13
BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS Thoranin kongsuk M.D. M.Sc.M.Econ

BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS statistics.pdf · การเ6อกใ8+การ:ดเ’า

  • Upload
    others

  • View
    18

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS statistics.pdf · การเ6อกใ8+การ:ดเ’า

BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS Thoranin kongsuk M.D. M.Sc.M.Econ

Page 2: BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS statistics.pdf · การเ6อกใ8+การ:ดเ’า

ประเภทของสถติิ

ชวีสถติ ิBiostatistics

สถติเิชงิพรรณนา Descriptive Statistics

สถติเิชงิอนุมาน Inferential Statistics

การคาดประมาณ Parameter Estimation

การทดสอบสมมตฐิาน Hypothesis Testing

การคาดประมาณเฉพาะคา่ Point Estimation

การคาดประมาณเป็นชว่ง Interval Estimation

P-value

95% confident

Page 3: BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS statistics.pdf · การเ6อกใ8+การ:ดเ’า

สถิติ คา่เฉลี@ยเลขคณติ x คา่เบี@ยงเบนมาตรฐาน s

คา่สดัสว่น p

พารามิเตอร์ คา่เฉลี@ยเลขคณติ µ คา่เบี@ยงเบนมาตรฐาน δ

คา่สดัสว่น π

สถิติพรรณนาDescriptive statistics

Page 4: BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS statistics.pdf · การเ6อกใ8+การ:ดเ’า

ประชากรประเทศไทย 63,525,062 คน

กลุม่ตวัอยา่ง 1,000 คน

น ้าํหนักตวัเฉลี@ย (x) = 50 kg

น ้าํหนักตวัเฉลี@ย (µ) = ?? kgพารามเิตอร์

สถติิ

ตวัอยา่ง ตอ้งการทราบน ้าํหนักตวัเฉลี@ยของประชากรไทย

สถติเิชงิอนุมาน

สถติเิชงิพรรณนา

* การขยายผลจากกลุ่มตัวอย่างไปสู่ประชากรโดยใช้สถิติอนุมานจะทำได้จากกลุ่มตัวอย่างที่มาจากการสุ่มจากประชากรเท่านั้น

Page 5: BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS statistics.pdf · การเ6อกใ8+การ:ดเ’า

ระเบียบวิธีทางสถิติ

1. การรวบรวมข้อมูล : ครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้อง

2. การวิเคราะห์ข้อมูล : เลือกสถิต

3. การนำเสนอข้อมูล : กราฟ ตาราง บทความหรือบรรยาส

4. การแปรผล

Page 6: BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS statistics.pdf · การเ6อกใ8+การ:ดเ’า

สถิติพรรณนา (DESCRIPTIVE STATISTICS)

ใช้เพื่ออธิบายลักษณะของข้อมูลสถิติของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่

สัดส่วน อัตรา อัตราส่วน (proportion, rate, ratio)

การวัดแนวโน้มเขาสู่ส่วนกลาง (Mean, Median, Mode) เพื่อหาค่าที่ดีที่สุดเป็นตัวแทนค่าของกลุ่มตัวอย่าง

การวัดการกระจาย (SD, Range,

Interquartile Range) เพื่อดูความแตกต่างของแต่ละตัวอย่างจากค่ากลาง

Page 7: BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS statistics.pdf · การเ6อกใ8+การ:ดเ’า

การเลือกใช้วิธีการวัดเข้าสู่ส่วนกลางและการวัดการกระจาย

รปูแบบการกระจาย การวดัแนวโนม้เขา้สูส่ว่นกลาง การวดัการกระจาย

การกระจายแบบปกต ิ(Normal Distribution)

คา่เฉลี@ยเลขคณติ (Arithmetic Mean)

คา่เบี@ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

การกระจายแบบเบ ้ (Skew Distribution)

คา่มธัยฐาน (Median) พสิยั (Range) หรอื Interquartile Range

การกระจายแบบ Exponential หรอื Logarithmic

คา่เฉลี@ยเรขาคณติ (Geometric Mean)

Geometric Standard Deviation

Page 8: BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS statistics.pdf · การเ6อกใ8+การ:ดเ’า

ใช้อธิบายลักษณะของประชากร มี 2 องค์ประกอบ

1. การประมาณค่า (Estimation) รายงานผลเป็นค่าช่วงเชื่อมั่น (95% Confidence intervals)

2. การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis testing) รายงานผลเป็นค่า p-value (หรือมีนัยสําคัญ/ ไม่มีนัยสําคัญSignificant / Non-significant)

สถิติอนุมาน (INFERENTIAL STATISTICS)

Page 9: BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS statistics.pdf · การเ6อกใ8+การ:ดเ’า

คู่มือปฏิบัติการชีวสถิติของ อ.บัณฑิต ถิ่นคำรพ

Overview of statistics

Page 10: BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS statistics.pdf · การเ6อกใ8+การ:ดเ’า

คู่มือปฏิบัติการชีวสถิติของ อ.บัณฑิต ถิ่นคำรพ

Page 11: BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS statistics.pdf · การเ6อกใ8+การ:ดเ’า

คู่มือปฏิบัติการชีวสถิติของ อ.บัณฑิต ถิ่นคำรพ

Page 12: BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS statistics.pdf · การเ6อกใ8+การ:ดเ’า

Exercise

ตัวแปรตาม และตัวแปรอิสระ

มาตราที่ใช้วัด (Scale)

ประเภทของข้อมูลที่ได้จากการวัดตัวแปร

(Continuous, Categorical)

เครื่องมือและ วิธีวัดตัวแปร

ตัวแปรอื่นๆที่ไม่ต้องการ วิธีการป้องกันหรือควบคุมหรือจัดการ

1. ในผู้สูงอายุที่ได้รับโปรแกรม 16 สัปดาห์ เปรียบเทียบกลุ่มไม่ได้รับ คุณภาพชีวิตที่ขึ้นหรือไม่

Page 13: BIOSTATISTIC AND DATA ANALYSIS statistics.pdf · การเ6อกใ8+การ:ดเ’า

การแปรผลการวิจัย

“จากการศึกษาน้ําหนักแรกเกิดของ ทารก 420 คนในพื้นที่ที่มีโครงการรณรงค์ทางโภชนาการ (พื้นที่ทดลอง) และ 450 คน ใน พื้นที่ปกติ (พื้นที่ควบคุม) พบว่า ค่าเฉลี่ย น้ําหนักแรกเกิดในพื้นที่ทดลองเท่ากับ 3,800 กรัม (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 150) และในพื้นที่ควบคุมเท่ากับ 3,100 กรัม (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 140) ค่าเฉลี่ยน้ำหนัก แรกเกิดในพื้นที่ทดลองสูงกว่าพื้นที่ควบคุม 700 กรัม (95%ช่วงเชื่อมั่น = 200 ถึง 1,200) ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ (p-value = 0.007)”

ท่านเข้าใจการสรุปผล

การวิจัยนี้

อย่างไร?

คู่มือปฏิบัติการชีวสถิติของ อ.บัณฑิต ถิ่นคำรพ