24
การบริหารจัดการเครือข่าย (Network Management System) การบริหารจัดการเครือข่าย ( Network Management System) เป็นการดูแล เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และจัดการทรัพยากรในเครือข่ายหนึ่งๆ ให้สามารถทางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลรวมถึงการดูแลปริมาณ ของข้อมูลที่มีอยู่ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไม่ให้มากจนเกินไปเพื่อนามาตัดสินใจต่อการจัดการ เครือข่าย ซึ่งการจัดการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้นสามารถที่จะแบ่งออกเป็นส่วนต่าง ๆ ได้เป็น 5 ส่วนหลักคือ 1. การจัดการระบบความผิดพลาดของเครือข่าย (Fault Management) - การตรวจสอบสถานะของระบบคอมพิวเตอร์ และ เครือข่าย - การตรวจสอบปัญหาและการแจ้งปัญหา - การวิเคราะห์ถึงเหตุของปัญหา - การแก้ไขปัญหา - การบันทึกปัญหา และวิธีการแก้ไข

chapter 10 basic network

Embed Size (px)

DESCRIPTION

basic network

Citation preview

Page 1: chapter 10 basic network

การบริหารจัดการเครือข่าย (Network Management System)

การบริหารจัดการเครือข่าย (Network Management System) เป็นการดูแล

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และจัดการทรัพยากรในเครือข่ายหนึ่งๆ ให้สามารถท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลรวมถึงการดูแลปริมาณของข้อมูลที่มีอยู่ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไม่ให้มากจนเกินไปเพื่อน ามาตัดสินใจต่อการจัดการเครือข่าย ซึ่งการจัดการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้นสามารถที่จะแบ่งออกเป็นส่วนต่าง ๆ ได้เป็น 5 ส่วนหลักคือ

1. การจัดการระบบความผิดพลาดของเครือข่าย (Fault Management) - การตรวจสอบสถานะของระบบคอมพิวเตอร์ และ เครือข่าย - การตรวจสอบปัญหาและการแจ้งปัญหา - การวิเคราะห์ถึงเหตุของปัญหา - การแก้ไขปัญหา - การบันทึกปัญหา และวิธีการแก้ไข

Page 2: chapter 10 basic network

2. การจัดการคุณสมบัติของอุปกรณ์ของเครือข่าย (Performance Management) - การด าเนินการเพื่อให้ระบบเครือข่ายสามารถใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ - สิ่งที่จ าเป็นจะต้องค านึงถึง - Throughput - Utilization - Error - Response Time - มีการก าหนดค่ามาตรฐานในการใช้งานเครือข่าย - มีระบบเตือนผู้ดูแลหากมีการใช้งานเกินค่ามาตรฐานดังกล่าว เพื่อให้มีการ

ด าเนินการอื่นๆ ต่อไป

3. การจัดการรูปแบบของเครือข่าย (Configuration Management) - ลักษณะการเชื่อมต่อ และความสัมพันธ์ต่างๆ ของระบบ - ข้อมูลต่างๆ ของอุปกรณ์ เช่น รุ่น ยี่ห้อ คุณลักษณะ ซอฟต์แวร์ - ข้อมูล Configuration ต่างๆ ที่ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา - การท า Change Management เพื่อวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็น Configuration, Hardware, Software

- ข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับระบบที่เก็บไว้นั้น ต้องสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วในกรณีฉุกเฉิน 4. การจัดการระบบบัญชีของเครือข่าย (Accounting Management)

- การบันทึกกิจกรรมต่างๆ ในระบบเครือข่าย - การค านวณต้นทุนในการใช้งานระบบเครือข่าย - การด าเนินการเพื่อลดต้นทุน การก าหนดนโยบาย หรือ Quota ในการใช้งาน

5. การจัดการระบบความปลอดภัยของเครือข่าย (Security Management) - การควบคุมการเข้าถึงทรัพยากรต่างๆ ของระบบเครือข่าย ( ACL) - การจัดตั้งนโยบายรักษาความปลอดภัยการใช้งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Page 3: chapter 10 basic network

- มีการน าระบบ AAA เข้ามาใช้งาน - Authentication - Authorization - Accounting

- มีการตรวจสอบบันทึกการเข้าถึง (Logging) อย่างสม่ าเสมอ - การท า Data Encryption

Page 4: chapter 10 basic network

การใช้ทรัพยากรร่วมกันในเครือข่าย

1. การใช้ทรัพยากรร่วมกัน หมายถึง การใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องพิมพ์ร่วมกัน กล่าวคือ มีเครื่องพิมพ์เพียงเครื่องเดียว ทุกคนในเครือข่ายสามารถใช้เครื่องพิมพ์นี้ได้ ท าให้สะดวกและประหยัดค่าใช้จ่าย เพราะไม่ต้องลงทุนซื้อเครื่องพิมพ์หลายเครื่อง (นอกจากจะเป็นเครื่องพิมพ์คนละประเภท) 2. การแชร์ไฟล์ เมื่อคอมพิวเตอร์ถูกติดตั้งเป็นระบบเน็ตเวิร์กแล้ว การใช้ไฟล์ข้อมูลร่วมกันหรือการแลกเปลี่ยนไฟล์ท าได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ไม่ต้องอุปกรณ์เก็บข้อมูลใดๆ ทั้งสิ้นในการโอนย้ายข้อมูลตัดปัญหาเรื่องความจุของสื่อบันทึกไปได้เลย ยกเว้นอุปกรณ์ในการจัดเก็บข้อมูลหลักอย่างฮาร์ดดิสก์ หากพื้นที่เต็มก็คงต้องหามาเพิ่ม 3. การติดต่อสื่อสาร โดยคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเป็นระบบเน็ตเวิร์ก สามารถติดต่อ

Page 5: chapter 10 basic network

พูดคุยกับเครื่องคอมพิวเตอร์อื่น โดยอาศัยโปรแกรมสื่อสารที่มีความสามารถใช้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ได้เช่นเดียวกัน หรือการใช้อีเมล์ภายในก่อให้เครือข่าย Home Network หรือ Home Office จะเกิดประโยชน์นี้อีกมากมาย 4. การใช้อนิเทอร์เน็ตร่วมกัน คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อในระบบ เน็ตเวิร์กสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ทุกเครื่อง โดยมีโมเด็มตัวเดียว ไม่ว่าจะเป็นแบบอนาล็อกหรือแบบดิจิตอลอย่าง ADSL ยอดฮิตในปัจจุบัน

1. เปิดแชร์ข้อมูลในเครื่อง การแชร์ไฟล์ (Sharing File) เป็นการให้ผู้อื่นใช้งานไฟล์จากเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา โดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ในเครือข่ายเดียวกัน ประโยชน์ของการแชร์ไฟล์ 1.ช่วยให้ copy ไฟล์งานที่มีขนาดใหญ่เกินกว่าที่จะ copy ใส่แผ่นดิสก์ในเครื่อง คอมพิวเตอร์ของเพื่อนร่วมงานไปใช้ในคอมพิวเตอร์ของตนเองได้ 2. ช่วยลดปัญหาการติดไวรัสจาก Flash Drive ในการ copy ข้อมูลจากเครื่อง คอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังอีกเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่ง 3. ประหยัดเวลาในการขอข้อมูลต่างๆจากเพื่อนร่วมงาน

Page 6: chapter 10 basic network

ข้อควรระวังในการแชร์ไฟล์

1.ไฟล์ที่แชร์ไว้ เพื่อนร่วมงานและคนอื่นๆใน 2.เครือข่ายสามารถมองเห็นได้หมด และถ้าแชร์ไฟล์ไม่ถูก 3.วิธี เพื่อนร่วมงานหรือบุคคลอื่นๆสามารถแก้ไข หรือลบ 4.ไฟล์ทิ้งได้ ดังนั้น จึงควรระมัดระวังในจุดนี้โดยเฉพาะ 5.ข้อมูลที่เป็นความลับหรือข้อมูลส าคัญไม่ควรแชร์ไฟล์

"การแชร์ไฟล์(Sharing File) มีประโยชน์อนันต์ แต่ก็มีโทษมหันต์ (ถ้าไม่รู้วิธีใช้)" วิธีใช้ที่ถูกต้องและปลอดภัยมีดังต่อไปนี้ 1. ควรท าการ Sharing ในเวลาเท่าที่จ าเป็นเท่านั้น ไม่ควร Share ไว้ตลอดเวลา 2. ไม่ควร Share ทั้งไดรฟ์ ควรแชร์เฉพาะโฟลเดอร์ ที่ต้องการแชร์ไฟล์ไว้เท่านั้น 3. การแชร์แบบ Read Only ผู้อื่น สามารถที่จะเปิดอ่านไฟล์จากเครื่องที่แชร์ไว้ ได้อย่างเดียว ไม่สามารถท าการแก้ไข หรือ ลบได้ แต่ก็สามารถ copy เอาไปใช้หรือ แก้ไขเองได้ 4. การแชร์แบบ Full อันตรายมาก เพราะผู้อื่นสามารถมองเห็น แก้ไข และลบ ไฟล์ที่เครื่องแชร์ไว้ ทิ้งทั้งหมดได้ ยิ่งถ้าลบไฟล์ระบบ ของ Windows ด้วยแล้ว เครื่อง จะใช้งานต่อไปอีกไม่ได้

Page 7: chapter 10 basic network

5. ข้อนี้ส าคัญที่สุด คือ ไม่ว่าจะแชร์แบบไหนก็ตาม ต้องใส่ Password เสมอ เพื่อความปลอดภัยของข้อมูลในเครื่อง เพราะทุกคนในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเห็น ไดรฟ์ หรือ โฟลเดอร์ที่แชร์ไว้ แต่จะมีสิทธิ์ใช้หรือเห็นไฟล์ต่างๆ ภายในไดรฟ์หรือโฟล์ เดอร์เหล่านั้นได้ ก็ต่อเมื่อเขาป้อน Password ตรงกับที่ตั้งขึ้นมาให้ถูกต้องเสียก่อน จึง จะมีสิทธิ์ใช้ได้ (ค าเตือน อย่าตั้ง Password ที่ง่ายและสั้นเกินไป เพราะจะง่ายต่อการ เดาจากผู้ที่ไม่ประสงค์ดีได้)

ขั้นตอนการแชร์ไฟล์เพื่อใช้ในการดึงไฟล์ข้อมูลไปใช้กับเครื่องอื่น

Page 8: chapter 10 basic network

วิธีการแชร์ไฟล์ใน Windows 7

1. อันดับแรกเราต้องท าการเปิดการแชร์ของ network ทีเ่ราใช้อยู่เสียก่อนให้เข้าไปที่ control panel -> Network and Internet -> Network and Sharing Center เมื่อกดเข้ามาแล้วจะพบกับหน้าต่างดังภาพ

Page 9: chapter 10 basic network

2.คลิกเลือกไปที่ Change advanced sharing setting เพื่อเข้าสู่เมนูของการปรับแต่งค่าของ Network ซึ่งจุดนี้ส าคัญเราต้องปรับค่าให้ตรงกับ Network ที่เราใช้อยู่ โดยทั่วไปจะมี Home , Work network และ Public ซึ่งถ้าเราใช้ Network ตัวไหนอยู่ก็ให้ท าการปรับค่าที่ Network นั้นซึ่งในตัวอย่างเป็น Network แบบ Public เมื่อกดเข้าไปเราหาเมนูดังภาพด้านล่าง

Page 10: chapter 10 basic network

3.ท าการเปิด Network discovery , File and printer sharing และ Public folder sharing โดยคลิกเลือกที่ Turn on ดังภาพด้านบน จากนั้นเลื่อนลงมาด้านล่างสุดหาค าว่า Password protected sharing ท าการ Turn of ค่านี้ดังภาพด้านล่าง

4. เมื่อท าการตั้งค่าเสร็จเรียบร้อยให้กด Save Change แล้วปิดหน้าต่างออกมาได้เลย จากนั้นมาเข้าสู่กระบวนการแชร์ไฟล์ โฟลเดอร์ หรือไดร์ฟโดยท าน าเมาส์ไปชี้ที่ไฟล์ โฟลเดอร์ หรือไดร์ฟที่ต้องการจะแชร์ คลิกขวาเลือก properties เพื่อเรียกหน้าต่างส าหรับปรับแต่งค่าขึ้นมา จากนั้นเลือกไปที่หัวข้อ Sharing จากนั้นเลือกไปที่ Share คลิกหนึ่งครั้ง

Page 11: chapter 10 basic network

5.เมื่อคลิกที่ค าสั่ง Share แล้วจะปรากฏหน้าต่างส าหรับก าหนดสิทธิ์ ตรงจุดนี้ไม่ต้องใส่ใจเลือกคลิกไปที่ Share ที่อยู่ด้านล่างได้เลยดังภาพ

6.เมื่อเสร็จสิ้นการแชร์แล้ว เราจ าเป็นจะต้องก าหนดสิทธิ์การเข้าถึงไฟล์ โฟลเดอร์ หรือไดร์ฟที่เราได้ท าการแชร์เมื่อครู่นี้โดยเลือกไปที่หัวข้อ Security เพื่อท าการก าหนดสิทธิ์โดยเมื่อคลิกเข้าไปก็จะพบกับหน้าต่างดังภาพด้านล่าง

Page 12: chapter 10 basic network

8.พิมพ์ค าว่า Everyone ลงในช่อง Enter the object names to select จากนั้นกด Check Name หากพิมพ์ถูกต้องก็จะปรากฏค าว่า Everyone ขึ้นมาดังภาพด้านล่างจากนั้นกด OK

Page 13: chapter 10 basic network

9.เมื่อท าการเพิ่มชื่อแล้วให้กลับมาดูที่ช่องของการก าหนดสิทธิ์ในส่วนของ Group or user names ถ้ามี Everyone ปรากฏอยู่ก็เป็นอันเสร็จให้กด OK ออกมาได้เลยเท่านี้เครื่องเราก็จะสามารถท าการแชร์ไฟล์ได้ตามปกติแล้ว

Page 14: chapter 10 basic network

2.เปิดแชร์เครื่องพิมพ์

การแชร์เครื่องพิมพ์บน Windows 7

1. ที ่Windows 7

Start > Control Panel > เลือก Choose home group and sharing options

Page 15: chapter 10 basic network

4. ขั้นตอนนี้ให้เลือก Change advanced sharing setting

5. จากนั้นให้เลือก Public (Current profile)

Page 16: chapter 10 basic network

หัวข้อ File and Printer sharing ให้เป็น Turn on

และในส่วนของ Password protected sharing ก็ให้ปรับเป็น Turn Off ครับ และท าการกด Save ในการปิดนี้เป็นการปิด Password ในการแชร์ครับ ซึ่งตัว Default ของ Windows 7 จะมี Security เพื่อปอ้งกันการเข้ามา Access ในไฟล์หรือ Folder นั้นครับ

Page 17: chapter 10 basic network

6. จากนั้นไปที่ เครื่อง windows xp แล้วลอง Ping ไปมาที่ Windows 7 ปรากฏว่า Ping ได้แล้วครับ เนื่องจากเราไปเปิด turn on file and printer sharing เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

Page 18: chapter 10 basic network

การแมปไดรว์ในเครือข่าย

การ Map Drive เพื่อเข้าใช้งาน Network Share Folder ส าหรับ Windows 7

ขั้นตอนที่ 1 ดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน My Computer

ขั้นตอนที่ 2 คลิกแถบ Map Network Drive

Page 19: chapter 10 basic network

ขั้นตอนที่ 3 เลือก Drive ที่ต้องการ

จะปรากฏหน้าต่าง Map Network Drive

Page 20: chapter 10 basic network
Page 21: chapter 10 basic network

ขั้นตอนที่ 4 4.1 พิมพ์ \\as-doc\as-share ลงในช่อง Folder 4.2 คลิกเครื่องหมายถูก หน้า Connect using different credentials 4.3 กดปุ่ม Finish

Page 22: chapter 10 basic network

ขั้นตอนที่ 5 ช่อง Username ใส่ as ช่อง Password ใส ่as118 และคลิกเครื่องหมายถูกหน้า Remember my credentials

Page 23: chapter 10 basic network

การ Map Drive ด้วยวิธีสร้าง Shortcut บนหน้าจอ Desktop ใน My Computer จะปรากฏ ไอคอน Network Drive ขึ้นมา

คลิกที่ไอคอน จะสามารถเข้าใช้งาน Network Share folder ได้ทันที

Page 24: chapter 10 basic network