13
1 Asst.Prof.Chusak Kererat Soil Mechanics Laboratory Soil Mechanics Laboratory Soil Mechanics Laboratory การทดสอบหาคา ซี.บี.อาร. ของดิน Rajamangala University of Technology Rattanakosin Wang Klai Kangwong Civil Engineering ผูชวยศาสตราจารยชูศักดิคีรีรัตน มาตรฐานการทดสอบ ทฤษฎีการทดสอบ การแปลผลการทดสอบ การนําไปใชงาน Lab 10: Lab 10: California Bearing Ratio Test California Bearing Ratio Test Asst.Prof.Chusak Kererat มาตรฐานการทดสอบทางวิศวกรรมปฐพี ASTM D 1883-99 Test Method for CBR (California Bearing Ratio) of Laboratory-Compacted Soils. ASTM D 4429-93 Test Method for CBR (California Bearing Ratio) of Soils in Place.

Califirnia Bearing Ratio

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Califirnia Bearing Ratio

1

Asst.Prof.Chusak Kererat

Soil Mechanics LaboratorySoil Mechanics LaboratorySoil Mechanics Laboratory

การทดสอบหาคา ซี.บี.อาร. ของดิน

Rajamangala

University of Technology Rattanakosin Wang Klai Kangwong

Civil Engineering

ผูชวยศาสตราจารยชูศักดิ์ คีรีรัตน

มาตรฐานการทดสอบ ทฤษฎีการทดสอบ การแปลผลการทดสอบ การนําไปใชงาน

Lab 10:Lab 10: California Bearing Ratio TestCalifornia Bearing Ratio Test

Asst.Prof.Chusak Kererat

มาตรฐานการทดสอบทางวิศวกรรมปฐพี

ASTM D 1883-99 Test Method for CBR (California Bearing Ratio)of Laboratory-Compacted Soils.

ASTM D 4429-93 Test Method for CBR (California Bearing Ratio)of Soils in Place.

Page 2: Califirnia Bearing Ratio

2

Asst.Prof.Chusak Kererat

ทฤษฎีการทดสอบ

CBR Test เปนวิธีการวัดคาความตานทานแรงเฉือนของดินในสภาวะที่ดินถูกควบคุมความชื้นและความหนาแนน โดยการใชทอนเหล็กขนาดพื้นที่หนาตัด 3 ตร.นิ้ว กดลงบนดินตัวอยางที่เตรียมไวดวยอัตรา 0.05 นิ้วตอนาที พิจารณาที่ทอนเหล็กจมลงไปในดิน 2.5 มม. (0.10 นิ้ว) แลวนําไปหาอัตราสวนตามสมการ ดังนี้

Weight UnitdardtanSWeight UnitTest

CBR=

Asst.Prof.Chusak Kererat

ทฤษฎีการทดสอบ

Proving Ring

Dial Gauge

Page 3: Califirnia Bearing Ratio

3

Asst.Prof.Chusak Kererat

ทฤษฎีการทดสอบ

182.81

161.71

133.59

105.46

70.30

ksc

Standard Unit Weight

2,6000.5012.7

2,3000.4010.0

1,8000.307.5

1,5000.205.0

1,0000.102.5

psiInchmm

ความลึกของทอนกด

Asst.Prof.Chusak Kererat

ทฤษฎีการทดสอบ

5

5

3

3

Layer

10 lb56D 1557:4 (Coarse-Grained Soil)

10 lb56D 1557:2 (Fine-Grained Soil)

5.5 lb56D 698:4 (Coarse-Grained Soil)

5.5 lb56D 698:2 (Fine-Grained Soil)

Hammer Wt.BlowsMethod

Page 4: Califirnia Bearing Ratio

4

Asst.Prof.Chusak Kererat

ทฤษฎีการทดสอบ

Asst.Prof.Chusak Kererat

ทฤษฎีการทดสอบ

การบดอัดแบบมาตรฐานหรือสูงกวามาตรฐาน

คา CBR

แชนํ้า (4 วัน)

วัดเปอรเซ็นตการบวมตัวไมแชนํ้า

กดดวยแทงเหล็ก

มาตรฐาน

Page 5: Califirnia Bearing Ratio

5

Asst.Prof.Chusak Kererat

การแปลผลการทดสอบหาคา ซี.บี.อาร.

การเตรียมตัวอยางดิน

เตรียมดินแหงสําหรับทดสอบ 5.5 x3 กิโลกรัม

เลือกใช Mold ใหเหมาะสมกับขนาดของเม็ดดิน ถาเม็ดดินมีขนาดเล็กใหรอนผานตะแกรงเบอร 4 ถาเม็ดดินมีขนาดใหญกวา ตะแกรงเบอร 4 ใหรอนผานตะแกรง

ขนาด 3/4 นิ้ว โดยสวนที่คางตะแกรงขนาด 3/4นิ้ว ใหแทนที่ดวยดินที่ผานตะแกรงขนาด 3/4นิ้วและคางตะแกรงเบอร 4 ในปริมาณที่เทากัน

ใชคอนยางทุบดินที่เกาะอยู

ออกจากกัน

Asst.Prof.Chusak Kererat

ผสมนํ้าที ่OMCคลุกเคลาใหทั่ว

ตักดินในโมล

ตามวิธีการบดอัด

บดอัดดิน

ตามวิธีการบดอัด

ใส Spacer Disc ลงใน CBR Mold

แตงดินใหเรียบเสมอขอบโมล นําไปชั่งนํ้าหนัก

เก็บตัวอยางดิน

ไปหาปรมิาณความชืน้

12 คร้ัง25 คร้ัง56 คร้ัง

การแปลผลการทดสอบหาคา ซี.บี.อาร.

Page 6: Califirnia Bearing Ratio

6

Asst.Prof.Chusak Kererat

การแปลผลการทดสอบการบดอัดดินการแปลผลการทดสอบหาคา ซี.บี.อาร.

Asst.Prof.Chusak Kererat

การแปลผลการทดสอบการบดอัดดิน

การทดสอบแบบไมแชน้ํา (Unsoaked CBR)

วางนํ้าหนักกดทับ 10 ปอนด

ติดตั้งมาตรวัดการยบุตัว

การแปลผลการทดสอบหาคา ซี.บี.อาร.

Page 7: Califirnia Bearing Ratio

7

Asst.Prof.Chusak Kererat

การแปลผลการทดสอบการบดอัดดิน

การทดสอบแบบแชน้ํา (Soaked CBR)

นําตัวอยางดินไปแชนํ้า 4 วัน โดยตองบันทึกคาการบวมตัวทุกวัน เมื่อครบ 4 วันนําข้ึนจากน้ําทิ้งไว 15 นาที ใหนํ้าไหลออก

แลวจึงนํามาทดสอบเหมือนกบัวธิีไมแขนํ้า

การแปลผลการทดสอบหาคา ซี.บี.อาร.

Asst.Prof.Chusak Kererat

การแปลผลการทดสอบการบดอัดดิน

ในระหวางนําดินไปทดสอบความตานทาน ไมวาตัวอยางดินจะเปนแบบแช

น้ําหรือไมแชน้ําก็ตาม ตองใสน้ําหนักกดทับทุกครั้ง ท้ังนี้เพื่อตองการคา

CBR ท่ีควรจะเกิดข้ึนจริงในสนาม เนื่องจากในหนาฝนระดับน้ําใตดินจะสูง

จนทําใหดินที่รองรับถนนอยูอิ่มตัว และอัตราการบวมของดินที่จะนํามาใช

ในการกอสรางจะเปนคาหนึ่งซึ่งบงบอกถึงคุณสมบัติ และความเหมาะสมใน

การใชงานของวัสดุชนิดนั้น

ในระหวางนําดินไปทดสอบความตานทาน ไมวาตัวอยางดินจะเปนแบบแช

น้ําหรือไมแชน้ําก็ตาม ตองใสน้ําหนักกดทับทุกครั้ง ท้ังนี้เพื่อตองการคา

CBR ท่ีควรจะเกิดข้ึนจริงในสนาม เนื่องจากในหนาฝนระดับน้ําใตดินจะสูง

จนทําใหดินที่รองรับถนนอยูอิ่มตัว และอัตราการบวมของดินที่จะนํามาใช

ในการกอสรางจะเปนคาหนึ่งซึ่งบงบอกถึงคุณสมบัติ และความเหมาะสมใน

การใชงานของวัสดุชนิดนั้น

การแปลผลการทดสอบหาคา ซี.บี.อาร.

Page 8: Califirnia Bearing Ratio

8

Asst.Prof.Chusak Kererat

การแปลผลการทดสอบการบดอัดดิน

การทดสอบ CBR กับตัวอยางดินแบบแชน้ํา ทําใหทราบผลสัมฤทธิ์ 2 ประการ

1. ทําใหทราบวาดินชนิดนั้นๆ สามารถขยายตัวใตผิวทางไดเทาใดเมื่ออยูใน

สภาพอิ่มตัว

2. แสดงใหเห็นวาดินสูญเสียความแข็งแรงไปเมื่ออยูในสภาพอิ่มตัว

การทดสอบ CBR กับตัวอยางดินแบบแชน้ํา ทําใหทราบผลสัมฤทธิ์ 2 ประการ

1. ทําใหทราบวาดินชนิดนั้นๆ สามารถขยายตัวใตผิวทางไดเทาใดเมื่ออยูใน

สภาพอิ่มตัว

2. แสดงใหเห็นวาดินสูญเสียความแข็งแรงไปเมื่ออยูในสภาพอิ่มตัว

การแปลผลการทดสอบหาคา ซี.บี.อาร.

Asst.Prof.Chusak Kererat

การแปลผลการทดสอบการบดอัดดิน

การทดสอบหาคา CBR ในสนาม

การแปลผลการทดสอบหาคา ซี.บี.อาร.

Page 9: Califirnia Bearing Ratio

9

Asst.Prof.Chusak Kererat

การแปลผลการทดสอบการบดอัดดินการแปลผลการทดสอบหาคา ซี.บี.อาร.

Asst.Prof.Chusak Kererat

การแปลผลการทดสอบการบดอัดดิน

การปรับแกกราฟเพื่ออานคาแรงตานการกด

การแปลผลการทดสอบหาคา ซี.บี.อาร.

Page 10: Califirnia Bearing Ratio

10

Asst.Prof.Chusak Kererat

การแปลผลการทดสอบการบดอัดดิน

ตัวอยางการอานคาแรงตานการกด

การแปลผลการทดสอบหาคา ซี.บี.อาร.

Asst.Prof.Chusak Kererat

การแปลผลการทดสอบการบดอัดดินการแปลผลการทดสอบหาคา ซี.บี.อาร.

Page 11: Califirnia Bearing Ratio

11

Asst.Prof.Chusak Kererat

การแปลผลการทดสอบการบดอัดดิน

ขอควรจํา

1. ถา % C.B.R ท่ี 0.1 นิ้ว มากกวา % C.B.R ท่ี 0.2 นิ้ว ใหรายงานผลที่ 0.1 นิ้ว

2. ถา % C.B.R ท่ี 0.2 นิ้ว มากกวา % C.B.R ท่ี 0.1 นิ้ว ใหทําการทดสอบใหม

3. ถา % C.B.R ท่ี 0.2 นิ้ว ยังคงมากกวา % C.B.R ท่ี 0.1 นิ้ว ใหรายงานผลที่ 0.2 นิ้ว

1. ถา % C.B.R ท่ี 0.1 นิ้ว มากกวา % C.B.R ท่ี 0.2 นิ้ว ใหรายงานผลที่ 0.1 นิ้ว

2. ถา % C.B.R ท่ี 0.2 นิ้ว มากกวา % C.B.R ท่ี 0.1 นิ้ว ใหทําการทดสอบใหม

3. ถา % C.B.R ท่ี 0.2 นิ้ว ยังคงมากกวา % C.B.R ท่ี 0.1 นิ้ว ใหรายงานผลที่ 0.2 นิ้ว

การแปลผลการทดสอบหาคา ซี.บี.อาร.

Asst.Prof.Chusak Kererat

การนําไปใชงาน

1. นําไปใชสําหรับออกแบบความหนาชั้นดินถนนลาดยาง โดยการกําหนดความหนาจาก Design Chart หรืออาจใชชวยในการกําหนดคา Subgrade Modulus (K) ของดินจากตารางเปรียบเทียบเพื่อชวยในการออกแบบถนนคอนกรีต

Page 12: Califirnia Bearing Ratio

12

Asst.Prof.Chusak Kererat

การแปลผลการ

ทดสอบการบด

อัดดิน

การนําไปใชงาน

แผนภูมิสําหรับออกแบบ

ถนนจากคา CBR

Asst.Prof.Chusak Kererat

การนําไปใชงาน

2. นําไปใชสําหรับเปนขอกําหนดความเหมาะสมของชั้นทาง

Baseดีท่ีสุด>80

Baseดีมาก50 - 80

Subbase,Baseดี20 - 50

Subbaseพอใช7 - 20

Subgradeไมดีถึงพอใช3 - 7

Subgradeใชไมได0 - 3

การใชงานคุณสมบัติเหมาะสม

ทางวิศวกรรม

CBR

(%)

Page 13: Califirnia Bearing Ratio

13

Asst.Prof.Chusak Kererat

ดูวีดีโอแสดงขั้นตอนการทดสอบ และการกรอกขอมูล