2
15 ปีท่ 22 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือน ตุลำคม - ธันวำคม 2558 องค์การเภสัชกรรม GPO R&D NEWSLETTER เมื่อพูดถึงงานวิเคราะห์ เทคนิคพื้นฐานที่คนท�างานด้าน วิเคราะห์แทบทุกคนต้องรู้จักก็คือ เทคนิค chromatography (โครมาโตกราฟี) หรือในภาษาไทยเรียกว่า รงคเลข ซึ่งเป็นหนึ่งในเทคนิค การวิเคราะห์ด้วยการแยกสาร เครื่องมือมากมายถูกสร้างและพัฒนา บนพื้นฐานของเทคนิคนี้ ไม่ว่าจะเป็น high pressure or high performance liquid chromatography (HPLC) และ gas chromatography (GC) ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย หรือทันสมัยขึ้นไปอีก เป็นระบบ ultra high pressure liquid chromatography (UHPLC) ซึ่งเป็นการต่อยอดจากเครื่อง HPLC ช่วยให้การวิเคราะห์ ท�าได้รวดเร็วยิ่งขึ้น นอกจากนั ้นยังมีการน�าไปผนวกกับเครื่องมืออื่น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ยิ่งขึ้นไปอีก เช่น น�าไปต่อกับ เครื่อง mass spectrometer (MS) หรือ nuclear magnetic resonance (NMR) เครื่องมือที่กล่าวมานั้นอาจท�าให้เทคนิค chroma- tography ดูเป็นเทคนิคที ่หรูหรา ล�้าเลิศ และมีราคาแพง แต่จริง ๆ แล้ว เทคนิคนี้เรียกได ้ว่ามีความหลากหลายทางราคา บางเทคนิคนั้น มีราคาไม่แพง ซึ่งบางคนอาจได้รู ้จักกับมันมาตั้งแต่สมัยเรียนชั้นประถม แต่แค่ไม่รู้ว่ามันเป็นส่วนหนึ่งของเทคนิคนี้เท่านั้นเอง เท่าที่จ�าได้ การทดลองสมัยยังเยาว์วัยของผู ้เขียน เป็นการจุดปากกาลงบนกระดาษ แล้วน�ากระดาษแผ่นนั้นไปจุ่มในสารละลายบางอย่าง ปรากฏว่า จุดปากกานั้นมีการเคลื่อนที่ไปตามแผ่นกระดาษ และเห็นสีหลายสี แยกออกมาจากจุดปากกาเพียงจุดเดียว การทดลองนี้จริง ๆ ก็คือ เทคนิค paper chromatography ชื่อภาษาไทยว่ารงคเลขกระดาษ นั่นเอง ซึ่งต่อมาก็พัฒนากลายเป็นเทคนิค thin layer chromato- graphy (TLC) หรือรงคเลขผิวบาง ซึ่งอาจนับได้ว่าเป็นเทคนิคเก่าแก่ ที่ยังใช้ในการวิเคราะห์ทางยาได้จนถึงป ัจจุบัน นอกจากนี้ยังมี เทคนิคอื่น ๆ มากมายที่เกี่ยวข้องกับ chromatography ถ้าจะให้ พูดถึงคงจะไม่ได้เล่าเรื่องที่ตั้งใจไว้เป็นแน่ บทความนี ้คงจะไม่อธิบาย ลงไปในรายละเอียดการวิเคราะห์ หรือหลักการของเทคนิคนีเพราะคงหาอ่านได้ตามต�ารามากมายแล้ว ดังนั้นผู ้เขียนจึงตั้งใจว่าจะขอ เล่าเรื่องเบา ๆ อ่านเพลิน ๆ เพื่อเป็นความบันเทิง หรือได้ข้อคิด อะไรบ้าง จากประวัติความเป็นมาของ chromatography Chromatography หากแปลความหมายตามรากศัพท์ ตามภาษากรีก chroma คือสี ส่วน graphein คือการเขียนแปลตรง ๆ ก็อาจแปลได้ว่าการเขียนสีนั่นเอง เทคนิค chromatography นี่เป็น เทคนิคที่ถูกค้นพบในศตวรรษที่ 19 โดยนักพฤกษศาสตร์ชาวรัสเซีย ชื่อ Mikhail Semyonovich Tswett (บางต�าราเขียนว่า Tsvet) ซึ่ง ต่อมาได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่ง chromatography แม่ของเขาเป็นชาว อิตาเลี่ยน ส ่วนพ่อเป็นชาวรัสเซีย เขาเกิดที่ประเทศอิตาลีในป ค.ศ. 1872 เข้าเรียนและจบปริญญาเอกจากประเทศสวิตเซอร์แลนด์ หลังจากนั ้นก็กลับไปท�างานเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยวอซอร์ (Warsaw) ประเทศรัสเซีย Mikhail Tswett รูปจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Mikhail_Tsvet ค�าว่า chromatography มีจุดเริ่มต้นจากที่เขาส่งผลงาน ในปี 1903 เพื่อตีพิมพ์ และได้รับการตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1906 ผลงาน ตีพิมพ์ชิ้นส�าคัญชิ้นหนึ่งของเขาที่ทุกคนต ่างอ้างถึง ก็คงเป ็น “Adsorptionsanalyse und chromatographische Methode Chromatography กว่าจะมาเป็น (โครมาโตกราฟี) ดร.ภญ.เสาวลักษณ์ หวังสินสุจริต

Chromatography กว่าจะมาเป็น ... · performance liquid chromatography (HPLC) และ gas chromatography (GC ... Mikhail Tswett รูปจาก

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Chromatography กว่าจะมาเป็น ... · performance liquid chromatography (HPLC) และ gas chromatography (GC ... Mikhail Tswett รูปจาก

15

ปีที่ 22 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือน ตุลำคม - ธันวำคม 2558 องค์การเภสัชกรรมGPOR&D NEWSLETTER

เมื่อพูดถึงงานวิเคราะห์ เทคนิคพื้นฐานที่คนท�างานด้าน

วิเคราะห์แทบทุกคนต้องรู ้จักก็คือ เทคนิค chromatography

(โครมาโตกราฟี)หรือในภาษาไทยเรยีกว่ารงคเลขซึง่เป็นหนึง่ในเทคนคิ

การวิเคราะห์ด้วยการแยกสาร เครื่องมือมากมายถูกสร้างและพัฒนา

บนพื้นฐานของเทคนิคนี้ ไม่ว่าจะเป็น high pressure or high

performance liquid chromatography (HPLC) และ gas

chromatography(GC)ทีใ่ช้กนัอย่างแพร่หลายหรอืทนัสมยัขึน้ไปอกี

เป็นระบบ ultra high pressure liquid chromatography

(UHPLC) ซึ่งเป็นการต่อยอดจากเครื่อง HPLC ช่วยให้การวิเคราะห์

ท�าได้รวดเร็วยิ่งขึ้น นอกจากนั้นยังมีการน�าไปผนวกกับเครื่องมืออื่น

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ยิ่งขึ้นไปอีก เช่น น�าไปต่อกับ

เคร่ือง mass spectrometer (MS) หรือ nuclear magnetic

resonance(NMR)เครือ่งมอืทีก่ล่าวมาน้ันอาจท�าให้เทคนคิchroma-

tographyดเูป็นเทคนคิทีห่รหูราล�า้เลิศและมรีาคาแพงแต่จรงิๆ แล้ว

เทคนิคนี้เรียกได้ว่ามีความหลากหลายทางราคา บางเทคนิคนั้น

มรีาคาไม่แพงซึง่บางคนอาจได้รูจ้กักบัมันมาตัง้แต่สมยัเรยีนชัน้ประถม

แต่แค่ไม่รู ้ว่ามันเป็นส่วนหนึ่งของเทคนิคนี้เท่านั้นเอง เท่าที่จ�าได้

การทดลองสมยัยงัเยาว์วยัของผูเ้ขียนเป็นการจดุปากกาลงบนกระดาษ

แล้วน�ากระดาษแผ่นนั้นไปจุ ่มในสารละลายบางอย่าง ปรากฏว่า

จุดปากกาน้ันมีการเคลื่อนที่ไปตามแผ่นกระดาษ และเห็นสีหลายสี

แยกออกมาจากจุดปากกาเพียงจุดเดียว การทดลองนี้จริง ๆ ก็คือ

เทคนิค paper chromatography ชื่อภาษาไทยว่ารงคเลขกระดาษ

นั่นเอง ซึ่งต่อมาก็พัฒนากลายเป็นเทคนิค thin layer chromato-

graphy (TLC)หรือรงคเลขผิวบางซึ่งอาจนับได้ว่าเป็นเทคนิคเก่าแก่

ที่ยังใช้ในการวิเคราะห์ทางยาได้จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมี

เทคนิคอื่น ๆ มากมายที่เกี่ยวข้องกับ chromatography ถ้าจะให้

พูดถึงคงจะไม่ได้เล่าเรื่องที่ตั้งใจไว้เป็นแน่ บทความนี้คงจะไม่อธิบาย

ลงไปในรายละเอียดการวิเคราะห์ หรือหลักการของเทคนิคนี้

เพราะคงหาอ่านได้ตามต�ารามากมายแล้ว ดงันัน้ผูเ้ขียนจงึตัง้ใจว่าจะขอ

เล่าเรื่องเบา ๆ อ่านเพลิน ๆ เพื่อเป็นความบันเทิง หรือได้ข้อคิด

อะไรบ้างจากประวัติความเป็นมาของchromatography

Chromatography หากแปลความหมายตามรากศัพท์

ตามภาษากรีกchromaคือสีส่วนgrapheinคือการเขียนแปลตรงๆ

ก็อาจแปลได้ว่าการเขียนสีน่ันเอง เทคนิค chromatographyนี่เป็น

เทคนิคที่ถูกค้นพบในศตวรรษที่ 19 โดยนักพฤกษศาสตร์ชาวรัสเซีย

ชื่อMikhailSemyonovichTswett (บางต�าราเขียนว่าTsvet)ซึ่ง

ต่อมาได้ช่ือว่าเป็นบิดาแห่ง chromatography แม่ของเขาเป็นชาว

อิตาเลี่ยน ส่วนพ่อเป็นชาวรัสเซีย เขาเกิดที่ประเทศอิตาลีในปี

ค.ศ. 1872 เข้าเรียนและจบปริญญาเอกจากประเทศสวิตเซอร์แลนด์

หลังจากนั้นก็กลับไปท�างานเป็นศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยวอซอร์

(Warsaw)ประเทศรัสเซีย

MikhailTswett

รูปจากhttps://en.wikipedia.org/wiki/Mikhail_Tsvet

ค�าว่า chromatography มีจุดเริ่มต้นจากที่เขาส่งผลงาน

ในปี1903 เพื่อตีพิมพ์และได้รับการตีพิมพ์ในปีค.ศ.1906ผลงาน

ตีพิมพ ์ ช้ินส�าคัญช้ินหน่ึงของเขาที่ทุกคนต ่างอ ้างถึง ก็คงเป ็น

“Adsorptionsanalyse und chromatographischeMethode

Chromatographyกว่าจะมาเป็น

(โครมาโตกราฟี)ดร.ภญ.เสาวลักษณ์ หวังสินสุจริต

Page 2: Chromatography กว่าจะมาเป็น ... · performance liquid chromatography (HPLC) และ gas chromatography (GC ... Mikhail Tswett รูปจาก

16

ปีที่ 22 ฉบับที่ 4 ประจ�ำเดือน ตุลำคม - ธันวำคม 2558 องค์การเภสัชกรรมGPO R&D NEWSLETTER

เอกสารอ้างอิง

1. https://en.wikipedia.org/wiki/Chromatography

2. K.Sakodynsky,M.S.Tswett–hislife,Journal of Chromatography A,1970,vol.49:2-17.

3. H.Engelhardt,OnecenturyofliquidchromatographyFromTswett’scolumnstomodernhighspeedand

Highperformanceseparations,Journal of Chromato- graphy B,2004,vol.800:3-6.

4. J.Bruno,ChromatographyPast,PresentandFuture,presentedatContemporaryTechnologyforLargeScale

Chromatogrphy,March21-22,2005.

AnwendungenaufdieChemiedesChlorophylls(Adsorption

analysisandchromatographicmethod.Applicationonthe

chemistry of chlorophyll)” ตีพิมพ์ด้วยภาษาเยอรมัน ซึ่งต่อมา

ได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษในปีค.ศ.1967

โดยรายละเอียดงานวิจัยที่นับเป็นจุดเริ่มต้นของ chromato-

graphyและน�าไปสู่การวิเคราะห์ด้วยเทคนิคchromatographyนั้น

เริ่มต้นจากการทดลองท่ีพยายามจะแยกเม็ดสี โดยในตัวอย่างของเขา

เขาได้สังเกตเห็นต�าแหน่งสีที่แตกต่างกัน สีเหลืองของ carotinoids

และยังพบต�าแหน่งสีเขียวอีก2ต�าแหน่งด้วยเสมอโดยเขาระบุว่าเป็น

chlorophyllaและbการค้นพบเหล่านีค้งมจีดุเริม่ต้นทีห่นไีม่พ้นจาก

การสังเกต สงสัยและตั้งค�าถาม เพราะหาก Tswett ไม่สนใจ สงสัย

และตั้งค�าถามว่าจุดสีเขียว2จุดที่เห็นคืออะไรก็คงอาจจะยังไม่มีใคร

บอกได้ว่าchlorophyllมี2ชนิดและเราก็คงอาจจะยังไม่มีเครื่องมือ

หลาย ๆ ชนิดท่ีเกี่ยวข้องกับ chlormatography ให้ใช้ในวันนี้

แต่อย่างไรก็ตามการจะค้นพบสิ่งใหม่ๆ ได้นั้นมันคงจะต้องมีอุปสรรค

อยู่บ้าง เพราะความส�าเร็จไม่ได้จะได้มาง่าย ๆ อุปสรรคหน่ึงที่ท�าให้

การค้นพบและเทคนคิchromatographyจะต้องชะงกัและถกูละเลย

ไปกว่า 25 ปี เม่ือศาสตราจารย์ทางด้านเคมีอินทรีย์ช่ือWillstätter

ซึ่งเป็นอีกหนึ่งผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาเกี่ยวกับ chlorophyll ได้โต้แย้ง

ทฤษฎีของ Tswett เน่ืองจากเขาได้ท�าการทดลองซ�้า และให้ผลท่ี

ต่างออกไป จากเรื่องนี้อาจจะท�าให้ศาสตราจารย์Willstätter ดูเป็น

คนใจร้ายที่ปิดกั้นความรู้ใหม่ๆแต่จริงๆแล้วนั้นก่อนที่เขาจะโต้แย้ง

เขาได้ท�าการทดลองท�าซ�้าตามวิธีที่Tswettได้ตีพิมพ์โดยใช้chloro-

phyllที่เขาเตรียมขึ้นโดยวิธีfractionatedcrystallizationแต่กลับ

พบเพียงต�าแหน่งเดียว จึงเป็นเหตุให้ Willstätter เชื่อและโต้แย้ง

เช่นนั้น เหตุการณ์นี้ก็อาจสอนให้รู้ได้ว่าการท�าตามวิธีที่ตีพิมพ์อาจ

ได้ผลที่แตกต่างกันออกไป และไม่ใช่เพราะคนอื่นท�าผิดเสมอไป

แต่เกิดจากปัจจัยหลายๆอย่างที่เรายังไม่รู้หรือมองข้ามมันไปนั่นเอง

โดยต่อมาได้พบว่าสาเหตุท่ี Willstätter ได้ผลลัพธ์ที่ต่างออกไปว่า

เกิดจากเสื่อมสลายของchlorophyllระหว่างการทดลอง

หลังจากนั้นช่วงต้นศตวรรษที่ 20 เมื่อเทคนิคที่ Tswett

ค้นพบได้รับการรื้อฟื ้นมาใหม่ โดยคนในกลุ ่มของ Willstätter

เทคนิคดังกล่าวก็ถูกน�ากลับมาพัฒนาต่อยอดให้มีการแยกที่ดีขึ้น

โดยการเปลี่ยนสารละลายเคลื่อนที่ (Mobile phase) อย่างต่อเนื่อง

หรือที่เราเรียกว่าgradientelutionเทคนิคทางchromatography

ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่องมากมาย จาก normal phase chromato-

graphy เป็น reversed phased chromatography, จาก paper

chromatographyสู่thinlayerchromatography,จากcolumn

chromatographyมาสู่highpressureliquidchromatography

และ ultra-high pressure liquid chromatography (UHPLC)

น่าเสียดายที่Tswettเสียชีวิตลงในปีค.ศ.1919ด้วยอายุเพียง47ปี

และไม่มีโอกาสได้เห็นการพัฒนาของส่ิงที่ได้คิดค้น แต่อย่างไรก็ตาม

การค้นพบของเขาก็ประหนึ่งได้สร้างเมล็ดพันธ์ุชั้นยอด ท่ีขณะนี้

เติบโตงอกงามอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

การวิจัยและพัฒนาต่างๆ คงจะไร้ความหมายหากการค้นพบ

ไม่ได้รับการเผยแพร่และคนอื่นๆไม่คิดสานต่อดังนั้นเพื่อให้งานวิจัย

ขององค์การเภสชักรรมของประเทศไทยได้พฒันาต่อไปกค็งต้องอาศัย

ความช่างสังเกต ความมุ่งมั่น ความคิดสร้างสรรค์ และใจท่ีเปิดกว้าง

สุดท้ายน้ีผู้เขียนก็หวังว่าบทความน้ีคงจะสร้างขวัญก�าลังใจ แถมด้วย

สาระน้อยๆให้กับผู้อ่านได้บ้างค่ะ