่อดูประกอบแผนที่ด้านล่างจะเหน็ว่าสขีาวเป็น

Page 10: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 08

เขตเมอืงที่มไีฟฟ้าใช้โดยการควบคมุจดัการระดบัชาตสิ่วนสดี�าเป็น

ส่วนที่ไม่มหีรอืผลติไฟฟ้าใช้เองในระดบัท้องถิ่น

เมื่อดูแบบใกล้เข้าไปตามภาพด้านล่างที่เวลิด์แบงก์ศกึษา

จะเหน็ว่าก�าลงัไฟฟ้าที่ใช้ต่อหนึ่งครวัเรอืนเฉลี่ย 2.7 กิ๊กกะวตัต์

และเมื่อค่าเฉลี่ยเมอืงต่อเมอืง ตอนนี้ตวัเลขที่เข้าถงึไฟฟ้า คอื

7,216,000 ครวัเรอืน ซึ่งเฉลี่ยแล้วความต้องการไฟฟ้าในภาคครวั

เรอืนอยู่ที่ 20,600 เมกะวตัต์

หม่องหม่องเอ บอกถงึก�าลงัไฟฟ้าที่เขื่อนท่าซาง 70,000 เมกะ

วตัต์ โดยทางการพม่าอ้างถงึความต้องการใช้พลงังานไฟฟ้าใน

ช่วงที่ขาดแคลนแต่เมื่อดูช่วงขาดแคลนไฟฟ้าในพม่าจะเหน็ว่าขาด

เพยีง 509 เมกะวตัต์และเมื่อดูแผนส�ารองพลงังานของพม่าใน

ปี 2013-2016 พบว่าส�ารองจากทั้งพลงังานก๊าซ Hydelเป็นจ�านวน

2311 เมกะวตัต์ซึ่งเพยีงพอต่อการใช้ไฟฟ้าในพม่าโดยไม่ต้องสร้าง

เขื่อนบนแม่น�้าสาละวนิหรอือริะวะดี

เขื่อนที่จะถูกสร้างบนแม่น�้าสาละวนิจะผลติก�าลงัไฟฟ้า

14,405 เมกะวตัต์ค�าถามคอืสร้างส�าหรบัใครเมื่อดูภาพรวมของการ

สร้างแหล่งพลงังานในประเทศพม่าจะพบว่าจะมาอกีหลายแหล่ง

ได้แก่ 92 Hydro potential sites (46,000 MW), 13 by MOEP1

(2,572 MW), 7 BOT by local private sector (560 MW) 44 FDI

(BOT or JV) - 42,145 MW; 2 coal, 870 MW, 1 gas power

generation, 470 MW}1 coal in Yangon, J power, 600 MW?

(new) และต้องบอกว่าทั้งหมดนี้ลงทนุด้วยบรษิทัต่างชาตโิดยตรง

ทั้งจากจนีและไทย

ถ้าดูเป็นกรณจีะพบว่าเขื่อนฮตัจลีงทนุโดยบรษิทัไทยกจ็ะถูก

ขายไฟฟ้าให้ไทยส่วนเขื่อนท่าซางจะถูกขายให้ไทยและจนีดงันั้น

แหล่งพลงังานทั้งหมดที่ถูกสร้างขึ้นนั้นเพื่อส่งออกโดยการลงทนุ

จากต่างชาติ

ส่วนแผนพฒันาพลงังานของไทย จากกราฟด้านล่างจะเหน็

ว่าตั้งแต่ 1986 ความต้องการไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีมนัสมัพนัธ์

ไปกบัความเตบิโตทางเศรษฐกจิ เมื่อดูในปี 1997 ความต้องการ

น้อยเพราะเราเกดิวกิฤตทางเศรษฐกจิและในช่วงอื่นๆ ที่ความ

ต้องการต�่ากเ็นื่องมาจากเศรษฐกจิจากฝั่งยโุรปเมื่อ 2007 และเมื่อ

มาดูฝั่งการคาดการณ์จะเหน็ว่าเขาเผื่อความมั่นคงด้านพลงังาน

ไว้เฉลี่ย 1491 เมกะวตัต์ต่อปี ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดมิตั้งแต่ปี 2012

เป็นต้นมาถงึ 830 เมกะวตัต์

Page 11: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 09

“ใน 15 ปีที่ผ่านมาเราสร้างความมั่นคงด้านพลงังานจากไม่

แน่นอนเรื่องความต้องการพลงังานไฟฟ้าโดยส�ารองไว้ถงึ 1491

เมกะวตัต์ถ้าเราสามารถขยายตวัแทนพลงังานในการจ�าหน่าย

ไฟฟ้า,จดัการกบัความต้องการด้านพลงังานไฟฟ้า,ส่งเสรมิเรื่อง

พลงังานทดแทนเราจะสามารถยกเลกิแผนการสร้างเขื่อนทั้งหมด

ทั้งในไทยและในประเทศเพื่อนบ้าน”

ค�าถามที่อาจสงสยักนัว่าท�าไมเรายงัต้องการไฟฟ้าเพราะ

เมื่อดูข้อมูลตั้งแต่ต้นพบว่าตอบสนองประชาชนร้อยละ 99 ถ้าดู

ตวัอย่างจากรูปที่ยกมาจะเข้าใจ

3 ห้างนี้ใช้ไฟฟ้ารวมทั้งหมด 278 GWh ในขณะที่เขื่อนอบุล,

ปากมูล, สรินิธร รวมกนัผลติได้ 266 GWh ดงันั้นสามเขื่อนนี้ไม่

สามารถตอบสนองการใช้พลงังานของสามห้างนี้ได้และดูผลกระ

ทบที่เกดิขึ้นกบัเขื่อนปากมูลอย่างเดยีว จะเหน็ว่า 1700 ครอบครวั

ต้องอพยพออกจากพื้นที่ 6,200 ครอบครวัต้องปรบัเปลี่ยนวถิชีวีติ

ความเป็นอยู่ สูญเสยีพนัธปุลาในแม่น�้า 116 สายพนัธุ์ คดิเป็นร้อย

ละ 44 ของสายพนัธุ์ปลาในแม่น�้ามูล

“ใครล่ะที่ต้องการพลังงานเหล่านี้”

ในขณะที่ นาง นาง จาม ตอง จากเครอืข่ายผู้หญงิรฐัฉาน

(Shan Women’s Action Network) ได้กล่าวถงึสถานการณ์ในพื้นที่

รฐัฉานว่าภายหลงัจากการเจรจาหยดุยงิกบัชาตพินัธุ์กลุ่มต่างๆ

อนัเป็นหนึ่งในกระบวนการสนัตภิาพของรฐับาล เตง็ เส่ง แต่

สถานการณ์กลบัตรงกนัข้ามเพราะทหารพม่ายงัคงขยายก�าลงัเข้า

มาในพื้นที่รฐัฉานและยงัเกดิการสู้รบในบรเิวณพื้นที่ที่จะสร้างเขื่อน

ในบรเิวณรฐัฉานอกีด้วย

Page 12: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 10

บรเิวณเขื่อนคนุลอง (Kun Long Dam) ซึ่งอยู่ห่างจากชายแดน

จนี 25 กม.ได้ท�าข้อตกลงสร้างเขื่อนกบัจนีไปเมื่อวนัที่ 24 พค. 57

ที่ผ่านมาก่อสร้างโดยบรษิทัของจนีชื่อว่า China’s Hanergy Holding

Group ซึ่งในพื้นที่นี้เมื่อปี 2009 ทหารพม่าได้โจมตเีขตพเิศษ

โกก้าง ซึ่งเป็นเขตปกครองตนเองทางภาคเหนอืของรฐัฉานท�าให้

คนจ�านวน 37,000 คนอพยพลี้ภยัไปจนีและตอนนี้กย็งัมกีารสู้รบใน

บรเิวณนี้อยู่เมื่อเดอืนธนัวาคมปีที่แล้วมกีารวางระเบดิและสงัหาร

เจ้าหน้าที่ต�ารวจไปห้านาย ซึ่งบรเิวณนี้ใกล้บรเิวณที่จะสร้างเขื่อน

อย่างไรกต็ามกม็กีารด�าเนนิการสร้างเขื่อนควบคู่ไปกบัสงคราม

ด้วยมกีารสร้างถนน ซึ่งต้องท�าให้หลายหมู่บ้านอพยพออกไปสูญ

เสยีวถิชีวีติและความเป็นอยู่นอกจากนี้ผู้คนยงัไม่รู้ข้อมูลเกี่ยวกบั

โครงการสร้างเขื่อนมากนกั

ในบรเิวณที่จะสร้างเขื่อนหนองพา (Nawngpha) และแมนทอง

(Man Tong) ทหารพม่ากย็งัส่งทหารเข้ามาอยู่จนเกดิการสู้รบใน

หลายพื้นที่ใกล้กบัพื้นที่สร้างเขื่อน

บรเิวณเขื่อนท่าซาง ซึ่งเป็นเขื่อนที่ใหญ่ที่สดุจะก่อให้เกดิ

ผลกระทบหลายด้านคอืคนหมื่นคนจะต้องสูญเสยีบ้านและที่ดนิท�า

กนิและพื้นที่รฐัฉานจะถูกแบ่งครึ่งด้วยน�้าจากเขื่อน

“เราอยากเรยีกร้องต่อรฐับาลพม่าให้ระงบัการดงึเอา

ทรพัยากรผ่านโครงการพฒันาขนาดใหญ่ (เช่น เขื่อนในแม่น�้า

สาละวนิ) ในพื้นที่ความขดัแย้งของกลุ่มชาตพินัธุ์จนกว่าจะมี

ทางออกทางการเมอืงในการแก้ไขปัญหาความขดัแย้งรวมถงึการ

ปฏริูปรฐัธรรมนูญเพื่อประกนัสทิธขิองคนในพื้นที่”

“กองทพัทหารพม่า ต้องหยดุโจมตยีดึครองพื้นที่ในรฐัฉาน

และพื้นที่ชาตพินัธุ์อื่นโดยทนัท ีและเอาทหารออกจากพื้นที่ความ

ขดัแย้ง”

“รฐับาลพม่าต้องเริ่มต้นเจรจาปัญหาทางการเมอืงกบักลุ่ม

ชาตพินัธุ์ต่างๆ ที่ต่อต้านแก้รฐัธรรมนูญปี 2008 และเริ่มต้น

กระบวนการประชาธปิไตยในพม่า”

“และสดุท้ายขอเรยีกร้องต่อรฐับาลและบรษิทัต่างชาตใิห้หยดุ

การลงทนุโครงการขนาดใหญ่ในพื้นที่ความขดัแย้งระหว่างรฐับาล

พม่ากบัชนกลุ่มน้อยทงัหมดเพราะนั่นเป็นการท�าลายกระบวนการ

สนัตภิาพ”

Page 13: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 11

ASEAN Activities in CMU

โครงการ “ค่ายพัฒนาผู้น�าเยาวชน สู่ประชาคมอาเซียน”

ศูนย์อาเซยีนศกึษา ร่วมกบัศูนย์ศกึษาอนภุูมภิาคลุ่มแม่น�้า

โขง (GMSS Centre) คณะรฐัศาสตร์และรฐัประศาสนศาสตร์

มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ ได้จดัโครงการความร่วมมอืด้านวชิาการ

เกี่ยวกบัอาเซยีนศกึษาในโครงการ “ค่ายพฒันาผู้น�าเยาวชนสู่

ประชาคมอาเซยีน” ในวนัที่ 23-26 กนัยายน 2557 ที่ผ่านมา โดย

เป็นกจิกรรมที่มุ่งส่งเสรมิกระบวนการเรยีนรู้ของผู้น�านกัศกึษาร่วม

กบันกัศกึษาจากประเทศเพื่อนบ้านในภูมภิาค ทั้งในส่วนของการ

พฒันาทกัษะความเป็นผู้น�า กระบวนการสร้างจติส�านกึสาธารณะ

ที่ขยายขอบข่ายไปสู่ความมจีติสาธารณะข้ามพรมแดน ทกัษะการ

ท�างานข้ามวฒันธรรม และการเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจแก่ผู้น�า

นกัศกึษาเกี่ยวกบัประเทศเพื่อนบ้านในประชาคมอาเซยีน

ซึ่งการจดักจิกรรมในครั้งนี้ทางศูนย์อาเซยีนศกึษา ร่วมกบั

ศูนย์ศกึษาอนภุูมภิาคลุ่มแม่น�้าโขง ได้รบัอาสาสมคัรจากนกัศกึษา

ทั้งในคณะรฐัศาสตร์ฯ และต่างคณะจ�านวนทั้งสิ้น 42 คน และ

นกัศกึษาช่วยงาน อกีจ�านวน 9 คน เข้าร่วมโครงการซึ่งจดัขึ้นที่

ศูนย์การศกึษามหาวทิยาลยัเชยีงใหม่หรภิญุชยั จงัหวดัล�าพูน

กจิกรรมต่างๆ ประกอบไปด้วย กจิกรรมละลายพฤตกิรรม หรอื

กจิกรรมสนัทนาการต่างๆ เพื่อสร้างความสนกุสนานและท�าให้

นกัศกึษาได้รู้จกักนั การรบัฟังบรรยายจากวทิยากรซึ่งเข้ามา

บรรยายในหวัข้อต่างๆ ที่ส�าคญัเกี่ยวกบัประชาคมอาเซยีน, โดย

ให้นกัศกึษาจบักลุ่มเพื่อเขยีนโครงการในหวัที่เกี่ยวกบัประชาคม

อาเซยีน เพื่อเป็นการเสรมิสร้างความรู้ และเปิดโลกทศัน์ให้แก่

นกัศกึษา อกีทั้งการเขยีนโครงการดงักล่าวสามารถน�าไปต่อยอด

ได้ในอนาคต เมื่อได้โครงการแล้วจงึจะน�าไปเสนอแก่อาจารย์และ

กรรมการตดัสนิ

Page 14: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 12

บรรยายวิชาการเรื่อง “นับถอยหลัง AEC – ความท้าทายและการเตรียมความพร้อมของประชาคมภาคเหนือ”

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ ธนาคารแห่ง

ประเทศไทย (ส�านกังานภาคเหนอื) และธนาคารโลก จดัการ

บรรยายวชิาการ “นบัถอยหลงั AEC – ความท้าทายและการเตรยีม

ความพร้อมของประชาคมภาคเหนอื” ในวนัพธุที่ 19 พฤศจกิายน

2557 เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ ห้องประชมุใหญ่ คณะ

เศรษฐศาสตร์ มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ หวัข้อการบรรยายประกอบ

ด้วย เศรษฐกจิไทยมองไปข้างหน้าสู่ประชาคมเศรษฐกจิอาเซยีน,

ความพร้อมของภาคการเงนิและศกัยภาพของภาคเหนอื สู่ความ

ท้าทายใน AEC, ภารกจิของสภาปฏริูปแห่งชาตใินการปฏริูป (ด้าน

เศรษฐกจิ), โครงสร้างตลาดแรงงานและความสามารถในการ

แข่งขนัของไทย, แรงงานแบบไหนที่นายจ้างต้องการ: เปรยีบเทยีบ

ศกัยภาพแรงงานไทยและแรงงานในประเทศสมาชกิอาเซยีน

ประชุม ‘ASEAN + 3 Rectors’ Conference ครั้งที่ 2’

มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ ได้รบัเกยีรตใินการเป็นเจ้าภาพ

จดัการประชมุ ‘ASEAN + 3 Rectors’ Conference ครั้งที่ 2’ ซึ่ง

จะจดัขึ้นระหว่างวนัพฤหสับด ีที่ 6 – วนัศกุร์ที่ 7 พฤศจกิายน

2557 ณ โรงแรมแคนทารี่ ฮลิล์ เชยีงใหม่ โดยมอีธกิารบดแีละ

ผู้บรหิารระดบัสูงจากมหาวทิยาลยั 36 แห่ง จาก 10 ประเทศ

สมาชกิอาเซยีน และ จนี เกาหลใีต้ ญี่ปุ่น เข้าร่วมประชมุหารอื

เพื่อพจิารณาแนวทางการพฒันาความร่วมมอืทางวชิาการ การ

แลกเปลี่ยนนกัศกึษาและบคุลากร ในกรอบความร่วมมอื ASEAN

+ 3 ซึ่งในการประชมุจะมกีารรายงานความคบืหน้าของแต่ละ

ประเทศในการด�าเนนิกจิกรรมความร่วมมอืทางวชิาการ และร่วม

กนัพจิารณาแนวทางความเป็นไปได้ของความร่วมมอืระหว่าง

มหาวทิยาลยัสมาชกิในด้านการแลกเปลี่ยน ทศิทาง และ ความ

รเิริ่มใหม่ๆ ของความร่วมมอื นอกจากจะเป็นการประชมุระหว่าง

ผู้บรหิารระดบัสูงที่มคีวามส�าคญัต่อการก�าหนดนโยบาย และการ

ส่งเสรมิเครอืข่ายความร่วมมอืด้านอดุมศกึษาของภูมภิาคอาเซยีน

แล้ว ยงัเป็นกจิกรรมทางวชิาการระดบันานาชาตทิี่จะสนบัสนนุ

บทบาทของมหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ในภูมภิาคอาเซยีน รวมถงึ

เป็นการฉลองครบรอบ 50 ปี ของมหาวทิยาลยัเชยีงใหม่

ASEAN Activities in CMU

Page 15: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 13

นิทรรศการภาพถ่าย A Photographic Journey Into Southeast Asian Movie Theater Architecture

หน่วยศลิปวฒันธรรมและชมุชน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ ร่วมกบั

กลุ่มเมอืงเมอืง และ The Jim Thompson Art Center จดันทิรรศการ A Photographic Journey Into

Southeast Asian Movie Theater Architecture: โรงหนงัในอาเซยีน สถาปัตยกรรมย้อนอดตีจาก

บนัทกึการเดนิทาง Images By Philip Japlon ระหว่างวนัศกุร์ที่ 24 ตลุาคม 2557 – วนัศกุร์ที่ 14

พฤศจกิายน 2557 เพื่อจดักจิกรรมที่เปิดมมุมองทางสถาปัตยกรรมผ่านนทิรรศการภาพถ่ายของโรง

ภาพยนตร์ประเภท Stand Alone Theater ในกลุ่มอาเซยีน ซึ่งก�าลงัจะสูญหายไปจากวถิชีวีติของผู้คน

และพื้นที่ทางสงัคมในปัจจบุนั โดยมพีธิเีปิดนทิรรศการในวนัศกุร์ที่ 24 ตลุาคม 2557 เวลา 18.00 น.

ณ ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา สี่แยกกลางเวยีงเชยีงใหม่

ASEAN Activities in CMU

Page 16: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 14

การรวบรวมจัดแสดงภาพสะท้อนผู้คนในอาเซียน Family Snaps: Photography in Southeast Asia

เมื่อวนัที่ 7 – 14 พฤศจกิายน 2557 ศูนย์อาเซยีนศกึษา

มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ ร่วมกบัคณะวจิติรศลิป์ มหาวทิยาลยั

เชยีงใหม่ ได้ให้การสนบัสนนุในการจดังานแสดงภาพถ่ายสะท้อน

ผู้คนในอาเซยีน ภายใต้ชื่องาน “Family Snaps: Photography in

in South East Asia” โดย ZHUANG Wubin อาจารย์และนกัเขยีน

จากประเทศสงิคโปร์ได้เป็นผู้รวบรวมงานจากช่างภาพฝีมอืดจีาก

ประเทศต่างๆ 5 คน 5 ประเทศ 5 บรบิทสงัคม ที่เล่าความสมัพนัธ์

ระหว่างผู้ที่เป็นเจ้าของผลงานกบัครอบครวัของพวกเขาผ่าน

ภาพถ่าย ผลงานที่ได้เข้าร่วมจดัแสดงได้แก่

• Like My Father (2013) โดย MaikaElan (Vietnam)

• The Relevancy of Restricted Things (2010) โดย Nge Lay

(Myanmar)

• Two People (2010 – Present) โดย Sean Lee (Singapore)

Thoamada II (2013) โดย VuthLyno (Combodia)

• Mer.rily, Mer.rily, Mer.rily, Mer rily โดย Minstrel Kuik

(Malaysia)

“ตะอาง (ปะหล่อง) กลุ่มชาติพันธุ์สามแผ่นดิน : พม่า ไทย จีน”

เมื่อวนัที่ 19 พฤศจกิายน 2557 ทางศูนย์ ณ ห้อง HB 7802

ชั้น 8 อาคาร HB7 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ ได้

มกีารจดับรรยายพเิศษ เรื่อง “ตะอาง (ปะหล่อง) สามแผ่นดนิ:

ชวีติและภาษา” โดยมวีทิยากร รองศาสตราจารย์ ดร.สจุรติลกัษณ์

ดผีดงุ จากสถาบนัวจิยัภาษาและวฒันธรรมเอเชยี มหาวทิยาลยั

มหดิล พร้อมกบั อาจารย์ ดร.ศภุกติ บวัขาว คณะมนษุยศาสตร์

และสงัคมศาสตร์ มหาวทิยาลยัขอนแก่น ได้ร่วมกนับรรยายและ

ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกบัประเดน็ตะอาง (ปะหล่อง)

และช่วงบ่าย ได้มกีารเสวนาเรื่อง “การก�าหนดวจิยัภาค

สนามทางภาษาศาสตร์ที่ยูนนาน ประเทศจนี และรฐัฉาน ประเทศ

พม่า” โดยมวีทิยากรร่วมเสวนา ดงันี้

• รองศาสตราจารย์ ดร.สจุรติลกัษณ์ ดผีดงุ สถาบนัวจิยัภาษา

และวฒันธรรมเอเชยี มหาวทิยาลยัมหดิล

• ดร.ศภุกติ บวัขาว คณะมนษุยศาสตร์และสงัคมศาสตร์

มหาวทิยาลยัขอนแก่น

• ดร.อมัพกิา รตันพทิกัษ์ สาขาวชิาภาษาพม่า คณะ

มนษุยศาสตร์ มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่

และม ีรองศาสตราจารย์ ดร.วรีะ โอสถาภริตัน์ เป็นผู้ด�าเนนิ

รายการ

ASEAN Activities in CMU

Page 17: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 15

CAS Activities

ASEAN Research Workshop: “เติมเต็มความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน”

ศูนย์อาเซยีนศกึษา มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ ร่วมกบัศูนย์

เอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต้ศกึษา สถาบนัเอเชยีตะวนัออกศกึษา

มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ ได้ด�าเนนิการจดัอบรมหลกัสูตรระยะ

สั้นในโครงการ ASEAN Research Workshop เตมิเตม็ความเข้าใจ

เกี่ยวกบัอาเซยีน เพื่อให้นกัศกึษาระดบัปรญิญาตรแีละบณัฑติ

ศกึษา มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ และ

สถาบนัอื่นๆ เกดิความรู้ความเข้าใจต่อการเปลี่ยนแปลงในบรบิท

อาเซยีน และยงัเป็นการประสานงานทางด้านวชิาการกบัสถาบนั

อดุมศกึษาอื่นๆ ที่มคีวามสนใจในเรื่องอาเซยีนเช่นเดยีวกนั เพื่อ

ท�าให้เกดิการแลกเปลี่ยนทางวชิาการและการเรยีนรู้เกี่ยวกบั

อาเซยีนในมติติ่างๆ ร่วมกนัมากยิ่งขึ้น อนัเป็นส่วนหนึ่งที่ท�าให้

เกดิการร่วมมอืในการตดิตาม ศกึษา วเิคราะห์ปัญหาเกี่ยวกบั

ประเทศไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซยีนในหลากหลายมติ ิทั้ง

ทางเศรษฐกจิ การเมอืง สงัคมวฒันธรรม สิ่งแวดล้อม และสทิธิ

มนษุยชน

หวัข้อในการแลกเปลี่ยนได้แก่เรื่อง “เอกภาพของอาเซยีน:

มองจากมติทิางชาตพิันธุ์เชงิประวตัศิาสตร์” โดย ศ.สายชล สตัยา-

นรุกัษ์ ภาควชิาประวตัศิาสตร์ คณะมนษุยศาสตร์ มหาวทิยาลยั

เชยีงใหม่, “Logistic Connectivity” โดย ผศ.ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณ-

ธรรม คณะวศิวกรรมศาสตร์ มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่, “Social

Connectivity” โดย ดร. ชยนัต์ วรรธนะภูต ิศูนย์อาเซยีนศกึษา

มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่

ในหวัข้อที่สอง เรื่อง สมัมนาหวัข้อ “ASEAN from Below”

ได้แก่เรื่อง “เศรษฐกจิการค้าชายแดนภาคเหนอืของไทยภาย

ใต้ AEC” โดย ผศ.ดร. นสิติ พนัธมติร คณะเศรษฐศาสตร์

มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่, “ความขดัแย้งทางศาสนาและทรพัยากร

ในบรบิทของอาเซยีน” โดย อ.ดร.ลลติา หาญวงศ์ ภาควชิา

ประวตัศิาสตร์ มหาวทิยาลยัมหาสารคาม เเละเรื่อง “สทิธมินษุย

ชนและกระบวนการยตุธิรรมในอาเซยีน” โดย อ.ดร. นทัมน

คงเจรญิ คณะนติศิาสตร์ มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ สมัมนาหวัข้อ

ASEAN 3 Pillars: A New Imagined Community- AEC,APSC,

ASCC”+ Environment ได้แก่ “AEC- ประชาคมเศรษฐกจิ” โดย

ผศ.สทิธกิร นพิภยะ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

“APSC – ประชาคมการเมอืงความมั่นคง” โดย อ.ดร.ประจกัษ์

ก้องกรีต ิคณะรฐัศาสตร์ มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ “ASCC –

ประชาคมสงัคมวฒันธรรม” โดย คณุสเุจน กรรพฤทธิ์ นติยสาร

สารคด ีและ“ASEAN Environmentality” โดย ผศ. ดร. ชูศกัดิ์

วทิยาภคั ภาควชิาภูมศิาสตร์ คณะสงัคมศาสตร์ มหาวทิยาลยั

เชยีงใหม่ ในประเดน็สดุท้ายเรื่อง สมัมนาหวัข้อ “เยาวชนคนหนุ่ม

สาวกบัโจทย์งานวจิยัใหม่ๆ เพื่ออนาคตอาเซยีน” แบ่งเป็น “โจทย์

ทางวจิยัสงัคมวทิยาและมานษุยวทิยา” โดย อ.พรรณราย โอสถาภิ

รตัน์ คณะสงัคมวทิยาและมานษุยวทิยา มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

“โจทย์วจิยัเชงิประวตัศิาสตร์และความทรงจ�าร่วม” โดย อ. มรกต-

วงศ์ ภูมพิลบั คณะศลิปะศาสตร์ มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ และ

โจทย์วจิยัเชงิอาณาบรเิวณศกึษาและ บูรณาการโดย อ.ปองขวญั

สวสัดภิกัดิ์ คณะรฐัศาสตร์ มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

Page 18: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 16

CAS Activities

เวทีแลกเปลี่ยนทางวิชาการ เรื่อง “มุสลิมและกระแสอิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”

เนื่องด้วยศูนย์อาเซยีนศกึษา มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ ร่วม

กบัวารสารธรรมศาสตร์และกองบรหิารการวจิยั มหาวทิยาลยั

ธรรมศาสตร์ ได้จดัเวทแีลกเปลี่ยนทางวชิาการมสุลมิและกระแส

อสิลามในเอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต้เพื่อให้ผู้ที่สนใจ ไม่ว่าจะเป็น

นสิติ นกัศกึษา คณาจารย์ หรอืบคุคลทั่วไป ได้เกดิความรู้ความ

เข้าใจต่อการเปลี่ยนแปลงในบรบิทอาเซยีน ของประเดน็มสุลมิ

ศกึษาในหลากหลายมติ ิทั้งทางเศรษฐกจิ การเมอืง สงัคม

วฒันธรรม สิ่งแวดล้อม และสทิธมินษุยชน โดยหวงัให้เป็นพื้นที่

แลกเปลี่ยนพูดคยุถกเถยีงกนัในประเดน็ดงักล่าวทั้งนี้ในกจิกรรม

ครั้งนี้ มผีู้เข้าร่วมรบัการอบรมทั้งสิ้น 141 คน โดยมคีณาจารย์มา

เป็นผู้บรรยายและร่วมจดัการอบรมมรีายชื่อต่างๆ ดงัต่อไปนี้

ประเดน็ “มสุลมิกบัพหวุฒันธรรม” ได้แก่ เรื่อง การสร้าง

สนัตภิาพในสงัคมพหลุกัษณ์ทางศาสนาชาตพินัธุ์: กรณศีกึษาสงัคมมสุลมิในภาคเหนอืของไทย โดย สชุาต ิเศรษฐมาลนิ,ี เรื่อง “พหุ

วฒันธรรมจากเบื้องล่าง กรณศีกึษาจากสามจงัหวดัภาคใต้” โดย สรยทุธ เอี่ยมเอื้อยทุธ ประเดน็ที่สอง “อสิลามกบัเพศสภาพ” ได้แก่

เรื่อง “อสิลาม กบัสมยันยิมในภาพยนตร์อนิโดนเีซยีหลงัยคุระเบยีบใหม่” โดย ฟิล์ม กาวนั เรื่อง “ค�าสาปใต้ผวิหนงั: ชาตพินัธุ์วรรณา

รกัร่วมเพศในโรงเรยีนอสิลาม” โดย สมคัร์ กอเซม็ และ เรื่อง “กฎหมายชารอีะห์กบัผู้หญงิในอาเจะ” โดย อรอนงค์ ทพิย์พมิล ปิดท้าย

ของสมัมนาด้วยการอ่านบทกว ี“โลกมนษุย์-โลกมสุลมิ” โดย ซะการยี์ยา อมตยา และ กฤช เหลอืลมยั

วนัที่สองของสมัมนา เริ่มด้วยประเดน็ “ตวัตนคนมสุลมิและชาตพินัธุ์ในวฒันธรรมภาคเหนอื” ได้แก่ งานเรื่อง “ผู้พลดัถิ่นชาวโร

ฮงิญา: ภาพที่ “ซกุซ่อน” ในชมุชนมสุลมิชายแดนไทย-พม่า” โดย คณุวฒุ ิบญุฤกษ์ และเรื่อง “อสิลามยะมาอตัตบัลกี: พื้นที่แห่งการ

อยู่ร่วมกนัในสงัคมเมอืงปาย” โดย ธานนิทร์ สาลาม ปิดท้ายด้วยประเดน็เรื่อง “การเมอืง-วฒันธรรมมลายูในสามจงัหวดัชายแดนภาค

ใต้” ได้แก่ งานเรื่อง “ชนชั้นน�ามลายูและโครงสร้างอ�านาจชายแดนใต้” โดย อสมา มงักรชยั และงานเรื่อง “ภาษามลายู การแปลและ

การเมอืง” โดย ฮารา ชนิทาโร่

สุชาต ิ เศรษฐมาลินี

ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ

ฟิล์ม กาวัน สมัคร์ กอเซ็ม

ธานินทร์ สาลาม

อสมา มังกรชัย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

คุณวุฒ ิบุญฤกษ์

ฮารา ชินทาโร่

ร่วมเสวนาในหัวข้อ l มุสลิมกับพหุวัฒนธรรม l อิสลามกับเพศสภาพ l การเมือง-วัฒนธรรมมลายูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ l ตัวตนคนมุสลิมและชาติพันธุ์ในวัฒนธรรมภาคเหนือ

ร่วมแลกเปลี่ยนความเห็นโดย l ชยันต์ วรรธนะภูติ l ิยศ สันตสมบัติ l ประเสริฐ แรงกล้า l สุดแดน วิสุทธิลักษณ์วันที่ 13 - 14 ก ันยายน 2557 เวลา 8.30 - 16 .00 น. ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 2 คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มุสลิมและกระแสอิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

P R E S E N T

เวทีแลกเปลี่ยนทางวิชาการ

วารสารธรรมศาสตร์

Muslim and Islamism in Southeast Asia

ร่วมอ่านบทกวี “ โ ล กมน ุ ษ ย ์ - โ ล กม ุ ส ล ิ ม ”

โดย ซะการีย์ยา อมตยา และ กฤช เหลือลมัย

Page 19: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 17

CAS Activities

อาเซียนเสวนา (ASEAN+ Studies Group)

ศูนย์อาเซยีนศกึษามหาวทิยาลยัเชยีงใหม่สร้างแนวทาง

และแผนงานเพื่อสามารถเป็นหน่วยงานหนึ่งของมหาวทิยาลยั

เชยีงใหม่เพื่อเป็นศูนย์กลางขององค์ความรู้เกี่ยวกบัประเทศ

สมาชกิของประชาคมอาเซยีน ทั้งในด้านวชิาการความรู้ สงัคม

วฒันธรรม เศรษฐกจิ การเมอืง สิ่งแวดล้อมและการพฒันาต่างๆ

ดงักล่าว ศูนย์อาเซยีนศกึษาจงึจดัเตรยีมให้ด�าเนนิกจิกรรมเพื่อ

เตรยีมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซยีนทั้งในการเป็นศูนย์ข้อมูล

และศูนย์แห่งการเรยีนรู้ผ่านการจดัประชมุ เวทวีชิาการ และ

สมัมนา เพื่อเผยแพร่ความรู้วชิาการ สู่สาธารณะให้แก่หน่วยงาน

ในและนอกมหาวทิยาลยั มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ร่วมกบัสถาบนั

ทางวชิาการภายในประเทศและกลุ่มประเทศสมาชกิประชาคม

อาเซยีน ศูนย์ฯ จงึเลง็เหน็ถงึความส�าคญัในการจดัประชมุสมัมนา

วชิาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ทางวชิาการนี้ที่มุ่งให้เกดิความรู้และ

ความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงที่ก�าลงัเกดิขึ้น จดุประสงค์ของการ

จดัอาเซยีนเสวนาเพื่อมุ่งให้เกดิความรู้และความเข้าใจต่อการ

เปลี่ยนแปลงที่ก�าลงัเกดิขึ้นในประชาคมอาเซยีน และกลไกต่างๆ

รวมทั้งตดิตาม ศกึษาวเิคราะห์ปัญหาเกี่ยวกบัประเทศไทยในการ

เข้าสู่ประชาคมอาเซยีน ตลอดจนนกัศกึษา คณาจารย์ และนกั

วจิยัของมหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูล รวมทั้ง

แสวงหาแนวทางในการปรบัปรงุการเรยีนการสอน การวจิยัใน

มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ให้สามารถตอบสนองกบัการเกดิขึ้นของ

ประชาคมอาเซยีน ประเดน็ในการสมัมนา ได้แก่

ครั้งที่ 1 เรื่อง รื้อถอนมายาคติ AEC โดย ปรวิรรต กนษิฐะเสน จากส�านกันโยบายเศรษฐกจิระหว่างประเทศ ธนาคารแห่ง

ประเทศไทย ได้ฉายภาพให้เหน็ถงึมายาคตทิี่เกี่ยวกบัการเข้าสู่ประชาคมอาเซยีนในปี 2558 ว่าจะไม่มกีารเปลี่ยนแปลงอะไร ที่เกดิขึ้นใน

ลกัษณะเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ (Big Bang) แต่การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จะเกดิขึ้นในลกัษณะที่ค่อยเป็นค่อยไปมากกว่า (Baby

step) เพราะเนื่องจากปัจจยัต่างๆ โดยเฉพาะปัจจยัความแตกต่างในหลายๆ ด้าน ทั้งเชงิกายภาพ ประชาการ และเศรษฐกจิ อนัได้แก่

การเปิดเสรกีารค้าสนิค้าคบืหน้าไปมากแล้วในด้านการลดภาษศีลุกากร แต่ยงัมมีาตรการที่ไม่ใช่ภาษทีี่ยงัเป็นอปุสรรคทางการค้าอยู่ (1)

ด้านการค้าภาคบรกิารและการลงทนุส่วนใหญ่ยงัไม่คบืหน้าเท่าที่ควร เนื่องจากประเทศสมาชกิยงัยดึกฎหมายภายในประเทศ (2) ด้าน

Page 20: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 18

แรงงานไม่ได้เปิดเสรอีย่างจรงิจงั โดยท�าเพยีงข้อตกลงยอมรบัคณุสมบตัวิชิาชพี ซึ่งเกอืบจะไม่มผีลกระทบเลยกบัการเคลื่อนย้ายแรงงาน

ภายในประเทศ และไม่เกี่ยวข้องกบัแรงงานไร้ทกัษะ หรอืกึ่งทกัษะ ที่เป็นแรงงานส่วนใหญ่ที่เคลื่อนย้ายในอาเซยีน ซึ่งตรงนี้ต้องคยุกนั

อกีมากกว่าจะท�าให้แรงงานเคลื่อนย้ายอย่างเสร ี(3) ด้านเงนิทนุเคลื่อนย้ายเปิดเสรตีามความพร้อมของแต่ละประเทศ และให้เปิดมาก

ขึ้นกว่าปัจจบุนั (4) อาเซยีนและยโุรปเดนิคนละทางในการรวมกลุ่ม อาเซยีนไม่มเีป้าหมาย และไม่พร้อมที่จะมเีงนิสกลุ

ครั้งที่ 2 เรื่อง แรงงานข้ามชาติในสังคมไทย: สิทธิและสวัสดิการ โดย อดศิร เกดิมงคล จากเครอืข่ายองค์กรด้านประชากร

ข้ามชาตคิณุอดศิรได้กล่าวถงึ ข้อท้าทายการด�าเนนินโยบายด้านแรงงานข้ามชาต ิได้แก่ 1.นโยบายการย้ายถิ่น พบว่ามกีารแปรผนักบั

การเมอืงภายในของแต่ละประเทศ และการเมอืงระหว่างประเทศในอาเซยีนด้วยกนัเอง ความเป็น/ไม่เป็นประชาธปิไตยมผีลต่อการ

จดัการการย้ายถิ่นของภูมภิาคนี้ 2.อาเซยีนกลายเป็นชมุชนทางจนิตนาการที่พยายามเปิดเสรสี�าหรบัทนุ/รฐัราชการ แต่ไม่สามารถพ้น

กรอบคดิอ�านาจอธปิไตยแบบเดมิ และผลติซ�้าวาทกรรมความมั่นคง ที่เข้มงวดกบัการเคลื่อนย้ายของผู้คนที่ไร้อ�านาจทางเศรษฐกจิ

และการเมอืง โดยเฉพาะภาคประชาชนขาดการมสี่วนร่วม 3.ข้อตกลงร่วมของอาเซยีนพูดถงึเรื่องการคุ้มครองแรงงานข้ามชาตแิบบ

จ�ากดั แต่กย็งัขาดกลไกการคุ้มครองที่แท้จรงิ หรอืกฎหมายภายในยงัไม่เอื้อต่อการคุ้มครองแรงงานข้ามชาตเิท่าที่ควร 4.การย้ายถิ่น

ของแรงงานข้ามชาตใินช่วงที่ผ่านมาก่อให้เกดิการแลกเปลี่ยน การปะทะทางวฒันธรรม และการเข้าสู่สงัคมแห่งความหลากหลายของ

วฒันธรรม ภายใต้กรอบคดิอ�านาจอธปิไตยและชาตนิยิมแบบเดมิ 5.เรามองแรงงานข้ามชาตใินฐานะแรงงาน แต่การด�ารงอยู่ของพวก

เขาท�าให้การเกดิขึ้นของชมุชนแรงงานข้ามชาต ิการแต่งงานข้ามวฒันธรรม เราจะด�ารงอยู่ท่ามกลางความหลากหลายอย่างไร 6.การ

พฒันาทางเศรษฐกจิในระดบัภูมภิาค และการพฒันาในพื้นที่ชายแดน ส่งผลกระทบต่อกลุ่มชาตพินัธุ์ และคนยากจนในชมุชน และมผีล

ต่อการเคลื่อนย้ายแรงงาน ในอกีด้านหนึ่งเรากลบัละเลยการจดัการโดยชมุชน

ครั้งที่ 3 เรื่อง ทหารกับการเมืองในอินโดนีเซีย: อดีต ปัจจุบัน อนาคต โดย ภาณวุฒัน์ พนัธุ์ประเสรฐิ คณะรฐัศาสตร์

และรฐัประศาสนศาสตร์ มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ งานเสวนาได้เสนอแนวคดิการศกึษาบทบาททหารกบัการเมอืง เหตปุัจจยัที่กองทพั

ในอนิโดนเีซยีเคยมอี�านาจมาก แต่ปัจจบุนัได้รบัการยกย่องจากสื่อตะวนัตกและองค์กร Freedom House ในฐานะเป็นแบบอย่างของ

ประเทศที่เปลี่ยนแปลงเป็นประชาธปิไตย โดยใช้เวลาไม่ถงึ 20 ปีในการเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธปิไตย เหตทุี่ท�าให้เกดิการเปลี่ยนแปลงเข้า

สู่ประชาธปิไตยในอนิโดนเีซยีขึ้นมาได้ ที่มพีื้นฐานเหตกุารณ์ส�าคญั คอืการลกุฮอืของนกัศกึษาประชาชนครั้งใหญ่ในปี 1998 โค่นล้ม

รฐับาลซูฮาร์โตลง โดยมปีัจจยัส�าคญัจากผลกระทบของวกิฤตเิศรษฐกจิปี 1997 ท�าให้ประชาชนได้รบัความเดอืนร้อนทางเศรษฐกจิส่ง

ผลท�าให้กระแสของสงัคมอนิโดนเีซยีตอนนั้น มพีลงัมากพอท�าให้ระบอบเผดจ็การที่อยู่มายาวนาน 30 กว่าปีล้มลงได้ บรรยากาศความ

คดิของคนในตอนนั้นปฏเิสธการปกครองแบบเก่าโดยสิ้นเชงิ ไม่เอาเผดจ็การชี้น�าของซูฮาร์โต ขณะเดยีวกนักองทพักม็ภีาพลกัษณ์ที่

ตกต�่าลงอย่างมาก ภายหลงัการปราบปรามประชาชน พร้อมๆ กบัความเชื่อว่าระบอบประชาธปิไตยจะท�าให้สงัคมดขีึ้นได้ แม้ปัจจบุนั

กองทพัของอนิโดนเีซยีจะอยู่นิ่ง ไม่ได้มบีทบาทการเมอืงอย่างชดัเจน แต่บทบาทในด้านธรุกจิยงัมอียู่ ค่ายทหารทั่วประเทศยงัมบีทบาท

อยู่ แต่กไ็ม่ได้หมายความว่าบทบาททางการเมอืงของทหารจะหมดไป อาจจะยงัมบีทบาทในทางหลงัฉากอยู่ และเคลื่อนไหวโดนไม่ให้

เป็นข่าว

ครั้งที่ 4 เรื่อง เปิดเสรีความเกลียดชัง: ส�ารวจภูมิ(ไม่)คุ้มกันของคนไร้อ�านาจในอาเซียนภิวัตน์ โดย วรีฉตัร แก้วประดษิฐ์

จากเครอืข่ายศษิย์เก่าโรงเรยีนแม่น�้าโขง การเสวนาได้สะท้อนให้เหน็ว่า ความเกลยีดชงักนัในพื้นที่รอบข้างประเทศไทย ประเทศเพื่อน

บ้านอย่าง ลาว พม่า เวยีดนาม ไม่ได้เกลยีดชงัเราในฐานะที่มคีวามบาดหมางกนัทางประวตัศิาสตร์ แต่เกดิจากการรกุคบืเข้าไปของ

กระแสการพฒันาจากไทยที่กระทบต่อวถิชีวีติและความเป็นอยู่ในประเทศเพื่อนบ้าน คนไร้อ�านาจที่ไร้ซึ่งภูมคิุ้มกนัจงึถ่ายทอดความ

เกลยีดชงัออกมาผ่านภาษา วฒันธรรม พธิกีรรมบางอย่าง เพื่อใช้เป็นอ�านาจในการต่อรอง และเป็นการรวมพลงัเข้าต่อสู้กบัประเดน็

ความไม่เป็นธรรม

Page 21: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 19

ASEAN Youth

ความแวดไวทางวัฒนธรรม (Cultural Sensitivity) ในสังคมพหุลักษณ์:แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในการก้าวข้าม มายาคติทางชาติพันธุ์และการสลายส�านึกเส้นแบ่งพรมแดนระหว่างรัฐชาติอุษาคเนย์ ธนพงษ์ หมื่นแสน

Page 22: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 20

ความน�า

กระแสโลกาภวิตัน์และระบบเศรษฐกจิแบบเสรนียิมใหม่ใน

ตอนต้นศตวรรษที่ 21 เป็นตวัแปรหลกัส�าคญัให้เกดิการย่นย่อ

สงัคมแห่งข้อมูลข่าวสารและสร้างการขยายตวัของตลาดการ

ค้าระหว่างประเทศ ตลอดทั้งน�าไปสู่การตดิต่อเชื่อมโยงระหว่าง

ผู้คนต่างวฒันธรรมที่มมีากยิ่งขึ้น สงัคมที่เตม็ไปด้วยปฏสิมัพนัธ์

ระหว่าง “พลโลก” (Global citizen) อนัมคีวามหลากหลายทาง

เชื้อชาต ิศาสนาและวฒันธรรมนั้น ก่อตวัขึ้นมาหลายในรูปแบบ

ทั้งระดบัมหภาค อาทเิช่น ประชาคมเศรษฐกจิ การเมอืงระหว่าง

ประเทศ อนภุูมภิาค และภาคพื้นทวปี หรอืระดบัจลุภาคที่เป็น

อาณาบรเิวณเฉพาะ อาทเิช่น พื้นที่รอยต่อของเขตแดนระหว่าง

ประเทศที่มกีารตดิต่อค้าขาย มกีารอพยพของผู้คนและแรงงาน

ข้ามพรมแดนไปมาซึ่งเตม็ไปด้วยคนชายขอบหรอืคนไร้รฐั ฯลฯ

ประเทศไทยเป็นอกีหนึ่งในหลายๆ ประเทศที่ต่างกไ็ด้รบัรู้เท่า

ทนัสอดรบักบัประโยชน์อนัผลพวงแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เกดิ

ขึ้น ทว่าขณะเดยีวกนักต็้องเผชญิในส่วนของปัญหาที่ตดิตามมา

โดยเฉพาะปัญหาว่าด้วยความขดัแย้งทางสงัคมและวฒันธรรม

ที่ก่อตวัขึ้น พร้อมๆ กนักบัส�านกึความเป็นชาตภิายใต้กรอบเส้น

เขตแดนสมมตุขิองรฐัสมยัใหม่ซึ่งคอยผลติซ�้าอดุมการณ์รฐัชาติ

ในแบบฉบบั “ประวตัศิาสตร์ที่เพิ่งสร้าง” คอยหล่อหลอมและ

หล่อเลี้ยงส�านกึของ “ประชารฐั” ให้เป็นเนื้อหนึ่งเดยีวกนั โดย

ผลผลติอนัเป็นประชารฐัดงักล่าวนั้น กล็้วนคอยสร้างความ

เป็นอื่น (Otherness) รวมทั้งผลกั “คนไร้รฐั” สู่ความเป็นชาย

ขอบและตดิตามมาด้วยชดุค�าอธบิายส�าเรจ็รูปที่อดัแน่นไปด้วย

อคต ิ(Prejudice) ภาพลกัษณ์ (Stereotype) การตดิยดึชาตพิันธ์

(Ethnocentrism ) มายาคตทิางชาตพินัธ์ (Ethnic Myth) ส�านกึ

ชาตนิยิมสดุโต่ง (Ultra-Nationalism) ฯลฯ เหล่านี้เป็นสิ่งซึ่งสะท้อน

ให้เหน็ถงึปัญหา “ความไม่แวดไวทางวฒันธรรม” ที่ล้วนแล้วแต่

เป็นอปุสรรคอย่างยิ่งต่อการเตรยีมความพร้อมของประเทศไทย

ให้ก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกจิอาเซยีน โดยจะมกีารเริ่มเปิดเขต

การค้าเสร ี(ASEAN Economic Community – AEC) ในปี 2015

นี้ กระบวนทศัน์ทางการศกึษาไทยในศตวรรษที่ 21 จงึมสี่วน

ส�าคญัอย่างยิ่งที่จะคอยปลดเปลื้องลกัษณะของความไม่แวด

ไวทางวฒันธรรมเหล่านี้ให้ออกไปและเสรมิสร้างความตระหนกั

ทางวฒันธรรม (Cultural Awareness) ให้เกดิขึ้นผ่านระบบการ

ศกึษาสมยัใหม่ ในฐานะที่การศกึษานั้นถูกมองให้เป็นส่วนหนึ่งใน

กระบวนการการถ่ายทอดทางสงัคม (Socialization) และส่งผ่านตวั

แบบวฒันธรรม (Cultural Model)

บทความชิ้นนี้ จะน�าเสนอแนวทางการจดัการเรยีนรู้ว่าด้วย

“ความแวดไวทางวฒันธรรม” ให้แฝงเร้นฐานคดินี้ไว้ในหลกัสูตร

ปกตแิละมอียู่ในกระบวนการจดัการเรยีนรู้ของสถานศกึษาซึ่งจะ

มสี่วนเสรมิสร้างความเข้าใจต่อผู้เรยีนในเรื่องของการก้าวข้าม

มายาคตทิางชาตพินัธุ์ รวมทั้งการสลายส�านกึเส้นแบ่งพรมแดน

ระหว่างรฐัชาต ิอนัจะเป็นส่วนสอดรบักบัแนวทางการจดัการศกึษา

เชงิพห-ุวฒันธรรมในศตวรรษที่ 21 ทั้งยงัช่วยคลี่คลาย ลดทอน

ความไม่เข้าใจระหว่างกนัและกนั รวมทั้งช่วยให้เกดิการ ก้าวข้าม

อคต ิภายใต้กรอบทางวฒันธรรมชาตนิยิมแบบล้นเกนิ ซึ่งเป็น

ปัญหาอปุสรรคส�าคญัภายใต้บรบิทของการเมอืงระหว่างประเทศ

ที่ประเทศไทยนั้นจะได้เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมทาง

เศรษฐกจิ สงัคมและวฒันธรรมในภูมภิาคอษุาคเนย์ ที่ก�าลงัเป็น

กระแสและก้าวเข้ามา

ความแวดไวทางวัฒนธรรมและการศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรม : ความหมาย ความส�าคัญและแนวทาง

การจดัการศกึษาให้บรรลเุป้าหมายภายใต้สงัคมที่มคีวาม

เป็นพหลุกัษณ์ จ�าเป็นต้องวางอยู่บนพื้นฐานความเข้าใจระหว่าง

กนั ความแวดไวทางวฒันธรรมที่มอียู่ภายใต้แนวทางการจดัการ

ศกึษาเชงิพหวุฒันธรรม จงึเป็นปัจจยัด้านตวับคุคลที่จะคอย

ขบัเคลื่อนนวตักรรมการจดัการเรยีนรู้แบบผู้เรยีนเป็นศูนย์กลาง

(Learner-centered Instruction) ที่ท�าให้ครูผู้จดัการเรยีนรู้เข้าใจ

และยดึเป็นแนวปฏบิตัติามหลกัความแตกต่างระหว่างบคุคล

(Individual Difference) ได้อย่างถูกต้อง ฉะนั้น การศกึษาที่แวดไว

ทางวฒันธรรมจงึหมายถงึ การจดัการศกึษาโดยตระหนกัถงึความ

แตกต่างและความเหมอืนทางวฒันธรรมมผีลกระทบต่อค่านยิม

การเรยีนรู้และพฤตกิรรมของผู้เรยีน ครูผู้จดัการเรยีนรู้ต้องหนนุ

เสรมิให้ผู้เรยีนเกดิความตระหนกัว่ามวีฒันธรรมที่แตกต่างไปจาก

วฒันธรรมของตน จะต้องไม่พูดในทางที่จะท�าให้ผู้อื่นรู้สกึว่าโดน

ดูถูก พร้อมทั้งขยายและเพิ่มคณุภาพที่จะเปิดปรบัรบักบัความ

ยดืหยุ่นในการตดิต่อ สมัพนัธ์กบัผู้อื่น ซึ่งเป็นการท�าความคุ้นเคย

กบับางส่วนที่เลอืกมาของลกัษณะทางวฒันธรรม ประวตัศิาสตร์

ค่านยิม ระบบความเชื่อและพฤตกิรรมของสมาชกิของกลุ่ม

ชาตพินัธุ์อื่นที่ทั้งใช้ชวีติและเรยีนร่วมอยู่ในสงัคมเดยีวกนักบัเรา 1

การสร้างความแวดไวทางวฒันธรรม สามารถมแีนวทางได้ใน

หลายรูปแบบ ตั้งแต่การรเิริ่มในการตดิต่อสมัพนัธ์ รู้จกัที่จะแสดง

1 สรปุความได้จาก ค�าอภปิรายในหวัข้อ “ความแวดไวทางวฒันธรรม: ความหมาย ความส�าคญั และ กระบวนการนาสู่ปฏบิตั”ิ โดยอ.สามารถ ศรจี�านง คณะศกึษาศาสตร์ ม.เชยีงใหม่ ซึ่งกล่าวไว้เป็นครั้งแรกใน การเสวนา “การศกึษากบัความแวดไวทางวฒันธรรม” เมื่อวนัที่ 21 เดอืน กนัยายน พ.ศ. 2556

Page 23: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 21

ความเคารพต่อวฒันธรรมและประเพณทีี่ต่างไปจากเรา เรยีนรู้

ภาษาโดยการออกเสยีงเรยีกชื่ออย่างถูกต้อง พูดคยุด้วยกนัอย่าง

ช้าๆ ชดัๆ และให้เวลากบัการรบัฟังอย่างอดทน มคีวามแวดไวต่อ

ความรู้สกึของคนอื่นที่เกี่ยวกบับ้านเกดิของเขา คอยสร้างความ

จรงิใจอย่างมมีติรภาพและสิ่งส�าคญัคอื อย่าปล่อยให้ความแตก

ต่างทางวฒันธรรมกลายมาเป็นฐานของการตดัสนิแบบฟันธง

ในขณะเดยีวกนัการจดัการศกึษาอย่างมคีวามแวดไวทาง

วฒันธรรม กเ็ป็นสิ่งสอดคล้องกบัข้อเสนอของนกัทฤษฏกีารศกึษา

สายNeo-Marxist ดงัเช่น (Michael Apple, 2000; อ้างใน นงเยาว์,

2551: 119) ที่กล่าวไว้ว่า การเรยีนรู้ทางวฒันธรรมเป็นการเรยีนรู้

เพื่อเข้าใจรากเหง้าของอ�านาจที่ไม่สมดลุระหว่างประเทศสมาชกิ

ในชมุชนโลก ผลกระทบทางเศรษฐกจิของความเป็นพลเมอืง

ชั้นสองและความเป็นชายขอบของนกัเรยีน ซึ่งในทางหลกั กค็อื

การจดัการศกึษาเพื่อให้ผู้เรยีนท�าความเข้าใจกบัอ�านาจ(Power)

ต�าแหน่ง (Positions) พื้นที่(Spaces) ความหมาย (meaning) ของ

ความเป็นเพศ ชาตพินัธุ์ เชื้อชาต ิศาสนา ความเป็นพลเมอืงและ

ความเป็นพลเมอืงของผู้อพยพย้ายถิ่น ข้อเสนอดงักล่าวจงึเป็น

ทั้งการขยายขอบเขตและมุ่งจดัวางต�าแหน่งที่ “หลากหลายอย่าง

ไม่เท่าเทยีม” ให้เกดิการขยบัเคลื่อนจากฐานรฐัชาตสิู่ฐานชมุชน

โลก โดยถอืว่าเป็นการท้าท้ายขนบของการศกึษาแบบเดมิและมุ่ง

เปลี่ยนมาเป็นการปลูกฝังให้เกดิความใกล้ชดิกลมกลนืและสร้าง

ความคุ้นเคยเชงิพื้นที่เพื่อสนองตอบต่อความเป็นชมุชนที่เหนอืกว่า

บรบิทรฐัชาต ิยิ่งไปกว่านั้น การจดัการเรยีนรู้ในทศิทางดงักล่าวยงั

จะช่วยถกัทอสงัคมขึ้นมาจากความสมัพนัธ์แบบหลากหลาย รอบ

ทศิทาง ปรบัเปลี่ยนส�านกึรวมทั้งพฤตกิรรมอย่างไร้อคตแิละหนนุ

เสรมิให้เกดิการก้าวข้ามพ้นมายาคตทิางชาตพินัธุ์ที่ก�าหนดสร้าง

ขึ้นมา เพื่อรบัใช้ส�านกึและวธิคีดิของรฐัไทยสมยัใหม่ที่ถูกก�าหนด

(Dominate) ระเบยีบวธิคีดิ โลกทศัน์ในแบบเดยีวกนักบัศูนย์กลาง

อ�านาจ

การเบียดขับอคติ แทนที่ด้วยการเรียนรู้

หนึ่งในหลายๆ ข้อเสนอของ (สรปุความจาก Peter

McLaren,1998; อ้างใน ศวิรกัษ์, 2551:74-76) นกัทฤษฏ ีCritical

Pedagogy ชาวอเมรกินัได้กล่าวถงึ การเรยีนการสอนเชงิวพิากษ์

ว่า ต้องเป็นปากเสยีงให้กบัคนในท้องถิ่นและค�านงึถงึบรบิท โดย

จะต้องมองเหน็ความสมัพนัธ์ระหว่างการวพิากษ์กบัการปฏบิตักิาร

ทางสงัคม กล้าที่จะค้นหามติเิชงิพื้นที่ของมนษุย์ ทั้งคนในเมอืง

และคนในชนบทและต้องมทีั้งมติบิทบาทชายหญงิและเชื้อชาติ

ด้วย เท่ากบัเป็นการจดัการเรยีนรู้ในสามมติพิร้อมกนั คอื พื้นที่

ความรู้และอ�านาจ ส่วนส�าคญัคอื นกัการศกึษานั้นจะต้องเป็น

พวกต่อต้านการเหยยีดผวิ ต่อต้านการกดีกนัทางเชื้อชาตแิละต่อ

ต้านอคตทิางเพศ โดยการจดักระบวนการเรยีนรู้ให้เป็นไปตาม

แนวทางข้างต้นจงึขึ้นอยู่กบักระบวนทศัน์ทางการศกึษาของครู

ในฐานะผู้จดักระบวนการเรยีนรู้ ซึ่งจ�าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมกีาร

ปรบัเปลี่ยนกระบวนทศัน์ทางการศกึษาให้ก้าวเข้าไปสู่การแวดไว

ทางวฒันธรรม การจดัการเรยีนรู้ต้องคอยมุ่งสร้างสถานการณ์ให้ผู้

เรยีนได้รู้สกึตระหนกัและเกดิการนกึคดิที่จะน�าไปสู่ปฏบิตักิารทาง

สงัคมให้มกีารปรบัเปลี่ยนทางพฤตกิรรมเกดิขึ้นตามมา นั่นคอืผล

จาก “การเรยีนรู้” ของผู้เรยีนเอง ในบรบิทของการจดัการศกึษา

ภายใต้สงัคมที่เป็นพห-ุลกัษณ์หรอืแนวทางการจดัการเรยีนรู้เพื่อ

การก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ควรต้องน�าแนวทางนี้ไปใช้เป็นเครื่อง

มอืในการปฏบิตักิารและแทรกไว้ในหลกัสูตร พื้นที่การจดัการเรยีน

รู้หรอืองค์กรการจดัการเรยีนรู้เพื่อหวงัผลให้เกดิการเปลี่ยนแปลง

ตั้งแต่ระดบัสถาบนั ระดบัองค์กร ระดบัปฏสิมัพนัธ์และระดบั

บคุคล การปฏบิตัอิย่างยั่งยนืได้นั้น จะเกดิขึ้นกเ็พราะการหนนุ

เนื่องซึ่งกนัและกนั2

“วฒันธรรม” จงึเป็น “ตวัแบบ” ที่คอยสร้างบรรทดัฐาน

ทางด้านการคดิ/การรู้สกึ/การกระท�า ครูในฐานะผู้ออกแบบ

กระบวนการเรยีนรู้ กจ็งึควรที่จะเรยีนรู้ “ตวัแบบวฒันธรรม” นี้

ของกลุ่มเป้าหมาย (ผู้เรยีน) และบรบิทพื้นที่ ที่มจีดัการศกึษาให้

เกดิความเข้าใจในความแวดไวทางวฒันธรรมเสยีก่อน ซึ่งจะช่วย

ให้ครูผู้จดัการเรยีนรู้ได้เกดิการเรยีนรู้เกี่ยวกบัผู้เรยีนอย่างตรง

กบัข้อเทจ็จรงิ เช่น รู้ว่าผู้เรยีนคดิหรอืมมีโนทศัน์อย่างไรเกี่ยวกบั

ตวัเลข พระอาทติย์ สตัว์ การใส่บาตร การไหว้ ฯลฯ แล้วน�ามา

เป็น “วตัถดุบิน�าเข้า” (Input) สู่กระบวนการออกแบบจดัการเรยีนรู้

รวมทั้งความจ�าเป็นที่ครูจะต้องมขี้อมูลเกี่ยวกบัตวัแบบวฒันธรรม

ของนกัเรยีนแต่ละคน อย่า “ทกึทกั” เอาตามประสบการณ์เดมิ

ที่คุ้นชนิ เพราะผลผลติของกระบวนการออกแบบจดัการเรยีนรู้

ที่ได้ อาจกลายเป็น ภาพเหมารวม (stereotype) ที่อาจจะไม่ตรง

กบัข้อเทจ็จรงิและแฝงฝังไว้ซึ่งอคตทิางวฒันธรรม การรวบรวม

ข้อมูลเหล่านี้อาจจะท�าในรูปแบบของการวจิยัชั้นเรยีน (Classroom

Research) ผ่านกระบวนการแนะแนวช่วยเหลอืดูแลนกัเรยีนหรอื

กระบวนการทางจติวทิยาที่อยู่ภายใต้บรบิททางวฒันธรรมนั้นๆ

ผลที่ได้คอื ครูหรอืผู้จดัการเรยีนรู้เอง กจ็ะเหน็ประเดน็ที่จะน�ามาใช้

เป็นปัจจยัก�าหนดกระบวนการจดัการเรยีนรู้ได้อย่างตรงเป้าหมาย

ไม่เพยีงแต่ในชั้นเรยีนเท่านั้นหากแต่ครูและผู้บรหิารสถานศกึษา

ยงัสามารถน�ามาแก้ปัญหาความสมัพนัธ์ของนกัเรยีนได้ อาทเิช่น

2 อ้างใน ไพพรรณ เกยีรตโิชตชิยั.กระบวนทศัน์ใหม่แห่งการศกึษาในศตวรรษที่ 21. กรงุเทพฯ: การศกึษา, 2545.

Page 24: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 22

การล้อเลยีนชาตพินัธุ์ที่มกัเกดิขึ้นเสมอในโรงเรยีนทั่วไป ครูจะต้อง

มบีทบาทที่จะเข้าไป “แทรกแซง” พร้อมทั้งเบยีดทิ้งอคตนิั้นๆ และ

แทนที่ด้วยการเรยีนรู้ให้เกดิความเข้าใจที่จะอยู่ร่วมกนั

ก้าวข้ามมายาคติทางชาติพันธุ์ สลายส�านึกเส้นแบ่งพรมแดนระหว่างรัฐชาติผ่านระบบการจัดการศึกษา

ปัญหาส�าคญัในสงัคมไทยว่าด้วยระดบัความรู้ ทศันคตแิละ

ความเข้าใจที่มตี่อประเทศรอบข้างในอษุาคเนย์ สะท้อนให้เหน็

ถงึกระบวนการกล่อมเกลาทางสงัคมผ่านระบบการศกึษาที่เตม็

ไปด้วยช่องว่างระหว่างองค์ความรู้ที่ถูกสร้างขึ้นในสงัคมกบัโลก

แห่งความเป็นจรงิซึ่งแตกต่างกนั ช่องว่างดงักล่าวถูกแทนที่ด้วย

มายาคตทิางชาตพินัธุ์ที่ค่อนข้างสวนทางกบัทศิทางของการปะทะ

ประสานระหว่างประชาคมในภูมภิาคอษุาคเนย์ที่พยายามจะ

ก้าวล่วงไปสู่ ภาวะไร้พรมแดน ทั้งในด้านของการลงทนุ แรงงาน

ย้ายถิ่น การรบัและ การเสพสื่อ ทว่าการรบัรู้และความเข้าใจ

ของสงัคมไทยที่มตี่อโลกรอบข้างยงัตดิอยู่กบัระนาบความรู้และ

จนิตนาการเก่า ซึ่งเป็นผลผลติในยคุสงครามเยน็ การจดัการ

ศกึษาตามแนวทางความแวดไวทางวฒันธรรมจะต้องท�าหน้าที่

ปลดเปลื้องภาพลกัษณ์ที่มอียู่ในตวัเนื้อหาหลกัสูตรและส�านกึของ

ผู้จดักระบวนการเรยีนรู้ที่จ�าต้องก้าวให้พ้นกรอบการมองประเทศ

เพื่อนบ้าน ในฐานะศตัรูคู่แค้น โดยเดมิทถีูกสร้างขึ้นมาเพื่อสนอง

กลุ่มผลประโยชน์ทางการเมอืง และการจดักระบวนการเรยีนรู้จะ

ต้องชี้ให้เหน็ว่า กระบวนการดงักล่าวมพีฒันาการเริ่มมาจากการ

เขยีน“ประวตัศิาสตร์แห่งชาต”ิ ที่ยงัคอยสอดแทรกส�านกึชาตนิยิม

และส่งผ่านสู่สงัคมในหลายรูปแบบ ที่ส�าคญัส่งผ่านการศกึษาโดย

รฐัเป็นผู้จดัการดูแลหลกัสูตร การจดัการเรยีนรู้รวมทั้งแบบเรยีน

จนท้ายที่สดุก่อให้เกดิความทรงจ�า(ใหม่)ร่วมกนั ปลูกฝังให้มคีวาม

รู้สกึว่าคนไทยมสีภาพเหนอืกว่าและดูถูกเหยยีดหยามในด้านเชื้อ

ชาตแิละวฒันธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน3

แนวทางที่จะก้าวล่วงไปสู่ภาวะไร้พรมแดนได้ในทางเศรษฐกจิ

การเมอืงและวฒันธรรม นั่นคอื การสร้างให้พื้นที่ร่วมทางการ

ศกึษาบนพื้นที่ชายขอบ โดยจดัให้มกีระบวนการเรยีนรู้ต่างๆ อย่าง

มโีลกทศัน์ที่ก้าวข้ามพรมแดน ความรู้ของผู้เรยีนต้องไม่จ�ากดัหรอื

ตดิอยู่ในกบัดกัของรฐัชาต ิโดยจะขอยกเป็นตวัอย่างดงัต่อไปนี้

• มกีารบูรณาการชดุความรู้ที่ก้าวข้ามพรมแดนระหว่างรฐั เช่น

การเรยีนรู้ลกัษณะร่วมของสภาพภูมศิาสตร์ (แม่น�้า ภูเขา

พชืพนัธุ์) ในบรเิวณพื้นที่ชายแดน

3 สรปุความจาก สเุนตร ชตุนิธรานนท์และคณะ. ชาตินิยมไทยในแบบเรียน. กรงุเทพฯ: มตชิน, 2557

• การเรยีนรู้ลกัษณะของตวัแบบทางวฒันธรรมที่มรี่วมกนัของ

ผู้คนในพื้นที่ชายแดน เช่น ประเพณสีงกรานต์ระหว่างไทย-

เมยีนมาร์ (มอญ) หรอืระหว่างไทยกบัลาว ประเพณกีารไหล

เรอืไฟในล�าน�้าโขงระหว่างไทยกบัลาว แม้กระทั่งความเชื่อ

เรื่องการไหว้หรอืนบัถอืสถานที่ศกัดิ์สทิธิ์ที่แต่เดมิกม็กีารข้าม

พรมแดนไปมาเพื่อแสวงบญุสกัการะมาตั้งแต่อดตี เช่น การ

นบัถอืองค์พระธาตพุนม จงัหวดันครพนมของพี่น้องไทย-

ลาวสองฝั่งโขงหรอืประเพณกีารร่วมเดนิขึ้นพระธาตดุอยตงุ

จงัหวดัเชยีงราย ของพี่น้องชาวเครอืไตในรฐัฉาน

• ความรู้เรื่องอตัราการแลกเปลี่ยนสกลุเงนิเพื่อการตดิต่อ

ค้าขาย รวมทั้งการเรยีนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างง่ายของ

ประเทศที่ตั้งอยู่ตดิกบัพรมแดนใกล้สถานศกึษานั้นๆ ฯลฯ

ตวัอย่างที่ยกมาในข้างต้น จงึล้วนแล้วแต่เป็นวตัถดุบิป้อนเข้า

ในกระบวนการออกแบบจดัการเรยีนรู้ที่สามารถจดัขึ้นได้ หากครู

ในฐานะผู้จดักระบวนการเรยีนรู้มคีวามเข้าใจ พร้อมทั้งเปิดกว้างที่

จะยอมรบัน�าเอาตวัแบบทางวฒันธรรมอนัหลากหลายเหล่านั้นมา

เป็นส่วนหนึ่งในการจดักระบวนการเรยีนรู้ให้ผู้เรยีนที่พร้อมจะก้าว

สู่ความเป็นพลโลกในศตวรรษที่21 ได้อย่างมคีณุภาพ ซึ่งอย่างไร

กต็ามการที่จะก้าวพ้นกรอบการจดัการศกึษาในแบบฉบบัเดมิๆ

นั้น อกีหนึ่งข้อเสนอของบทความชิ้นนี้ กค็อื การเปิดช่องให้องค์กร

และชมุชนในส่วนของท้องถิ่นซึ่งเป็นผู้มคีวามเข้าใจในบรบิทพื้นที่

เข้ามามสีดัส่วนมากขึ้นในการก�าหนดนโยบายการจดัการศกึษาที่

มุ่งตอบสนองเพื่อคนในท้องถิ่นได้เอง

สรุป

การจดัการศกึษาตามแนวทางของความแวดไวทางวฒันธรรม

เป็นสิ่งซึ่งหนนุเสรมิให้เกดิกระบวนการสร้างความเข้าใจระหว่างกนั

ในสงัคมที่มคีวามเป็นพหลุกัษณ์ อกีทั้งยงัเป็นการมุ่งสร้างส�านกึ

ที่ว่า “เขามเีรา เรามเีขา เรามกีนัและกนั”4 โดยผ่านการถ่ายทอด

ทางสงัคมและส่งผ่านตวัแบบทางวฒันธรรมอนัจะคอยท�าหน้าที่

ชอนไชและปลดเปลื้องมายาคตทิางชาตพินัธุ์ เพื่อการก้าวไปสู่

ภาวะไร้ซึ่งส�านกึการมอียู่ของเส้นเขตแดนระหว่างรฐัชาตอินัพร้อม

ที่จะเกดิขึ้นบนหนทางแห่ง “ความคาดหวงัร่วมที่มุ่งมองเหน็ความ

เปลี่ยนแปลง” ของผู้คนและสงัคมอษุาคเนย์ ได้ในอนาคต

4 อ้างจาก งานเสวนาเรื่อง “มารยาทควรรู้ เมื่อเปิดประตูเพื่อนบ้าน” สมฤทธิ์ ลอืชยั และ อคัรพงษ์ ค�่าคูณ ณ ศูนย์มานษุยวทิยาสรินิธร เมื่อ 6 ส.ค 2557

Page 25: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 23

ASEAN Youth

ความคาดหวังด้านอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ และ ความเข้าใจเรื่องกลุ่มชาติพันธุ์ในอาเซียนของ คนไทยผ่านสื่อต่างๆ: กรณี น้องแนน สาวเสิร์ฟ ร้านลาบ เชียงใหม่ สมคิด แสงจันทร์

“ฮือฮาสาวเสิร์ฟร้านลาบ เมืองเชียงใหม่ สวยหุ่นดี รับจ๊อบนางแบบเป็นงานอดิเรก เจ้าตัวเผยเป็นสาวไทยใหญ่อยู่เมืองตองยี ประเทศพม่า มาท�างานในประเทศไทยตั้งแต่อายุ 17 ท�ามาแล้วทุกอย่างทั้งแม่บ้าน คนงานก่อสร้าง ไปเจอช่างภาพ ถ่ายแบบ เลยลองถามพอเป็นนางแบบได้มั้ย จากนั้นก็มีงานถ่ายลงนิตยสาร-หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นอยู่เรื่อยๆ ”

1

“เชื่อว่าคุณผู้ชมหลายท่าน ที่เคยไปรับประทานอาหารที่ร้านลาบต้นยาง อยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ จะต้องสะดุดตากับสาวเสิร์ฟรายนี้อย่างแน่นอน เขาบอกว่าหน้าตาซะสวย ขอย�้านะคะว่านี่คือสาวเสิร์ฟ แต่ว่าเธอเป็นชาวเมียนมาร์ อายุ 25 ปี แล้วนะคะ”

2

“คุณผู้ชมครับ วันนี้เราจะสัมภาษณ์ทางไกลนะครับ กับน้องแนนนะครับ ซึ่งเธออยู่ที่เชียงใหม่นะครับ...สวัสดีครับ แนน มิงกาลาบา (ค�าทักทายภาษาพม่า แปลว่าสวัสดี) ....สุดท้ายนะครับ แนน แชมป์จัดไป ภาษาพม่าว่ายังไง ... แชมป์ เมีย ตระ (น้องแนนพูด)”

3

นี้เป็นตวัอย่างของกระแสข่าวที่ดงัอย่างต่อเนื่องจากรณทีี่มผีู้คนแชร์ภาพนางแบบสาวสวย ในสงัคมออนไลน์ และมนีกัข่าวไป

สมัภาษณ์ ปรากฏว่านางแบบสาวท่านนั้นแท้จรงิแล้วเป็นสาวเสริ์ฟร้านลาบอยู่ที่จงัหวดัเชยีงใหม่ จงึมกีารแชร์กนัต่อๆ ไปในโลกออนไลน์

จนกระทั้งสื่อทวีเีอาไปน�าเสนอจนโด่งดงั

1 ข่าวสดออนไลน์ (http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRRd09EQTNNREF6TUE9PQ==&sectionid= ) (เข้าถงึวนัที่ 16 สงิหาคม 2557)

2 (เหมอืนขวญั ประสานพานชิ นกัข่าวช่องเจด็ รายการ เช้านี้ที่หมดชดิ วนัที่ 15 สงิหาคม 2557)

3 รายการ แชมป์จดัไป ช่อง 3 family วนัอาทติย์ที่ 24 สงิหาคม 2557 (http://www.frequency.com/video/shan-news-update-today-26082014-3/189551301?cid=5-2436 )

Page 26: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 24

ภายใต้กระแสโด่งดงัของตวันางแบบสาวเสริ์ฟร้านลาบใน

สงัคมไทยนั้น ได้เกดิกระแสที่โด่งดงัไม่แพ้กนั ในกลุ่มวยัรุ่นไทใหญ่

และชาวไทใหญ่ที่ได้ตดิตามข่าวนี้ เนื่องจากนางแบบสาวท่านนั้น

แท้จรงิคอื สาวไทใหญ่ เมอืงตองจ ี(โตนต)ี รฐัฉาน ประเทศพม่า

โดยกระแสแรกๆ นั้น คนไทใหญ่ต่างกแ็ชร์ภาพของนางแบบสาว

และชื่นชมในความขยนักตญัญูและความสวยของเธอ ภูมใิจที่เธอ

เป็นสาวไทใหญ่ แต่ต่อมาไม่นานหลงัจากมนีกัข่าวไปสมัภาษณ์

เธอ และท�าคลปิออกมาเผยแพร่ทางเวบ็ไซต์4 และเวบ็เพจต่างๆ

ของไทใหญ่5 ท�าให้เกดิกระแสวพิากย์การน�าเสนอตวัตนของ

เธอ เนื่องจาก เธอให้ส�าภาษณ์ว่า อาศยัอยู่ในพม่า เมอืงตองจ ี

ประเดน็นี้ กลุ่มไทใหญ่หลายกลุ่มออกมาต่อว่าเธอว่า ไม่มสี�านกึ

ความเป็นคนไต/ไทใหญ่ เพราะเธอไม่บอกว่าตวัเองเป็นชาวไท

ใหญ่ มหิน�าซ�้ายงัเรยีกชื่อเมอืงหลวงของรฐัฉานตามพม่าว่า ตองจ ี

แต่ไม่เรยีกตามภาษาไทใหญ่ว่า ต้นด/ีโตนตี

เหตกุารณ์เริ่มคลี่หลายลง เมื่อมสี�านกัข่าวของไทใหญ่6

ลงพื้นที่ไปสมัภาษณ์เธอแบบเจาะลกึ ถงึสาเหตทุี่ไม่บอกว่าเป็นคน

ไทใหญ่ ซึ่งเธอตอบว่า เพราะนกัข่าวรายงานไปตามบตัรประชาชน

ของเธอซึ่งเป็นบตัรประชาชนของพม่า และที่ตอบว่า ตองจ ีเพราะ

เป็นค�าที่เธอคุ้นเคยมากกว่า แต่เธอยนืยนัว่า เธอเป็นคนไต และรกั

ในความเป็นไต การสมัภาษณ์ครั้งนี้เธอพูดด้วยภาษาไทใหญ่ บวก

กบัชดุที่เธอถ่ายแบบ หรอื ที่แชร์กนัส่วนมากในโลกออนไลน์กเ็ป็น

ชดุไทใหญ่ ท�าให้กระแสต่อต้านในตวัเธอลดน้อยลง จงึเริ่มมกีาร

ผลกัดนัให้เธอกลายเป็นภาพตวัแทนของคนไทใหญ่ เพื่อเผยแพร่

วฒันธรรมไทใหญ่ ท�าให้เธอกลายมาเป็นขวญัใจของคนไทใหญ่

เพยีงชั่วข้ามคนื เวบ็ไซต์/เวบ็เพจ ต่างๆ ของไทใหญ่ ต่างลงข่าว

เธอและชื่นชมเพิ่มมากขึ้น จากความโด่งดงันี้เอง ท�าให้กลุ่มคน

สร้างภาพเชยีงใหม่ซึ่งเคยถ่ายแบบให้เธอจนโด่งดงัในโลกออนไลน์

จดักจิกรรมถ่ายรูป ภายใต้แนวคดิที่ว่า “สาวไทใหญ่ หวัใจไทย

4 http://www.youtube.com/watch?v=n4NB2gl9tBo

5 เช่น page Tai community online , สมาคมคนรกัสาวไทใหญ่ , สายน�้าเตงทุ่งสามรอ & Shan News update,

6 http://www.youtube.com/watch?v=QRkxnWsCL-U

แท้7” โดยมกีารดงึสาวสวยชาวไทใหญ่ในเชยีงใหม่ อกี 3 คนมา

ร่วมใส่ชดุไทใหญ่ ไปถ่ายภาพที่วดัผาลาด อ.เมอืง จ.เชยีงใหม่

ทางขึ้นดอยสเุทพ โดยจดัสาวสวยไทยใหญ่ 4 คนสวมชดุไทใหญ่

เป็นนางแบบ เพื่อเผยแพร่วฒันธรรมชาวไทใหญ่บนผนืแผ่นดนิไทย

ภาพกจิกรรมชดุนี้ จงึได้มกีารแชร์ต่อๆ กนั สร้างความภูมใิจและ

ยนิดใีนหมู่ชาวไทใหญ่เป็นอย่างมาก ที่สาวไทใหญ่สร้างชื่อเสยีง

และน�าเสนออตัลกัษณ์ของไทใหญ่

แต่จากนั้นเพยีงไม่นาน เหตกุารณ์กก็ลบัตาลปัตรอกีครั้งเมื่อ

รายการ “แชมป์จดัไป” ทางช่อง 3 family ได้มกีารสมัภาษณ์ทาง

ไกลกบัน้องแนน พธิกีรชื่อดงัของช่อง เริ่มต้นบทสนทนาด้วยการ

ทกัทาย เธอเป็นภาษาพม่า ตลอดรายการมกีารถามถงึแต่เรื่องของ

พม่า ทั้งเรื่องอาหารและเมอืงที่น้องแนนอยู่ ยิ่งตอนท้ายรายการ

พธิกีรยงัขอให้ น้องแนน พูดชื่อรายการเป็นภาษาพม่าด้วย ซึ่งน้อง

แนนก ็พูดว่า “แชมป์ เมยี ตระ” จากรายการนี้เองเริ่มมกีระแส

ต่อต้าน และวพิากษ์วจิารณ์เธอในสงัคมออนไลน์อกีครั้ง ว่า เหตุ

ใดเธอไม่ทกัทายด้วยภาษาของไทใหญ่ ว่า “ใหม่สูงค่า” หรอืไม่

บอกสกันดิเลยว่าตวัเองเป็นคนไทใหญ่ ซึ่งนั่นเท่ากบัเป็นการไม่

ให้เกยีรตชิาตพินัธุ์ของตนเอง โดยเฉพาะในเวบ็เพจ ที่ชื่อว่า Tai

community online ซึ่งมผีู้ตดิตามกว่าสองหมื่นคน และส่วนมากก็

เป็นวยัรุ่นชาวไทใหญ่ทั้งในประเทศไทยและรฐัฉาน ได้น�าประเดน็

นี้มาขยายต่อ หรอืแม้แต่หน้าเฟสของกลุ่มวยัรุ่นไตต่างๆ กจ็ะเตม็

ไปด้วยค�าวพิากษ์วจิารณ์ ต่างๆ นานา หลายคนรู้สกึผดิหวงัที่เธอ

มชีื่อเสยีงระดบัประเทศแล้วแต่มไิด้น�าเสนอความเป็นไทใหญ่เลย

อกีไม่กี่วนัต่อมาเพจนี้ กไ็ด้น�าเสนอข้อความหนึ่ง ซึ่งอ้าง

ว่าเป็นค�าชี้แจงของน้องแนนซึ่งได้เข้าไปแสดงความคดิเหน็ใน

ที่ๆ หนึ่ง ซึ่งน้องแนนขอร้องให้ทกุคนเข้าใจการกระท�าของเธอ ว่า

เนื่องจากทางรายการต้องการให้รายการออกมาในแนวนั้น เพื่อ

การเข้าสู่ AEC พร้อมกบับอกเงื่อนไขของเธอว่า “ ...แนนเกดิใน

พม่า และเรยีนหนงัสอืพม่า และคนที่สั่งสอนแนนมาให้เป็นคน

ดอียู่ทกุวนันี้ได้ นอกจากพ่อแม่แล้ว กม็แีต่ครูพม่า จรงิอยู่อาจ

7 http://www.manager.co.th/local/viewnews.aspx?NewsID=9570000096822

...เริ่มมีกระแสต่อต้านและวิพากษ์วิจารณ์เธอในสังคมออนไลน์อีกครั้งว่าเหตุใดเธอไม่ทักทายด้วยภาษาของไทใหญ่ว่า“ใหม่สูงค่า”หรือไม่บอกสักนิดเลยว่าตัวเองเป็นคนไทใหญ่...

Page 27: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 25

มพีม่าที่ไม่ดมีากมาย แต่ที่ได้เจอล่วน (ล้วน) มแีต่คนด.ี..แนนก็

เป็นคนไตคนหนึ่ง ที่ต้องจากบ้านมาไกล ท�ามาหากนิและทกุวนั

กย็งักนิอาหารไต และฟังเพลงไต และรกัความเป็นไต เพราะเรา

เป็นไต...”8 ท�าให้มกีารถกเถยีงกนัไปมาระหว่างคนไทใหญ่ที่เข้า

มาร่วมแสดงความคดิเหน็ บางคนออกมาต่อว่า บางคนออกมา

ให้ก�าลงัใจ และท�าความเข้าใจ บางส่วนกป็ลง และ เสยีดาย

โอกาสที่คนไทใหญ่จะมพีื้นที่ได้แสดงอตัลกัษณ์ของตนเองอย่าง

เตม็ที่ผ่านสื่อกระแสหลกัของไทย ในขณะที่เวบ็เพจดงักล่าวได้

โพสข้อความให้ผู้ตดิตามเลกิด่าว่าเธอ แต่กไ็ด้มกีารโพสข้อความ

ในเชงิประชดประชนันางแบบสาวอกีหลายข้อความ ซึ่งในขณะ

ที่ผู้เขยีนบทความนี้ กระแสดงักล่าวกย็งัร้อนแรงมากในสงัคม

ออนไลน์ ซึ่งเป็นสื่อกระแสหลกัที่คนไทใหญ่ซึ่งเข้ามาเป็นแรงงาน

ใช้ตดิต่อสื่อสาร รวมถงึสร้างเครอืข่ายต่างๆ แลกเปลี่ยนข้อมูลและ

ประสบการณ์ต่าง ทั้งจากไทย และ รฐัฉานบ้านเกดิ ท�าให้เกดิ

เป็นชมุชนขนาดใหญ่ในสงัคมออนไลน์ของกลุ่มวยัรุ่นและคนไท

ใหญ่ที่เข้าถงึสื่อพวกนี้ ซึ่งส่วนมากเป็นแรงงานที่เข้ามาท�างานใน

ประเทศไทยนานแล้ว ส่วนมากยงัออกมาแสดงความรู้สกึเสยีดาย

และผดิหวงักบัตวันางแบบสาว

กรณนีี้ มปีระเดน็ที่ผู้เขยีนเหน็ว่าน่าสนใจและควรถกเถยีง

กนัได้ในสงัคม ก่อนที่ทั้งสบิประเทศในอาเซยีน จะเข้าสู่ประชาคม

อาเซยีน นั่นกค็อื ความเข้าใจเรื่องความหลากหลายทางชาตพินัธุ์

ของกลุ่มต่างๆ ในภูมภิาคอาเซยีนนี้ รวมถงึมายาคต ิมมุมองที่คน

ไทยมตี่อกลุ่มชาตพินัธุ์เหล่านี้ ซึ่งสะท้อนให้เหน็ถงึระบบการศกึษา

ของไทยที่เน้นให้เหน็แต่ประวตัศิาสตร์ของชาตมิากกว่าจะท�าความ

เข้าใจความซบัซ้อนทางชาตพินัธุ์

การเปิดประชาคมอาเซยีนนั้น นอกจากเป็นการเปิดเสรดี้าน

การค้าแล้ว สิ่งที่จะตามมาอย่างหลกีเลี่ยงไม่ได้เลยกค็อื การไหล

ข้ามไป-มาของวฒันธรรมต่างๆ เนื่องจากกลุ่มชาตพินัธุ์ต่างๆ ที่

ต้องเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในระบบแรงงาน ทั้งภาคอสุาหกรรมขนาด

8 https://www.facebook.com/www.Tairadio.net/photos/pcb.695692920511254/695692513844628/?type=1&theater

ใหญ่ รวมถงึแรงงานรบัจ้างทั่วไป เริ่มที่จะน�าเสนออตัลกัษณ์ของ

ตวัเอง เพื่อแสดงถงึวฒันธรรมของตนเอง ทั้งให้เกดิรบัการยอมรบั

และน�าเสนอปัญหาของพวกเขาผ่านการน�าเสนออตัลกัษณ์ของตวั

เองในพื้นที่สื่อสาธารณะ ผ่านการจดักจิกรรมต่างๆ รวมทั้งผ่านสื่อ

สงัคมออนไลน์หลายๆ ทางเช่น facebook , เวบ็เพจ, เวบ็ไซต์,และ

ยูทูป

กระแสของน้องแนน นางแบบสาวชาวไทใหญ่นี้ ท�าให้เรา

ต้องมาตั้งค�าถามกบัสื่อไทยหรอืคนไทยที่ยงัมคีวามรู้เกี่ยวกบั

ประเทศเพื่อนบ้านไม่มากพอ ไม่เข้าใจบรบิทของสงัคมในประ

เทศนั้นๆ คนไทยส่วนมากเลอืกที่จะเสพความเป็นชาตพิันธุ์ หรอื

เสพความเป็นอื่น ผ่านภาพสวยงามของวฒันธรรม และความ

สวยความงามของผู้หญงิชาตพินัธุ์นั้นๆ และยอมรบักนัในเชงิ

วฒันธรรมว่าเป็นพี่น้องร่วมกนัเผ่าพนัธุ์ไทเดยีวกนั แต่หากเป็น

เรื่องที่เกี่ยวข้องกบัปากท้องเศรษฐกจิ/ความมั่นคง คนไทยกพ็ร้อม

จะมองเขาเป็นอื่น เป็นปัญหาสงัคม เป็นแรงงานราคาถูก และแฝง

ไปด้วยความรงัเกยีจทางชาตพินัธุ์ เช่นชาวไทใหญ่ หากน�าเสนอ

ในเชงิวฒันธรรม ประวตัศิาสตร์ ภาพลกัษณ์ความสวยงาม การ

แต่งกาย อาหาร คนไทยส่วนมากกย็อมรบัเขาว่าเป็นชาวไทใหญ่

ซึ่งเป็นพี่น้องเผ่าเดยีวกนักบัไทย แต่เมื่อลงรายละเอยีดถงึเรื่อง

ของการอพยพเข้ามาเป็นแรงงาน บ่อยครั้งสื่อไทยหรอืคนไทย ก็

ไม่ได้ใช้ส�านกึของความเป็นพี่น้องเผ่าเดยีวกนั บ่อยครั้งเมื่อเกดิ

ปัญหากผ็ลกัโยนให้พวกเขากลายเป็นเพยีงแรงงานชาวพม่า เหน็

ชดัว่าในกรณขีองน้องแนนนั้นสื่อเลอืกที่จะน�าเสนอตวัเธอในฐาน

แรงงานพม่าที่มคีวามสวยและเป็นถงึนางแบบเพื่อเล่นกบัส�านกึ

ของคนไทยที่มองว่าแรงงานพม่าไม่น่าจะสวยหรอืเป็นนางแบบได้

จงึกลายเป็นเรื่องแปลกและเรยีกร้องความสนใจในสงัคมได้ ทั้งนี้

นอกจากเรยีกร้องความสนใจได้แล้วยงัเป็นภาพสะท้อนกลบัถงึวธิี

คดิและมมุมองที่คนไทยมองกลุ่มชาตพินัธุ์เพื่อนบ้านอกีด้วย ซึ่งก็

ยงัสนใจแค่ในเรื่องของความสวยงามหากแต่ไม่ได้สนใจหรอืให้น�้า

หนกักบัการเป็นแรงงานของเธอ จงึท�าให้กระแสของ น้องแนนนั้น

ตอกย�้าความไม่เข้าใจในประเดน็เหล่านี้

Page 28: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 26

อกีด้านหนึ่งกระแสของน้องแนนนี้ยงัแสดงให้เหน็สิ่งที่เรยีก

ว่า “ความคาดหวงั” ของกลุ่มชาตพินัธุ์ต่างๆ ในการที่จะแสดง

ตวัตนของตนเองออกมาให้เป็นที่ยอมรบั/หรอืต้องการการยอมรบั

จากสงัคมภายนอกมากขึ้น นอกจากการมองพวกเขาเป็นเพยีง

แรงงาน/คนชายขอบ/ปัญหาสงัคม กรณขีองชาวไทใหญ่นั้นเหน็

ได้ชดัว่า ชาวไทใหญ่ที่เข้ามาท�างานในประเทศไทยพยายามปรบั

ตวัเข้ากบัสงัคมไทยเพื่อให้ได้รบัการยอมรบั การจดังานต่างๆ ใน

พื้นที่สาธารณะ ที่บ่อยครั้งมกีารแสดงถงึความจงรกัภกัดใีนสถาน

บนักษตัรยิ์ ตอกย�้าถงึการต้องการแสดงความใกล้ชดิกบัไทย การ

แสดงอตัลกัษณ์ของไทใหญ่นั้นแม้จะต้องการการยอมรบัแต่ส่วน

หนึ่งกย็งักระท�าการภายใต้แนวคดิชาตนิยิมที่มพีม่าเป็นคู่ขดัแย้ง

กรณทีี่น้องแนนซึ่งเป็นคนไทใหญ่แต่เตบิโตและเรยีนหนงัสอืใน

โรงเรยีนพม่า มเีพื่อน ครู ญาตพิี่น้องเป็นชาวพม่า แต่ตวัเองกย็งั

รกัและหวงแหนวฒันธรรมไทใหญ่อยู่ จงึถูกคาดหวงัจากชาวไท

ใหญ่ส่วนหนึ่งว่าเธอต้องเป็นภาพตวัแทนของไทใหญ่มากกว่าพม่า

ทั้งๆ ที่ในความเป็นจรงิความเป็นไทใหญ่นั้นมคีวามสมัพนัธ์และ

การผสมผสานกลมกลนืกบัพม่ามากกว่าไทย ทั้งภาษา อาหารการ

กนิ หรอืแม้แต่การเรยีกชื่อเมอืงต่างๆ ในพม่าในชวีติประจ�าวนัชาว

ไทใหญ่กน็ยิมเรยีกตามพม่ามากกว่า หลายคนพูดอ่านเขยีนภาษา

พม่าได้ดกีว่าภาษาไทใหญ่ แต่เมื่อต้องแสดงอตัลกัษณ์ของตนเอง

ในพื้นที่สาธารณะ กลบัพบว่าประเดน็เหล่านี้กลายมาเป็นข้อห้าม

หรอืข้อถกเถยีง ประเดน็ส�าคญักค็อื กลุ่มคนเหล่านี้ต้องการให้คน

ไทยยอมรบัและเข้าใจว่าพวกเขาต่างจากพม่า ไม่ใช่พม่า

การปรบัเปลี่ยนอตัลกัษณ์ของตวัเองให้ทนัสมยัของกลุ่มคน

ไทใหญ่ สามารถผสมผสานกบัวฒันธรรมอื่นๆ ได้ เช่น แนวเพลง

แบบเกาหลหีรอื K-POP การเสพสื่อที่เป็นเพลง/ละคร/หนงัที่เป็น

ของไทย การแต่งกายตามแบบแฟชั่นตะวนัตก รวมถงึการพูด

ภาษาองักฤษ/ไทย ซึ่งบางครั้งไม่ได้มคีวามใกล้เคยีงกนัเลย แต่

กลบัได้รบัการยอมรบัและส่งเสรมิ ไม่ใช้แนวคดิชาตนิยิมมาจบั

เลย แต่หากการปรบัเปลี่ยนนั้นไปเชื่อมโยงกบัพม่าซึ่งแม้จะมี

ความคล้ายคลงึและผสมผสานกนัมานานอยู่แล้ว กลบัไม่ได้รบั

การยอมรบัจากคนไทใหญ่ เนื่องจากพวกเขาต้องการสร้างอตั

ลกัษณ์ของตนเองให้แตกต่างจากพม่าให้มากที่สดุ การได้รบัการ

ยอมรบัจากเพื่อนบ้านหรอืที่คนไทใหญ่เรยีกว่าพี่น้องอย่างไทย

จงึเป็นสิ่งที่พวกเขาคาดหวงัมาโดยตลอด พวกเขาพยายามสร้าง

ความกลมกลนืภายใต้แนวคดิ ไท-ไต อกีทั้งยงัเชื่อว่าคนไทยส่วน

มากเองกย็งัมองพม่าเป็นศตัรูเช่นเดยีวกบัตนเอง แต่ภายใต้การ

เปิดประชาคมอาเซยีนที่เน้นเรื่องของความสมัพนัธ์ทางเศรษฐกจิ

มากกว่า ท�าให้ความสมัพนัธ์แบบพี่น้องของไทใหญ่กบัไทย จงึ

ด้อยกว่าความสมัพนัธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งมผีลต่อภาคเศรษฐกจิ

ของไทยมากกว่าการท�าความเข้าใจเรื่องอตัลกัษณ์ของกลุ่มต่างๆ

และมองถงึปัญหาของความซบัซ้อนนั้น

สิ่งที่ผู้เขยีนต้องการน�าเสนอกค็อื การจะเข้าสู่ประชาคม

อาเซยีนนั้น ความเข้าใจเรื่องความหลากหลายทางชาตพินัธุ์/

วฒันธรรม/ปัญหาของกลุ่มต่างๆ นบัเป็นสิ่งที่จ�าเป็นอย่างมาก

การเปิดพื้นที่ให้กลุ่มคนเหล่านั้นได้แสดงอตัลกัษณ์และวฒันธรรม

ของตนเองรวมถงึน�าเสนอสิ่งที่เขาคดิและต้องการจงึเป็นอกีวธิหีนึ่ง

ที่จะช่วยให้ความซบัซ้อนเหล่านั้นได้คลี่คลายลง และเป็นพื้นที่ที่

คนไทยจะได้ท�าความเข้าใจถงึความแตกต่างทางชาตพินัธุ์และ

ยอมรบัพวกเขามากขึ้น ทั้งนี้เพื่อลดอคตขิองสงัคมไทยที่มตี่อกลุ่ม

ชาตพินัธุ์ชายขอบ และสร้างความเข้าใจอนัดตี่อกลุ่มต่างๆ

...แต่หากเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปากท้องเศรษฐกิจ/ความมั่นคงคนไทยก็พร้อมจะมองเขาเป็นอื่นเป็นปัญหาสังคมเป็นแรงงานราคาถูกและแฝงไปด้วยความรังเกียจทางชาติพันธุ์เช่นชาวไทใหญ่...

Page 29: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 27

ASEAN Watch Indonesia

รัฐสภาอินโดนีเซียให้การรับรองสนธิสัญญาอาเซียนเพื่อการควบคุมหมอกควันข้ามพรมแดน มาโนช โพธาภรณ์

เมื่อกลางเดอืนกนัยายนที่ผ่านมารฐัสภาอนิโดนเีซยีลงมติ

เป็นเอกฉนัท์ ให้การรบัรองสนธสิญัญาเพื่อความคมุหมอกควนั

ข้ามพรมแดนหรอืที่เรยีกว่า ASEAN Agreement on Transboundary

Haze Pollution (AATHP) อนิโดนเีซยีเป็นประเทศสดุท้ายใน 10

ชาตสิมาชกิอาเซยีนที่ให้การรบัรอง (Ratify) สนธสิญัญาดงักล่าว

หากมองย้อนหลงัจะเหน็ว่ากระบวนการทางกฎหมายใช้เวลาถงึ

12 ปีจากที่ AATHP ถอืก�าเนดิขึ้นจากมตทิี่ประชมุที่กวัลาลมัเปอร์

มาเลเซยีในเดอืนมถินุายน ค.ศ.2002 แม้ยงัถอืการรบัรองสนธิ

สญัญาของอนิโดนเีซยีเป็นการแสดงออกเชงิสญัลกัษณ์แต่ประเทศ

เพื่อนบ้าน เช่น สงิคโปร์และมาเลเซยีที่ได้รบัผลกระทบจากฝุ่น

ละอองจากการเผาป่ากใ็ห้การตอบรบัเป็นอย่างดี

ที่ปรกึษาของ Joko Widodo ประธานาธบิดคีนใหม่ของ

อนิโดนเีซยี ให้สมัภาษณ์หนงัสอืพมิพ์ Strait Times ของสงิคโปร์

ว่า Jokoต้องการจะตดิตามจดุก�าเนดิไฟป่า และหาทางแก้ปัญหา

ที่ต้นเหต ุ(identify and nip sources of haze in the bud) และถอื

ได้ว่าเป็นสญัญาณที่ส่งมาก่อนล่วงหน้าแม้รฐับาลใหม่ยงัไม่ได้

เข้าบรหิารประเทศ และจนกว่าจะถงึวนัที่ 20 ตลุาคม บ่งบอกถงึ

ความต้องการร่วมมอืกบัประเทศเพื่อนบ้านในการแก้ปัญหาใน

ระดบัภูมภิาค เป็นล�าดบัความส�าคญัที่เร่งด่วนกว่าการเข้าไปร่วม

กบัการจดัการปัญหาความมั่นคงระดบัโลก ในตะวนัออกกลาง

มกีารตั้งข้อสงัเกตว่า ไฟป่ายงัคงไหม้อยู่ ขณะที่มกีาร

รบัรองสนธสิญัญา ไฟป่าในอนิโดนเีซยี มแีหล่งก�าเนดิจากที่เกาะ

Page 30: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 28

ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงทศิทางลมที่พดัหมอกควนัและฝุ่นละอองเข้ามายงัประเทศสงิคโปร์ในวนัที่ 15 กนัยายน ซึ่งเป็นวนัที่มลพษิทางอากาศในสงิคโปร์มี

ความรนุแรงเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก

สมุาตราตอนใต้ และเกาะกาลมินัตนัตอนกลางและตะวนัตก งาน

วจิยัของ World Resource Institute แสดงเหน็ว่าประมาณ25%

ของฝุ่นละออง (particulate matter) ที่ก่อปัญหาต่อการหายใจและ

การมองเหน็ ในสงิคโปร์ มาเลเซยี และแม้แต่ภาคใต้ของไทย มา

จากการเผาป่าในพื้นที่ปลูกปาล์มน�้ามนั และป่าไม้เพื่อท�าเยื่อ

กระดาษ

ในขณะเดยีวกนัมกีารตั้งข้อสงัเกตว่าการรบัรองสนธสิญัญา

12ปีให้หลงัอาจเป็นจดุเปลี่ยนส�าคญั แสดงถงึความพร้อมของ

อนิโดนเีซยี ในการเป็นผู้น�าในภูมภิาค แม้ว่า เมื่อเดอืนสงิหาคม

ปีนี้ สงิคโปร์ได้ออกกฎหมายเอาโทษบรษิทัที่มสี่วนก่อมลพษิทาง

อากาศ ด้วยการปรบัสูงสดุถงึ $2 ล้านเหรยีญ ไม่ว่าบรษิทัผู้ก่อ

มลพษิ จะมจีดทะเบยีนในสงิคโปร์หรอืไม่กต็าม

แต่ในระยะเวลา 1-2 ปีที่ผ่านมาถอืว่ามคีวามคบืหน้าไป

มาก กล่าวคอืเมื่อเดอืน ตลุาคม ค.ศ.2013 ผู้น�าอาเซยีนให้ลงมติ

เหน็ชอบกบัความเหน็ชอบกบัระบบเฝ้าระวงั นกัวเิคราะห์จาก

world resource institute เหน็ว่าการบงัคบัใช้กฎหมายขึ้นกบัความ

สามารถในการเฝ้าระวงัและตดิตาม ซึ่งสามารถระบไุด้ว่าเกดิขึ้น

มาจากแปลงการปลูกไม้เพื่อท�าเยื่อกระดาษและสวนปาล์ม ที่มี

เอกชนเป็นเจ้าของ

ASEAN Watch Cambodia

ธุรกิจ สิทธิมนุษยชน และ สิ่งแวดล้อมในอาเซียน: ผลกระทบของโครงการเพาะปลูกอ้อยจังหวัดเกาะกงในกัมพูชาเพื่อการตรวจสอบวิเคราะห์สถานะและการเยียวยา แดเนียล คิง

ในกมัพูชาการไล่รื้อซึ่งเป็นผลมาจากสมัปทานที่ดนิด้าน

เศรษฐกจิขนาดใหญ่ (economic land concessions - ELCs) กบั

หน่วยงานธรุกจิเป็นปัญหาสทิธมินษุยชนร้ายแรง กรณศีกึษานี้

ให้ข้อมูลเกี่ยวกบัโครงการให้สมัปทานที่ดนิด้านเศรษฐกจิส�าหรบั

โครงการเพาะปลูกอ้อยและโรงงานน�้าตาลในจงัหวดัเกาะกง ซึ่งอยู่

ทางภาคตะวนัตกเฉยีงใต้สดุของกมัพูชา โดยมกีารเกบ็ข้อมูลการ

ไล่รื้อโดยภาครฐัและหน่วยงานธรุกจิในปี 2549 เป็นอย่างด ีเป็น

กรณศีกึษาซึ่งสะท้อนถงึภาพรวมเกี่ยวกบัโครงการสมัปทานที่ดนิ

ด้านเศรษฐกจิในกมัพูชา สะท้อนให้เหน็การขาดความโปร่งใสของ

รฐั และการที่รฐัมสี่วนร่วมในการไล่รื้อที่รนุแรง ส่วนหน่วยงาน

ธรุกจิกข็าดการตรวจสอบวเิคราะห์สถานะสทิธมินษุยชน ทั้งใน

ส่วนของบรษิทัที่ผลติปัจจยัการผลติ และความยากล�าบากของ

ชมุชนในการเข้าถงึการเยยีวยาอย่างเป็นผลเมื่อเกดิการละเมดิสทิธิ

มนษุยชนขึ้นมา ในกรณนีี้ ชมุชนได้รบัการสนบัสนนุจากเอน็จโีอ

Page 31: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 29

ระดบัประเทศและระหว่างประเทศ พวก

เขาได้พยายามเข้าถงึการเยยีวยาทั้งระดบั

ประเทศ ภูมภิาค และระหว่างประเทศ

ตามความเหน็ของศาสตราจารย์

Surya P. Subedi ผู้รายงานพเิศษองค์การ

สหประชาชาตวิ่าด้วยสถานการณ์สทิธิ

มนษุยชนในกมัพูชาการให้และการจดัการ

สมัปทานที่ดนิด้านเศรษฐกจิขาดความ

โปร่งใสและไม่เป็นไปตามกฎหมายที่มอียู่

เป็นประโยชน์เฉพาะคน ส่วนน้อยและยงั

สะท้อนถงึปัญหาข้อพพิาทเกี่ยวกบัที่ดนิที่

ยดืเยื้อ1 การละเมดิสทิธมินษุยชนที่ได้รบั

การบนัทกึข้อมูลเป็นอย่างด ีเกี่ยวข้องกบั

การจดัตั้งและการด�าเนนิงานในโครงการ

เพาะปลูกอ้อยและโรงงานน�้าตาลในจงัหวดั

เกาะกงซึ่งสะท้อนให้เหน็ว่าสมัปทานที่ดนิ

ด้านเศรษฐกจิเกดิขึ้นโดยส่งผลกระทบ

อย่างมากต่อประชาชน ทั้งไม่ได้เป็นการส่ง

เสรมิการพฒันาที่ยั่งยนื2 ชมุชนที่ได้รบัผลก

ระทบใช้เวลาถงึหกปีเพื่อพยายามกลบัไป

ยงัที่ดนิของตน หรอืเพื่อเรยีกร้องให้ได้ค่า

ชดเชยที่เพยีงพอ แต่ในขณะเดยีวกนัการ

ไล่รื้อส่งผลกระทบในระยะยาวและรนุแรง

ต่อการด�ารงชพีและโอกาสทางเศรษฐกจิ

ของชมุชน นอกจากนั้น หน่วยงานธรุกจิที่

เกี่ยวข้องยงัต้องเผชญิกบัข้อร้องเรยีน การ

1 Prof. Surya Subedi, คณะมนตรสีทิธมินษุยชนแห่งสหประชาชาต,ิ รายงานผู้รายงานพเิศษองค์การสหประชาชาตวิ่าด้วยสถานการณ์สทิธิมนษุยชนในกมัพูชา (Report of the Special Rapporteur on the situation of human rights in กมัพูชา), A/HRC/21/63/Ad. 1, 24 กนัยายน 2555, จาก http://www.ohchr.org/Documents/HRBodies/HRCouncil/RegularSession/Session21/A-HRC-21-63-Add1_en.pdf

2 หมายถงึเอกสารและข้อตกลงอย่างเป็นทางการที่มอียู่ ที่ผ่านมามกีารสมัภาษณ์ชาวบ้านที่ได้รบัผลกระทบหลายคน มรีายงานข่าวและรายงานพสิูจน์ข้อเทจ็จรงิที่จดัท�าโดยกลุ่มภาคประชาสงัคมและส�านกังานข้าหลวงใหญ่ด้านสทิธมินษุยชนแห่งสหประชาชาต ิ(UN Office of the High Commissioner for Human Rights - UNOHCHR) และผู้แทนพเิศษแห่งสหประชาชาต ิ(UN Special Representative)

ประท้วงของชมุชน และการรายงานข่าวใน

ด้านลบของสื่อมวลชน

แม้ว่าทางชมุชนรณรงค์ให้ยกเลกิ

สมัปทานที่ดนิด้านเศรษฐกจิ และขอที่ดนิ

กลบัคนืมา แต่ไม่ประสบความส�าเรจ็ พวก

เขายงัสามารถกดดนัให้สว.ล ียอง พทั (Ly

Yong Phat) ซึ่งเป็นผู้ที่ร�่ารวยและมอีทิธพิล

มากสดุและมผีลประโยชน์เกี่ยวข้องกบั

โครงการสมัปทานที่ดนิด้านเศรษฐกจิ ให้

ต้องเจรจากบัพวกเขา ในกมัพูชา การ

แสวงหาความยตุธิรรมในกรณทีี่ต้องเผชญิ

หน้ากบัผู้มอีทิธพิลทางการเมอืง เป็นภาระ

ท้าทายที่ส�าคญั จงึถอืได้ว่าความส�าเรจ็ครั้ง

นี้เป็นชยัชนะที่ส�าคญั อย่างไรกด็ ีหน่วย

งานธรุกจิที่เกี่ยวข้องยงัคงไม่ปฏบิตัติาม

หลกัการตรวจสอบวเิคราะห์สถานะสทิธิ

มนษุยชน และที่ผ่านมายงัไม่มกีารเยยีวยา

อย่างเป็นผลเพื่อแก้ปัญหาการละเมดิสทิธิ

มนษุยชนอย่างเพยีงพอ ส�าหรบัปัญหาที่

เกดิขึ้นกบัชมุชนในจงัหวดัเกาะกง

การไล่รื้อส่งผลกระทบร้ายแรงและ

ต่อเนื่องกบัการด�ารงชวีติและโอกาสด้าน

เศรษฐกจิของประชาชนที่ถูกโยกย้ายใน

จงัหวดัเกาะกง จากการตรวจสอบค�าร้อง

ของชาวบ้านที่ได้รบัผลกระทบที่เสนอต่อ

หน่วยงานต่างๆ ชี้ให้เหน็ว่า ผลกระทบ

อย่างต่อเนื่องต่อชวีติของชาวบ้านในเกาะ

กงได้แก่ การขาดความมั่นคงด้านอาหาร

การสูญเสยีที่ดนิ การสูญเสยีที่อยู่อาศยั

ผลกระทบด้านสขุภาพ การสูญเสยีวถิกีาร

ด�ารงชพีและโอกาสด้านการศกึษา

ยกตวัอย่างเช่นในกรณหีนึ่ง ก่อนที่

จะถูกบงัคบัโยกย้าย เกษตรกรคนดงักล่าว

สามารถปลูกมะม่วงหมิพานต์และขนนุเพื่อ

เป็นรายได้เลี้ยงตวัเองและครอบครวั ต่อมา

เขาต้องเปลี่ยนไปท�าและขายขนมหวานที่

ท�าจากมะพร้าว “ชวีติเราล�าบากมากตอน

นี้ และพวกเรากลวั” เขากล่าว3 ชาวนา

อกีคนหนึ่งที่ต้องสูญเสยีที่ดนิไปอธบิายว่า

“ผมไม่มอีะไรจะกนิ ได้แต่ปลูกข้าวในที่ดนิ

แปลงเลก็ๆ ที่เหลอือยู่”4 เมื่อไม่มทีุ่งหญ้า

ท�าให้สตัว์เลี้ยงของเกษตรกรผอมลงและ

อ่อนแอ และเป็นเหตใุห้ผู้เลี้ยงต้องขายใน

ราคาที่ขาดทนุ แม้ว่าสตัว์เลี้ยงเหล่านั้นจะ

เคยเป็นแหล่งรายได้ที่ส�าคญั5

มกีารจ�ากดัการเข้าถงึที่ดนิในป่าน

อกเหนอืจากที่ดนิเกษตรกรรม ทั้งๆ ที่

ชาวบ้านเคยใช้ประโยชน์ในการเกบ็ของ

ป่า ความเสยีหายต่อที่ดนิและแหล่งน�้าส่ง

ผลกระทบไม่เพยีงเกษตรกรที่ได้รบัผลก

ระทบโดยตรง แต่สารเคมทีี่ถูกใช้ในแปลง

เกษตรขนาดใหญ่และในโรงงานน�้าตาลยงั

ปนเปื้อนแหล่งน�้าในพื้นที่ ท�าให้สตัว์น�้าเสยี

ชวีติ ทั้งๆ ที่สตัว์น�้าเหล่านี้เป็นแหล่งโปรตนี

ที่ส�าคญัของชมุชนละแวกนั้น 6

แม้แต่สตัว์เลี้ยงของหลายครอบครวั

กก็ลายเป็นภาระการขาดทนุ กล่าวคอืเมื่อ

ววัของพวกเขาพลดัหลงเข้าไปในที่ดนิที่ถูก

บรษิทัเกษตรกรรมครอบครองเอาไว้ ชาว

บ้านบอกว่าทางบรษิทัจ้างยาม และยาม

เหล่านี้จะยงิหรอืจบัสตัว์เลี้ยงที่เดนิเข้าไป

ในที่ดนิของบรษิทั ทั้งเจ้าหน้าที่รกัษาความ

ปลอดภยัยงัจบัสตัว์เลี้ยงไว้เพื่อเรยีกค่าไถ่

ด้วย7 และถ้าถูกจบับ่อยครั้ง ค่าไถ่ตวักจ็ะ

เพิ่มขึ้นไปด้วย

ผลจากการจบัสตัว์เลี้ยงไว้โดย

พนกังานบรษิทั ยงัรวมถงึการขาดโอกาส

ด้านการศกึษา ครอบครวัต่างๆ ในสาม

หมู่บ้านให้ข้อมูลว่าต้องเอาลูกออกจาก

3 CHRAC 2552, อ้างแล้ว เชงิอรรถที่ 52, น.17

4 เพิ่งอ้าง น. 15

5 เพิ่งอ้าง น. 15, 18

6 โปรดดู Subedi 2555, อ้างแล้ว เชงิอรรถที่ 1

7 สมัภาษณ์ชาวบ้านจากหมู่บ้านโชอกั (Chhouk) ชกิกอร์ลอืคอมมูน (Chikhor Leur Commune) อ�าเภอสะเลออมับลึ ส�าเนาไว้โดย EarthRights International

Page 32: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 30

โรงเรยีนเพื่อมาเฝ้าสตัว์เลี้ยง ป้องกนัไม่ให้

ววัเดนิเข้าไปในที่ดนิที่ถูกบรษิทัยดึครอง8

สดุท้าย เนื่องจากการไล่รื้อส่งผลให้

วถิชีวีติที่ยั่งยนืไม่สามารถด�ารงอยู่ได้ ชาว

บ้านจงึต้องหนัไปประกอบอาชพีอื่นที่มกั

ไม่มั่นคงและไม่มรีายได้เพยีงพอ จาก

การศกึษาผลกระทบต่อวถิชีวีติเนื่องจาก

โครงการเพาะปลูกในจงัหวดัเกาะกงท�าให้

พบว่า ครวัเรอืนจ�านวนมากได้สูญเสยีวถิี

การยงัชพีแบบเดมิไป และในปัจจบุนัต้อง

หนัไปท�างานให้กบับรษิทัเกษตรกรรม ซึ่ง

มกัมงีานเฉพาะบางฤดูกาล และมคี่า

ตอบแทนน้อยกว่าอาชพีเดมิ9 ส่วนที่เหลอื

อย่างเช่น กรณเีกษตรกรที่กล่าวถงึข้างต้น

เขาต้องหนัไปขายขนมมะพร้าวแทน และมี

ทางเลอืกเพื่อการด�ารงชพีที่ยั่งยนืน้อยลง

ชาวบ้านจากเกาะกงได้ท�าการ

ประท้วงหลายครั้งเพื่อต่อต้านบรษิทั แต่

การประท้วงโดยสงบของพวกเขามกัถูก

ปราบปรามด้วยความรนุแรง ทั้งจากการก

ระท�าของ “เจ้าหน้าที่รกัษาความปลอดภยั

ที่ตดิอาวธุของบรษิทั ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่

ทหารด้วย ส่งผลให้มกีารยงิปืนและการ

ท�าให้ชาวบ้านที่เป็นผู้หญงิได้รบับาดเจบ็

และยงัมกีารท�าร้ายร่างกายชาวบ้านคน

8 Bridges Across Borders Cambodia, Bittersweet: A Briefing Paper on Industrial Sugar Production, Trade and Human Rights in Cambodia, 3 กนัยายน 2553, จาก http://babcambodia.org/developmentwatch/cleansugarcampaign/bittersweet.pdf

9 Ngo Sothath & Chan Sophal, Does Large Scale Agricultural Investment Benefit the Poor? 28-34, Cambodian Economic Association Research Report, 2 กรกฎาคม 2553, จาก http://www.cea.org.kh/index.php?option=com_docman&task=doc_details&gid=11&Itemid=4

อื่นๆ อกีสี่คน”10 การละเมดิสทิธมินษุยชน

เหล่านี้ส่งผลให้ชาวบ้านยากจนลง การ

ท�าร้ายร่างกายท�าให้พวกเขาหวาดกลวั

ด้านความปลอดภยัแม้จะอยู่ในชมุชนของ

ตนเอง

กสม.ยนืยนัว่าที่ผ่านมามกีารละเมดิ

สทิธมินษุยชนเกดิขึ้น ในการสอบสวน

บรษิทั น�้าตาลขอนแก่น จ�ากดั(มหาชน)

จากไทย กสม.ระบใุนข้อค้นพบเบื้องต้น

ว่ามกีารละเมดิหลกัการและกฎบตัรสทิธิ

มนษุยชน โดยจ�าแนกว่า “มคีวามบกพร่อง

ในการคุ้มครองสทิธขิองประชาชนด้านการ

พฒันา รวมทั้งสทิธทิี่จะได้เข้าร่วม มสี่วน

สนบัสนนุ และได้รบัประโยชน์จากการ

พฒันาด้านเศรษฐกจิ สงัคม วฒันธรรม

และการเมอืง”11

ในกมัพูชา หน่วยงานของรฐัมคีวาม

รบัผดิชอบต้องคุ้มครองสทิธมินษุยชน ส่วน

หน่วยงานธรุกจิกม็คีวามรบัผดิชอบในการ

คุ้มครองสทิธมินษุยชนเช่นกนั อย่างไรกด็ ี

กรณศีกึษานี้ชี้ให้เหน็ว่า แม้ในกรณทีี่มกีาร

เกบ็ข้อมูลการละเมดิสทิธมินษุยชนอย่าง

เป็นระบบ แต่ชมุชนที่ได้รบัผลกระทบก็

อาจยงัไม่สามารถเข้าถงึการเยยีวยาที่เป็น

ผล ปัญหาการละเมดิสทิธมินษุยชนที่ยงัไม่

ยตุใินจงัหวดัเกาะกง เป็นผลมาจากความ

บกพร่องของการตรวจสอบวเิคราะห์สถานะ

สทิธมินษุยชนอย่างสม�่าเสมอ โดยหน่วย

งานธรุกจิควรน�ากระบวนการนี้มาใช้ตรวจ

สอบสายพานการผลติวตัถดุบิ และความ

10 โปรดดู คณะกรรมาธกิารสทิธมินษุยชนแห่งเอเชยี ข้อเรยีกร้องด่วน, Cambodia: Two villagers shot and several injured during the illegal forced eviction in Koh Kong, มถินุายน 2549, จาก http://www.ahrchk.net/ua/mainfile.php/2549/1998/

11 คณะกรรมการสทิธมินษุยชนแห่งชาต,ิ รายงานผลการตรวจสอบคณะอนกุรรมการด้านสทิธพิลเมอืงและสทิธทิางการเมอืง คณะกรรมการสทิธมินษุยชนแห่งชาต ิในจงัหวดัเกาะกง กรณโีครงการเพาะปลูกอ้อยในกมัพูชา, 25 กรกฎาคม 2555

บกพร่องของการเยยีวยาที่เป็นผลในระดบั

ประเทศ ภูมภิาค และระหว่างประเทศ ซึ่ง

ครอบคลมุบรรษทัที่มกีารด�าเนนิงานข้าม

พรมแดน ยงัไม่มกีลไกที่เชื่อมโยงระหว่าง

การละเมดิของบรรษทัข้ามชาต ิและกลไก

ที่ช่วยสนบัสนนุให้ชมุชนที่ได้รบัผลกระทบ

สามารถกดดนัให้บรรษทัต้องรบัผดิชอบต่อ

การละเมดิหน้าที่ในการเคารพสทิธมินษุย

ชนในระหว่าง การด�าเนนิธรุกจิของตน

หลกัการชี้น�าก�าหนดหลกัเกณฑ์

ส�าคญัส�าหรบัภาครฐัและหน่วยงานธรุกจิ

ในการคุ้มครองและเคารพสทิธมินษุยชน

และยงัเสนอกรอบที่ก�าหนดความรบัผดิ

ชอบอย่างเป็นรูปธรรมของบรรษทัแต่ละ

แห่ง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสายพานการ

ผลติวตัถดุบิ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถหลกีเลี่ยง

ปัญหาการลอยนวลพ้นผดิเมื่อเกดิการ

ละเมดิสทิธมินษุยชนขึ้นมา กรอบดงักล่าว

เป็นเครื่องมอืส�าคญัที่บรษิทัน�ามาใช้เพื่อ

ให้สามารถปฏบิตัติามความรบัผดิชอบของ

ตนเองได้ รวมทั้งข้อก�าหนดให้มกีารตรวจ

สอบวเิคราะห์สถานะสทิธมินษุยชนและการ

ประกนัการเข้าถงึกลไกการเยยีวยา โดย

การจดัท�าขั้นตอนรบัข้อร้องเรยีนหรอืกลไก

ความร่วมมอืในการเข้าถงึ

ระบบศาลและระบบอื่นๆ การตรวจ

สอบวเิคราะห์สถานะสทิธมินษุยชนจะช่วย

ให้บรษิทัตระหนกัถงึปัญหาการละเมดิ

สทิธมินษุยชนที่เกดิขึ้น และก�าหนดให้

บรษิทัต้องตอบสนองต่อข้อมูลที่รวบรวม

ได้ การตรวจสอบวเิคราะห์สถานะที่ดขีึ้น

จะเป็นเกราะป้องกนับรษิทัที่ด�าเนนิธรุกจิ

ในจงัหวดัเกาะกง ให้ปลอดจากความเสี่ยง

ต่อชื่อเสยีงของตนเอง และที่ส�าคญัจะช่วย

คุ้มครองชมุชนจากการละเมดิสทิธมินษุย

ชน

มคีวามจ�าเป็นเร่งด่วนที่รฐับาล

กมัพูชาต้องเคารพพนัธกรณดี้านสทิธิ

มนษุยชนในแง่ที่เกี่ยวกบัสมัปทานที่ดนิ

Page 33: Becoming 02 asean from below

ASEAN Watch Philippines

B ECO M IN G / 31

และการลงทนุในธรุกจิการเกษตร และการ

ที่หน่วยงานธรุกจิที่ด�าเนนิงานและลงทนุใน

กมัพูชา โดยเฉพาะในภาคธรุกจิการเกษตร

จะต้องน�าหลกัการชี้น�านี้ไปปฏบิตั ิโดย

เฉพาะอย่างยิ่ง ต้องมกีารปฏบิตัติาม

พนัธกรณรี่วมของรฐัและหน่วยงานธรุกจิ

อย่างเคร่งครดั เพื่อประกนัให้ชมุชนที่ได้รบั

ผลกระทบทั่วอาเซยีนสามารถเข้าถงึการ

เยยีวยาที่เป็นผลเมื่อเกดิการละเมดิสทิธิ

มนษุยชนขึ้นมา เราจะต้องไม่ปล่อยให้กรณี

อย่างจงัหวดัเกาะกงเกดิขึ้นมาอกี และควร

มกีลไกระดบัภูมภิาคเพื่อสอบสวนกรณทีี่

เกี่ยวข้องกบัหน่วยงานธรุกจิข้ามชาต ิและ

เพื่อประกนัให้มกีารน�าหลกัการชี้น�าไปใช้

ทั่วภูมภิาคอาเซยีน รวมทั้งในพื้นที่ที่มธีร

รมาภบิาลอ่อนแอ การสอบสวนของคณะ

กรรมการสทิธมินษุยชนแห่งชาตขิองไทย

ในกรณนีี้ สะท้อนให้เหน็ศกัยภาพและ

ความจ�าเป็นของกลไกเพื่อตรวจสอบและ

สอบสวนกรณปีัญหาข้ามพรมแดน และ

เป็นเวทใีห้ชมุชนสามารถแสดงข้อกงัวล

และเข้าถงึการเยยีวยาเมื่อไม่มหีนทางร้อง

เรยีนอย่างอื่น

การ “ต่อสู้” บนพื้นที่ความทรงจ�าของคนจีนใน ฟิลลิปปินส์ อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์

ด้วยความกรณุาของอาจารย์บญุเลศิ วเิศษปรชีา แห่งมหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ (ผู้

ซึ่งลงแรงกายแรงใจในการวทิยานพินธ์ปรญิญาเอกอย่างน่าศรทัธาที่สดุเท่าที่ผมเคยพบ

มา) ที่ต้องการให้ผมมโีอกาสได้เปิดหูเปิดตายามมาต่างแดน ท่านจงึพาผมไปชมเมอืง

เก่าอนิทราโมรอส Intramoros ในเขตเมอืงมะนลิา ประเทศฟิลปิปินส์ และพาเลยไปชม

พพิธิภณัฑ์คนจนีในฟิลปิปินส์ (Bahay Tsinoy: Museum of Chinese in Philippine life) ที่

อยู่ในละแวกเดยีวกนั

จดุเน้นทางประวตัศิาสตร์ที่ส�าคญัของเมอืงอนิทราโมรอส ได้แก่ ป้อมซานตเิอโก

(Fort Santiago) ซึ่งถูกเน้นในสองลกัษณะ ได้แก่ ความเป็นป้อมเก่าแก่ที่สร้างโดยเสปนใน

สมยัปลายศตวรรษที่ ๑๖ อกีลกัษณะหนึ่งที่เน้นมาก คอื การเป็นที่คมุขงั “วรีบรุษุแห่ง

ชาต”ิ ได้แก่ โฮเซ่ รซิาล (Jose Rizal) ผู้อทุศิตนเองให้แก่การต่อสู้เพื่อเอกราชจากสเปน

ดงันั้น ภายในป้อมจงึมเีรื่องราวของรซิาลเป็นส่วนใหญ่

ความที่ป้อมแห่งนี้ถูกบรรจไุว้ด้วยความรกัชาต ิจงึท�าให้ภาพยนต์จ�านวนมากเกี่ยว

กบัการต่อสู้กบัญี่ปุ่นเพื่อช่วยเชลยศกึชาวอเมรกิาและฟิลปิปินส์ในสมยัสงครามโลกครั้งที่

สอง มกัจะเลอืกใช้ป้อมแห่งนี้เป็นฉากหลงัของหนงั (แน่นอน ว่าความอลงัการของป้อมก็

มสี่วนในการตดัสนิใจเลอืกเป็นฉาก)

Page 34: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 32

ผมประทบัใจทั้งเมอืงเก่า ป้อมปราการ (เก่าแก่แต่สร้างโดย

สเปน) และความทรงจ�าชวีติวรีบรุษุโฮเซ่ รซิาลที่ฝังเอาไว้ในความ

ทรงจ�าร่วมของคนฟิลปิปินส์ แต่เมื่อเดนิเข้าไปสู่พพิธิภณัฑ์คนจนี

ในฟิลปิปินส์ ผมรู้สกึถงึความพยายามที่จะ “ต่อสู้” เพื่อแทรกตวั

เข้าไปมสี่วนร่วมที่ส�าคญัในความทรงจ�าร่วมชาตฟิิลปิปินส์ของคน

จนีอย่างชดัเจน

พพิธิภณัฑ์คนจนีในฟิลปิปินส์สร้างแล้วเสรจ็และเปิดให้ชมใน

ปี พ.ศ ๒๕๔๒ โดยมูลนธิกิารกศุลของ Teresita Ang-See โดยมี

เป้าหมายที่ชดัเจนว่าต้องการแสดงให้เหน็และเข้าใจถงึความจงรกั

ภกัดตี่อชาตขิองคนจนี และความเข้าใจที่ดมีากขึ้นระหว่างคนจนี

พื้นถิ่นกบัสงัคมฟิลปิปินส์

อตัลกัษณ์คนจนีในฟิลปิปินส์แตกต่างไปจากคนจนีใน

ประเทศไทย กล่าวคอื แม้ว่าคนจนีในฟิลปิปินส์อยู่ในพื้นที่มาเนิ่น

นาน ตั้งแต่เข้ามาเป็นกรรมกรใช้แรงงานให้แก่สเปน จนกลายมา

เป็นมหาเศรษฐทีี่ร�่ารวยที่สดุในประเทศ (หกตระกูลหลกั) แต่ความ

สมัพนัธ์ระหว่างอตัลกัษณ์จนีกลบัไม่กลนืกลายให้กลายเป็นหนึ่ง

เดยีวกบัเพื่อนร่วมชาตไิด้อย่างแท้จรงิ

ความแตกต่างทางฐานะได้ท�าให้คนจนีที่ร�่ารวยแยกตวัเอง

ออกจากสงัคมโดยทั่วไป ลูกหลานของจนีร�่ารวยกจ็ะไปเรยีนต่อใน

ต่างประเทศและมชีวีติทางสงัคมอยู่ในกลุ่มของตนเอง ขณะที่จนี

ชนชั้นกลางและจนีจน (น่าสนใจมากในพื้นที่ “ส�าเพง็/เยาวราช”

ของฟิลปิปินส์ที่ยงัเหน็จนีสามญัชนที่ยงัขยบัชนชั้นตนเองไม่ได้

และยงัอยู่แบบเดมิๆ เหมอืนเมื่อหลายสบิปีก่อนของบ้านเรา) กจ็ะ

กระจกุตวัรวมกลุ่มกนัอยู่ในกลุ่มเครอืข่ายของตนเอง

แม้ว่าคนจนีร�่ารวยหลายกลุ่มจะเลอืกทางเดนิเข้าสู่การเมอืง

ไม่ว่าจะด้วยเป้าหมายการพทิกัษ์ทรพัย์สนิของตนหรอืเพื่อประเทศ

ชาต ิแต่กไ็ม่สามารถท�าให้เกดิการอตัลกัษณ์ของความเป็นจนีที่

กลนืกลายเข้าความเป็นฟิลปิปินส์ได้อย่างแนบสนทิ ตระกูลนกัการ

เมอืงที่มบีทบาทส�าคญักล็้วนแล้วแต่มเีชื้อสายจนี ที่ส�าคญัได้แก่

ตระกูลของคอราซอน อาคโีน (María Corazón Sumulong “Cory”

Cojuangco Aquino)

เพราะว่าการพฒันาเศรษฐกจิที่ผ่านมาไม่ได้ท�าให้คนจนี

ต้องเชื่อมต่อและกลนืกลายกบัคนฟิลปิปินส์ทั่วไป คนจนีดั้งเดมิที่

ร�่ารวยจ�านวนมากกลายเป็นเจ้าที่ดนิที่ไม่จ�าเป็นต้องง้อคนท�างาน

ในพื้นที่เกษตรกรรมของตนเอง บางตระกูลท�าธรุกรรมทางการเงนิ

เป็นธนาคารขนาดใหญ่ (ซึ่งไม่ได้ขยายสาขาไปยงัที่ห่างไกล ส่งผล

ท�าให้เกดิระบบการเงนิอกีแบบหนึ่ง จะกล่าวในคราวหน้าต่อไป)

ตระกูลจนีห้า-หกตระกูลซึ่งร�่ารวยมากในปัจจบุนันี้ เป็นคน

จนีอกีกลุ่มหนึ่งที่เพิ่งเข้ามาในประเทศฟิลปิปินส์ในยคุสงครามเยน็

แต่สร้างเนื้อสร้างตวัขึ้นมาอย่างรวดเรว็ โดยเชื่อมต่อเป็นเครอืข่าย

กนัคนจนีเดมิที่อยู่มาก่อนแล้ว ความร�่ารวยของคนจนียคุหลงันี้ยิ่ง

ท�าให้เกดิความห่างไกลกนัมากขึ้นระหว่างคนจนีกบัคนฟิลปิปินส์

ดงันั้น ความสมัพนัธ์ที่ไม่ได้เชื่อมต่อและกลนืกลายเช่นนี้ จงึ

ท�าให้คนฟิลปิปินส์ทั้วไปยงัมองคนจนีเป็นคนจนี ไม่ได้มองเป็น

“ฟิลปิปินส์โน” หรอื “ฟินอย” อย่างแท้จรงิ

ช่วงของการเกดิขบวนการลกัพาตวัเพื่อเรยีกค่าไถ่เกดิ

ขึ้นอย่างกว้างขวางทั่วไปในฟิลปิปินส์ยี่สบิปีก่อน นกัวชิาการ

สมัภาษณ์นกัศกึษาในมหาวทิยาลยัแห่งชาตฟิิลปิปินส์ (University

of The Philippines) ว่ากงัวลและวติกบ้างไหมกบัปัญหานี้

นกัศกึษาจ�านวนมากตอบท�านองว่าไม่กงัวลอะไร เพราะเขาไม่ใช่

“คนจนี” และไม่ “ร�่ารวย” ซึ่งแสดงให้เหน็อย่างชดัเจนว่าอตั

ลกัษณ์ของคนจนีในฟิลปิปินส์นั้นแยกออกจากคนฟิลปิปินส์โดย

ทั่วไป แม้กระทั้งในปัจจบุนั เมื่อผมพูดคยุกบัเพื่อนคนฟิลปิปินส์

ปฏกิริยิาของพวกเขาทั้งหมดกแ็สดงให้เหน็ถงึการแยกกนัระหว่าง

“พวกเรา” กบั “พวกเขา” อยู่อย่างชดัเจน

จงึไม่น่าแปลกใจที่การแสดงอตัลกัษณ์ของคนจนีฟิลปิปินส์

จงึมกัจะม ี“ยตัภิงัค์” ( - Hyphen) อยู่ตรงกลางเสมอ (Chinese

– Pilipino)ความพยายามจะลบ “ยตัภิงัค์” ออกจากการแสดงอตั-

ลกัษณ์เกดิขึ้นจากกลุ่มคนจนีที่สร้างพพิธิภณัฑ์คนจนีในฟิลปิปินส์

นี่เอง

พร้อมไปการลบ “ยตัภิงัค์” ออกไป กลุ่มคนจนียงัได้เปลี่ยน

สรรพนามแทนคนจนีเสยีใหม่ จากเดมิที่คนฟิลปิปินส์เรยีนคนจนี

ในเชงิที่ไม่ได้ยอมรบัเป็นพวกว่า “INTSIK” ซึ่งมนียัยะของการดูถูก

(คงคล้ายๆ กบัคนไทยเคยเรยีกคนจนีในไทยว่า “เจ้ก”) โดยเน้นให้

กลายเป็นพวกเดยีวกนัมากขึ้นด้วยการเรยีกว่า “TSINOY”

ความพยายามทั้งหลายได้ปรากฏรวมศูนย์อยู่ในพพิธิภณัฑ์

คนจนีในฟิลปิปินส์ เมื่อก้าวเข้าไปสู่ส่วนแรกของพพิธิภณัฑ์จะพบ

ว่าได้เริ่มต้นด้วยวดิทีศัน์เปิดตวัคนจนีออกมาพูดว่า “ก่อนหน้านั้น

เขาเป็นคนจนีเข้ามาใช้แรงงานในพื้นที่นี้ ต่อมากไ็ด้กลายเป็นกลุ่ม

คนที่ ‘บรรลคุวามรู้’ (Ilustrados) และได้ต่อสู้กบัสเปนร่วมกบัพี่น้อง

ฟินอย ต่อมากร็�่ารวยและพฒันาประเทศ” ในท้ายสดุของวดิทีศัน์

คอืการประกาศว่า เขาคอืคนฟิลปิปินส์

การแสดงในพพิธิภณัฑ์ทั้งหมดเน้นให้เหน็ถงึบทบาทคนจนีใน

การ “ร่วมสร้างชาต”ิ ฟิลปิปินส์ ในทกุๆ ด้าน โดยเฉพาะในส่วน

ที่ต้องการเชื่อมต่อกบัขบวนการกู้ชาต/ิต้อสู้เพื่อเอกราชจากสเปน

กเ็น้นให้เหน็ถงึสาแหรกของโฮเซ่ รซิาลที่มเีชื้อสายมาจากคนจนี

Page 35: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 33

และเน้นบทบาทเฉพาะด้านที่เป็นการสู้เพื่อ

เอกราชของอามลิโีอ อาควนินัโด (Emilio

Aguinaldo) ซึ่งเป็นคนจนีที่มบีทบาทใน

ขบวนการกาตปิูนนั

หลงัจากนั้นกเ็ป็นการแสดงให้เหน็ว่า

บรรดาผู้น�าส�าคญัๆ ของประเทศล่วนแล้ว

แต่มเีชื่อสายจนีทั้งสิ้น ในส่วนท้ายกเ็น้น

ให้เหน็บทบาททางสงัคมของคนจนีที่มตี่อ

ประเทศชาติ

กล่าวได้ว่าอตัลกัษณ์คนจนีใน

ฟิลปิปินส์อยู่ในกระบวนการของความ

เปลี่ยนแปลงเพื่อที่จะตอบสนองต่อความ

เปลี่ยนแปลงของระบบความสมัพนัธ์ ไม่มี

อตัลกัษณ์ใดคงที่ได้ตลอดกาล และการ

ปรบัเปลี่ยนอตัลกัษณ์นั้นจ�าเป็นที่จะต้อง

เข้าไปปรบัเปลี่ยนในความทรงจ�าร่วมของ

ชาตดิ้วย

จากชาตินิยม (Nationalism) สู่ลัทธิคลั่งชาติ (Chauvinism) ?: การสร้างส�านึกสมบัติแห่งชาติของเวียดนามต่อหมู่เกาะในทะเลจีนใต้มรกตวงศ์ ภูมิพลับ

หมู่เกาะพาราเซลและหมู่เกาะสแปรตลยี์ในทะเลจนีใต้ เป็นหมู่เกาะที่มเีกาะเลก็เกาะ

น้อยอยู่ในบรเิวณเดยีวกนัเป็นจ�านวนมาก ชาวเวยีดนามมชีื่อเรยีกว่า เจื่องซา (หมู่เกาะ

สแปรตล)ี และ หว่างซา (หมู่เกาะพาราเซล) ซึ่งชาวเวยีดนามไม่นยิมเรยีกพื้นที่ทางทะเล

ว่า “ทะเลจนีใต้” เนื่องจากมนียัแสดงความเป็นเจ้าของของจนี ดงันั้นชาวเวยีดนามจงึได้

นยิามทะเลในแถบนี้ว่า “ทะเลตะวนัออกเวยีดนาม” เพื่อบ่งบอกถงึพื้นที่ทางทะเลนี้เป็น

อธปิไตยของเวยีดนาม หรอืทางด้านฟิลปิปินส์ได้นยิามพื้นที่ทางทะเลนี้ว่า “ทะเลตะวนั

ตกฟิลปิปินส์” โดยใช้หลกัการเดยีวกนักบัเวยีดนามและจนี

กรณพีพิาทประเดน็หมู่เกาะพาราเซลและหมู่เกาะสแปรตลยี์ จะมคีู่กรณอียู่ 6

ประเทศ คอื จนี ใต้หวนั เวยีดนาม ฟิลปิปินส์ มาเลเซยี และบรูไน ทกุประเทศต่างใช้

ASEAN Watch Vietnam

Page 36: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 34

หลกัการข้อกฎหมายสากลในการแสดงความเป็นเจ้าของพื้นที่

ทางทะเลที่ไม่เกนิ 200 ไมล์ทะเล เมื่อลากเส้นพื้นที่ทางทะเลไม่

เกนิ 200 ไมล์ทะเลแล้วทกุประเทศจะไม่ได้หมู่เกาะพาราเซลและ

หมู่เกาะสแปรตลยี์เตม็จ�านวน แต่จะได้เพยีงส่วนหนึ่งเท่านั้น ส่วน

ประเทศที่น่าจะได้มากที่สดุหลงัจากการลากเส้นพื้นที่ทางทะเล

แล้ว คอื ฟิลปิปินส์ ที่จะได้พื้นที่ทางทะเลมากที่สดุแต่ประเทศคู่

กรณตี่างไม่ยอมรบัเนื่องจากพื้นที่ทางทะเลนี้มทีรพัยากรธรรมชาติ

ที่มมีูลค่ามหาศาล เช่น น�้ามนั ก๊าซธรรมชาต ิอยู่อย่างหนาแน่น

จงึท�าให้ประเทศคู่กรณทีั้ง 6 ประเทศต่างไม่ยนิยอมและพร้อมที่จะ

แย่งชงิพื้นที่เพื่อผลประโยชน์ของประเทศตนเอง

แต่หวัใจส�าคญัของปัญหาข้อพพิาทไม่ได้อยู่เพยีงแค่ความ

อดุมสมบูรณ์ทางทรพัยากรธรรมชาตเิท่านั้น แต่ยงัรวมถงึประเดน็

ด้านยทุธศาสตร์ทางการเมอืงหรอืความมั่นคงระดบัประเทศ ซึ่ง

ทางเวยีดนามได้มคีวามกงัวลว่าหากประเทศคู่กรณใีดประเทศหนึ่ง

สามารถยดึพื้นที่ทางทะเลจนีใต้ได้(ตามชื่อสากล) จะมคีวามได้

เปรยีบทางการเมอืงเป็นอย่างมากและส่งผลกระทบต่อความมั่นคง

ต่อประเทศใกล้เคยีงโดยเฉพาะประเทศเวยีดนาม

เนื่องจากเวยีดนามมคีวามกงัวลที่พเิศษมากกว่าประเทศคู่

กรณอีื่นตรงที่ลกัษณะภูมปิระเทศของเวยีดนามมลีกัษณะเป็นรูป

ตวั S ยาวลงมาตามทะเลจนีใต้ ไม่มคีวามกว้างของประเทศมาก

นกั ดงันั้นแล้วหากประเทศใดสามารถยดึครองพื้นที่เกาะพาราเซล

และหมู่เกาะสแปรตลยี์ได้สามารถที่จะสอดส่องหรอืตรวจตราพื้นที่

ภายในประเทศเวยีดนามได้ทั้งประเทศ

ลัทธิชาตินิยมกับการสร้างชาติ

ลทัธชิาตนิยิมของความสร้างชาตจิะเกดิขึ้นพร้อมกบัความ

รกัชาต ิ(Patriot) แต่หากว่ามคีวามรกัชาตเิกนิพอด ีเมื่อเกดิ

สถานการณ์บางอย่างขึ้นแล้วโดนกระทบต่อความรู้สกึทางความ

เชื่อหรอืจติใจ เช่น การสูญเสยีระดบัประเทศ การคกุคามจาก

ภายนอกประเทศ ส่งผลท�าให้ความรกัชาตอิาจกลายเป็นความ

คลั่งชาต ิ(Chauvinism) ได้ ซึ่งรฐับาลหรอืพรรคคอมมวินสิต์

เวยีดนาม มคีวามสามารถที่จะโฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda)

ประชากรของตวัเองอย่างเข้มข้น กระบวนการชาตนิยิมและส�านกึ

ความเป็นชาตขิองเวยีดนามตื่นตวัอย่างมากในช่วงที่ฝรั่งเศส

ปกครองเวยีดนาม ที่ได้เคลื่อนไหวปลกุส�านกึความเป็นกลุ่มก้อน

หรอื ส�านกึความเป็นชาวเวยีดนาม ในทศันะคตขิองชาวเวยีดนาม

ที่มตี่อโฆษณาชวนเชื่อไม่ได้เป็นไปในเชงิลบ แต่กลบัเป็นในเชงิ

บวกมากกว่า ชาวเวยีดนามมแีนวความคดิว่าการโฆษณาชวนเชื่อ

นั้นเป็นเครื่องมอืหรอืกลไกที่ส�าคญัในการสร้างความเป็นอนัหนึ่ง

อนัเดยีวกนัของชาวเวยีดนาม ผ่านชดุความเชื่อทางประวตัศิาสตร์

อนัเดยีวกนั คอื ลูกมงักรหลานนางฟ้า และผ่านการศกึษา

ประวตัศิาสตร์ของชาตใินแบบเรยีนที่ผ่านการจดัการมาแล้ว และมี

การรวมศูนย์ทางประวตัศิาสตร์เพื่อง่ายต่อการเขยีนประวตัศิาสตร์

ใหม่และง่ายต่อการจดัการประวตัศิาสตร์ของเวยีดนาม ที่ส�าคญั

ประวตัศิาสตร์ชาตเิวยีดนามไม่เปิดพื้นที่ของการศกึษาและจดจ�า

ให้กบัประวตัศิาสตร์ของท้องถิ่นหรอืกลุ่มชน เช่น เวยีดนามได้

เขยีนประวตัศิาสตร์เกี่ยวกบัชนแขมร์ที่อยู่ทางตอนใต้ของเวยีดนาม

ว่า

“เดมิที่พื้นที่ทำงใต้เป็นอำณำจกัรจ�ำปำ โดยเวยีดนำมไม่ได้

เข้ำไปรกุรำนพื้นที่แต่อย่ำงใด แต่เป็นผลของควำมสมัพนัธไมตรอีนั

ดรีะหว่ำงกนัผ่ำนกำรแต่งงำนของเจ้ำนำยชั้นสูง แล้วกษตัรยิ์ทำง

จ�ำปำได้ยกพื้นที่ส่วนนี้ให้เป็นของขวญักำรแต่งงำน”

หากย้อนเรื่องราวทางประวตัศิาสตร์ระหว่างเวยีดนาม

กบัจ�าปา ล้วนแล้วต่างมสีงครามระหว่างกนัเกดิขึ้นในพื้นที่แต่

กลบัเขยีนประวตัศิาสตร์ในทศิทางตรงกนัข้าม ดงันั้นการเขยีน

ประวตัศิาสตร์เช่นนี้ย่อมเกดิขึ้นจากการจดัการทางประวตัศิาสตร์

ของเวยีดนาม

การสร้างชุดความคิดว่าด้วย “หว่างซา” และ “เจื่องซา”

เกาะพาราเซลและสแปรตลยี์หรอืที่ชาวเวยีดนามเรยีกว่า

“หว่างซา”และ “เจื่องซา” ถอืเป็นดวงใจของชาวเวยีดนามและ

ประเทศเวยีดนาม เป็นเส้นเลอืดใหญ่ของประเทศที่หล่อเลี้ยงความ

เป็นชาต ิและเป็นก้อนเนื้อที่รวบรวมความเป็นอนัหนึ่งอนัเดยีวกนั

ของชาวเวยีดนาม อนัเกดิจากการเสยีสละของทหารกล้าในการ

ปกป้องอธปิไตยจากศตัรู ทั้งยงัพยายามน�าเสนอว่าหว่างซาและเจื่

องซานี้เป็นของเวยีดนามตลอดเวลา

“สมบัติของชาติ” กระบวนการกล่อมเกลาและสร้างส�านึกชาตินิยมในเวียดนาม

การย�้าเน้นความคดิที่ต้องการปลูกฝังว่าหมู่เกาะทั้งสองเป็น

สมบตัแิห่งชาต ิเหล่าประชาชนเวยีดนามในปัจจบุนัไม่ว่าจะเป็น

ผู้หญงิ หรอื ผู้ชาย ชนชั้นไหนกต็ามต้องมหีน้าที่ปกป้องอธปิไตย

ทางทะเลของประเทศชาต ิแม้แต่ตารางนิ้วเดยีวกต็้องปกป้อง

รกัษาเอาไว้ เพื่อเป็นเบื้องหลงัที่ส�าคญัของประเทศชาตใินการร่วม

กนัปกป้องอธปิไตยของชาต ิจงึเกดิเป็นส�านกึผ่านกระบวนการ

เคลื่อนไหวทางสงัคมต่างๆ เช่น การประท้วงจนีกรณจีนีรกุคบืเข้า

มาในพื้นที่เกาะพาราเซลและสแปรตลยี์

Page 37: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 35

การเมืองเรื่อง “สมบัติแห่งชาติในเวียดนาม”

รฐับาลเวยีดนามอยู่ในฐานะที่ล�าบาก เนื่องจากรฐับาล

เวยีดนามพยายามโฆษณาชวนเชื่อรวมถงึการจดัการ การเขยีน

ประวตัศิาสตร์ของประเทศแบบใหม่อยู่ตลอดเวลา จงึท�าให้

ประชาชนบางส่วนในบรเิวณพื้นที่เวยีดนามใต้มแีนวคดิไม่เหน็ด้วย

กบัพรรคคอมมวินสิต์เวยีดนาม และได้กล่าวหารฐับาลเป็นสาเหตุ

หลกัที่ท�าให้ปัญหากรณหีมู่เกาะพาราเซลและสแปรตลยี์เรื้อรงั

ยากที่จะท�าให้ปัญหายตุ ิเพราะพรรคคอมมวินสิต์แห่งเวยีดนาม

ขายชาต ิเมื่อเวยีดนามเหนอืชนะเวยีดนามใต้ได้และมกีารเซน็ลง

นามในจดหมายเวยีนของประธานาธบิด ีฝั่ม วนั ด่ง ซึ่งในเนื้อหา

จดหมายเวยีนนั้น พรรคสงัคมประชาธปิไตยแห่งเวยีดนามเหนอืได้

สนบัสนนุอาณาเขตทางน�้าของจนี ท�าให้ปัจจบุนัทางการจนีได้น�า

เอกสารส่วนนี้มาเป็นหลกัฐานในการแสดงสทิธคิวามเป็นเจ้าของ

หมู่เกาะพาราเซลและสแปรตลยี์

เวียดนามในภาวะวิกฤต

• เวยีดนามก�าลงัเกดิปัญหาจากนโยบายการสร้างชาตใิห้เป็น

ชาตนิยิมจนไม่อาจสามารถควบคมุได้ ที่ยงัคลมุเครอืระหว่าง

รฐับาลเวยีดนามประสบความส�าเรจ็ในการสร้างชาตนิยิมได้

หรอืประสบความส�าเรจ็เกนิไปจนไม่สามารถควบคมุให้อยู่ใน

กรอบที่ควรเป็นได้

• เวยีดนามก�าลงัประสบปัญหาขาดความเชื่อมั่นจากนกัลงทนุ

ชาวต่างชาต ิโดยเฉพาะนกัลงทนุชาวจนี ถงึแม้ว่าการเมอืง

ของเวยีดนามจะมเีสถยีรภาพมากมาโดยตลอด ที่มรีฐับาล

พรรคคอมมวินสิต์บรหิารประเทศเพยีงพรรคเดยีว แต่กลบัเกดิ

เหตกุารณ์การเคลื่อนไหวภาคประชาชนที่รฐับาลไม่สามารถ

ควบคมุได้ ยิ่งท�าให้เกดิความกงัวลต่อนกัธรุกจิชาวต่างชาติ

ที่มาลงทนุถงึบทบาทและเสถยีรภาพรฐับาลหลงัจากนี้

สรุป

-รฐับาลพรรคคอมมวินสิต์เวยีดนามไม่สามารถประเมนิถงึ

ความรนุแรงที่เกดิขึ้นจากการสร้างความเป็นชาตนิยิมจากความรกั

ชาตจินกลายเป็นความคลั่งชาต ิอนัน�าไปสู่ความรนุแรงที่ไม่คาด

คดิได้ จากเหตกุารณ์บกุเผาโรงงานสญัชาตจินีได้เป็นเหตกุารณ์

ตวัอย่างไปแล้วเกี่ยวกบัการรกุล�้าความเป็นสมบตัขิองชาตจิากต่าง

ชาตโิดยเฉพาะจนี

-สิ่งที่รฐับาลเวยีดนามก�าลงัเผชญิในปัจจบุนัเกดิจาก

กระบวนการกล่อมเกลาความเป็นชาต ิของกรณหีว่างซาและเจื่อง

ซา ที่เป็นสมบตัขิองชาต ิส่งผลท�าให้รฐับาลเวยีดนามวางบทบาท

ทางการเมอืงได้ยากเนื่องจากจะรกัษาระดบัความสมัพนัธ์กบัจนี

ได้อย่างไร และอกีส่วนหนึ่งที่สร้างเชื้อปะทกุบัจนีคนประชาชนชาว

เวยีดนามที่พยายามรกัษาสมบตัขิองชาติ

-รฐับาลไม่สามารถรบัมอืต่อกระแสแรงเสยีดทานจากกลุ่มที่มี

ความรกัชาตแิละพร้อมที่จะปกป้องสมบตัขิองชาตโิดนไม่สนใจการ

ด�าเนนินโยบายความสมัพนัธ์ต่างประเทศของรฐับาล ทั้งยงัมกีลุ่ม

ที่มแีนวคดิต่อต้านรฐับาลมาก่อนหน้าแล้ว ที่ต้องการจะฉวยโอกาส

นี้โจมตรีฐับาลผ่านการเรยีกร้องปกป้องอธปิไตยของชาติ

-รฐับาลเวยีดนามก�าลงัเข้าสู่ความท้าทายในการจดัการ

ปัญหาข้อพพิาทหมู่เกาะหว่างซาและเจื่องซา ที่อาจจะมคีวามร่วม

มอืผ่านการรวมกลุ่มอย่างอาเซยีนหรอืกฎหมายระหว่างประเทศ

ที่คอยเปิดโอกาสให้อยู่บ้าง โดยทางการจนีไม่ยนิยอมเจรจา

ระดบัแบบพหภุาคหีรอือาเซยีน แต่ยนิยอมเจรจาในระดบัทวภิาคี

ระหว่างเวยีดนามกบัจนีเท่านั้น

-เวยีดนามได้มกีลไกเพื่อหาทางระงบัปัญหาข้อพพิาทพื้นที่

ทะเลจนีใต้ ผ่านกลไกเลขาธกิารอาเซยีน ที่เป็นชาวเวยีดนาม ที่

ไม่ได้มาจากการเลอืกตั้งแต่มาจากการคดัสรรขึ้นมาด�ารงต�าแหน่ง

ดงันั้นแล้วเลขาธกิารอาเซยีนคนนี้ย่อมเป็นตวัแทนของทางรฐับาล

เวยีดนามที่ถูกก�าหนดงานหลกัมาเพื่อให้หาทางระงบัปัญหาที่เกดิ

ขึ้นในบรเิวณทะเลจนีใต้ให้ได้

-ทางด้านอ�านาจของจนีไม่ได้ใช้รูปแบบของอ�านาจทางการ

ทหารเข้ามากดดนัประเทศที่มปีัญหาแต่จะใช้ลกัษณะอ�านาจทาง

เศรษฐกจิเพื่อเข้ามากดดนั เช่น เมื่อปัญหาทางทะเลจนีใต้ถูกน�า

ไปพูดในกรอบของอาเซยีน กอ็าจท�าให้ประเทศที่ได้รบัการช่วย

เหลอือย่างต่อเนื่องกบัจนี เช่น กมัพูชา ลาว หรอื พม่า ไม่ยนิยอม

ที่จะให้ปัญหาหยบิขึ้นมาพูดถงึในระดบัอาเซยีน

Page 38: Becoming 02 asean from below

ASEAN Watch Malaysia

B ECO M IN G / 36

An Epic Voyage with Urbanscapes ความท้าทายของอุตสาหกรรมดนตรีในอาเซียนตอนใต้ กับ 13 ปีแห่งบทพิสูจน์ความเป็นผู้น�าของมาเลเซีย คุณวุฒิ บุญฤกษ์

บ่อยครั้งที่เราได้ยนิการถกเถยีงในแวดวงอสิลามว่าการแสดง

ดนตรนีั้นเป็นเรื่องที่อนญุาตหรอืไม่ หลายฝ่ายมองว่าดนตรนีั้นอาจ

ท�าให้ผู้คนลมืหน้าที่ทางศาสนาของตน เช่นเดยีวกนักบัในประเทศ

มาเลเซยี เมื่อยคุหลายสบิปีก่อน ที่การแสดงศลิปะพื้นเมอืงและ

ดนตรไีม่เป็นที่ยอมรบัอย่างกว้างขวาง จนกระทั่งรฐับาลพรรค

อสิลามแห่งมาเลเซยีดูเหมอืนจะมที่าทอี่อนลงเกี่ยวกบัการแสดง

คอนเสริ์ตที่ได้รบัความนยิมตามกระแสโลก และเพื่อเรยีกคะแนน

เสยีงกลบัคนืมาหลงัจากที่เสยีไปให้แก่พรรคสหมาเลเซยี (UMNO)

ที่ปกครองประเทศในการเลอืกตั้งทั่วไปในช่วงปี 2004 ซึ่งในช่วง

เวลาดงักล่าว การแสดงที่อยู่ในข่ายของงานศลิปะและคอนเสริ์ต

นั้นมสีิ่งที่ต้องปฏบิตัติามอย่างเคร่งครดัคอืไม่ให้มกีารเต้นหรอื

เคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลงมากเกนิไป ไม่มกีารแสดงของ

ผู้ขบัร้องสตร ีเพลงที่น�ามาขบัร้องต้องไม่มเีนื้อหาลบหลู่ศาสนา

อสิลาม และผู้ชมชายหญงิต้องนั่งแยกกนั

ย้อนกลบัไปไม่กี่ปีนบัจากเหตกุารณ์ดงักล่าว เทศกาลเลก็ๆ

ที่ชื่อว่า Urbanscapes ถอืก�าเนดิขึ้น จากกลุ่มคนที่เคยเป็นนกั

สร้างสรรค์ผลงานศลิปะ จดังาน และ คอนเสริ์ตเลก็ๆ (Gig) ใน

สตูดโิอหรอืไลฟ์เฮาส์ เพื่อแสดงผลงาน หรอื “ปล่อยของ” ทั้ง

บทเพลงและสื่อร่วมสมยั จนกระทั่งปี 2002 เทศกาลดงักล่าวเริ่ม

ขึ้นอย่างเป็นทางการ ซึ่งนยัส�าคญัของการเริ่มต้นเทศกาลนี้คอืผู้

ที่เกี่ยวข้อง ทั้งผู้จดั โปรดวิเซอร์ สตาฟ รวมถงึศลิปิน มคีรบจาก

ประชากรหลกัของมาเลเซยี คอืทั้งชาวมาเลย์ อนิเดยี และจนี

จากจดุเริ่มต้นจนถงึปัจจบุนั 13 ปีเตม็ที่ Urbanscapes

สามารถยนืหยดั และพูดได้เตม็ปากว่าเป็นหนึ่งในสองเทศกาล

ดนตรใีนอาเซยีน ที่ใหญ่ที่สดุและอยู่ยงคงกระพนัมายาวนาน

ขนาดนี้ พอฟัดพอเหวี่ยงกบั Baybeats Festival ของสงิคโปร์

ซึ่งรายนั้นแม้จะแจ้งเกดิพร้อมกนัในปี 2002 แต่ต่างกนัตรงที่

Urbanscapes ขยายสเกลงานให้ใหญ่ขึ้น และพฒันาคอนเซปท์

ของงานให้เปลี่ยนไปทกุๆ ปี ขณะที่ Baybeats Festival เน้นการ

คมุสเกลงาน จดัที่ Esplanade “Theatres on the Bay” รมิอ่าว

ในสงิคโปร์เพยีงที่เดยีวไม่ย้ายไปไหน หรอืแม้กระทั่งเทศกาล Fat

Festival ในประเทศไทยที่มปีระวตัมิายาวนาน และมจีดุพคีในช่วง

ที่วงการเพลงอนิดี้ทั่วโลกก�าลงัรุ่งเรอืง กจ็บต�านานไว้เพยีงแค่ 12

ปีเท่านั้น หน�าซ�้าความหลากหลายของวง และศลิปินนั้น ยงัเป็น

ศลิปินในประเทศเป็นหลกั ขณะที่ Urbanscapes มวีงและศลิปิน

มากหน้าหลายตา แวะเวยีนมาจากทั้งสงิคโปร์ และอนิโดนเีซยี

รวมถงึในช่วงปีหลงัๆ ยงัน�าเข้าวงจากฝั่งยโุรป และอเมรกิาอกีด้วย

แรงผลกัส�าคญัที่ท�าให้เทศกาลนี้มาไกลขนาดนี้ได้ คงต้องยก

เครดติให้กบั “วยัรุ่นมาเลเซยี” วฒันธรรมสมยันยิมเหล่านี้ เป็น

วฒันธรรมแห่งวยัรุ่น (culture of the youth) ซึ่งแน่นอนว่ามผีล

Page 39: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 37

กระทบหรอืเป็นที่ชื่นชอบโดยคนหนุ่มสาว โดยเฉพาะวยัรุ่นและวยั

ท�างาน ที่คนกลุ่มนี้มกี�าลงัผลติ ก�าลงัซื้อ ก�าลงับรโิภค และก�าลงั

ในการตดิตามแสวงหาความสนกุสนานรื่นรมย์ของชวีติที่ได้จาก

กระแสวฒันธรรมสมยันยิมรูปแบบต่างๆ ในขณะภายใต้โมงยาม

อนัเร่งรบีแบบนี้ วยัรุ่นอย่างเราๆ ต่างอยู่ในภาวะของการดิ้นรน

แสวงหาอตัลกัษณ์เป็นตวัตั้งส�าคญั ซึ่งหากจะว่าไปกถ็อืเป็นเรื่อง

ปกต ิคนเราย่อมมจีรติจ�ากดัเฉพาะทาง คนจ�านวนไม่น้อยโดย

เฉพาะวยัรุ่นมสีทิธทิี่จะรู้สกึว่ากรอบการจ�ากดัของอตุสาหกรรม

ดนตรใีนยคุปัจจบุนัมนัไม่ไปไหนเอาเสยีเลย จนต้องออกมาถาง

ทางเอาเอง Urbanscapes จงึอาจเป็นอกีปรากฏการณ์หนึ่งที่แสดง

ให้เหน็ว่า วยัรุ่นในมาเลเซยีไม่ได้เป็นเนื้อเดยีวกบัวฒันธรรมหลกั

ของอสิลาม และยงัคงขบัเคลื่อนความคดิความอ่าน ผ่านพื้นที่ที่

เราจะเหน็ว่ามนัสอดรบักบักระแสการเตบิโตในวงการอตุสาหกรรม

ดนตรโีลกอย่างเป็นอนัหนึ่งอนัเดยีวกนั

Urbanscapes ใช้สโลแกนตดิต่อกนัมายาวนาน 12 ปีว่า “The

city’s creative art festival” ก่อนที่จะเปลี่ยนมาใช้สโลแกนที่บ่ง

บอกได้อย่างชดัเจนว่าเทศกาลระดบัอาเซยีนแบบนี้ มนัยิ่งใหญ่

และได้รบัการยอมรบัมากขึ้นเรื่อยๆ จนเปลี่ยนมาใช้ “Malaysia’s

creative art festival” ถงึขนาดนี้แคมเปญระดบัประเทศอย่าง

“Visit Malaysia” ที่ส่งเสรมิการท่องเที่ยวตามนโยบาย “Malaysia

Truly Asia” เริ่มบรรจเุทศกาลนี้เข้าในโปรแกรมอย่างถาวรตั้งแต่ปี

2013 จนถงึปัจจบุนั เพื่อกระตุ้นและเพิ่มรายได้ด้านการท่องเที่ยว

ของประเทศ แสดงให้เหน็ถงึความส�าคญัของกระแสวฒันธรรม

ที่ก�าลงัอยู่ในช่วงพคี เป้าหมายรายได้จากโครงการคอื 168 พนั

ล้าน ภายในปี 2020 และ 36 ล้าน ภายในปีนี้ น่าสงัเกตว่านกัท่อง

เที่ยวจากประเทศใกล้เคยีงในอาเซยีน รวมถงึประเทศอื่นๆ อาจ

ไม่สามารถน�าพาเมด็เงนิมหาศาลเข้าสู่มาเลเซยีได้ภายในงาน

เทศกาลแค่วนัสองวนั แล้วสิ่งที่ส�าคญักว่านั้นคอือะไร

ผู้เขยีนมโีอกาสไปเยอืน Urbanscapes ครั้งแรกในปี 2012

โดยไม่ได้มจีดุมุ่งหมายที่จะไปดูวงดนตรใีนภูมภิาค (Local Band)

และอมิพอร์ทจากประเทศใกล้เคยีงอย่างสงิคโปร์ และอนิโดนเีซยี

เพราะในปีนั้นเป็นปีแรกที่เทศกาลเชญิวงต่างประเทศที่นอกเหนอื

ไปจากเอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต้ มาร่วมในงาน ชื่อของวงไอซ์แลนด์

อย่าง “Sigur Ros” เรยีกแขกได้มากพอสมควรและเป็นปีแรกที่บตัร

Early Bird (บตัรราคาโปรโมชั่น) ของเทศกาล ขายหมดเกลี้ยงเพยีง

ไม่กี่วนั

สิ่งที่ผู้เขยีนคดิว่าท�าให้พื้นที่ของเทศกาลที่น่าสนใจขึ้นมา

เรื่อยๆ คอืปี 2013 ที่ผ่านมา เป็นครั้งแรกที่เทศกาลเชญิวงพงัก์รอ็ค

จากพม่าวงเดยีวที่เคยไปทวัร์คอนเสริ์ตต่างประเทศมาแล้ว วง

“Side Effect” มาเตมิสสีันให้เทศกาล แม้ชาวมาเลเซยีและคนส่วน

ใหญ่อาจไม่สนัทดัในแง่ของภาษา แต่พื้นที่ตรงนี้กลบัไม่ได้สร้าง

ความแปลกแยกอะไร หน�าซ�้าเครอืข่ายของวงดนตรหีน้าใหม่ใน

อาเซยีนยงัเชื่อมต่อกนั และผู้เขยีนมั่นใจว่า อย่างไรกต็าม Side

Effect คงได้รบัเชญิมาตอกย�้าความเป็นพงัก์รอ็คเบอร์หนึ่งในพม่า

ที่ KL อย่างแน่นอน

ในแง่ของสไตล์ดนตร ีหากพูดแบบหยาบๆ แม้ “อลัเทอร์

เนทฟี” และ “โพสต์รอ็ค” จะเป็นกระแสโลกในช่วงสองสามปี

ที่ผ่านมา แต่ในเทศกาลดงักล่าว “World Music” จงึอาจนยิาม

ความเป็นตวัตนของเทศกาล Urbanscapes ได้มากกว่า หรอืแม้

กระทั่งชื่อที่คุ้นหูอย่าง “อนิดี้” (indie) ที่มองอย่างผวิเผนิจะเหน็ว่า

มนัพึ่งผ่านพ้นไปไม่นาน ด้วยความที่มนัจบัต้องได้ง่าย ท�าให้วยั

รุ่นเข้าถงึ จนมนัพฒันาจนเข้าสู่เมนสตรมีเอาเสยีอย่างนั้น “ความ

เป็นอนิดี้” มนัเลยอาจจะไม่อนิดี้สมชื่ออกีต่อไปแล้ว ที่ส�าคญั

เทศกาลอนิดี้ ที่เริ่มจะมจี�านวนมากขึ้นในอาเซยีน รวมทั้งใน

ประเทศไทย ความต่อเนื่องและยาวนานอาจไม่สามารถสู้กบั

Page 40: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 38

เทศกาลหลกัๆ ที่มดีนตรหีลากหลายแนวท�าให้สามารถยนืระยะได้

นาน ล้อไปกบัดนตรจีากวฒันธรรมสมยันยิมในกระแสโลก

พฒันาการเหล่านี้ชี้ให้เราเหน็ว่าการเป็นผู้น�าทางอตุสาหกรรม

ดนตรขีองมาเลเซยี ไม่ได้มาอย่างโชคช่วย แรงผลกัจากกลุ่มผู้ฟัง

ที่จงรกัภกัดใีนมาเลเซยีและประเทศใกล้เคยีง มสี่วนส�าคญัในการ

อุ้มชูแวดวงนี้ให้ก้าวไปไกล ซึ่งในปัจจบุนัเราจะเหน็มนัพ้นไปไกล

จากอาเซยีนมากพอสมควร วงที่อยู่ในเทรนด์ของแวดวงดนตรฝีั่ง

ตะวนัตกหลายวง ถูกเชื้อเชญิไปทวัร์คอนเสริ์ต ส่งผลให้เครอืข่าย

ของอตุสาหกรรมดนตรยีิ่งกว้างไกลขึ้นไปอกี มากไปกว่านั้นการที่

รฐับาลมาเลเซยีให้ความส�าคญักบักระแสความนยิมของกลุ่มวยั

รุ่น ซึ่งน�ามาใช้เป็นฐานในการต่อยอดทางความคดิ ในการผสาน

วฒันธรรมดั้งเดมิให้วยัรุ่นสามารถเข้าถงึและคุ้นเคย อย่างเช่นวง

“Salam Musik” ที่ใช้ความเป็น World Music ผสมผสานกบัความ

เป็นมาเลย์ได้อย่างลงตวั และ “The Tree and the Wild” ที่แม้

จะเป็นโพสต์รอ็ค อย่างเตม็ตวั แต่ในสตูดโิออลับั้มยงัคงใช้เครื่อง

ดนตรที้องถิ่น รวมถงึภาษาที่ใช้ยงัคงเป็นบาฮาซาร์แทบทกุเพลง

ปรากฏการณ์ดงักล่าวอาจเป็นการสร้างทางรอดให้กบัวฒันธรรม

ดั้งเดมิผ่านการ Hybrid Culture เพื่อต่อยอดความนยิมไปยงั

Traditional Culture

ผู้เขยีนเหน็ว่า การจดัการกบัอตุสาหกรรมดนตรใีนมาเลเซยี

และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในอาเซยีนตอนใต้นั้น กลุ่มวยัรุ่นรวมถงึผู้ที่

เกี่ยวข้อง ซึ่งในที่นี้อาจต้องยกเครดติส่วนหนึ่งให้กบัรฐับาลที่เข้าใจ

กระแสความเปลี่ยนแปลงดงักล่าวท่ามกลางกระแสโลกาภวิฒัน์

(Globalization) โดยการมสี่วนร่วมกบัคนรุ่นใหม่ เปิดพื้นที่ในการ

จดัการวฒันธรรม ด้านหนึ่งอาจเพื่อป้องกนัวฒันธรรมดั้งเดมิ

สูญหายไปจากการกลนืของวฒันธรรมที่เหนอืกว่า แม้ในอกีด้าน

หนึ่งจะเป็นไปเพื่อผลประโยชน์ในเรื่องฐานเสยีง และเรื่องอื่นๆ

อย่างเช่น ค่าเงนิทางการท่องเที่ยว กต็าม

การดูคอนเสริ์ตในประเทศเพื่อนบ้าน ผู้เขยีนพบว่ามมีนัสเน่ห์

ซ่อนอยู่มากมาย นอกจากจะเป็นพื้นที่ให้เราได้เรยีนรู้วฒันธรรม

ของคนรุ่นเดยีวกนัที่นอกเหนอืไปจากเรื่องภาษาและไลฟ์สไตล์แล้ว

ยงัท�าให้เราได้พบกบัอกีหลายศลิปินที่ไม่คาดคดิว่าจะสร้างความ

ประทบัใจให้กบัเราขนาดนี้ วงดนตรจีากภูมภิาคหลายวงมคีวาม

น่าสนใจที่จะตดิตาม ทั้งวธิคีดิที่ถูกน�าเสนอผ่านบทเพลง ไม่ว่าจะ

เป็นการพูดถงึวฒันธรรมบ้านเกดิ การวพิากษ์สิ่งต่างๆ รอบตวั และ

บางครั้งแตะไปถงึเรื่องการเมอืง กล็้วนแล้วแต่น่าสนใจแทบทั้งสิ้น

อย่างไรกต็าม ด้วยความที่มาเลเซยีเป็นประเทศที่อาจกล่าว

ได้ว่ามวีฒันธรรมหลกัๆ อยู่สามแบบด้วยกนัจาก มาเลย์ จนี และ

อนิเดยี ในขณะที่แวดวงดนตรเีตบิโตมากขึ้นเรื่อยๆ เราอาจเคย

ได้ยนิเรื่องราวของการครอบง�าทางวฒันธรรม ด้วยวฒันธรรมใหญ่

อย่างมาเลย์มสุลมิ แต่ไม่ใช่ในพื้นที่ของอตุสาหกรรมดนตร ีที่นี่ เรา

จะเหน็คนรุ่นใหม่ในพื้นที่ของเขา ฟอร์มวงด้วยกนั ในวงมตีั้งแต่มา

เลย์ อนิเดยี ไปจนสงิคโปร์เชื้อสายจนี และแน่นอน ที่ Urbanscapes

ภาพที่อาจแปลกตาไปสกัหน่อยส�าหรบัชาวมสุลมิ นั่นคอื ฮญิาบที่

พริ้วไหวอยู่ในเทศกาล รวมไปถงึวงอนิดี้ที่ม ีFrontman เป็นมสุลมิ

ต่างกส็วมฮญิาบแทบทั้งสิ้น พื้นที่ๆ เราเคยคดิว่า เตม็ไปด้วยความ

เป็นตะวนัตก ทั้วแนงเพลงและไลฟ์สไตล์ ที่ KL มนัไม่เป็นเช่นนั้น ผู้

เขยีนเหน็ว่าเทศกาลดนตรไีด้ดงึดูดอสิลามรุ่นใหม่สู่ความเป็นสมยั

ใหม่และดนตรจีากกระแสโลก ซึ่งสิ่งที่น่าสงัเกตคอื การมเีวทใีห้ชาว

มสุลมิได้แลกเปลี่ยนความคดิเหน็กนัอย่างกว้างขวางเกี่ยวกบัความ

เป็นสมยัใหม่แบบของอสิลามในมาเลเซยี รวมถงึมวีงดนตรแีละ

ศลิปินที่เป็นมสุลมิที่ค่อนข้างมากพยายามแสดงภาพอสิลามสาย

กลางสมยัใหม่ผ่านเทศกาลดนตรเีหล่านี้

เทศกาล Urbanscapes ในปี 2014 จะจัดขึ้นในวันที่ 6 ธันวาคม ณ Horse Ranch, Resort World Genting ห่างจากตัวเมือง

KL เพียง 40 นาที ประกาศรายชื่อศิลปินที่จะเข้าร่วม (Line Up) ออกมาแล้วหลายวง อาทิ Local Natives, The Lemonheads, CHVRCHES และ Najwa จองบัตรได้ที่ http://www.ticketpro.com.my ติดตำมข่ำวสำรเทศกำลได้ที่ https://www.facebook.com/urbanscapes

Page 41: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 39B ECO M IN G / 39

ASEAN Critical

เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ใต้เงา คสช. ความลักลั่นของโจทย์การพัฒนาเศรษฐกิจ บนฐานคิดความมั่นคง อานนท์ ตันติวิวัฒน์

Page 42: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 40B ECO M IN G / 40

หลังจากที่คสช.ได้ท�าการรัฐประหารยึดอ�านาจรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งจนสามารถตั้งคณะตนขึ้นเป็นรัฐบาลบริหารประเทศได้สปอร์ตไลท์ทุกดวงได้สาดแสงไปที่คสช.ทันทีว่าจะสามารถแก้ปัญหาและท�าความคาดหวังต่างๆในประเทศนี้ได้สมกับราคาคุยหรือไม่...

ในช่วงเริ่มต้น นอกจากจะเริ่มท�าให้อ�านาจของตนมี

เสถยีรภาพ โดยการพยายามปราบปราม ควบคมุตวัของนกั

วชิาการ นกักจิกรรม นกัเคลื่อนไหว และแกนน�าฝ่ายต่างๆ แล้ว

ยงัเดนิหน้าทางเศรษฐกจิเพื่อให้เกดิเสถยีรภาพ หลงัจากชะงกั

งนัมาในช่วงที่มกีารชมุนมุทางการเมอืง ไม่ว่าจะเป็นการจ่ายหนี้

ชาวนา ฟื้นแผนโครงการจดัการน�้า ปรบัโครงสร้างพื้นฐานจาก

โครงการ 2.2 ล้านล้าน เป็น 3.3 ล้านบาท ฯลฯ จนท�าให้หุ้นไทยที่

ตกในช่วงต้น 20 สบิกว่าจดุ ทะลขุึ้นไป ณ วนันี้ เกอืบ 100 จดุ

หากแต่ว่าเส้นทางในการบรหิารเศรษฐกจิที่คสช.ต้องเดนิ ไม่

ง่ายอย่างที่คดิ เนื่องจากการด�าเนนินโยบายเศรษฐกจิตามระบบ

ทนุเสรบีางนโยบายค่อนข้างสวนทางกบั นโยบายความมั่นคง ดงั

กรณทีี่เราจะเหน็ได้จากทนัททีี่ออกนโยบายจดัระเบยีบแรงงานข้าม

ชาต ิกเ็กดิข่าวลอืจนแรงงานเขมรหนกีลบัประเทศเป็นแสนๆ คน

ส่งผลกระทบต่อธรุกจิประมง อสงัหารมิทรพัย์ จนต้องมาแก้ข่าว

กนัระงม

อย่างไรกด็ ีเมื่อทหารได้เข้ามาบรหิารประเทศแล้ว กย็่อม

กลายเป็นความหวงัของคนทกุกลุ่มไม่เว้นแม้แต่ภาคอตุสาหกรรม

ธรุกจิ ล่าสดุเมื่อต้นเดอืนมถินุายน คสช.ได้ออกโรดแมปทาง

เศรษฐกจิ และหนึ่งในแผนดงักล่าว คอื การท�าเขตเศรษฐกจิพเิศษ

ชายแดน โดย พลเอกประยทุธ์ จนัทร์โอชา ผู้บญัชาการทหารบก/

หวัหน้าคณะรกัษาความสงบแห่งชาต ิกล่าวในรายการ”คนืความ

สขุให้คนในชาตเิมื่อวนัศกุร์ ที่ 13 มถินุายน 57 ว่า การก�าหนด

แนวทางเปิดพื้นที่เศรษฐกจิพเิศษ ที่เรามุ่งเน้นคอืไม่ใช่เฉพาะช่อง

ทางเข้าออกเท่านั้น เราเน้นไปสู่ในชนบทด้วย เพราะเราได้เคย

เสนอมาทกุรฐับาลแล้ว ในเรื่องของการท�าอย่างไรจะไม่มคีนเข้า

มาในพื้นที่ตอนใน ไม่มกีารกระท�าผดิกฎหมาย อาชญากรรม ยา

เสพตดิอะไรต่างๆ กแ็ล้วแต่ ฉะนั้นถ้าเรากนัคนเหล่านี้ไว้ได้ตาม

แนวชายแดน ให้เขาสามารถที่จะมรีายได้ของเขาเช้าไปเยน็กลบั

ได้จากเพื่อนบ้าน และคนของเราสามารถมงีานท�าเพื่อจะให้คนใน

ครอบครวัมรีายจ่ายประจ�าวนัได้ กจ็ะลดปัญหาลงไปได้มาก

“โดยเฉพาะอย่างยิ่งประการส�าคญัคอืในเรื่องของการสวม

สทิธิ์ผลติผลทางการ เกษตร ที่คณุภาพอาจจะต�่ากว่าเรา ซึ่งมกั

จะเป็นปัญหามาโดยตลอด ถ้าเราสามารถท�าได้ เป็นแนวคดิแนว

พจิารณาในขณะนี้ ได้มอบไปแล้วว่า เป็นไปได้หรอืไม่ถ้าเราจะ

สร้างระบบสหกรณ์ของภาคประชาชนให้เข้มแขง็ตามแนวพระ

ราชด�ารขิองพระบาทสมเดจ็พระเจ้าอยู่หวั สมมตวิ่าเข้มแขง็ได้ ใน

พื้นที่เศรษฐกจิพเิศษเหล่านั้น จะมกีารซื้อขายโดยมขี้อยกเว้นด้วย

ภาษแีละกฎหมายบางประการ”

“ค�าว่า “เศรษฐกจิพเิศษ” คอืว่า ถ้าทกุคนยงัถอืกฎหมาย

คนละฉบบั ท�าอะไรไม่ได้ทั้งสิ้น ของเหล่านี้กร็ั่วไหลเลยเป็นบ่อ

เกดิของการทจุรติ ผดิกฎหมาย สารพดั ถ้าเราท�าให้ถูกต้อง มกีาร

ยกเว้นได้บ้าง อนันี้เป็นแต่เพยีงการพจิารณา ถ้าเป็นไปได้ จะได้

บรรเทาการลกัลอบเข้ามาสวมสทิธิ์กนัในประเทศได้อย่างยั่งยนื

ต่อไป และการที่เอาเข้ามาตรงนี้ ไม่ใช่เข้ามาแล้วมาขายในบ้าน

เรา คงไม่ใช่ เข้ามารวบรวมไว้มกีารบรหิารจดัการโดยท้องถิ่นอะไร

ต่างๆ กแ็ล้วแต่ แล้วเราปรบัปรงุคณุภาพให้ดขีึ้น จากคณุภาพ

ต�่าให้ดขีึ้น เรากไ็ม่ขายในประเทศ เราอาจจะไปส่งขายในประเท

ศอื่นๆ จะท�าให้การสวมสทิธิ์ของเรานั้นลดลงโดยอตัโนมตั”ิ

แต่อย่างที่กล่าวไปตั้งแต่ต้นว่า การท�านโยบายต่างๆ ไม่

ง่าย โดยเฉพาะเรื่องเขตเศรษฐกจิพเิศษชายแดนแล้ว หากเราย้อน

กลบัไปดูมแีผนหรอืแนวความคดิรวมถงึรูปแบบที่หลากหลายของ

รฐับาล พยายามจะน�าเสนอ และการด�าเนนิการที่แตกต่างกนั

มาหลายรฐับาล ภาพที่คสช.ก�าลงัวาดฝันผ่านรายการคนืความ

สขุนั้น เป็นการสะท้อนให้เหน็ถงึการขาดความเข้าใจในเรื่องของ

เขตเศรษฐกจิพเิศษที่ สลบัซบัซ้อน เพราะดนัการคดิควบคู่ไปกบั

นโยบายความมั่นคงและทศันคตแิบบทหาร ยงัไม่ได้เสนอโมเดล

อะไรที่แตกต่างไปจากเดมิ

นอกจากนี้ในพื้นที่ชายแดนนั้นยงัมปีระเดน็เรื่องของ คน

สทิธมินษุยชน การใช้แรงงาน (แบบพเิศษ) ที่องค์กรด้านสทิธแิละ

แรงงานหลายองค์กรตั้งประเดน็ค�าถามไว้มาก ซึ่งเราอาจจะเหน็

ภาพชดัขึ้นเมื่อพจิารณาพื้นที่ อ.แม่สอด จ.ตาก

ย้อนรอยดูแผนและแนวคิดพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษพื้นที่แม่สอด

แนวความคดิเรื่องเขตเศรษฐกจิพเิศษแม่สอดเกดิขึ้นครั้งแรก

ในช่วงปี 2547 โดยหอการค้าจงัหวดัตาก และราชการส่วนจงัหวดั

ได้น�าเสนอต่อ พ.ต.ท.ดร.ทกัษณิ ชนิวตัร ซึ่งเป็นรฐัมนตรสีมยันั้น

ต่อมาเมื่อวนัที่ 19 ตลุาคม 2547 มกีารประชมุคณะรฐัมนตรสีญัจร

ที่ อ.แม่สอด จ.ตาก และทกัษณิได้อนมุตัใิห้อ�าเภอแม่สอดเป็นเขต

เศรษฐกจิพเิศษ โดยจะครอบคลมุทั้งอ�าเภอแม่สอด อ�าเภอพบพระ

และอ�าเภอแม่ระมาด

Page 43: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 41B ECO M IN G / 41

แนวคดิในการผลกัดนัให้แม่สอดเป็นเขตเศรษฐกจิพเิศษ

ของหอการค้าจงัหวดัตาก นั้น คอืการพฒันาพื้นที่ 5,600 ไร่ จาก

พื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ขึ้นมารองรบัการด�าเนนิกจิกรรมทางเศรษฐกจิ

ระหว่างประเทศ เพื่อให้แม่สอดเป็นเมอืงเศรษฐกจิ-การค้าชายแดน

เพราะมศีกัยภาพและความพร้อมของเมอืงสูงทั้งทางด้าน

เศรษฐกจิ-การลงทนุภาค อตุสาหกรรม-ภาคเกษตร และการท่อง

เที่ยว เพื่อเป็นการเตรยีมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกจิ

อาเซยีน ในปี 2558 และเป็นประตูสู่อนัดามนัตามเส้นทางระเบยีง

เศรษฐกจิ East West Economic Corridor และได้อนมุตัโิครงการ

หลายโครงการตามข้อเสนอของกระทรวง 23 กรม โดยมสี�านกังาน

คณะกรรมการสภาพฒันาการเศรษฐกจิและสงัคมแห่งชาต ิดงันี้

คอื

1. สทิธพิเิศษของการลงทนุ

2. สนบัสนนุงบประมาณ

3. จดัท�าร่างกฎหมายว่าด้วยเขตเศรษฐกจิพเิศษ

โดย มชียั ฤชพุนัธ์ ได้จดัร่างกฎหมายร่างพระราชบญัญตัิ

การจดัเขตเศรษฐกจิพเิศษ แต่ยงัไม่ทนัผ่านที่ประชมุคณะรฐัมนตร ี

รฐับาลกส็ิ้นสดุวาระไปก่อน

ต่อมาในปี 2550 ทางส�านกังานจงัหวดัตาก ได้จ้างสถาบนั

ที่ปรกึษาเพื่อพฒันาประสทิธภิาพในราชการ (สปร.) โดย

จฬุาลงกรณ์มหาวทิยาลยั ศกึษาและจดัท�าแนวทางการจดัตั้ง

เขตปกครองพเิศษ (ท้องถิ่นรูปแบบพเิศษ “นครแม่สอด”) โดยน�า

แนวทางร่างกฎหมายพระราชบญัญตักิารจดัตั้งเขตเศรษฐกจิพเิศษ

(เดมิ) มาเป็นแนวทางในการจดัท�าร่างกฎหมายและรบัฟังความคดิ

เหน็จากทกุภาคส่วน ภาครฐั ภาคเอกชน ท้องถิ่น ประชาสงัคม

ผลปรากฏว่าทกุภาคส่วนเหน็ด้วยเป็นส่วนใหญ่

แนวคดิเรื่องการตั้งเขตเศรษฐกจิพเิศษควบคู่กบัรูปแบบของ

องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (อปท.)นั้นคอื

1. จะท�าให้พื้นที่ที่เป็น อปท. รูปแบบพเิศษนครแม่สอด ได้รบั

สทิธแิละประโยชน์ด้านภาษอีากร ตาม พ.ร.บ. ส่งเสรมิการ

ลงทนุสูงสดุ

2. ให้ มท. ด�าเนนิการเกี่ยวกบัการอนญุาตให้แรงงานต่างชาติ

เข้ามาท�างานในเขตนครแม่สอดได้โดยไม่ต้องมใีบอนญุาต

3. ให้มกีารน�าสนิค้าเข้า-ส่งออก อย่างเสร ีในเขตพื้นที่นคร

แม่สอดกบัสาธารณรฐัแห่งสหภาพพม่า โดยไม่ต้องมกีาร

ตรวจสนิค้าและไม่มกีารเกบ็ภาษ ีทั้งนี้ให้มกีารตรวจเฉพาะ

สนิค้าต้องห้ามเท่านั้น เนื่องจากในปี ค.ศ. 2015 ประเทศไทย

จะเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกจิอาเซยีน ASEAN Economic

Community (AEC) ซึ่งประเทศต่างๆ ในอาเซยีนจะเป็นเขตการ

ค้าเสรอีาเซยีน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) และไม่มี

การเกบ็ภาษสีนิค้าน�าเข้า-ส่งออก

4. ให้แรงงานพม่าเปิดบญัชธีนาคารในประเทศไทยอย่างเสรี

5. ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องควรมกีารปรบัตวัอย่างเร่งด่วน เพื่อ

รองรบั AEC เนื่องจากประเทศไทยมเีวลาก่อนเข้าเป็น AEC

เพยีง 5 ปีเท่านั้น

6. เมื่อสามารถจดัตั้งนครแม่สอดแล้ว อาจมกีารขยายเป็นเขต

เศรษฐกจิพเิศษเพื่อการลงทนุเป็น 3-5 อ�าเภอในจงัหวดัตาก

และควรมกีารขยายผลกบั อปท. อื่นๆ ที่มศีกัยภาพด้านต่างๆ

ด้วย

ซึ่งตรงนี้เองที่ท�าให้แนวคดิการจดัตั้งเขตเศรษฐกจิพเิศษ

แม่สอดเริ่มมเีส้นทางแนวคดิที่เป็นลกัษณะคู่ขนานมากขึ้นเรื่อยๆ

เนื่องจากนกัการเมอืงสายพรรคประชาธปิัตย์และภาคธรุกจิบาง

ส่วนมองว่า การท�าพื้นที่เขตเศรษฐกจิควรจดัตั้งองค์กรการบรหิาร

เขตเศรษฐกจิขึ้นมาดูแลโดยเฉพาะ เนื่องจากเป็นเรื่องใหญ่เกนิ

กว่าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะดูแลได้

พวกเขามองว่า ควรจดัท�าเขตเศรษฐกจิพเิศษคล้ายโมเดล

ของจนีสมยัเติ้งเสี่ยวผงิ ที่เริ่มก�าหนดเขตพเิศษในมณฑลกวางตุ้ง

คอื เสิ่นเซนิเจิ้น ซวัเถา และจูไห่ โดยรฐัเป็นผู้เข้าลงทนุและดูแล

โดยตรงในช่วงแรกเริ่ม ต่อมาภายหลงัจงึตั้งเป็นเขตปกครองพเิศษ

นอกจากนี้พวกเขายงัมองว่าแนวคดิดงักล่าว เป็นการคดิแบบ

ไม่มองอนาคตข้างหน้าเพราะมองเรื่องการลงทนุและแรงงานเป็น

หลกั เท่านั้น แต่ไม่ได้มองว่าตรงนี้จะเป็นจดุยทุธศาสตร์ที่ต้องท�า

มากกว่าการมาตั้งนคิมอตุสาหกรรม

นายบรรพต ก่อเกยีรตเิจรญิ ที่ปรกึษาหอการค้าจงัหวดัตาก

ได้ให้สมัภาษณ์กบัประชาธรรมกล่าวว่า เรามองเขตเศรษฐกจิแค่

การเป็นนคิมอตุสาหกรรมที่ให้สทิธพิเิศษเฉพาะแรงงานราคาถูก

หรอืเขตภาษใีนการลงทนุภาษตี�่าอย่างเดยีวไม่ได้ เรื่องการลดภาษี

เงนิได้ให้นกัลงทนุมาลงทนุเป็นเรื่องเลก็น้อยมาก เราต้องมองคู่

ไปกบัการเป็นพื้นที่ที่ได้เปรยีบทางยทุธศาสตร์ ที่จะเชื่อมต่อไปยงั

พม่า ท�าให้นกัลงทนุเหน็ว่าการมาลงทนุในพื้นที่แห่งนี้จะส่งออกไป

ประเทศต่างๆ ได้สะดวกและรวดเรว็มากกว่าที่อื่นๆ ท�าให้ประหยดั

ต้นทนุ จากนั้นรฐับาลจงึควรเริ่มลงทนุจากการพฒันาระบบโลจสิ

ตกิที่ใหญ่และเอื้ออ�านวยต่อการขนส่งสนิค้า

Page 44: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 42B ECO M IN G / 42

“หากมองแค่การเป็นนคิมอตุสาหกรรมต้องเสนอรูปแบบให้

ชดัเจน เพราะปัจจยัด้านแรงงานเปลี่ยน เนื่องจากการขึ้นค่าแรง

สามร้อยทั่วประเทศ ซึ่งนกัลงทนุไม่จ�าเป็นต้องมาชายแดน กจ็่าย

ค่าแรงเท่ากนั เขาคงจะเลอืกลงทนุที่อื่นมากกว่า ดงันั้นต้องไป

เสรมิเรื่องปัจจยัอื่นๆ ไม่เช่นนั้น พื้นที่กไ็ม่เกดิประโยชน์ นกัลงทนุ

ไม่มา”

ที่กล่าวมาจะเหน็ได้ว่า ภาคธรุกจิบางส่วนมองเขตเศรษฐกจิ

พเิศษในมมุที่ต่างจากแนวคดิตั้งต้น และรฐัส่วนกลางควรเป็นตวั

หลกัในการลงทนุ เพราะระบบโลจสิตกิที่ใหญ่ย่อมเกนิศกัยภาพ

ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ความแตกต่างด้านแนวคดินี้เอง

ที่มผีลต่อการด�าเนนิการของรฐับาลชดุต่างๆ ในสมยัหลงัปี 2550

เป็นต้นมา

ในปี 2551 ส�านกังานจงัหวดัตากและเทศบาลเมอืงแม่สอดใน

ขณะนั้น ได้ท�าหนงัสอืเสนอต่อรฐับาลนายสมชาย วงศ์สวสัดิ์ ให้

น�ากลบัมาพจิารณาทบทวนเพื่อจดัตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

รูปแบบพเิศษนคร แม่สอด โดยผ่านไปยงักรมส่งเสรมิการปกครอง

ท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทย แต่รฐับาลได้หมดวาระลงเสยีก่อน

ต่อมาในสมยัรฐับาลอภสิทิธิ์ เวชชาชวีะ ได้ด�าเนนิการเขต

เศรษฐกจิพเิศษพื้นที่แม่สอดในแนวทางที่แตกต่างจากพรรคเพื่อ

ไทยอย่างชดัเจน ซึ่งจะสงัเกตได้จากการด�าเนนิการในมตริฐัมนตรี

ที่สอดคล้องกบัแนวทางที่หอการค้าจงัหวดัเสนอ มากกว่าจะเดนิ

เรื่องตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพเิศษนครแม่สอด

โดยในวนัที่ 6 ตลุาคม 2552 มมีตคิรม.อนมุตัหิลกัการ

ก่อสร้างสะพานมติรภาพไทย-พม่า ข้ามแม่น�้าเมย แห่งที่ 2 พร้อม

กบักนัพื้นที่ป่า เพื่อก่อสร้างศูนย์บรกิารเบด็เสรจ็และคลงัสนิค้า

โดยมอบหมายให้กรมทางหลวงเร่งรดั ส�ารวจและออกแบบสะพาน

พร้อมทั้งหาพื้นที่จดุก่อสร้างสะพานต่อไป

19 ตลุาคม 2553 มมีต ิครม.อนมุตัหิลกัการแนวทางจดัตั้ง

เขตเศรษฐกจิพเิศษแม่สอด พร้อมทั้งการจดัตั้งคณะกรรมการเขต

เศรษฐกจิพเิศษแม่สอด เหน็ชอบการก่อสร้างสะพานมติรภาพไทย

พม่าแห่งที่ 2 เพื่อขบัเคลื่อนการพฒันาเขตเศรษฐกจิพเิศษแม่สอด

22 มนีาคม 2554 มมีตคิรม. อนมุตัใิห้กระทรวงพาณชิย์ โดย

กรมพฒันาธรุกจิการค้า ใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจ�าปี

2554 งบกลาง รายการเงนิส�ารองจ่ายเพื่อกรณฉีกุเฉนิหรอืจ�าเป็น

จ�านวน 14.044 ล้านบาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการด�าเนนิการ

โครงการจดั จ้างออกแบบการจดัตั้งเขตเศรษฐกจิพเิศษแม่สอด

26 เมษายน 2554 มมีต ิครม. เหน็ชอบให้ใช้พื้นที่ป่าไม้ถาวร

(ป่ามต ิครม.) จ�านวน 5,603 ไร่ ระหว่างต�าบลแม่ปะ และต�าบล

ท่าสายลวด อ�าเภอแม่สอด จงัหวดัตาก เพื่อจดัตั้งเขตเศรษฐกจิ

พเิศษแม่สอด ในระหว่างด�าเนนิการออกกฎหมายว่าด้วยการจดั

ตั้งองค์การบรหิารเขตเศรษฐกจิพเิศษแม่สอด ของคณะกรรมการ

Page 45: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 43B ECO M IN G / 43

พฒันาเขตเศรษฐกจิพเิศษแม่สอด (จะสงัเกตว่าองค์การบรหิารเขต

เศรษฐกจิพเิศษเป็นคนละองค์กรกบั อปท.)

30 พฤษภาคม 2554 มกีารประชมุก�าหนดจดุก่อสร้างสะพาน

มติรภาพไทย-พม่าแห่งที่ 2 เป็นการประชมุร่วมระหว่างกรม

ทางหลวง และผู้แทนรฐับาลสาธารณรฐัแห่งสหภาพเมยีนมาร์ ลง

นามบนัทกึข้อตกลงก�าหนดจดุก่อสร้างสะพานมติรภาพไทย-พม่า

แห่งที่ 2 ณ วฒันาวลิเลจ รสีอร์ท อ�าเภอแม่สอด จงัหวดัตาก

อย่างไรกต็ามเขตเศรษฐกจิพเิศษตามแนวทางของประ

ชาธปิปัตย์กค็บืหน้ามาได้ เพยีงเท่านี้ เพราะหลงัจากนั้นรฐับาล

อภสิทิธิ์ แพ้การเลอืกตั้ง รฐับาลของยิ่งลกัษณ์ ชนิวตัรเข้ามา

บรหิารประเทศ แต่กไ็ม่ได้ด�าเนนิการต่อตามนี้ แต่เลอืกที่จะ

ดนัองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพเิศษนครแม่สอด และ

ปรบัปรงุโครงสร้างพื้นฐานเดมิ มากกว่าจะสร้างใหม่ตามที่ภาค

ธรุกจิเสนอหรอืต่อยอดจากมตคิณะรฐัมนตรชีดุที่แล้ว

ดงัจะเหน็ได้จากในวนัที่ 20 มกราคม 2556 นายกรฐัมนตร ี

นางสาวยิ่งลกัษณ์ ชนิวตัร พร้อมคณะได้ลงพื้นที่ตรวจราชการ

อ�าเภอแม่สอด มนีโยบาย “ให้พฒันาปรบัปรงุสิ่งที่มอียู่คู่ขนานกบั

การพฒันาสิ่งใหม่” และได้มอบหมายให้รฐัมนตรวี่าการกระทรวง

มหาดไทย เป็นผู้รบัผดิชอบตดิตามโครงการพฒันาพื้นที่อ�าเภอ

แม่สอดที่ต้องเร่งด�าเนนิการ เพื่อรองรบัการจดัตั้งเขตพฒันา

เศรษฐกจิพเิศษแม่สอด ท้องถิ่นรูปแบบพเิศษ “นครแม่สอด” และ

การน�าเข้าสู่ประชาคมอาเซยีนและร่วมประชมุเพื่อรบัฟังความ

คดิเหน็ของหน่วยงานภาครฐั เอกชนและภาคประชาสงัคมใน

พื้นที่ และในที่ประชมุ มชียั ฤชพุนัธุ์ ได้กล่าวไว้อย่างชดัเจนว่า

ได้มกีารศกึษาร่าง พ.ร.บ. ระเบยีบบรหิารราชการนครแม่สอด

พ.ศ. …. และคณะกรรมการกฤษฎกีา คณะที่ 1 ได้พจิารณาตรวจ

ร่างและเหน็ชอบร่าง พ.ร.บ.ฯ แล้ว ถ้านครแม่สอดมคีวามพร้อม

กส็ามารถจดัตั้งเป็นเขตเศรษฐกจิพเิศษในรูปแบบของ องค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ได้ทนัท ีแต่ไม่ใช่เขตเศรษฐกจิพเิศษที่

ท�ากนัในประเทศจนี และหาก สศช. เหน็ว่า จะด�าเนนิการเรื่องการ

จดัตั้งเขตเศรษฐกจิพเิศษโดยการออกระเบยีบส�านกันายกรฐัมนตร ี

กใ็ห้ด�าเนนิการผลกัดนัให้นครแม่สอดจดัตั้งเป็น อปท. รูปแบบ

พเิศษ เพราะในร่างกฎหมายดงักล่าวได้เขยีนให้นครแม่สอดมี

อ�านาจหน้าที่ที่จ�าเป็น เกี่ยวกบัการค้าชายแดนเพิ่มมากขึ้นอยู่แล้ว

เมื่อมคีวามพร้อมและได้รบัความยนิยอมจากส่วนราชการเจ้าของ

อ�านาจ รวมทั้งได้รบัความเหน็ชอบจาก ครม. กจ็ะมอี�านาจที่

จ�าเป็นเพิ่มมากขึ้นและลดข้อจ�ากดัลง

ต่อมาวนัที่ 21 มกราคม 2557 นางสาวยิ่งลกัษณ์ ชนิวตัร

นายกรฐัมนตร ีได้ลงนามในระเบยีบส�านกันายกรฐัมนตรวี่าด้วย

เขตพฒันาเศรษฐกจิพเิศษ พ.ศ. 2556 และลงประกาศในราชกจิจา

นเุบกษา เล่มที่ 130 ตอนพเิศษ 87 ลงวนัที่ 24 กรกฎาคม 2556

และนี่คอืความคบืหน้าล่าสดุของการจดัตั้งเขตเศรษฐกจิ

พเิศษแม่สอด ซึ่งจะเหน็ว่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาแนวคดิเรื่องการ

ท�าเศรษฐกจิพเิศษใช่ว่าจะมเีอกภาพ แต่มลีกัษณะของความขดั

แย้งบางประการอยู่ และคงเป็นโจทย์ที่ท้าทายของ คสช.ไม่น้อย

จุดยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจของแม่สอดในมุมมองหอการค้า

จากเส้นทางความพยายามท�าให้พื้นที่แม่สอดเป็นเขต

เศรษฐกจิพเิศษ ซึ่งต่างฝ่ายต่างมขี้อเสนอของตน หากเราลอง

พจิารณาจดุยทุธศาสตร์ทางเศรษฐกจิของแม่สอดผ่านมมุมอง

หอการค้าในระดบัลกึลงไป อาจจะเหน็ภาพแทนของแนวคดิของ

กลุ่มธรุกจิกลุ่มหนึ่ง ที่มองเชื่อมโยงในระดบัภูมภิาคได้ ซึ่งในที่ที่นี้

ไม่ได้ให้น�้าหนกัว่าแนวคดิของหอการค้าเป็นแนวคดิที่ถูกต้องและ

ควรเดนิตาม หากแต่เหน็ว่ามมุมองของหอการค้านั้นจะท�าให้เหน็

ภาพกว้างในระดบัภูมภิาค ซึ่งหน่วยงานอื่นยงัไม่ได้พูดถงึ

นายบรรพต ก่อเกยีรตเิจรญิ ที่ปรกึษาหอการค้าจงัหวดัตาก

กล่าวว่า พื้นที่แม่สอดมปีัจจยัแวดล้อมที่เป็นจดุแขง็หลายประการ

หนึ่ง พื้นที่ตดิพม่าเป็นประตูทางด้านทศิตะวนัตกของแนว East

west พม่าจะเชื่อมออกสู่อาเซยีน เส้นทางบกที่สะดวกที่สดุกต็้อง

เป็น แม่สอด เมยีวด ีสอง เป็นเส้นทางที่พม่าได้ปรบัปรงุโครงสร้าง

พื้นฐานไว้รองรบัเพื่อเชื่อมโยงท่าเรอืย่างกุ้ง และเส้นทางการค้าที่

จะต่อไปยงัอนิเดยี กบัอาเซยีนตะวนัออก สำม สทิธพิเิศษ GSP ที่

พม่าก�าลงัจะได้จากสหภาพยโุรป สี่ สามารถพฒันาพื้นที่ได้ทนัท ี

ไม่ต้องกงัวลเรื่องสิ่งแวดล้อมมากเนื่องจากมงีานวจิยัศกึษาหลาย

ชิ้น รองรบัว่า เป็นพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม

“ปัจจบุนัถ้าเราส่งสนิค้าจากท่าเรอืกรงุเทพไปยงัท่าเรอืย่างกุ้ง

เราต้องใช้เวลาอย่างเรว็ 20-21 วนั แต่ถ้ามาทางแม่สอด สนิค้า

จากกรงุเทพผ่านแม่สอด ไปเมยีวด ีถงึย่างกุ้งใช้เวลาไม่เกนิ 4 วนั

แล้วจดุเปลี่ยนที่ส�าคญัหลงัจากนี้ ตั้งแต่ปี 58-59 คอื ถนนระหว่าง

เมยีวดไีปเมอืงกกุกกิ(กอกาเรก)ที่บรษิทัซนิแส่ไปท�าให้ จะเป็นจดุ

เปลี่ยนที่ส�าคญัที่สดุ เปลี่ยนยิ่งกว่าเออซี ีเพราะจากนี้ไปพอถนน

เสรจ็รถบรรทกุสนิค้าจะวิ่งได้ทกุวนั (จากเดมิวิ่งได้วนัเว้นวนั เพราะ

ถนนบนเขาบรรทดัวิ่งได้เลนเดยีว) ทกุวนันี้เรามตีวัเลขการค้าที่ห้า

หมื่นล้านบาท ถ้าถนนเสรจ็สนิค้าวิ่งได้ทกุวนั เชื่อว่ามูลค่าการค้า

จะเพิ่มขึ้น เพราะรถส่งสนิค้าที่เป็นตู้คอนเทรนเนอร์กส็ามารถวิ่ง

ไปยงัพม่าได้ การขนส่งทางบกที่ต้องเข้าพม่าต้องมาผ่านเส้นทาง

Page 46: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 44B ECO M IN G / 44

นี้ เพราะฉะนั้นเรื่องเขตเศรษฐกจิพเิศษมนัต้องรวมไปถงึการค้า

ชายแดน รวมถงึระบบ โลจสิตกิส์ที่จะเอื้อประโยชน์ต่อการค้าขาย

ระหว่างไทยพม่า”

“ในอนาคตจากนี้ไป พม่ากจ็ะได้สทิธพิเิศษที่เรยีกว่า GSP

จากยโุรป อเมรกิา ญี่ปุ่นในอนาคต ซึ่งตรงนี้เป็นข้อได้เปรยีบใน

เชงิของการลงทนุ และถ้ารฐับาลไปเจรจากบัพม่าและท�าเป็นพื้นที่

ร่วมกนั เราสามารถใช้ประโยชน์จากเรื่องของแรงงาน GSP โดย

ใช้ระบบ โลจสิตกิส์ของเราที่สามารถเชื่อมกบัประเทศต่างๆ ใน

อาเซยีน และที่ส�าคญัเป็นพื้นที่เดยีวที่เชื่อมต่อกบัพื้นที่พม่าที่มี

ระบบโครงสร้าง พื้นฐานที่พร้อมที่สดุ”

“ส่วนเรื่องพื้นที่ ตรงนี้ค่อนข้างพร้อม มมีตคิณะรฐัมนตรทีี่

อนญุาตให้เอาป่าเสื่อมโทรมมาใช้ประโยชน์ รฐัลงทนุสิ่งแวดล้อม

ให้ คณุเข้ามาในพื้นที่นี้ เข้ามาใช้พื้นที่ได้เลย ไม่ต้องลงทนุสิ่ง

แวดล้อม ไม่ต้องท�าอไีอเอ เพราะรฐัลงทนุให้หมด”

มุมมองเปรียบเทียบ: จุดยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจ ความเคลื่อนไหวของแรงงาน และความลักลั่นบนฐานคิดความมั่นคงของ คสช.

หากพจิารณาถงึมมุมองต่างๆ ต่อพื้นที่แม่สอดในการเป็นเขต

เศรษฐกจิ จะพบว่ามคีวามแตกต่างกนัพอสมควร ซึ่งแต่ละมมุมอง

นั้นมองผ่านด้วยสายตาและมโนทศัน์ของจดุที่ตวัเองยนื และบาง

ประเดน็แนวคดิค่อนข้างที่จะขดัแย้งและสวนทางกนั และยิ่ง คสช.

เข้ามาบรหิารประเทศ ประเดน็เรื่องความมั่นคงได้เข้ามาเป็นส่วน

หนึ่งของการพจิารณาพื้นที่นี้ อย่างมนียัส�าคญั

แต่อย่างไรกต็าม หากเรามองควบคู่ไปกบัข้อเทจ็จรงิและ

ความเคลื่อนไหวที่เกดิในพื้นที่ดงัที่จะกล่าวต่อไป หลายประเดน็

พบว่า มมุมองเฉพาะของภาคธรุกจิเอกชน ภาครฐั หน่วยงาน

ความมั่นคง นั้นไม่เพยีงพอที่จะท�าความเข้าใจและน�ามาซึ่งการ

ออกนโยบายที่เป็นประโยชน์ต่อทกุฝ่าย และบางอย่างคลาด

เคลื่อนจากปรากฎการณ์ที่เกดิขึ้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้มกัจะน�ามาซึ่ง

ปัญหาเพราะเป็นการมองจากบนลงล่าง

ประเดน็เรื่องการเป็นจดุยทุธศาสตร์ทางเศรษฐกจิ โดย

อธบิายถงึปัจจยัด้านความเคลื่อนไหวของแรงงาน ซึ่งทางกลุ่ม

ธรุกจิการค้ามองว่า การขึ้นค่าแรง 300 บาท เป็นปัจจยัส�าคญัที่

ท�าให้แรงงานข้ามชาตแิม่สอดย้ายไปท�างานที่อื่น เนื่องจากค่าแรง

เท่ากนัทั่วประเทศ ดงันั้นการเป็นเขตเศรษฐกจิต้องข้ามพ้นเรื่อง

การก�าหนดพื้นที่ให้เป็นสถานที่ ค่าแรงต�่า และมองให้กว้างกว่า

เดมิ

ขณะที่กลุ่มธรุกจิอตุสาหกรรมและข้าราชการมองว่า ต้อง

ท�าให้พื้นที่นี้มสีทิธพิเิศษด้านภาษ ีและค่าแรงต�่ากว่าที่อื่น ด้าน

หนึ่งเพื่อก�าหนดโซนควบคมุแรงงานข้ามชาตงิ่ายต่อการจดัการ

ด้านหนึ่งเพื่อจูงใจให้แรงงานไม่ต้องเคลื่อนย้าย

ด้านหน่วยงานความมั่นคงอย่าง คสช. มองว่า การเคลื่อน

ย้ายของแรงงานข้ามชาตโิดยเฉพาะพื้นที่ เป็นเหตใุห้ “การกระท�า

ผดิกฎหมาย อาชญากรรม ยาเสพตดิ ถ้ากนัคนเหล่านี้ไว้ได้ตาม

แนวชายแดน ให้เขาสามารถที่จะมรีายได้ของเขาเช้าไปเยน็กลบัได้

จากเพื่อนบ้าน …กจ็ะลดปัญหาลงไปได้มาก”

แผนที่ และถนนเมอืงกกุกิ

เส้นทางตดัใหม่ก่อน-หลงั

Page 47: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 45B ECO M IN G / 45

ทั้งสามแนวคดิมองการเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาตเิพยีงแค่

ปัจจยัด้านค่าแรง และเรื่องของความมั่นคง ทั้งที่จรงิแล้วปัจจยั

เรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงานนั้นค่อนข้างหลากหลาย และไม่ได้ขึ้น

อยู่กบัฝ่ายนโยบายเพยีงอย่างเดยีว ยงัมปีัจจยัอื่นๆ อกีมากมาย

ในขณะที่งานวทิยานพินธ์มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่ของนาย

ภาสกร โกศยักานนท์ ซึ่งท�าการศกึษาวจิยั เรื่อง “แรงงานอพยพ

ภาคอตุสาหกรรมในบรเิวณชายแดนไทยพม่า: กรณศีกึษาแรงงาน

สญัชาตพิม่าในอ.แม่สอด จ.ตาก” ให้ภาพเกี่ยวกบัสาเหตแุละ

ปัจจยัการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานของแรงงานข้ามชาตไิว้ อย่างน่า

สนใจ เขาพบว่า ปัจจยัการเคลื่อนย้ายของแรงงานข้ามชาตมิตีั้งแต่

ปัจจยัแรงผลกัในภาพใหญ่ที่ เป็นเรื่องของการเมอืง เศรษฐกจิและ

สงัคมในประเทศพม่าและการด�าเนนินโยบายของไทย ไปจนถงึ

เรื่องปัจจยัภาพเลก็ที่เป็นเรื่องของการตดัสนิส่วนตวั เช่น เส้น

ทางการอพยพ เครอืข่ายท้องถิ่น แหล่งข้อมูลข่าวสาร

ได้สรปุภาพรวมของย้ายถิ่นของแรงงานข้ามชาตวิ่า สาเหตุ

ของการเคลื่อนย้ายของแรงงานอพยพมคีวามเกี่ยวข้องกบั

เหตกุารณ์ทาง ประวตัศิาสตร์ การเมอืง การปกครองและ

เศรษฐกจิที่เกดิขึ้นในประเทศ และผลกระทบที่มาจากนอกประเทศ

“แรงงานข้ามชาตใิห้เหตผุลเกี่ยวกบัเรื่องเศรษฐกจิในการผลกั

ดนัให้ออกมามากที่สดุ ได้แก่ โอกาสในการท�างานที่รายได้ดกีว่า

รายได้ต�่าไม่เพยีงพอกบัค่าใช้จ่าย และขาดแคลนที่ดนิท�ากนิ แม้

ปัจจยัเศรษฐกจิจะมอีทิธพิลมากที่สดุ แต่ปัจจยัอื่นกค็วรได้รบัการ

พจิารณา ซึ่งเป็นปัจจยัที่เกี่ยวข้องกบัปัจจยัทางด้านการเมอืงการ

ปกครอง คอื การปราบปรามชนกลุ่มน้อย ความไม่สงบตามแนว

ชายแดน ทหารพม่ารดีไถ การถูกขบัไล่จากทหารพม่า และการถูก

เกณฑ์ไปเป็นแรงงาน”

นอกจากนี้ยงัมปีัจจยัดงึดูดจากประเทศต้นทาง โดยแรงงาน

อพยพสญัชาตพิม่ากล่าวถงึสภาพเศรษฐกจิแม่สอดว่า มเีศรษฐกจิ

ที่ด ีค้าขายสะดวก มทีี่ขายของ และสามารถหารายได้มากกว่า

การท�างานในประเทศพม่า โดยเหตผุลรองลงมาได้แก่ ความ

สงบในพื้นที่ และมคีวามปลอดภยั แหล่งจ้างงานมคีวามต้อง

งานแรงงานจ�านวนมาก ความพอใจในสถานประกอบการที่เอื้อ

อ�านวยความสะดวกในสิ่งต่างๆ เช่นมทีี่พกั หาแหล่งงานได้สะดวก

ลกัษณะงานไม่ต้องอาศยัฝีมอื

“นอกจากเหตผุลดงักล่าวที่เป็นปัจจยัผลกัดนั และปัจจยั

ดงึดูดแรงงานอพยพชาวพม่าแล้ว ครอบครวั เพื่อน และญาต ิยงั

มสี่วนช่วยสนบัสนนุให้เข้ามาท�างานอกีด้วย โดยผ่านการให้ข้อมูล

ข่าวสาร”

งานศกึษาที่ยกมาเป็นกรณตีวัอย่างท�าให้เหน็ว่าความเข้าใจ

ในเรื่องของการย้ายถิ่นของแรงงานข้ามชาตใินพื้นที่แม่สอดของ

แต่ละหน่วยค่อนข้างที่จะฉาบฉวย ซึ่งการมองแบบนี้จะท�าให้

ละเลยมติดิ้านอื่นๆ ไปเป็นจ�านวนมาก กล่าวคอื ทนัททีี่มองว่า

แรงงานข้ามชาตเิป็นสิ่งที่เราควบคมุได้ด้วยปัจจยัที่เราก�าหนด

เช่นเรื่องค่าแรง นโยบายทางเศรษฐกจิ ฯลฯ เรากจ็ะวางนโยบาย

ก�าหนดจดุพื้นที่เศรษฐกจิ ให้ตรงนี้เป็นนคิมอตุสาหกรรมแรงงาน

ราคาถูก เป็นพื้นที่ควบคมุการเคลื่อนย้ายของแรงงานข้ามชาต ิ

ฯลฯ โดยละเลยการค�านงึถงึมติอิื่นจนท�าให้เกดิปัญหาต่างๆ ตาม

มา อาท ิขาดความยดืหยุ่นในการเตรยีมพร้อมหากพม่ามคีวาม

เปลี่ยนแปลงด้าน การเมอืง เศรษฐกจิและสงัคม เช่น วนัหนึ่งพม่า

ประกาศขึ้นค่าแรงเท่ากบัไทย หรอืมสีวสัดกิารแรงงานที่ดขีึ้น กจ็ะ

กลายเป็นปัจจยัที่ส่งผลต่อการตดัสนิใจในการท�างานของแรงงาน

ข้ามชาต ิซึ่งอาจท�าให้พื้นที่บรเิวณนี้ไม่คุ้มค่าต่อการลงทนุกเ็ป็นได้

หรอืหากจ�ากดัเขตหรอืบบีเรื่องค่าแรงมากกอ็าจจะกลายเป็นปัจจยั

ผลกัให้แรงงาน เคลื่อนย้ายออกไปที่อื่น หรอืหากรฐัไทยไม่ประกนั

ถงึหลกัสทิธแิรงงาน และหลกัสทิธมินษุยชนในการจ้างงานกอ็าจ

จะน�ามาซึ่งการย้ายออก จากการวจิยัระบชุดัว่าสาเหตขุองการเข้า

มาในพื้นที่แม่สอดเพราะโรงงาน เอื้อให้มพีื้นที่ปลอดภยั มบี้านพกั

อาศยั มชีมุชนให้เขาสามารถตดิตามข่าวสารและรู้สกึอุ่นใจ

และที่น่าเป็นห่วงมากๆ คอื การใช้แนวคดิเรื่องความมั่นคง

เข้ามาผสมโรงกบัการเป็นเขตเศรษฐกจิพเิศษ ซึ่งจากที่ยกมา

ตั้งแต่ต้น จะเหน็ว่าแนวคดิไม่ได้เสนออะไรใหม่ที่แตกต่างไปจาก

เดมิเลย เพยีงแต่พูดถงึแนวคดิที่เคยมแีละเอาเรื่องความมั่นคงมา

เสรมิ ซึ่งนอกจากจะขดัแย้งกนัเองแล้ว ยงัขดัแย้งกบัข้อเทจ็จรงิ

ในพื้นที่ เป็นต้นว่า เมื่อคสช.พูดถงึเขตเศรษฐกจิพเิศษ พวกเขา

คาดหวงัให้เป็นพื้นที่ที่จะดงึดูดให้นกัลงทนุเข้ามาลงทนุ เกดิความ

เตบิโตของมูลค่าทางเศรษฐกจิ เพราะเป็นพื้นที่ที่ให้สทิธทิางด้าน

ภาษแีละการลงทนุ แต่ในขณะเดยีวกนัพวกเขากเ็ชื่อว่าการจดัเขต

เศรษฐกจิเป็นการจดัโซนให้หน่วยงานความมั่นคงสามารถที่จะ

จ�ากดัให้แรงงานข้ามชาตไิม่เคลื่อนย้ายเข้ามา พื้นที่ด้านใน อนัจะ

เป็นต้นเหตขุองปัญหาอาชญากรรมและความวุ่นวายต่างๆ ในเขต

เมอืง รวมถงึจะสามารถป้องกนัการสวมสทิธสินิค้าเกษตรที่ท�าให้

เกษตรกรเสยีประโยชน์ ฯลฯ

ล�าพงัแค่ประเดน็เรื่อง การจ�ากดัการเคลื่อนย้ายของแรงงาน

กค็่อนข้างสบัสน เพราะหนึ่งไปคดิคล้ายกบัภาคธรุกจิว่า แรงงาน

เป็นปัจจยัที่ควบคมุได้ เพยีงแค่จ�ากดัอยู่ในพื้นที่และให้ค่าแรง

ที่เหมาะสม ทั้งที่ความจรงิแล้วตวัแรงงานเป็นปัจจยัที่มพีลวตัร

เปลี่ยนแปลงตามบรบิทและสภาพของเครอืข่ายทางสงัคมดงัที่งาน

อ่ำนต่อหน้ำ 46

Page 48: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 46B ECO M IN G / 46

ศกึษาได้สรปุออกมา

ในขณะที่คสช.ต้องการให้แรงงานข้ามชาตอิยู่ในพื้นที่

ชายแดน แต่จากประสบการณ์ที่เคยเกดิขึ้นในพื้นที่ต่างๆ นโยบาย

ความมั่นคงมกัจะไปบั่นทอนปัจจยัที่ดงึดูดแรงงานข้ามชาตใิห้อยู่

ใน พื้นที่ อาท ิการไม่ให้มกีารรวมกลุ่ม จ�ากดัสทิธใินการสื่อสารยิ่ง

ตอนนี้อยู่ภายใต้กฎอยัการศกึวทิยชุมุชนชาตพินัธ์ ที่เคยเป็นแหล่ง

กระจายข่าวสารต้องปิดอยู่

สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมอืในการสร้างชมุชนเครอืข่ายของ

แรงงานข้ามชาต ิถงึแม้ปัจจยัเหล่านี้ ไม่ใช่ปัจจยัต้นๆ แต่งาน

ศกึษากย็นืยนัว่ามคีวามส�าคญัที่ดงึดูดให้แรงงานข้ามชาตเิข้ามา

ท�างาน นอกจากนี้การไม่ปล่อยให้มสีทิธสิื่อสารกอ็าจจะท�าให้เป็น

ปัญหามากขึ้นอกี เพราะเขาไม่สามารถกระจายข้อมูลข่าวสารที่

ถูกต้องได้ กรณแีรงงานเขมรหนกีลบัประเทศเป็นตวัอย่างได้เป็น

อย่างดี

ประเดน็เรื่องความเข้าใจการเคลื่อนย้ายของแรงงานข้ามชาติ

กบัการเป็นเขตเศรษฐกจิพเิศษ เรากจ็ะเหน็ความสลบัซบัซ้อน และ

ความขดัแย้งทางแนวคดิของฝ่ายที่เป็นคนก�าหนดนโยบายที่อยู่

ด้านบน ที่ส�าคญัแนวความคดิที่น�าเสนอนั้นเป็นเพยีงแนวคดิของผู้

มอี�านาจทางการเมอืง และเศรษฐกจิที่จะก�าหนดพื้นที่นี้เท่านั้น ซึ่ง

หากมองให้กว้างออกไป จะพบว่ายงัมแีนวคดิอื่นๆ ที่เราไม่เหน็อกี

หลายด้าน หลายมมุ ไม่ว่าจะเป็นความคดิของ “คนแม่สอด” นกั

กจิกรรมและนกัเคลื่อนไหวด้านสทิธมินษุยชน หรอืแม้แต่ข้อมูล

พื้นที่ที่จะถูกก�าหนดเป็นเขตเศรษฐกจิพเิศษ ว่าเป็นอย่างไร มี

ความเหน็ที่ตรงกนัหรอืขดัแย้งกบัแนวคดิข้างต้นอย่างไรบ้าง

ถ้าไม่ท�าความเข้าใจถงึแนวคดิต่างๆ และข้อเทจ็จรงิในพื้นที่

ให้ดีๆ ยงัฝืนดงึดนัท�าเขตเศรษฐกจิพเิศษผสมปนเปไปกบัความ

มั่นคง ที่ผูกตดิกบัอดุมการณ์ชาตนิยิมอนัล้าสมยั โดยไม่มองให้

รอบด้าน แทนที่ก่อให้ก่อประโยชน์อนัเป็นรูปธรรมแก่ทกุฝ่าย กลบั

กลายเป็นจะน�าปัญหาอกีนานปัการมาให้จดัการไม่จบสิ้น

ASEAN Economics

ทางสองแพร่ง: การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนและสหภาพยุโรปที่แตกต่างกันปริวรรต กนิษฐะเสน

กระแสการเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือAECในปี2015ท�าให้เกิดค�าถามว่าอาเซียนเป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในรูปแบบเดียวกันกับสหภาพยุโรปหรือไม่ค�าตอบที่ชัดเจนคือ“ไม่”

หวัใจของการรวมกลุ่มเศรษฐกจิคอืการลดอปุสรรคต่อการท�า

กจิกรรมเศรษฐกจิข้ามชาต ิโดยมแีรงจูงใจทั้งจาก ปัจจยัเศรษฐกจิ

เช่น การเพิ่มประสทิธภิาพจากการประหยดัของการขยายขนาด

การผลติ และปัจจยัการเมอืง เช่น การเพิ่มอ�านาจในการต่อรองใน

ฐานะที่เป็นกลุ่มเศรษฐกจิ

การศกึษาเรื่องการรวมกลุ่มเศรษฐกจิเริ่มขึ้นในทศวรรษ 1950

เพื่อพยายามอธบิายการรวมกลุ่มที่เริ่มเกดิขึ้นในยโุรปในยคุนั้น

โดยมกีารจ�าแนกการรวมกลุ่มเป็นขั้นตอนที่มคีวามลกึขึ้นในมติิ

ต่างๆ เช่น ตลาดร่วม หรอืสหภาพการเงนิไปจนถงึการวมกลุ่มที่

สมบูรณ์ทั้งในด้านเศรษฐกจิและการเมอืง และการมุ่งไปสู่การรวม

กลุ่มที่ซบัซ้อนขึ้น โดยประเทศสมาชกิจ�าเป็นต้องสละอธปิไตยบาง

ส่วนให้กบัส่วนกลางมากขึ้น

หนทางของสหภาพยุโรป

การรวมกลุ่มในยโุรปเกดิขึ้นหลงัสงครามโลกครั้งที่สอง โดย

เหน็ว่ายโุรปจะรกัษาสนัตภิาพได้หากมกีารรวมกลุ่มกนัโดยใช้

เศรษฐกจิเป็นแรงผลกัดนั การรวมกลุ่มเริ่มต้นในปี 1951 ด้วย

ความร่วมมอืในการผลติถ่านหนิและเหลก็เพื่อไม่สามารถให้

ประเทศใดประเทศหนึ่งน�าไปใช้ส�าหรบัอตุสาหกรรมสงครามได้

ต่อมาได้ขยายการรวมกลุ่มไปยงัสาขาเศรษฐกจิอื่นโดยเริ่มจากการ

จดัตั้ง European Economic Community ในปี 1958 ซึ่งเป็นสหภาพ

ศลุกากร ที่มวีตัถปุระสงค์เพื่อยกเลกิภาษศีลุกากรระหว่างประเทศ

สมาชกิและใช้อตัราศลุกากรที่เท่ากนัส�าหรบัสนิค้าน�าเข้าจาก

ประเทศนอกสมาชกิ

Page 49: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 47

ASEAN Economics

ที่ส�าคญั ในยคุนั้น ยโุรปได้เริ่มใช้หลกั Four Fundamental

Freedoms ในการรวมกลุ่ม คอื การเคลื่อนย้ายสนิค้า บรกิาร

แรงงาน และ เงนิทนุที่เสร ีซึ่งคอืนยิามของตลาดร่วม (Common

Market) เมื่อท�าได้ส�าเรจ็ ยโุรปได้ท�าให้สมาชกิมกีฎเกณฑ์และ

นโยบายที่สอดคล้องกนัจงึถอืว่าเป็นสหภาพทางเศรษฐกจิ

(Economic Union) ในปี 1992และหลงัจากนั้นได้ก้าวต่อไปเป็น

สหภาพการเงนิยโุรปในปี 1999 ภายหลงัจากเตรยีมการด้านนี้มา

หลายสบิปี

การที่ยโุรปก้าวมาถงึจดุนี้ได้จ�าเป็นจะต้องมอบอ�านาจ

อธปิไตยในเรื่องต่างๆ ให้แก่สถาบนักลางในการด�าเนนิการแทน

สถาบนัของประเทศสมาชกิ อาท ิEuropean Commission ในด้าน

บรหิาร European Parliament ในด้านนติบิญัญตั ิEuropean Court

of Justice ในด้านตลุาการ หรอื European Central Bank ในด้าน

นโยบายการเงนิ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนรูปแบบความร่วมมอืแบบให้

ประเทศสมาชกิตดัสนิใจ (หลกั intergovernmentalism) เป็นแบบ

การมอบอ�านาจการตดัสนิใจให้แก่องค์กรกลางต่างๆ ที่มอี�านาจ

เหนอืชาต ิ(หลกั supranationalism)

หนทางของอาเซียน

การก่อตั้งอาเซยีนในปี 1967 มแีรงผลกัดนัทางการเมอืงเช่น

เดยีวกบัยโุรป โดยมเีจตนารมณ์ที่จะเสรมิสร้างความร่วมมอืใน

ภูมภิาคเพื่อต่อต้านภยัทางการเมอืงในยคุนั้น แต่ไม่ได้เน้นด้าน

เศรษฐกจิเลยจนปัญหาทางการเมอืงคลี่คลาย การเริ่มรวมกลุ่ม

ทางเศรษฐกจิมขีึ้นอย่างจรงิจงัในปี 1993 จากการท�าความตกลง

เขตเสรกีารค้าอาเซยีน ซึ่งเป็นการลดอตัราศลุกากรภายในประเทศ

สมาชกิอาเซยีนเท่านั้น ไม่ใช่เป็นการก่อตั้งสหภาพศลุกากรเช่น

เดยีวกบัยโุรปในช่วงแรก ภายหลงัจากการเปิดเสรดี้านสนิค้า

อาเซยีนได้ท�าความตกลงด้านอื่นๆ เช่น บรกิาร การลงทนุ จนใน

ปี 2007 ผู้น�าอาเซยีนเหน็พ้องว่าควรจะรวบรวมงานต่างๆ ที่ได้ท�า

และตั้งเป้าให้เป็นประชาคมเศรษฐกจิอาเซยีน หรอื AEC ที่จะเป็น

“ตลาดเดยีวและฐานผลติร่วม” ในปี 2015

อย่างไรกต็าม แม้ว่าเป้าหมายของ AEC จะฟังดูคล้ายกบั

Common Market ที่เกดิขึ้นในยโุรป แต่ในความเป็นจรงิ AEC ยงั

ขาดคณุสมบตัหิลายประการที่จะเป็น Common Market ที่แท้จรงิ

ตามนยิามของทฤษฎกีารรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ นั่นคอื การเปิด

เสรดี้านการค้ายงัตดิเรื่องมาตรการที่ไม่ใช่ภาษอียู่ ส่วนด้านบรกิาร

และการลงทนุยงัไม่เปิดเสรมีากกว่าที่ให้ในกฎหมายท้องถิ่น ใน

ด้านแรงงานมเีพยีงการรบัรองคณุสมบตัทิางวชิาชพีเท่านั้น ส่วน

เงนิทนุเคลื่อนย้ายได้เปิดเสรตีามความพร้อมของแต่ละประเทศ ดงั

นั้น การรวมกลุ่มภายใต้ AEC จงึอยู่ในระดบัระหว่าง FTA และ

Common Market โดยเป็นลกัษณะเฉพาะ (sui generis)

ที่ส�าคญั ปัจจบุนัอาเซยีนยงัคงเน้นการยดึหลกั

intergovernmentalism โดยยงัไม่ให้อ�านาจอธปิไตยแก่สถาบนั

กลางในการตดัสนิใจในประเดน็ต่างๆ นอกจากนี้ อาเซยีนยงั

เน้นความยดืหยุ่นและหลกัการตดัสนิใจแบบฉนัทามต ิเนื่องจาก

สมาชกิอาเซยีนยงัมคีวามแตกต่างทางเศรษฐกจิมาก ด้วยเหตนุี้

เองในปัจจบุนั อาเซยีนจงึยงัไม่มเีป้าหมายที่จะรวมกลุ่มให้ลกึและ

ซบัซ้อนจนถงึการเป็นสหภาพการเงนิที่มสีกลุเงนิร่วมกนัดงัเช่น

สหภาพยโุรป

บทเรียนซึ่งกันและกัน

การที่อาเซยีนและยโุรปเลอืกเดนิคนละเส้นทางในการรวม

กลุ่มทางเศรษฐกจิมาจากปัจจยัที่แตกต่างกนั แต่ไม่ได้หมายความ

ว่าจะเรยีนรู้ซึ่งกนัและกนัไม่ได้ วกิฤตเิศรษฐกจิในยโุรปในช่วงที่

ผ่านมาส่วนหนึ่งเกดิขึ้นเพราะการรวมกลุ่มที่ไม่สมดลุ คอื การเน้น

ด้านการเงนิแต่ละเลยด้านการคลงั ท�าให้บางประเทศสามารถกู้

เงนิและใช้เงนิอย่างสรุุ่ยสรุ่าย ประเดน็นี้เป็นบทเรยีนที่ดสี�าหรบั

อาเซยีน คอื เราควรรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิแบบบูรณาการโดย

อ่ำนต่อหน้ำ 48

Page 50: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 48B ECO M IN G / 48

ASEAN Thesis

โอกาสของการศึกษาข้ามแดนของนักศึกษา ชาวเวียดนามระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ธนศักดิ์ โพธิ์ศรีคุณ

ความสมัพนัธ์ของประเทศต่างๆ ในลุ่มแม่น�้าโขง เริ่มเปลี่ยนท่าทจีากการเป็นศตัรูทางการเมอืง

สู่การเป็นมติรทางเศรษฐกจิมากขึ้นหลงัจากการสิ้นสดุของสงครามเยน็ในภูมภิาค ในช่วงทศวรรษ

1990s เมื่อการเมอืงนิ่งประเทศต่างๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของเศรษฐกจิ สงัคม และวฒันธรรมลุ่มน�้าโขง

ได้เริ่มมกีารเปิดประเทศเพื่อให้เกดิการแลกเปลี่ยนสนิค้า จนน�ามาสู่การพฒันาเป็นภูมภิาคภายใต้

แผนการ (The Greater Mekong Subregion: GMS) ของธนาคารพฒันาเอเชยี (ADB) จนน�าไปสู่การ

สร้างถนนเศรษฐกจิหลกัสองเส้นอนัได้แก่ โครงการระเบยีงเศรษฐกจิเหนอืใต้ (North-South Economic

Corridor) และโครงการระเบยีงเศรษฐกจิวนัออกตะวนัตก (East-West Economic Corridor) โครงการ

ถนนเศรษฐกจิทั้งสองเส้นได้ท�าให้เกดิการไหลเวยีนของสนิค้า ผู้คนและวฒันธรรมในภูมภิาค

พื้นฐานผู้เขยีนได้พบกบัความเปลี่ยนแปลงในช่วงที่ผู้เขยีนก�าลงัศกึษาอยู่ในระดบัอดุมศกึษา

ของมหาวทิยาลยัอบุลราชธาน ีมกีารก่อสร้างสะพานมติรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 2 จากมกุดาหารไปยงั

ครอบคลมุทกุเรื่องและไปด้วย

กนั เช่น การเปิดเสรภีาคการค้า

สนิค้านั้นก้าวหน้าไปมากแล้ว

แต่การเปิดเสรภีาคบรกิารยงั

ตดิขดัอยู่ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อ

การค้าในภูมภิาคได้ เนื่องจาก

ภาคบรกิารเป็นตวัขบัเคลื่อน

ส�าคญัของภาคการค้า อาท ิ

การขนส่ง

นอกจากนี้ ยโุรปย่อม

สามารถที่จะเรยีนรู้จาก

กระบวนการของอาเซยีนเช่นกนั

โดยเฉพาะเรื่องการเน้นความ

ยดืหยุ่นและการเคารพเสยีง

ของประเทศเลก็หรอืประเทศที่

มรีะดบัการพฒันาน้อยกว่า ซึ่ง

จะท�าให้ประชาชนของประเทศ

เลก็รู้สกึว่ามสี่วนร่วมในสหภาพ

ยโุรปมากขึ้น

ต่อจำกหน้ำ 47

Page 51: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 49B ECO M IN G / 49

จงัหวดัสะหวนันะเขตของลาวและเชื่อมไปยงัด่านลาวบ๋าว (Lao

Bao) เชื่อมไปยงัจงัหวดักว่างตร ิ(Quang Tri) ของประเทศเวยีดนาม

และเชื่อมไปยงัท่าเรอืในจงัหวดัดานงั (Da Nang) นอกจากเส้น

ทางการขนส่งสนิค้าไปยงัท่าเรอืแล้ว ด้านบนของจงัหวดัดานั

งยงัมเีมอืงหลวงโบราณ คอื เมอืงเหว๋ (Hue) ซึ่งเป็นแหล่งท่อง

เที่ยวทางประวตัศิาสตร์ที่นกัท่องเที่ยวมกัให้การเยี่ยมเยยีนศกึษา

ประวตัศิาสตร์ของเวยีดนาม เลอืกซื้อสนิค้า และชมิอาหารตาม

ร้านต่างๆ เป็นที่นยิมกนัในหมู่นกัท่องเที่ยวกระแสหลกั ซึ่งเรา

สามารถเหน็ความเข้มข้นทางเศรษฐกจิได้จาก จ�านวนรถบรรทกุ

รถโดยสารประจ�าทาง และรถบสัของกรุ๊ปทวัร์ที่ผ่านเข้าออกวนัละ

หลายคนั

ในเชงิวฒันธรรมแล้วเราจะเหน็ความผสมปนเปของ

วฒันธรรมที่เข้มข้นขึ้นเมื่อเปรยีบเทยีบกบัยคุก่อนและหลงัสงคราม

เยน็ที่เทคโนโลยแีละศกัยภาพในด้านการขนส่งภายในภูมภิาค

ยงัไม่ได้ปะทะประสาน (articulate) กบักระแสเศรษฐกจิแบบ

โลกาภวิฒัน์ (Globalization) การเข้ามาของผู้คนทั้งจากนกัท่อง

เที่ยวและผู้คนในภูมภิาคท�าให้เศรษฐกจิรวมเข้ากบัตลาดในระดบั

ภูมภิาคมากขึ้น ในกลุ่มคนเหล่านี้ผู้เขยีนได้พบเจอและสนใจใน

การเข้ามาเรยีนในระดบัอดุมศกึษาของหนุ่มสาวชาวเวยีดนามใน

มหาวทิยาราชภฏัต่างๆ ในภาคอสีานของประเทศไทยซึ่งปรากฎ

ขึ้นหลกัการสร้างถนนและสะพานเชื่อมของโครงการระเบยีง

เศรษฐกจิตะวนัออกตะวนัตก นกัศกึษาเหล่านี้ส่วนใหญ่แล้วอาศยั

อยู่ภาคกลางของเวยีดนามโดยเฉพาะจงัหวดักว่างตรทิี่เคยเป็น

จงัหวดัที่ยากจนที่สดุแห่งหนึ่งของเวยีดนาม การเริ่มเข้ามาศกึษา

ในระดบัอดุมศกึษาของไทย ซึ่งสอดคล้องกบัการยกระดบัของ

สถาบนัราชภฏัต่างๆ ทั่วประเทศขึ้นเป็น “มหาวทิยาลยั” เพื่อที่จะ

มอีสิระในการบรหิารจดัการมหาวทิยาลยัได้มากขึ้น มหาวทิยาลยั

ราชภฏัต่างๆ ในภาคอสีานของไทยกเ็ริ่มมกีารเบี่ยงเป้าหมายของ

มหาวทิยาลยัเองไปสู่ระดบัภูมภิาคซึ่งเป็นระดบัที่กว้างขึ้น คอื การ

สานสมัพนัธ์กบัสถาบนัการศกึษาต่างๆ ในประเทศสมาชกิในอน-ุ

ภูมภิาคลุ่มน�้าโขง

ในจงัหวดัอบุลราชธานเีองกม็นีกัศกึษาเวยีดนามจ�านวน

หนึ่งที่ก�าลงัศกึษาอยู่ทั้งในระดบัปรญิญาตร ีและระดบับณัฑติ

ศกึษา ซึ่งผู้เขยีนสนและได้ท�าการวจิยัผ่านสมัภาษณ์และการ

ท�าแบบสอบถาม โดยเริ่มตั้งแต่ช่วงเดอืนมกราคมปี ค.ศ. 2013

โดยได้ไปร่วมงานปีใหม่ของชาวเวยีตเกี่ยว (Việt Kiểu) ที่โรงเรยีน

สามคัควีทิยา ซึ่งตั้งอยู่ใกล้ๆ กบันคิมชาวญวนเดมิซึ่งเข้ามาตั้ง

รกรากในช่วงสงครามฝรั่งเศสโดยเฉพาะเหตกุารณ์ท่าแขกแตกในปี

1946 ในงานมผีู้แทนจากทั้งสถานบนัการศกึษา ส่วนราชการระดบั

จงัหวดั เจ้าของห้างร้านและกจิการต่างๆ ชาวเวยีดนาม นกัศกึษา

ชาวเวยีดนาม และยงัมกีงสลุใหญ่ของเวยีดนามจากจงัหวดั

ขอนแก่น ความเชื่อมโยงของกลุ่มทางสงัคมต่างๆ ทั้งในระดบั

ภูมภิาค รฐั และท้องถิ่นนี้เองที่มหาวทิยาลยัราชภฏัอบุลราชธานี

ใช้ชาวเวยีดนามในท้องถิ่นเชื่อมโยงกบัภูมภิาค

นกัศกึษาเหล่านี้ในช่วงแรกๆ รู้จกัและเสนอความต้องการ

ในการศกึษาในมหาวทิยาลยัราชภฏัในภาคอสีานของไทย ผ่าน

โครงการแลกเปลี่ยน ซึ่งพวกเขาเหล่านั้นได้มองเหน็ถงึโอกาสที่

เกดิขึ้นจากกระแสทางเศรษฐกจิและการขยายตวัของตลาดใน

ภูมภิาคที่ก�าลงัเตบิโตในช่วงเวลานี้ จงึได้ขอผู้บรหิารมหาวทิยาลยั

ราชภฏัเข้าเรยีนในระดบัอดุมศกึษา โดยเรยีนภาษาไทยก่อน 7

เดอืนแล้วเข้าเรยีนในระดบัปรญิญาตรรี่วมกบันกัศกึษาในท้องถิ่น

หลายคนที่ก�าลงัศกึษาอยู่ต่างมเีหตผุลในการเข้ามาศกึษาที่หลาก

หลาย อาท ิรุ่นแรกของนกัศกึษาที่มาเรยีนไม่สามารถจะสอบเข้า

มหาวทิยาลยัในเวยีดนามได้ และหลายคนเหน็โอกาสของการ

แสวงหาความรู้ประสบการของการอยู่ในประเทศไทย เพื่อที่จะ

เข้าไปเป็นแรงงานและผู้ประกอบการในตลาดในระดบัภูมภิาค

ปัจจบุนัมนีกัศกึษาสามรุ่นที่จบออกไปและเข้าไปเป็นแรงงาน

ของบรรษทัที่เกี่ยวเนื่องกบัการค้าการลงทนุของทั้งสองประเทศ

เช่น บรษิทัน�าเข้า-ส่งออก โรงพยาบาลเอกชนในกรงุเทพฯ บรษิทั

ค้าเพชรพลอย และที่มชีื่อเสยีงมาก คอื บรษิทัการท่องเที่ยวที่รบั

นกัท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวเวยีดนาม ปัจจบุนับณัฑติเหล่า

นี้ได้เริ่มสร้างเครอืข่ายกบัทั้งผู้ประกอบการ เจ้าหน้าที่ และภาค

ธรุกจิการท่องเที่ยวในทั้งสามประเทศโดยผ่านทั้งความสามารถใน

การใช้องค์ความรู้ที่ได้ร�่าเรยีนและประสบการณ์ในการใช้ชวีติอยู่ใน

พื้นที่ในระดบัภูมภิาค (regional sphere) ของตนเอง ตามข้อสงัเกต

จากพื้นที่ภาคสนามของผู้เขยีนแล้ว จงึพอสรปุได้ว่า การเดนิทาง

เข้ามาศกึษาในระดบัอดุมศกึษาของหนุ่มสาวชาวเวยีดนามนั้น

เป็นหนึ่งในแรงผลกัทางด้านทนุวฒันธรรม ที่จะน�าไปใช้ประโยชน์

ในการสร้างงานและรายได้อนัเป็นแรงผลกัทางเศรษฐกจิสอดคล้อง

กบัการพฒันาในระดบัภูมภิาค บณัฑติเหล่านี้เองเป็นกลุ่มที่ขยาย

ปรมิณฑลของชวีติตนเองให้อยู่ในระดบัภูมภิาค ผ่านการหาความรู้

ประสบการณ์ และสร้างเครอืข่ายทางสงัคมและทางธรุกจิในระดบั

อนภุูมภิาคลุ่มน�้าโขง ซึ่งหลงัปี 2008 การข้ามแดนและการศกึษา

ในภูมภิาคลุ่มน�้าโขง มแีนวโน้มขยายออกไปสู่วาทกรรมประชาคม

อาเซยีนในปี 2015

Page 52: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 50

ASEAN Reflection

อาเซียนในเรื่องสั้น วีรฉัตร แก้วประดิษฐ์

ประชาคมเศรษฐกจิอาเซยีนจะมาเคาะประตูบ้านเราในอกี

ไม่กี่เดอืนที่จะถงึนี้ เมื่อท่องไปในที่แห่งใดกพ็บธงของชาตอิาเซยีน

ปลวิไสว หลายภาคส่วนจดักจิกรรมรณรงค์เตรยีมพร้อมเข้าสู่

อาเซยีนกนัอย่างต่อเนื่อง ซึ่งกเ็สมอืนเครื่องเตอืนสตวิ่าเรายงัไม่

พร้อมกนัสกัเท่าไร เมื่อดูสามเสาหลกัอาเซยีนนั้น เรื่องเศรษฐกจิดู

จะแขง็แรงที่สดุ แต่ประชาคมทางวฒันธรรมนั้นอ่อนแอเหมอืนเดก็

ขาดโภชนาการ แม้จะมรีางวลัซไีรต์มาตลอดหลายสบิปี กลบัพบ

ว่าเราลิ้มลองรสชาตทิางวรรณศลิป์ของกนัและกนัน้อยนดิ เหตผุล

อาจเป็นได้หลายแบบ เช่น เราไม่ใช่สงัคมการอ่าน? ภาษาที่ต่าง

กนัและเราไม่เคยได้เรยีนรู้ภาษาของกนัและกนั ไปจนถงึความรู้สกึ

เปื้อนอคตทิี่ว่าบ้านเราดกีว่าและน่าสนใจกว่า...กล่าวคอืเราเรยีนรู้

และเข้าใจกนัในทางวฒันธรรมในระดบัเบาบาง

“ม้าบนิของมาเรยี ปินโต” เป็นหนึ่งในความพยายามของ

สมาคมนกัเขยีนแห่งประเทศไทยที่ได้น�าเรื่องสั้นจากประเทศ

สมาชกิอาเซยีนสบิแปดเรื่อง จากสบิประเทศที่แปลเป็นภาษาไทย

มาเข้าสู่ยทุธภพของนกัอ่านชาวไทย ซึ่งต่อไปนี้พวกเราจะไม่ใช่แค่

คนไทยแต่เพยีงอย่างเดยีว เรายงัจะเป็นคนอาเซยีนด้วย ค�าถาม

มอียู่ว่าอะไรบ้างที่ท�าให้เราเป็นคนอาเซยีน ผมคดิว่าหนึ่งในนั้นคอื

วรรณกรรมของพวกเรา ผมอ่านหนงัสอืเล่มนี้จบแล้วพบความน่า

สนใจของการอ่านวรรณกรรมเพื่อนบ้านจงึอยากน�ามาแลกเปลี่ยน

กนัดงันี้

หลายท่านอาจคุ้นเคยกบัตวัเอกที่ชื่อ วณดิา ปวรรจุ พฒุ-ิ

ภทัร แฮร์รี่ จอห์น เซโกะ รวิซงั แต่ในหนงัสอืเล่มนี้เราจะพบกบั

เหงวยีน เทวหยี่ จมา ซะนหี์ฯลฯ ชื่อเหล่านี้ท�าให้ผมสะดดุเวลา

อ่าน แต่มนัท�าให้ผมรู้สกึใกล้ชดิกบัตวัละคร ราวกบัว่าเขากใ็ช้ชวีติ

อยู่ข้างบ้านเรานี่เอง อกีทั้งตวัละครในเรื่องยงัเดนิทางจากบ้านไป

ย่างกุ้ง หรอืคนหนุ่มสาวอพยพจากบ้านนอกเข้ามาท�างานในกรงุ

กวัลาลมัเปอร์ สถานที่เหล่านี้ท�าให้เกดิจนิตภาพต่างไปจากตวั

ละครที่เดนิทางจากมวินคิไปเบอร์ลนิ หรอืโอซากามาโตเกยีว ถ้า

อาเซยีนอยากท�าให้เกดิประชาคมแห่งการเชื่อมต่อกนั (Community

of Connectivity) ผมคดิว่าการเชื่อมต่อกนัทางมโนภาพถอืเป็น

ยทุธศาสตร์หนึ่งที่ส�าคญั

เวลาเดนิทางไปต่างประเทศ หรอืบ้านอื่นเมอืงอื่น ค�าถามที่

ได้รบัเมื่อกลบัถงึบ้านคอื บ้านเขาต่างกบัเราอย่างไร เรามกัคดิว่า

คนพวกนั้นกนิไม่เหมอืนเรา อยู่ไม่เหมอืนเรา เราแสวงหาความ

ต่าง เพราะมนัน่าสนใจกว่า บางครั้งเราใช้ชวีติด้วยการเปรยีบ

เทยีบโดยไม่รู้ตวั เอาเข้าใจสิ่งที่เรามเีหมอืนๆ กนันั้นถูกมองข้าม

ความเชื่อและวถิชีวีติประจ�าวนัคล้ายคลงึกนั

ท่านเคยสงสยักนัหรอืไม่ว่าคนลาวกนิอะไรเป็นอาหารเช้า

แล้วคนเวยีดนามประกอบพธิกีรรมเช่นใดเมื่อมคีนเกดิและมคีน

ตาย เราสมัผสับรรยากาศเหล่านั้นได้ในเรื่อง ‘นายพลหลงัเกษยีณ’

แม้จะเป็นเรื่องสั้นแต่เรื่องราวเหล่านี้ครอบคลมุถงึระบบความ

สมัพนัธ์แบบเครอืญาต ิประเพณพีธิกีรรมที่ยดึเหนี่ยวสงัคมในยคุ

สมยันั้น เหล่านี้เป็นวฒันธรรมที่ท�าให้เรามองเหน็วถิกีารด�ารงชวีติ

ที่เหมอืนกนัอย่างฉงนหรอืแตกต่างกนัอย่างงดงาม รวมถงึเรื่อง

ใหญ่ๆ อย่างการนยิามความเป็นชาตแิละคนในชาต ิเรื่องสั้นเหล่า

นี้ท�าให้ผมมองเหน็ความเป็นพม่า ความเป็นมาเลเซยี และความ

เป็นอะไรอกีหลายอย่าง นอกเหนอืขอบฟ้าความเป็นไทย และที่น่า

สนใจเป็นอย่างยิ่งคอืประเทศเพื่อนบ้านเขามองเราอย่างไรในเรื่อง

“ซิ่นไหมผนืเก่าๆ” ในเรื่อง ปู่ของจมา เราเหน็ปฏบิตักิารของอคติ

Page 53: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 51

เชงิชาตพินัธ์ที่รฐัสร้างขึ้นต่อคนในชาต ิเมื่อ

ปู่ของจมาซึ่งเป็นวรีบรุษุต่อสู้กบัทหารญี่ปุ่น

เพื่อปกป้องแผ่นดนิพม่า กลบัถูกเจ้าหน้าที่

รฐัพูดว่า เขาไม่ใช่คนพม่า เพราะไม่มี

มสุลมิพม่า (หน้า 57) ความน่าสนใจเหล่านี้

เราสามารถสมัผสัได้จากหนงัสอืเล่มนี้

อาจด้วยสาเหตมุาจากกระบวนการ

คดัสรรเรื่องที่แปล หรอืด้วยสาเหตสุ�าคญั

ของสงัคมของผู้เขยีน เรื่องสั้นส่วนใหญ่ยงั

คงมกีลิ่นไอภูมหิลงัทางประวตัศิาสตร์การ

ต่อสู้ที่ส่งผลกระทบต่อตวัละครไม่ว่าทางใด

ทางหนึ่งไม่ว่าจะเป็นเรื่องสั้นจากเวยีดนาม

ลาว หรอืพม่า ล้วนมฉีากหลงั หรอืเศษ

เสี้ยวของบรรยากาศของสงคราม ไม่ว่าจะ

เป็นสงครามที่มอดดบัแล้ว หรอืสงครามที่

ก�าลงัเกดิขึ้น หากมใิช่สงครามร้อนอย่าง

สงครามอนิโดจนี สงครามพม่า-ญี่ปุ่น ก็

เป็น ‘สงคราม’ แบบใหม่อย่างสงคราม

ทางเศรษฐกจิ ที่แรงกดดนัทางเศรษฐกจิ

ส่งผลต่อชวีติอย่างส�าคญั ราวกบัว่าคนใน

ภูมภิาคนี้ใช้ชวีติจากสงครามหนึ่งเข้าสู่อกี

สงครามหนึ่ง

ความรกั และความโรแมนตคิใน

จนิตนาการของเพื่อนบ้านชาวอาเซยีนนั้น

เป็นอย่างไรแน่ เป็นสิ่งที่น่าค้นหายิ่งนกั

เรื่องสั้นแต่ละเรื่องได้บรรจคุวามงามทาง

วรรณศลิป์เหล่านั้นไว้อย่างน่ารื่นรมย์

เราจะพบปมส�าคญัของเรื่องราวความรกัที่

ชาวอาเซยีนมรี่วมกนัคอืความยากล�าบาก

จากแรงกดัดนัทางเศรษฐกจิที่เผชญิร่วมกนั

ไม่แน่ใจว่าประชาคมเศรษฐกจิอาเซยีนจะ

เป็นแสงส่องของปมปัญหาในเรื่องสั้นที่เรา

ได้อ่านกนัในหนงัสอืเล่มนี้หรอืไม่ ขอเชญิ

ทกุท่านร่วมกนัหาค�าตอบใน ม้าบนิของ

มาเรยี ปินโต 18 เรื่องสั้นอาเซยีนคดัสรร

ASEAN scape

เรื่องเหล้าจากติมอร์ตะวันออก อกนิษฐ์ หอรัตนคุณ

เรื่องต่อไปนี้คอืเรื่องเหล้าจากตมิอร์ตะวนัออก

ครั้งแรกที่ผมได้ชมิเหล้าพื้นเมอืงของดลิ ีคอืตอนที่มอน (Maun) คอสต้า หวัหน้า

ทมีนกัวจิยัของที่ท�างานผมชวนไปงานปาร์ตี้ฉลองให้หลานชาย เพราะน้องได้รบัทนุ

รฐับาลไปเรยีนต่อที่สหรฐัฯ

ก่อนจะไปงาน เพื่อนในออฟฟิศต่างกส็รวลเสท้าทาย “นี่มอนไก่ ไปงานมอนคอส

ต้า อย่าลมืดื่มทวั (tua) นะ ดื่มแล้วจะตดิใจ” เมื่อผมถามว่าไอ้ “ทวั” ที่ว่านี่มนัคอื

อะไร คนทั้งที่ท�างานต่างกห็วัเราะชอบใจกนัยกใหญ่ “ดื่มเองแล้วกจ็ะรู้”

ตกเยน็เมื่อมาถงึบ้านมอนคอสต้า สิ่งแรกที่ผมเหน็จงัเบ้อเร่อบนโต๊ะขนาดยาว

ท่ามกลางอาหารตมิอร์ละลาน คอืถงัพลาสตกิสแีดงแป้ดใบโตปิดด้วยฝาสขีาว มอน

คอสต้าเมื่อเหน็ผมกร็บีเชญิเข้าบ้าน และพาไปที่ ‘ถงัทวั’ ทนัท ีเมื่อเปิดออกมา ปรากฏ

เป็นน�้าใสแจ๋ว ลอยแก้วด้วยแอปเปิ้ลเขยีวและส้มซนัคสิฝานบาง กลิ่นหอมโชยอ่อนๆ

ของผลไม้และเหล้าหมกัลอยออกมาท�าเอาผมกลนืน�้าลาย มอนคอสต้าไม่รอช้า ตกัทวั

ใส่แก้วแจกผมและเพื่อนอย่างรู้ใจ

Page 54: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 52

ดื่มไปกถ็งึบางอ้อ ไอ้ทวัที่ว่ากค็อื

ปาล์มไวน์ ท�านองเดยีวกนักบัน�้าตาลเมา

บ้านเรานั่นเอง

ที่ตมิอร์ อย่าว่าถงึโรงต้มเหล้าบ่มเบยีร์

ปกตเิลย แม้แต่บรกิารสาธารณูปโภคพื้น

ฐาน อย่างโรงไฟฟ้า โรงประปา กเ็พิ่งจะ

บูรณะสร้างกนัขึ้นมาใหม่เพยีงแค่ทศวรรษ

เดยีวภายหลงัการยตุริกุรานของกองทพั

อนิโดนเีซยีเมื่อปี 2542 ดงันั้นถ้าจะหาเหล้า

เบยีร์ตมิอร์บรรจขุวดเป็นเรื่องเป็นราวกล็มื

กนัไปได้เลย นอกจากเหล้าเบยีร์น�าเข้า

จากอนิโดนเีซยี ออสเตรเลยี จนี ไทย หรอื

โปรตเุกสแล้ว คนตมิอร์กอ็าศยัทวัพื้นบ้าน

ราคาย่อมเยา กรดีกลั่นขายกนัเองตามท้อง

ถนนหรอืโชว์ห่วย ดื่มเพื่อให้กรึ่มๆ หรอืหาย

อยากเหล้ากนัไป

เมื่อถามกบัเพื่อนแถวนั้น ได้ความว่า

ทวัที่ผมดื่มถอืได้ว่าเป็นทวัชั้นดขีึ้นมาหน่อย

เรยีกว่าทวัมูทนิ (tua mutin) เป็นทวัน�้าแรก

กรดีออกมาจากต้นปาล์มซาโกหรอืต้นปรง

สาคูบ้านเรา แล้วน�ามาบ่มจนได้ที่ ปรงุแต่ง

ด้วยน�้าผึ้ง ดอกไม้ ผลไม้ หรอืกลื่นอื่นๆ

อนันี้สูตรใครสูตรมนั ออกมาเป็นทวัหอม

หวาน ปรมิาณแอลกอฮอล์ไม่สูงมากนกัอยู่

ที่ 5 ถงึ15 เปอร์เซน็ต์ ในขณะที่ทวัที่ขาย

ตามท้องทางข้างถนนทั่วไป บรรจขุายใน

ขวดพลาสตกิใช้แล้วขนาดครึ่งถงึหนึ่งลติร

เรยีกว่าทวัซาบู (tua sabu) เป็นทวัน�้าสอง

ท�าโดยน�าทวัมูทนิเข้ากระบวนการกลั่นอกี

รอบ ท�าให้เจอืจางและเพิ่มฤทธิ์แอลกอฮอล์

จนอยู่ที่ประมาณ 20 เปอร์เซน็ต์ขึ้นไป อาจ

ผสมด้วยกลิ่นอื่นๆ เพื่อกลบกลิ่นฉนุเหล้า

ให้อารมณ์ประมาณเหล้าต้มเหล้าขาวบ้าน

เรา สนนราคาอยู่ที่ขวดละ 50 เซน็ทาโวส์

หรอื 50 เซน็ต์สหรฐั แต่ดื่มสองสามแก้ว

อาจเมาแอ๋ล้มหน้าคว�่าเอาได้

ด้วยความที่ทั้งถูกทั้งหาง่าย ทวัจงึ

กลายเป็นประเดน็ถกเถยีง ถงึขนาดเป็น

เรื่องที่มกีารศกึษาอย่างจรงิจงั

การดื่มทวัในตมิอร์เรยีกได้ว่าเป็น

วฒันธรรมที่หยั่งรากลกึ อายเุฉลี่ยของ

คนตมิอร์ที่เริ่มดื่มทวัทั่วไปคอื 12 ปี ทั้งนี้

ผู้ใหญ่อาจเป็นคนที่ชวนเดก็ให้เริ่มดื่มทวัใน

บ้าน เพื่อเป็นการเตรยีมตวัลูกหลานเข้าสู่

การคบค้าสมาคมกบัชมุชน ทวัเป็นสิ่งที่ใช้

ประกอบพธิกีรรมมากมายไม่ว่าจะเป็นการ

ฉลองฤดูเกบ็เกี่ยว งานขึ้นบ้านใหม่ (uma

lulik) การเจรจาธรุกจิ การเมอืงระดบัชาต ิ

หรอืการคบค้าสมาคมทั่วไปในหมู่บ้าน

ผู้คนต่างใช้ทวัในการเชื่อมสมัพนัธไมตร ี

สร้างสายใยเครอืข่ายอปุถมัภ์เชื่อมโยง

ระหว่างกนั การดื่มทวัจงึเป็นเรื่องที่ยากจะ

หลกีเลี่ยงส�าหรบัคนตมิอร์ ไม่สามารถใช้

สายตาคณุธรรมเบาหววิจากคนภายนอก

ตดัสนิเอาได้ง่ายๆ ว่าการดื่มทวัเป็นเรื่องถูก

หรอืผดิ

ในการจดังานฉลองทั่วไป นอกจาก

ขนาดของงานฉลอง ปรมิาณอาหาร และ

ผ้าทาอสิ (tais) ชั้นดแีล้ว ทวัยงัเป็น เครื่อง

ชี้วดัถงึสถานภาพทางสงัคมของเจ้าภาพ

ว่ากนัว่าในงานแต่งงาน นอกจากจ�านวน

สนิสอดที่บ่งชี้ถงึสถานภาพครอบครวัของ

เจ้าบ่าวและความสวยงามของเจ้าสาว

แล้ว (เพื่อนผมแซวว่า หากอยากจบีสาว

ตมิอร์ที่ งามล�้าเลศิ ต้องเตรยีมหาควาย

ห้าสบิตวัไว้ได้เลย และแน่นอนว่าควาย

ตวันงึราคาแพงระยบั) ทวัชั้นดยีงับ่งถงึ

สถานภาพครอบครวั เป็นสญัลกัษณ์ที่

แสดงถงึการหลอมรวมระหว่างครอบครวั

ของเจ้าบ่าวและเจ้าสาวเข้าด้วย กนั และ

เป็นสญัลกัษณ์ของการเชญิสิ่งใหม่ๆ เข้า

มา ในที่นี้คอืครอบครวัของเจ้าสาว ให้เข้า

มาหลอมรวมกบัครอบ ครวัของเจ้าบ่าว ทวั

จงึเป็นสญัลกัษณ์ของการหลอมรวมเป็น

หนึ่งเดยีวและความร่วมมอืร่วมใจ ดงันั้น

เหล้าน�าเข้าจงึไม่ได้รบัความนยิมในการใช้

ประกอบพธิกีรรม เพราะทวัเป็นสญัลกัษณ์

ทางวฒันธรรมที่แสดงถงึอตัลกัษณ์ ของ

การเป็นคนชาตแิละความเป็นหนึ่งเดยีวกนั

ของชาวตมิอร์

ในระดบัหมู่บ้าน ผู้เถ้าผู้แก่หรอืผู้

อาวโุสหมู่บ้านซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย จะ

เป็นผู้น�างานฉลองหมู่บ้านและน�าดื่มทวั

Page 55: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 53

เพื่อเป็นการเคารพพระเจ้าและบรรพบรุษุ

ทวัยงัเป็นสิ่งที่ใช้บูชาสิ่งศกัดิ์สทิธิ์ที่คุ้มครอง

พื้นที่ธรรมชาตปิ่าเขาหรอืทาราบนัดู (tara

bundu) นอกจากนี้ ในบรเิวณบางพื้นที่ของ

ประเทศ เช่น แถวเมอืงมอบสิซ ี(Maubisse)

ซึ่งเป็นเมอืงม่านหมอกบนภูเขา ห่างจาก

ดลิมีาทางใต้ประมาณสามชั่วโมงขบัรถใน

แถบนั้นทวัเป็นที่นยิมดื่มหลงัการคลอดของ

แม่ เพื่อเป็นการชะล้างสิ่งสกปรกออกจาก

ร่างกาย และเพิ่มอตัราการไหลเวยีนของ

เลอืด

แน่นอนว่าการดื่มทวัอย่างแพร่หลาย

ย่อมเป็นดาบสองคม แรงกระทบที่ส�าคญั

ของทวัคอืการเพิ่มอตัราความขดัแย้งโดย

เฉพาะในระดบัเยาวชน ข้อมูลของยูนเิซฟ

ระบวุ่า ประชากรเกอืบครึ่งหนึ่งของตมิอร์

มอีายตุ�่ากว่า 18 ปี และอตัราการตั้งครรภ์

โดยเฉลี่ยของผู้หญงิตมิอร์หนึ่งคนตลอด

ช่วงอายกุารตั้งครรภ์อยู่ที่ 6 ครั้งต่อคน ซึ่ง

เป็นอตัราที่สูงที่สดุในอาเซยีน และเกอืบ

ตดิอนัดบัสูงที่สดุในโลก สาเหตสุ่วนหนึ่ง

เพราะตมิอร์เป็นประเทศที่ผู้คนส่วนใหญ่

นบัถอืศาสนาครสิต์นกิายโรมนัคาทอลกิ

อย่างเคร่งครดั การคมุก�าเนดิจงึไม่ได้รบั

ความนยิมและเครื่องมอืคมุก�าเนดิยงัเข้า

ไม่ถงึประชากรในบรเิวณพื้นที่ที่ห่างจาก

เมอืงหลกัของแต่ละเขต นั่นหมายความ

ว่า ตมิอร์เป็นประเทศที่มปีรมิาณเยาวชน

มหาศาล และความรนุแรงทั่วไปบนท้อง

ถนน เช่น การยกพวกตรีนัฟันแทง (ที่นยิม

ใช้คอืมดีมาเชท็) หรอืการทะเลาะเบาะแว้ง

ทั่วไป กม็ทีวัเป็นหนึ่งในปัจจยัหนนุเพิ่ม

อตัราความขดัแย้ง ด้วยการหาซื้อทวัเป็น

เรื่องที่ท�าได้ง่าย เพราะไม่มกีฎหมายเกี่ยว

กบัการดื่มสรุาบงัคบัใช้ หาซื้อง่ายถงึขนาด

ที่มคีรั้งหนึ่ง ผมจ่ายเงนิซื้อขวดน�้าเปล่าใน

ร้านของช�าปากซอยหน้าบ้าน แต่กลบัได้

เป็นทวัมาแทน เพราะราคาแทบจะไม่ต่าง

กนั การดื่มทวัจงึท�าได้ตลอดเวลา และการ

ดื่มจนเมามายกเ็ป็นเรื่องที่พบได้ไม่ยาก

เพราะปรมิาณแอลกอฮอล์ที่สูงลบิของทวั

ซาบูและความถูกของมนั

ด้วยเหตผุลที่เล่ามา เรื่องหนึ่งที่น่า

หวั่นในดลิ ีคอืการเดนิบนท้องถนนยาม

ค�่าคนื นอกจากดลิจีะเป็นเมอืงที่ไม่มแีสง

ไฟบนท้องถนนแล้ว การพบเจอเดก็วยัรุ่น

รวมตวักนัเป็นกลุ่มบนถนนกไ็ม่ใช่เรื่องที่

ผดิแปลกอะไร แต่บรรยากาศที่คนต่าง

ชาตหิรอืมาลาย (malai) อย่างผมสมัผสัได้

เพื่อพบเจอกบักลุ่มวยัรุ่นบางกลุ่มกลบัเป็น

ความรู้สกึใจเนื้อเต้นไม่อยู่กบัตวั ประสาท

สมัผสัได้ถงึความไม่ปลอดภยัที่อาจเกดิขึ้น

เช่นเดยีวกบัเหตอุาชญากรรมที่พบในหน้า

หนงัสอืพมิพ์ตมิอร์ไม่เว้นวนั และบรเิวณ

แถวบ้านพกัของผมกเ็ป็นที่รวมตวัยอดนยิม

ยามค�่าคนืของกลุ่มวยัรุ่นขนาดใหญ่หลาย

กลุ่ม เป็นบรเิวณพื้นที่สแีดง รฐับาลตมิอร์

ได้จดัให้ปัญหาความรนุแรงที่เกดิจากกลุ่ม

วยัรุ่นเป็นปัญหาระดบัชาต ิ

ทวัเป็นส่วนหนึ่งของรากฐานทาง

วฒันธรรมที่สั่งสมมาอย่างยาวนาน

แต่ในสภาพสงัคมตมิอร์ โดยเฉพาะ

หลงัเกดิความขดัแย้งขนานใหญ่และ

สงครามกลางเมอืง ในอกีด้านหนึ่งทวัจงึ

มสี่วนส�าคญัในการเพิ่มความเสี่ยงต่อการ

เกดิความรนุแรง และความขดัแย้งระหว่าง

ผู้คนในสงัคม

ดงันั้น หากผมมองเหน็ขวดทวัและ

เสยีงเมามายโหวกเหวกมาแต่ไกล กต็้อง

เลี่ยงไปเดนิทางอื่น หรอืไม่งั้นกต็วัใครตวั

มนั!

Page 56: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 54B ECO M IN G / 54

ASEAN Art Update

จาก GMS สู่ ASEAN: การขยายความเป็นไปได้ทางศิลปะวัฒนธรรม? สุทธิรัตน์ ศุภปริญญา

เมื่อสบิปีก่อนหลายโครงการศลิปะวฒันธรรมระหว่างชาติ

ในประเทศไทยที่มจีดุประสงค์จะสร้างความร่วมมอืระหว่าง

ประเทศในแถบลุ่มแม่น�้าโขงตอนล่าง หรอื GMS- Greater Mekong

Subregion ล้วนได้รบัทนุสนบัสนนุทั้งจากรฐัและเอกชน ทนุจาก

ต่างประเทศ ทั้งญี่ปุ่นและสหรฐัอเมรกิา ภูมภิาค GMS ประกอบ

ด้วย ประเทศไทย เขมร ลาว เมยีนมาร์ เวยีดนาม มณฑลยูนนาน

และเขตปกครองตนเองกวางสใีนประเทศจนี ความสมัพนัธ์ทาง

ศลิปะวฒันธรรมที่ได้เริ่มสร้างร่วมกนันั้นมไิด้เกดิมาอย่างบงัเอญิ

แต่เกดิจากการรเิริ่มความร่วมมอืทางเศรษฐกจิในอนภุูมภิาคลุ่ม

แม่น�้าโขง (Greater Mekong Subregion Economic Cooperation)

ตั้งแต่ปี 2535 (ค.ศ.1992) โครงการนี้ได้รบัเงนิอดุหนนุจาก ธนาคาร

เพื่อการพฒันาแห่งเอเชยี หรอื ADB ในการพฒันาสาธารณูปโภค

ขั้นพื้นฐานหลายแขนง โดยเฉพาะเส้นทางคมนาคมทางถนน แต่ก็

รวมถงึระบบไฟฟ้า โทรคมนาคม สิ่งแวดล้อม และกฎหมาย

การปลกุความสนใจทางศลิปะวฒันธรรมในลุ่มแม่น�้าโขงเหน็

ได้ชดัเจนมากในช่วงระหว่างปี 2544-2551 (ค.ศ.2001-2008) ภาย

หลงักองทนุที่เคยสนบัสนนุกเ็ริ่มเปลี่ยนความสนใจไปเรื่องอื่นๆ

เช่น กองทนุรอ็กกี้ เฟลเลอร์ หนัไปสนบัสนนุโครงการทางสิ่ง

แวดล้อมเมื่อทั้งโลกมกีารตื่นตวัเรื่องโลกร้อน แต่กย็งัมกีองทนุ

ย่อยของกองทนุนี้ คอื เอเชี่ยน เคลเจอราล เคาน์ซลิ ที่สนบัสนนุ

โครงการวฒันธรรมระหว่างประเทศเอเชยีและสหรฐัอเมรกิา

อยู่ อย่างไรกต็าม แม้จะลดการสนบัสนนุลง แต่การเชื่อมความ

สมัพนัธ์ได้เกดิขึ้นแล้ว เรื่องราวต่างๆ ที่เคยถูกกดทบัเอาไว้ตั้งแต่

ยคุอาณานคิม ซึ่งแยกผนืดนิของภูมภิาคนี้ออกเป็นประเทศต่างๆ

ได้ถูกถ่ายทอดต่อกนัในรูปศลิปะแบบต่างๆ อย่างเช่น งานทศัน-

ศลิป์ ศลิปะการเต้นร�า การแสดง ดนตร ีและวรรณกรรม

กองทนุต่างประเทศอกีแห่งที่ยงัสานต่อความสมัพนัธ์ระหว่าง

ภูมภิาคเอาไว้กค็อื กองทนุฟอร์ดและเอเชี่ยน เคลเจอราล เคาน์

ซลิ ซึ่งสนบัสนนุอาร์ท เนต็เวริ์ค เอเชยี ในการให้ทนุขนาดกลาง

และขนาดเลก็ในการสร้างความสมัพนัธ์ระหว่างคนท�างานด้าน

วฒันธรรมในเอเชยี องค์กรนี้เริ่มก่อตั้งเมื่อปี 2542 (ค.ศ.1999) และ

ยงัด�าเนนิการมาจนถงึปัจจบุนั มสี�านกังานอยู่ที่ประเทศสงิคโปร์

โครงการที่อยู่ในความสนใจของกองทนุนี้เป็นโครงการที่เกี่ยวกบั

ความร่วมมอืระหว่างประเทศภูมภิาคเอเชยีอาคเนย์รวมทั้งประเทศ

จนี

ผลงาน Monument of Round Trays โดยศลิปินเวยีดนาม Ly Hoang Ly ที่เข้าร่วมนทิรรศการ Identity Versus

Globalization? ในปีพ.ศ. 2547

ทันศิลป์

Page 57: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 55B ECO M IN G / 55

กรอบความร่วมมอืระหว่างชาตทิี่ยดึตามภูมศิาสตร์ลุ่มน�้า

โขงดูเหมอืนจะเริ่มจางลงไป แต่ถูกขยายความร่วมมอืให้กว้าง

ขึ้นด้วยการรวมตวัของประชาคมอาเซยีน โดยม ี2 นทิรรศการ

ใหญ่ที่อาจจะเป็นการส่งท้ายแนวทางนี้ อนัได้แก่ UNDERLYING:

Contemporary Art Exhibition from the Mekong Sub-Regionในปี

2550 (ค.ศ.2007) มมีหาวทิยาลยัศลิปากรเป็นเจ้าภาพ และได้

รบัการสนบัสนนุโดยกองทนุรอ็กกี้ เฟลเลอร์ โดยมสีถาบนัเกอเธ่

สนบัสนนุในส่วนกจิกรรมทางการศกึษา โดยเป็นนทิรรศการที่เดนิ

ทางไปแสดงใน 4 ประเทศในกลุ่ม “อษุาคเนย์แผ่นดนิใหญ่” อกี

งานหนึ่งคอื งานนทิรรศการนานาชาตริายสามปี เอเชยีแปซฟิิก

ไทรอเนยีล ครั้งที่ 6 ที่มกีารจดัแสดงผลงานกลุ่มศลิปินที่มาจาก

ลุ่มแม่น�้าโขง ที่หอศลิปะควนีส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลยี ใน

ปี2552 (ค.ศ.2009)

แม้ว่าการพูดถงึเรื่องการร่วมมอืทางวฒันธรรมระหว่าง

ภูมภิาคเอเชยีอาคเนย์จะยงัไม่ชดัเจนนกัในทศวรรษที่แล้ว แต่การ

เกดิขึ้นของนทิรรศการศลิปะIdentities Versus Globalization? ก็

เป็นหมดุหมายส�าคญัในการรวมศลิปิน และผลงานที่โดดเด่นของ

ภูมภิาคอษุาคเนย์ทกุประเทศเป็นครั้งแรก และยงัเป็นครั้งเดยีวใน

ประวตัศิาสตร์ นทิรรศการนี้จดัโดย มูลนธิไิฮรคิช บอลล์ ซึ่งเป็น

กองทนุจากพรรคเขยีว ประเทศเยอรมน ีซึ่งในขณะที่จดันทิรรศการ

ขึ้นในปี 2547 (ค.ศ. 2004) นั้น ส�านกังานใหญ่ยงัตั้งอยู่ในจงัหวดั

เชยีงใหม่ จงึเริ่มเปิดแสดงครั้งแรกที่เชยีงใหม่ ตามด้วย กรงุเทพฯ

และกรงุเบอร์ลนิ ประเทศเยอรมน ีศลิปินทั้งที่มชีื่อเสยีงและหน้า

ใหม่ของแต่ละประเทศได้มโีอกาสได้พบปะแลกเปลี่ยนความเหน็ซึ่ง

กนัและกนั คณุจอมเพท็ คสุวดิานานโต ศลิปินชาวอนิโดนเีซยี ผู้

ซึ่งปัจจบุนัมชีื่อเสยีงมากท่านหนึ่งในเอเชยี เคยบอกกบัผู้เขยีนว่า

นทิรรศการนี้ท�าให้เขาได้ร่วมแสดงผลงานในต่างประเทศเป็นครั้ง

แรก

ต่อมา หลงัจากที่ผู้น�าอาเซยีน10 ประเทศ ได้ลงนามรบัรอง

กฎบตัรอาเซยีน (ASEAN Charter)ในปี 2550 (ค.ศ. 2007) อนัมี

ผลให้อาเซยีนเป็นองค์กรที่มสีถานะเป็นนติบิคุคลในฐานะที่เป็น

องค์กรระหว่างรฐับาล กฎบตัรอาเซยีนกลายเป็นหลกัการของการ

สร้างประชาคมอาเซยีนด้วยข้อผูกมดัของข้อตกลงทางกฎหมาย

ร่วมกนั โดยมกีารวางแผนให้มกีารรวมตวัของประชาคมอาเซยีน

ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) ความเคลื่อนไหวของการร่วมมอืทาง

ด้านวฒันธรรมในภูมภิาคกเ็ริ่มก่อตวัชดัเจนขึ้น การศกึษาในหลาย

สถาบนัเริ่มเปลี่ยนจากสถาบนัไทยศกึษา และแม่โขงศกึษา มา

เป็นอษุาคเนย์ศกึษา หรอื Southeast Asian Studies เกดิกจิกรรม

เทศกาล หรอื นทิรรศการที่มาจากภูมภิาคมากขึ้น

ในปี 2555 (ค.ศ. 2012) สถาบนัเกอเธ่ในภูมภิาคร่วมกนัจดั

โครงการ Riverscape in Flux ซึ่งท�างานร่วมกบัภณัฑารกัษ์ และ

ศลิปินจากประเทศต่างๆ สร้างผลงานศลิปะและนทิรรศการ

เกี่ยวกบัแม่น�้าขึ้น มนัท�าให้เราได้เหน็ภาพชวีติ ความเป็นอยู่และ

สถานการณ์ปัจจบุนัของแม่น�้าในภูมภิาคเอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต้

นทิรรศการนี้เดนิทางไปแสดงในประเทศ เวยีดนาม ไทย เขมร

ฟิลปิปินส์ และ อนิโดนเีซยี

หลงัจากนั้นอกีหนึ่งปีโครงการรเิริ่มโดย เจแปนฟาวด์เดชั่

น เนื่องในโอกาสครบรอบ40 ปี ความร่วมมอืญี่ปุ่น-อาเซยีน

ส�านกังานใหญ่ที่โตเกยีวกไ็ด้เชญิภณัฑารกัษ์รุ่นเยาว์จากประเทศ

ในเอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต้ไปอบรมปฏบิตักิารที่โตเกยีวพร้อมทั้ง

ผสานความร่วมมอืในการจดันทิรรศการทางด้านสื่อใหม่ขึ้นมา

ผลงาน Misconception โดยศลิปินมาเลเซยี Zaid Omar ที่เข้าร่วมนทิรรศการ Identity Versus Globalization? ในปีพ.ศ. 2547

พธิเีปิดนทิรรศการ Riverscape In Flux ที่ Metropolitan Museum of Manila ประเทศฟิลปิปินส์ ในปีพ.ศ. 2556

Page 58: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 56B ECO M IN G / 56

โดยใช้ชื่อว่า Media/ Art Kitchen: Reality Distortion Field โดยแต่ละประเทศได้เชญิศลิปินรุ่นเยาว์ที่โดดเด่นผลติผลงานใหม่ รวมทั้งคดั

เลอืกผลงานสื่อศลิปะจากศลิปินญี่ปุ่นมาร่วมแสดงด้วยนทิรรศการนี้เน้นการมสี่วนร่วมของศลิปินและผู้ชมผ่านกจิกรรมย่อยต่างๆ ทั้งยงั

มกีจิกรรมต่อเนื่องอื่นๆ หลงัจากนทิรรศการจบไปแล้ว เช่นการเชญิศลิปินที่ร่วมโครงการไปมปีระสบการณ์ในประเทศญี่ปุ่นในลกัษณะ

ศลิปินในสถานพ�านกัเป็นต้น ยทุธศาสตร์ในการประสานความสมัพนัธ์ทางศลิปะวฒันธรรมของญี่ปุ่นมชีั้นเชงิที่มหีลากหลายระดบัและ

เป็นมอือาชพีมาก เนื่องจากได้คณุ โอกามูระ เคโกะ ภณัฑรกัษ์มากประสบการณ์จาก มวิเซยีมภาพถ่ายมหานครโตเกยีว มาเป็นหวัหน้า

ใหญ่ของโครงการ

นอกจากนี้ ยงัมนีทิรรศการที่จดัแสดงผลงานศลิปินที่มาจากภูมภิาคอษุาคเนย์โดยองค์กรในประเทศในช่วงเวลาเดยีวกนัอกีคอื

“ร่องรอย” ที่หอศลิป์บ้านจมิทอมป์สนั ในปี 2555 และ “มโนทศัน์ บรบิท การต่อต้าน: ศลิปะและส่วนรวมในเอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต้”

ที่หอศลิปวฒันธรรมแห่งกรงุเทพมหานคร ในปีถดัมา

ความรเิริ่มใหม่อกีครั้งได้เกดิขึ้นที่ประเทศไต้หวนั ในปี 2555 กลุ่มศลิปินไทยและไต้หวนัได้รเิริ่มสร้างโครงการแลกเปลี่ยนศลิปินทั้ง

สองประเทศ โดยกลุ่มศลิปินไต้หวนัสบิกว่าชวีติหมนุเวยีนกนัมาอาศยัที่กรงุเทพฯ ในเวลาทั้งหมด6 เดอืน สร้างกจิกรรมและความร่วม

มอืต่างๆ กบัศลิปินไทยและลงท้ายด้วยนทิรรศการร่วมกนั ในทางกลบักนัศลิปินไทยกไ็ด้มโีอกาสเดนิทางไปประเทศไต้หวนัเช่นกนัใน

เวลาถดัมา ทั้งหมดแสดงผลงานร่วมกนัอกีครั้งที่เมอืงไทเป โดยใช้ชื่อโครงการว่า Thaitai: A Measure of Understanding

นอกจากนั้น การรวมตวัของภณัฑารกัษ์และคนท�างานทางศลิปะอื่นๆ ที่มพีื้นฐานเป็นนกัจดัการซึ่งใช้ชื่อกลุ่มว่า เดอะเอาท์ไซต์

เดอร์แฟคทอรี่ ซึ่งมปีรชัญาในการท�างานที่น่าสนใจมากคอืมุ่งเน้นการแนะน�าศลิปะร่วมสมยัที่ไม่ใช่แบบตะวนัตก และช่วยศลิปินไต้หวนั

ไปสู่เวทโีลกโดยใช้เวลาและร่วมกระบวนการการผลติกบัศลิปินแล้วหาความเป็นไปได้ในการควิเรทนทิรรศการศลิปะเช่นเดยีวกบักลุ่ม

แรก พวกเขาเริ่มท�างานกบัศลิปินเวยีดนามในปี 2555 และวางแผนจะขยายไปประเทศอนิโดนเีซยี ผู้อ�านวยการของกลุ่ม คณุโนบโุอะ

ทาคาโมร ิได้ให้ความเหน็ไว้อย่างน่าฟังว่า “ญี่ปุ่นนั้นเป็นอดตีของไต้หวนั (เนื่องจากเคยเข้ามาปกครอง) แต่ประเทศเอเชยีอษุาคเนย์

ผลงานบางส่วนของนทิรรศการ Riverscape In Flux ที่ Metropolitan Museum of Manila ประเทศฟิลปิปินส์ ในปีพ.ศ. 2556

Page 59: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 57B ECO M IN G / 57

คอือนาคตของเรา” คนกลุ่มเลก็ๆ เหล่านี้ได้สร้างความตื่นตวัต่อวฒันธรรมของประเทศทางทศิใต้ ทั้งสองโครงการเป็นจดุเริ่มของความ

สมัพนัธ์ทางด้านศลิปะวฒันธรรมของไต้หวนัและภูมภิาคอกีครั้ง ก่อนที่กระทรวงวฒันธรรมไต้หวนั จะได้รบัแรงกระเพื่อมในการเปิดให้

สมคัรทนุเฉพาะเพื่อเชญิผู้เชี่ยวชาญทางด้านวฒันธรรมจากประเทศในอษุาคเนย์ มาท�ากจิกรรมในประเทศได้ในวงเงนิไม่เกนิ 500,000

NT หรอืประมาณ ห้าแสนกว่าบาทต่อโครงการ

เมื่อเดอืนสงิหาคมที่ผ่านมา ฉนัได้รบัเชญิไปร่วมสมัมนา ทางอื่น หรอื Alternative Route ที่เป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลศลิปะ โคกา

เนโจบาซ่าร์ เมอืงโยโกฮาม่า ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งฉนัได้เคยเข้าร่วมในฐานะศลิปินเมื่อปี 2554 (ค.ศ. 2011) แล้วหลงัจากนั้นกเ็ป็นภณัฑา-

รกัษ์ร่วม ใน 2 และ 3 ปีถดัมา การสมัมนาได้เริ่มจดัขนานกนัไปกบัเทศกาลตั้งแต่เมื่อปีที่แล้ว โดยเน้นการร่วมงานกบัองค์กรทางเลอืก

ทางศลิปะขนาดเลก็แต่เป็นลกัษณะท�างานร่วมกบัชมุชนในประเทศแถบตะวนัออกเฉยีงใต้เป็นหลกั โดยมอีงค์กรจาก เชยีงใหม่ ยอกยา

การ์ตา โฮจมินิห์ซติแีละมะนลิา เสรมิไปกบั องค์กรจากไต้หวนั และจนี ในปีนี้แม้จะมอีงค์กรจากกรงุโซล ประเทศเกาหล ีเข้าร่วมด้วย

แต่ไฮไลท์หลกัๆ กย็งัอยู่ที่เอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต้ โดยเหน็ได้จากจ�านวนศลิปินที่ถูกเชญิมาร่วมแสดง และการกล่าวเปิดตวัสมัมนาวนั

แรก ที่ชื่อว่า เอเชยี บทิส์ โดยให้คณุอนัตารคิซานกัวจิยัจากศูนย์วฒันธรรมศกึษาคนุจ ิแห่งเมอืงยอกยาการ์ตา มาเล่าผลงานวจิยัของ

เขาที่เกี่ยวกบัศลิปะอนิโดนเีซยีในช่วงการยดึครองของญี่ปุ่นบนอาณาจกัรอนิโดนเีซยีช่วงปี 1940’s ซึ่งมนัท�าให้เหน็ มมุมองด้านบวกต่อ

ญี่ปุ่นว่าได้หยบิยื่นการศกึษาศลิปะให้ในขณะที่ปกครอง และพื้นฐานความคดิเรื่องการท�างานโดยการรวมกลุ่มที่ท�างานร่วมกบัชมุชนที่

เป็นรากวฒันธรรมเดมิของอนิโดนเีซยีนั้นตอบรบัความคดิแบบ Genba-shugi ของญี่ปุ่นได้อย่างมนียัส�าคญั ส่วนการเสนองานวจิยัของ

ดร. มาซาโตะ คาราชมิะ จากมหาวทิยาลยัควนัไซ กาคอุนิ กม็คีวามน่าสนใจ เขาพูดถงึการพฒันาความสมัพนัธ์ของวฒันธรรมและ

เศรษฐกจิของญี่ปุ่นกบัประเทศเอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต้หลงัสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงสงครามเยน็ญี่ปุ่นได้กลายเป็นคนกลางระหว่าง

สหรฐัอเมรกิาและเอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต้ เกดิสามเหลี่ยม US-JAPAN-SEA ขึ้น เพื่อป้องกนัการก่อตวัของคอมมวินสิต์ แต่นั้นกไ็ด้ย�้า

เตอืนความสมัพนัธ์อนัดรีะหว่างญี่ปุ่นและอนิโดนเีซยีให้โดดเด่นอกีครั้ง

วฒันธรรมยงัถูกใช้เป็นการเชื่อมไมตรทีี่เป็นมติรอย่างละมนุละม่อม ทั้งกระตุ้นความสนใจคลั่งไคล้ แปรประวตัศิาสตร์ และสร้าง

ภาพใหม่ให้กบัความสมัพนัธ์ในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นในกรอบ GMS หรอื ASEAN และประเทศอื่น การเข้าใจบรบิทต่างๆ ที่แวดล้อมของ

การเข้ามาของวฒันธรรมใหม่นี้ น่าจะท�าให้เราเข้าใจความผนัแปรของสงัคมโลก เพื่อปรบัตวัไปกบัความเปลี่ยนแปลงที่ก�าลงัจะมาถงึ

ผลงานบางส่วนของเทศกาลศลิปะ โคกาเนโจบาซ่าร์ ผลงานชื่อ An Attempt โดยศลิปิน อนิโดนเีซยี ยาย่า ซงุ

Page 60: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 58

ปริทัศน์หนังสือ

BOOK Review

คาราวานและพ่อค้าทางไกล: การก่อเกิดรัฐสมัยใหม่ในภาคเหนือของไทยและดินแดนตอนในของ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

เนื้อหาในหนงัสอืได้กล่าวถงึผู้คน สนิค้า เครอืข่าย และ

พรมแดนการค้าบนเส้นทางยูนนานกบัดนิแดนตอนในของเอเชยี

ตะวนัออกเฉยีงใต้ ช่วงก่อนสมยัใหม่ ถงึครสิต์ศตววรษที่ 19 เมอืง

และตลาดส�าคญั บนเส้นทางยูนนาน-ดนิแดนตอนในของเอเชยี

ตะวนัออกเฉยีงใต้ การค้าแบบคาราวาน และการแลกเปลี่ยน น�า

มาสู่การปรบัเปลี่ยนรูปแบบรฐัระยะแรก (ค.ศ.1850-1911) ความ

เคลื่อนไหวของการค้า ผู้คน และสนิค้า การปรบัตวัของเครอืข่าย

ความสมัพนัธ์ทางการค้า การปะทะสงัสรรค์ของอ�านาจบรเิวณ

ชายแดน การแข่งขนัระหว่างอาณานคิมองักฤษและฝรั่งเศสบน

เส้นทางการค้ามุ่งสู่ยูนนาน การปรบัเปลี่ยนรูปแบบรฐัสยามระยะ

แรก (ค.ศ.1850-1911) ซึ่งศกึษาในประเดน็การจดัการปกครองของ

รฐัสยาม และความเคลื่อนไหวในล้านนา การพจิารณาการปรบั

เปลี่ยนอ�านาจรฐัสยามในหวัเมอืงประเทศราช การปรบัเปลี่ยนรูป

แบบรฐัสยามในระยะที่สอง (ค.ศ.1911-1939) โดยพจิารณาผ่าน

การค้าข้ามพรมแดน และการค้าทางรถไฟ การเกดิขึ้นของพื้นที่

ชายแดน และการค้าข้ามพรมแดนการขยายโครงสร้างพื้นฐานและ

การแบ่งเขตการปกครอง การค้าทางรถไฟ ค.ศ.1911-1939 การ

เปลี่ยนแปลงของเศรษฐกจิการค้าในภาคเหนอื

การค้าชายแดนเป็นเหมอืนกญุแจน�าไปสู่ความเข้าใจการ

ปรบัเปลี่ยนรูปแบบของรฐับรเิวณตอนในของเอเชยีตะวนัออกเฉยีง

ใต้ภาคพื้นทวปี การขยายอ�านาจอาณานคิม และการแข่งขนัทาง

อ�านาจระหว่างสยามกบัอาณานคิม และน�าไปสู่การปรบัเปลี่ยน

รูปแบบของรฐับรเิวณตอนในระยะแรก ซึ่งต่างฝ่ายต่างไม่สามารถ

ปฏบิตักิารทางอ�านาจได้อย่างมปีระสทิธภิาพมากนกั อย่างไร

กต็ามรฐัอาณานคิมอย่างพม่าขององักฤษ ประสบความส�าเรจ็

ในการขยายตลาด และเส้นทางการค้า เพื่อเชื่อมโยงการค้าข้าม

พรมแดนก่อนสยาม นั่นท�าให้การค้าล้านนาและดนิแดนตอนใน

เชื่อมกบัตลาดมะละแหม่ง ท�าให้สนิค้าสมยัใหม่กระจายเข้าสู่

ตลาดตอนในรวมถงึเงนิรูปี และน�าไปสู่การขยายตวัของสนิค้า

ภายในท้องถิ่นทั้งไม้สกัและปศสุตัว์ ส่วนการขยายเส้นทางรถไฟ

สายเหนอืของสยาม แสดงถงึการปรบัเปลี่ยนรูปแบบของรฐัระยะที่

สอง เมื่อสยามเป็นฝ่ายประสบความส�าเรจ็ในการสร้างตลาด และ

เส้นทางการค้าใหม่ อนัหมายถงึการเปลี่ยนแปลงเส้นทางการค้าที่

พม่าขององักฤษได้เริ่มไว้ก่อนหน้า คอืเส้นทางการค้าระหว่างมะละ

แหม่งกบัล้านนา มาสู่การค้าของล้านนากบักรงุเทพมหานคร

ส�าหรบัผู้ที่สนใจประวตัศิาสตร์การก่อเกดิรฐัสมยัใหม่ในภาค

เหนอืของไทยและดนิแดนตอนในของเอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต้ ไม่

ควรที่จะพลาดหนงัสอืคาราวานและพ่อค้าทางไกล: การก่อเกดิรฐั

สมยัใหม่ในภาคเหนอืของไทยและดนิแดนตอนในของเอเชยีตะวนั

ออกเฉยีงใต้ เล่มนี้เป็นอย่างยิ่ง

Page 61: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 59

มังกรหลากสี: การขยายอิทธิพลเหนือดินแดนและพันธกิจเผยแผ่อารยธรรมในอุษาคเนย์

มงักรหลากส:ี การขยายอทิธพิลเหนอืดนิแดนและพนัธกจิ

เผยแผ่อารยธรรมในอษุาคเนย์ เป็นรายงานวจิยัของ ศาสตราจารย์

ดร.ยศ สนัตสมบตั ิที่น�าเสนอบทวเิคราะห์ผลกระทบว่าด้วยการ

เรอืงอ�านาจของจนีที่มตี่อลุ่มแม่น�้าโขงในแง่ต่างๆ ซึ่งเป็นประเดน็

ร่วมสมยัที่ส�าคญัอย่างยิ่ง การเจรญิเตบิโตทางเศรษฐกจิอย่าง

รวดเรว็และต่อเนื่องในช่วงกว่าสามทศวรรษที่ผ่านมา ท�าให้จนี

เป็นมหาอ�านาจใหม่ที่มคีวามมั่งคั่งทางเศรษฐกจิ การเป็นประเทศ

ใหญ่ที่มปีระชากรมากที่สดุในโลก และมเีศรษฐกจิเป็นอนัดบัสอง

ของโลก ท�าให้จนีกลายเป็นตวัแสดงที่ส�าคญับนเวทโีลกและเวที

ภูมภิาค จนีกบัลุ่มน�้าโขงมคีวามสมัพนัธ์เชงิเศรษฐกจิอย่างแนบ

แน่น แม้กระนั้นกด็ ีสมัพนัธภาคระหว่างจนีกบัลุ่มน�้าโขงมคีวาม

ซบัซ้อนและคาบเกี่ยวพวัพนักบัประเดน็ทางการเมอืงและสงัคม

วฒันธรรมอื่นๆ การเจรญิเตบิโตทางเศรษฐกจิอย่างรวดเรว็ของ

จนี มาพร้อมกบัปัญหาสภาพแวดล้อม การแสวงหาความมั่นคง

ทางพลงังานและวตัถดุิบในภูมภิาคต่างๆ ทั่วโลก อกีทั้งการพฒันา

กองทพัสู่ความทนัสมยั ล้วนแล้วแต่สร้างประเดน็ปัญหาท้าทาย

ใหม่ๆ ให้แก่ประเทศเลก็ๆ ผู้ด้อยอ�านาจในลุ่มน�้าโขง ปัญหา

ท้าทายใหม่ท�าหน้าที่ทั้งกระตุ้นเร้าและจ�ากดัความร่วมมอืระหว่าง

จนีกบัประชาคมอาเซยีน โครงการวจิยันี้ให้ความสนใจกบัปัญหา

ท้าทายใหม่ๆ ในความสมัพนัธ์ระหว่างจนีกบัลุ่มน�้าโขงโดยเน้น

ประเดน็การลงทนุ การค้า ความช่วยเหลอืต่างประเทศ จนีอพยพ

รุ่นใหม่ และผลกระทบของประเดน็เหล่านี้ในลุ่มน�้าโขง

ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา การเป็นกลัยาณมติรกบัจนีของ

ประเทศลุ่มน�้าโขงบนพื้นฐานสภาวะพึ่งพงิจนี ได้รบัการสถาปนา

ขึ้นภายใต้เงื่อนไขส�าคญั 3 ประการที่เชื่อมโยงสมัพนัธ์กนัอย่าง

แนบแน่น คอื 1. การขยายตวัของการค้า การลงทนุ และความ

ช่วยเหลอืต่างประเทศ 2. การขยายอทิธพิลเหนอืดนิแดนผ่าน

สมัปทานที่ดนิและโครงการขนาดใหญ่ และ 3. การแพร่กระจาย

ของวฒันธรรมเศรษฐกจิจนีที่มาพร้อมกบัการหลั่งไหลของจนี

อพยพรุ่นใหม่สู่ล่มุน�้าโขง

สมัพนัธภาพระหว่างชาวจนีกบัอนารยชนในอษุาคเนย์พฒันา

ขึ้นเป็นความสมัพนัธ์ที่เรยีกกนัว่าระบบบรรณาการ หรอืความ

สมัพนัธ์เชงิการทูตระหว่างรฐัโบราณของอษุาคเนย์กบัจนี รฐั

ชาตจินีมบีทบาทโดดเด่นในการเคลื่อนย้ายของผู้คนในกระบวน

การโลกาภวิตัน์ และได้ใช้ยทุธวธิตี่างๆ เพื่อสร้างอทิธพิลต่อ

จนิตนาการของชาวจนีข้ามชาต ิรฐับาลจนีใช้ความพยายามอย่าง

มากมายเพื่อสร้างความผูกพนัและความจงรกัภกัดขีองชาวจนีโพ้น

ทะเลรุ่นใหม่และรุ่นเก่าต่อแผ่นดนิ โดยการช่วยจดัตั้งองค์กรและ

สมาคมจนีโพ้นทะเลให้มคีวามเข้มแขง็ และมสี�านกึแห่งความเป็น

จนีอยู่ตลอดเวลา

มงักรหลากส:ี การขยายอทิธพิลเหนอืดนิแดนและ

พนัธกจิเผยแผ่อารยธรรมในอษุาคเนย์ เป็นหนงัสอืที่เหมาะ

นกัเรยีน นกัศกึษา ครู อาจารย์ และบคุคลทั่วไปผู้สนใจใคร่ศกึษา

ประวตัศิาสตร์จนี การก้าวขึ้นมายิ่งใหญ่และเป็นผู้น�าของจนี

ความสมัพนัธ์ที่จนีมตี่อประเทศต่างๆ ในลุ่มน�้าโขง

Page 62: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 60

Ghosts of the New City: Spirits, Urbanity, and the Ruins of Progress in Chiang Mai

เมอืงเชยีงใหม่ (เมอืงใหม่) ได้รบัผลกระทบความเดอืดร้อน

จากวกิฤตการเงนิเอเชยีในปี ค.ศ. 1997 ที่เรยีกว่าวกิฤตต้มย�ากุ้ง

เกดิปัญหาฟองสบู่แตก ส่งผลให้ธรุกจิอสงัหารมิทรพัย์ภาคเหนอื

ของไทย ทรดุตวัลงพร้อมกบัค่าเงนิบาทที่ลอยตวัขึ้น ท�าลายความ

ฝันของยคุฟื้นฟูศลิปวทิยาของความเจรญิรุ่งเรอืงทางตอนเหนอื

ของไทย

ผขีองเมอืงใหม่ (Ghosts of The New City) ของ แอนดรู

อลนั จอห์นสนั (Andrew Alan Johnson) แสดงให้เหน็ถงึการได้

รบัความเสยีหายทางเศรษฐกจิ ที่เกดิขึ้นอกีครั้งหนึ่ง ในวกิฤติ

ทางการเมอืงของปี ค.ศ. 2006 ที่สร้างปัญหาและหลอกหลอน ต่อ

ความพยายามที่จะสร้างเมอืงเชยีงใหม่ขึ้นมาใหม่ ส�าหรบัชาว

เชยีงใหม่จ�านวนมาก มองว่าการพฒันาใหม่จะเป็นเมลด็พนัธุ์ของ

การแข่งขนั และน�ามาซึ่งการปรากฏตวัของเรื่องผแีละอาชญากรที่

ปกปิดตวัเองอยู่ข้างหลงัแผ่นไม้อดัความก้าวหน้าของเมอืง

วญิญาณและความกลวั มรีากเหง้าอยู่ในความคดิของ

คนไทย มคีวามสมัพนัธ์กบัพทุธศาสนา จอห์นสนัระบวุ่าเมอืง

ไทยมศีูนย์กลางอยู่ที่อ�านาจบารมขีองพระมหากษตัรยิ์ บวกกบั

ศาสนาพทุธ การปฏบิตัทิางศาสนาที่เป็นที่นยิม และดงึแนวร่วม

ระหว่างกลุ่มชาตพินัธุ์ สถาปนกิพยายามที่จะฟื้นฟูเศรษฐกจิ และ

โครงสร้างพื้นฐานของเชยีงใหม่ จอห์นสนั พบว่าความหวงัส�าหรบั

ความคบืหน้ามอียู่ในวาทกรรมเกี่ยวกบัผกีารก่อสร้างเมอืง มคีวาม

วติกกงัวลที่ซุ่มซ่อนของการแข่งขนัที่เป็นไปได้ในอกีวาทกรรมที่

เรยีกประวตัศิาสตร์ การตั้งค�าถาม ด้วยวธินีี้ผขีองเมอืงใหม่จงึดงึ

การเชื่อมต่อใหม่ระหว่างเมอืงประวตัศิาสตร์และศาสนาที่เป็นที่

นยิมที่มผีลกระทบไกลเกนิเอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต้

Ghosts of the new city ถอืเป็นหนงัสอืที่อ่านสนกุ อ่านเพลนิ

มเีนื้อหาเรื่องราวที่น่าตดิตาม ชวนตั้งค�าถาม และคดิตามตลอด

ทั้งเรื่อง จงึถอืเป็นหนงัสอืที่เหมาะกบับคุคลทกุเพศทกุวยั ที่รกัการ

อ่าน สนใจมติมิมุมองทางมานษุยวทิยา

Page 63: Becoming 02 asean from below

B ECO M IN G / 61

Ethnicity Borders and the Grassroots Interface with the State

หนงัสอืเล่มนี้รวบรวมงานวจิยัใหม่ที่น่าตื่นเต้นโดยนกั

มานษุยวทิยาที่ท�างานในแผ่นดนิใหญ่เอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต้นาม

ว่า Charles F. Keyes เขามแีนวคดิของตวัเองในการท�างานด้าน

เชื้อชาตศิาสนาและความทนัสมยั ที่พวกเขาสามารถน�าไปใช้กบั

ประเทศของไทย, เวยีดนาม, กมัพูชาและลาว

Charles F. Keyes สะท้อนให้เหน็ถงึความสนใจของนกั

วชิาการที่ผ่านมาข้ามพรมแดน ประเดน็ที่สะท้อนให้เหน็ทั้งใน

ความซบัซ้อนของตวัตนที่กลุ่มชาตพินัธุ์ขยายข้ามเขตแดน และใน

การเพิ่มการเคลื่อนไหวข้ามพรมแดน ปรมิาณจะแบ่งออกเป็นสาม

ส่วนครั้งแรก “ของรฐัและสาธารณะพธิ”ี รวมถงึบทในพธิมีรดก

ของชาตทิี่มชีื่อเสยีงในประเทศเวยีดนามและสหรฐัอเมรกิาฉาน

รเิริ่มสามเณรใกล้ชายแดนของพม่าในประเทศไทยและการฟื้นฟูของบวชในประเทศกมัพูชาส่วนที่สอง “รากหญ้าที่การเจรจาต่อรองของ

ความทนัสมยั “ มบีทที่เกี่ยวกบัแนวคดิของ “พอเพยีง” ในการผลติของเกษตรกรไทยทนัสมยั วธิทีี่จะรู้สกึในหมู่ชาวลาหู่ในประเทศไทย

และความซบัซ้อนของระบบไทยบตัรประจ�าตวัส่วนสดุท้าย “ข้ามพรมแดนของรฐัชาต”ิ มุ่งเน้นไปที่ประชากรไร้สญัชาตลิาวในภาคตะวนั

ออกเฉยีงเหนอือพยพเวยีดนามลาวและตะวนัตก (ฝรั่ง) ผู้ชายที่แต่งงานกบัผู้หญงิไทยภาคตะวนัออกเฉยีงเหนอื ผู้เขยีนหนงัสอืเล่มนี้

รวมถงึนกัวชิาการที่อยู่ในไทย, เวยีดนาม, สหรฐัอเมรกิาออสเตรเลยีและเมก็ซโิก หนงัสอืเล่มนี้เป็นอ้างองิที่ทรงคณุค่าส�าหรบันกัวชิาการ

เอเชยีตะวนัออกเฉยีงใต้และยงัจะดงึดูดความสนใจของผู้อ่านทั่วไป

สนใจส่งบทความ บทวิจารณ์ ภาพถ่าย หรือติชมตดิต่อ คุณสมัคร์ กอเซ็ม

นกัวจิยัและกองบรรณาธกิารจดหมายข่าว ศูนย์อาเซยีนศกึษา มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่

e-mail: [email protected]

โทรศพัท์: 094-048-3702

Page 64: Becoming 02 asean from below

ภาพ

อาเซ

ียน

AS

EA

N S

ho

tTe

asho

ps d

o no

t jus

t bre

w te

a bu

t also

bre

w B

urm

ese

cultu

ral i

dent

ity a

nd

socia

l rela

tions

hips.

[Mus

lim T

eash

op in

Man

dalay

, Mya

nmar]

ภาพถ่า

ยโดย

ชยนั

ต์ วร

รธนะ

ภูติ