59
คูมือนิสิต ประมวลรายวิชาและแผนการสอน เมแทบอลิซึมและโภชนาการ METABOLISM AND NUTRITION รหัสวิชา 3000274 หนวยกิต 3-(2-3-4) นิสิตแพทยศาสตร ชั้นปที2 ประจําปการศึกษา 2557 จัดทําโดย คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารรายวิชา3000274 คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

คูมือนิสิต ประมวลรายวิชาและแผนการสอน

เมแทบอลิซึมและโภชนาการ METABOLISM AND NUTRITION

รหัสวิชา 3000274 หนวยกิต 3-(2-3-4)

นิสิตแพทยศาสตร ชั้นปท่ี 2 ประจําปการศกึษา 2557

จัดทําโดย คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารรายวิชา3000274

คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 2: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 2

รายชื่อ คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารรายวิชา

เมแทบอลิซึมและโภชนาการ ปการศึกษา 2557

1. ศาสตราจารย ปยะรัตน โตสุโขวงศ ท่ีปรึกษา 2. รองศาสตราจารย ดร.วิไล อโนมะศิริ ประธานอนุกรรมการ 3. ศาสตราจารย ดร.นายแพทยสิทธิศักด์ิ หรรษาเวก อนุกรรมการ 4. รองศาสตราจารย ดร.นวลทิพย กมลวารินทร อนุกรรมการ 5. รองศาสตราจารย แพทยหญิงจไุรพร สมบุญวงค อนุกรรมการ 6. รองศาสตราจารย นายแพทยวิโรจน เจียมจรัสรังษี อนุกรรมการ 7. ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิสิฏฐ ประพันธวัฒนะ อนุกรรมการ 8. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชาญชัย บุญหลา อนุกรรมการ 9. อาจารย แพทยหญิงภรณี เหลาอิทธิ อนุกรรมการ

10. อาจารย ดร.นายแพทยฐสิณัส ดิษยบุตร อนุกรรมการ 11. อาจารย ดร.ชาลิสา หลุยเจริญ ชีพสุนทร อนุกรรมการ 12. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธนัญญา ทองตัน อนุกรรมการและเลขานุการ 13. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สัญชัย พยุงภร อนุกรรมการและผูชวยเลขานุการ 14. นายแพทยศุภฤกษ จรูญลัคนาวณิชย ผูชวยเลขานุการ 15. แพทยหญิงนิดา เสรีฉันทฤกษ ผูชวยเลขานุการ 16. คุณศิริอัมไพ สุวัฒนคุปต ผูชวยเลขานุการ

Page 3: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 3

ประมวลรายวิชา (Course Syllabus) 1. รหัสรายวิชา 3000274 2. จํานวนหนวยกิต 3(2-3-4) 3. ชื่อวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ Metabolism and Nutrition 4. คณะ/ภาควิชา คณะแพทยศาสตร 5. ภาคการศึกษา ภาคปลาย (22ธันวาคม2557–12มกราคม2558) 6. ปการศึกษา 2557 7. ชื่อผูสอน รายนามคณาจารยภาควิชาชีวเคมี

1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธนัญญา ทองตัน(หัวหนาภาควิชา) 2. ศาสตราจารย ปยะรัตน โตสุโขวงศ 3. ศาสตราจารย ดร.จิระพันธ กรึงไกร 4. ศาสตราจารย นายแพทยพิสิฐ ต้ังกิจวานิชย 5. ศาสตราจารย ดร.นายแพทยสิทธิศักด์ิ หรรษาเวก 6.รองศาสตราจารย ดร.นวลทิพย กมลวารินทร 7.รองศาสตราจารย ดร.วิไล อโนมะศิริ 8. ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิสิฏฐ ประพันธวัฒนะ 9.ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชาญชัย บุญหลา 10. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สัญชัย พยุงภร 11. อาจารย ดร.นายแพทยฐสิณัส ดิษยบุตร 12. อาจารย ดร.ชาลิสา หลุยเจริญ ชีพสุนทร 13. อาจารย นายแพทยศุภฤกษ จรูญลัคนาวณิชย 14. อาจารย แพทยหญิงนิดา เสรีฉันทฤกษ รายนามคณาจารยภาควิชาสรีรวิทยา

1. รองศาสตราจารย แพทยหญิง ดวงพร วีระวัฒกานนท (หัวหนาภาควิชา) 2. ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร. แพทยหญิงบังอร ชมเดช(อาจารยพิเศษ) 3. ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร. เภสัชกรหญิงราตรี สุดทรวง(อาจารยพิเศษ) 4. ศาสตราจารยนายแพทยอนันต ศรีเกียรติขจร 5. ศาสตราจารยดร. แพทยหญิงนริสา ฟูตระกูล 6. ศาสตราจารย ดร. สุทธิลักษณ ปทุมราช 7. รองศาสตราจารยนายแพทยประสงค ศิริวิริยะกุล 8. รองศาสตราจารยนายแพทยชาญวิทย โคธีรานุรักษ 9. รองศาสตราจารยนายแพทยวสันต อุทัยเฉลิม

10. รองศาสตราจารยแพทยหญิงจุไรพร สมบุญวงค 11. รองศาสตราจารย ดร. สมจิตร เอ่ียมออง

Page 4: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 4

12. รองศาสตราจารยนายแพทยสมพล สงวนรังศิริกุล 13. รองศาสตราจารยดร.แพทยหญิงอรอนงค กุละพัฒน 14. รองศาสตราจารย ดร.ศักนัน พงศพันธุผูภักดี 15. ผูชวยศาสตราจารยดร. นายแพทยภาสกร วัธนธาดา 16. อาจารยแพทยหญิงศกลวรรณ สุชาติลิขิตวงศ 17.อาจารย นายแพทยกษิภัคร ไกแกว 18. อาจารย นายแพทยดนัย นิยมในธรรม 19. อาจารย แพทยหญิงธนพร วิไลศักด์ิทิพากรณ

รายนามคณาจารยภาควิชาเวชศาสตรปองกันและสังคม 1. ศาสตราจารย ดร.นายแพทยพรชัย สิทธิศรัณยกุล(หัวหนาภาควิชา)

2. ศาสตราจารย ดร. นายแพทยนรินทร หิรัญสุทธิกุล 3. รองศาสตราจารย นายแพทยทศพร วิมลเก็จ 4. รองศาสตราจารย ดร. นายแพทยสุนทร ศุภพงษ 5. รองศาสตราจารยสมรัตน เลิศมหาฤทธิ์ 6. รองศาสตราจารย ดร. นายแพทยจิรุตม ศรีรัตนบัลล 7. รองศาสตราจารย ดร. นายแพทยวิโรจน เจียมจรัสรังษี 8. รองศาสตราจารย ดร. สรันยา เฮงพระพรหม 9.ผูชวยศาสตราจารย ดร. นายแพทยวิฑูรย โลหสุนทร

10. อาจารยนายแพทยอานนท วรยิ่งยง 11. อาจารยแพทยหญิงภรณี เหลาอิทธิ 12. อาจารยนายแพทยธีระ วรธนารัตน 13. อาจารย ดร.นายแพทยปยะ หาญวรวงศชัย 14.อาจารย ดร.นายแพทยกฤษณ พงศพิรุฬห 15. อาจารย นายแพทยพุทธิคง ทองวัฒนพร 8. เงื่อนไขรายวิชา - 9. สถานภาพของรายวิชา วิชาบังคับ 10. ชื่อหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง 2555) 11. วิชาระดับ ปริญญาตรี 12. จํานวนชั่วโมงท่ีสอนตอสัปดาห เปนการเรียนการสอนตอเนื่อง เปนเวลา 3 สัปดาห 13. เน้ือหารายวิชา (Course description) หลักโภชนาการ สารอาหารและสารพิษในอาหาร เมแทบอลิซึม

ของคารโบไฮเดรต ลิปด โปรตีน กรดอะมิโน และกรดนิวคลิอิกในภาวะปกติและภาวะท่ีเปนโรค บทบาทหนาท่ีของวิตามินและแรธาตุในกระบวนการเหลานี้ เมแทบอลิซึมผสมผสานของคารโบไฮเดรต ลิปด และโปรตีนในภาวะปกติและภาวะท่ีเปนโรค กลไกควบคุมเมแทบอลิซึมในระดับโมเลกุล เซลลและเนื้อเยื่อ

Page 5: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 5

Principle of nutrition; essential nutrients and toxic substances in foods; metabolism of carbohydrates, lipids, proteins, amino acids and nucleic acids in health and disease; the biochemical function of vitamins and minerals in these processes; integrative metabolism of carbohydrates, lipids, and proteins in health and disease; regulation mechanism of metabolic processes in molecular, cellular and tissue level.

14. ประมวลการเรียนรายวิชา (Course outline) 14.1 วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของรายวิชา (Behavioral objectives)

เพ่ือใหนิสิตสามารถ 14.1.1 อธิบายหลักโภชนาการ ความตองการสารอาหารและพลังงานในวัยตางๆจําแนกชนิด

และบอกบทบาทของสารอาหารและสารพิษในอาหาร 14.1.2 อธิบายการสรางพลังงานและเมแทบอลิซึมของคารโบไฮเดรต ลิปด โปรตีน กรดอะมิ

โน และกรดนิวคลิอิกในภาวะปกติและภาวะท่ีเปนโรค 14.1.3 บอกบทบาทและอธิบายหนาท่ีของวิตามินและแรธาตุในกระบวนการเมแทบอลิซึมของ

สารอาหารตางๆ 14.1.4 อภิปรายเมแทบอลิซึมผสมผสานของคารโบไฮเดรต ลิปด โปรตีน กรดอะมิโน และ

กรดนิวคลิอิกในภาวะตางๆ 14.1.5 อธิบายเมแทบอลิซึมในระดับโมเลกุล เซลลและเนื้อเยื่อ 14.1.6 อธิบายหลักการของชีวเคมีภาคปฏิบัติ และปฏิบัติการทดลองได 14.1.7 นําความรูพ้ืนฐานทางชีวเคมีมาอธิบายปญหาทางการแพทย

14.2 เน้ือหารายวิชาตอสัปดาห รายละเอียดเนื้อหา และผูสอนของแตละหัวขอ อยูในคูมือสวนตารางการจัดการเรียนการสอน ในสวนเนื้อหา และแผนการสอนรายหัวขอ

14.3 วิธีการจัดการเรียนการสอน 14.3.1 การบรรยายในชั้นเรียนขนาดใหญรวมกัน(20หัวขอ) 39.15ชั่วโมง 14.3.2 การระดมสมอง และการอภิปรายกรณีศึกษาเปนกลุมยอย

โดยการควบคุมของอาจารยประจํากลุม (2 กรณีศึกษา) 4.00ชั่วโมง 14.3.3 การสาธิต การสอนและการลงมือปฏิบัติในหองปฏิบัติการ

โดยการควบคุมของอาจารยประจํากลุม (4 ครั้ง) 12.00ชั่วโมง 14.3.4 การบรรยายเพ่ือแนะนํารายวิชา การแนะนําและสรุปปฏิบัติการการแนะนําและสรุป

กรณีศึกษา 8.30ชั่วโมง 14.3.5 การระดมสมอง เพ่ือใหรูจักการวิเคราะห เพ่ือแกโจทยปญหา

ท่ีเกี่ยวเนื่องกับการประสานสัมพันธของเนื้อหารายวิชา และ การบรรยายเชิงอภิปรายสรุป 3.45ชั่วโมง

14.3.6 การทดสอบโดย Formative (3ครั้ง) 2.30ชั่วโมง 14.3.7 การประเมินและตอบขอซักถาม 1.00ชั่วโมง 14.3.8 กิจกรรมสุขภาพ ( แนะนํากิจกรรมสุขภาพ

ชั่งน้ําหนัก วัดสวนสูง วัดความดันโลหิต

Page 6: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 6

Body composition analysis ดวยเครื่อง Bioelectrical Impedance Analysisการคํานวณพลังงานที่ไดรับจากอาหารในแตละวัน ซึ่งมีการบันทึกรายการอาหารไวเปนเวลา 1วัน และอภิปรายสรุป) 10.30 ชั่วโมง

14.3.9 การสืบคนขอมูลตามที่นิสิตสนใจในขอบเขตที่ไดรับมอบหมาย 3.30 ชั่วโมงและการการเรียนรูดวยตนเอง (นอกเวลาการจัดการเรียนการสอน)

14.4 สื่อการสอน 14.4.1 แบบ Powerpoint 14.4.2 แผนใส และแผนทึบ 14.4.3 เอกสารและตําราประกอบการสอน

14.5 การมอบหมายงานผานระบบเครือขาย ไมม ี14.6 การวัดผลการเรียน

14.6.1 การกําหนดน้ําหนักคะแนนสําหรับการประเมินผล 14.6.1.1 คะแนนวิชาการ คิดเปน รอยละ 90

จากการสอบขอเขียนเพ่ือวัดความรู ท้ังส้ิน 1 ครั้ง (รวมภาคบรรยายและภาคปฏิบัติการ) 14.6.1.2คะแนนกระบวนการ คิดเปน รอยละ10 ประกอบดวย คะแนนความตั้งใจ และการมีสวนรวมในการทําปฏิบัติการ และอภิปรายกลุมยอยประเมินโดยคณาจารย รอยละ 4 การเขียนรายงานผลการทดลอง รอยละ 5 คะแนนความรวมมือในการสงแบบประเมินผล การจัดการเรียนการสอน รอยละ 1 14.6.2 การตัดเกรดแบบอิงกลุม แบงเปน Letter Grade 8ระดับ ดังนี้ A, B+, B, C+, C, D+, D และ F

โดยมีการกําหนด minimal passing level (MPL) ดวยวิธี Cohen’s method (ใชคะแนนที่ 55% ของคะแนนเปอรเซ็นไทลท่ี 95 เปนเกณฑผานขั้นต่ํา) นิสิตจะสอบผานเมื่อคะแนนผาน MPL รวมของรายวิชา หากนิสิตไมผานเกณฑขั้นต่ํา (MPL) จะไมมีการสอบซอมแตตองลงทะเบียนเรียนซ้ําในปการศึกษาถัดไป

14.6.3 สถานท่ีเรียน 14.6.3.1 หองบรรยาย 229/1 อาคารแพทยพัฒน ชั้น 2 14.6.3.2 หองปฏิบัติการชีวเคมี อาคารแพทยพัฒน ชั้น 3 14.6.3.3 หองปฏิบัติการสรีรวิทยา อาคารแพทยพัฒน ชั้น 3 14.6.3.4 หองกลุมยอย อาคารแพทยพัฒน ชั้น 2

15. รายชื่อหนังสือและเอกสารอานประกอบ 15.1 หนังสือบังคับ

15.1.1 หนังสือ เมแทบอลิซึมและโภชนาการ เลม 1 : เมแทบอลิซึมหลักของรางกาย

Page 7: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 7

15.1.2 หนังสือ เมแทบอลิซึมและโภชนาการ เลม 2 : เมแทบอลซึมของวิตามิน แรธาตุ และโภชนาการในมนุษย

15.2 หนังสืออานเพิ่มเติม 15.2.1 Delvin, TM. Textbook of Biochemistry with Clinical Correlations,7th edition,

Hoboken (NJ): John Wiley & Son, Inc, 2010. 15.2.2 Gropper SS, Smith JL, Groft JL. Advanced nutrition and human metabolism,

5th ed. Belmonth (CA): Wadsworth; 2009. 15.2.3 Lieberman M, Marks AD. Marks’ Basic Medical Biochemistry : A clinical

approach. 3rd edition.Lippincott, Williams & Wilkins Publication, 2009 15.2.4 Murray, RK, Bender, DA, Botham KM, Kennelly PJ, Rodwell VW, Weil PA.

Harper’s Biochemistry, 28th edition, New York (NY): The McGraw-Hill Companies; 2009.

15.2.5 Voet, D and Voet, JG. Biochemistry 4th ed. New York: John Wiley & Sons, Inc; 2011.

15.2.6 อ่ืนๆ ตามความจําเพาะของเนื้อหาแตละหัวขอ 16. การประเมินการเรียนการสอน

16.1 การประเมินการสอน 16.1.1 การประเมินการสอนโดยนิสิตเปนรายหัวขอท่ีสอน และภาพรวมทั้งหมด โดยใชแบบ

ประเมินท่ีกําหนดขึ้นเองตามความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารรายวิชาฯ

16.1.2 การประเมินผลออนไลน ตามแบบท่ีจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยกําหนด 16.2 การปรับปรุงจากผลการประเมินการสอนคร้ังท่ีผานมา

16.2.1 ปรับลดจํานวนวันท่ีนิสิตตองบันทึกขอมูลในสมุดบันทึกกิจกรรมสุขภาพ 16.2.2 ปรับวิธีการสอนในชั่วโมง Intro to Case I,II โดยนิสิตในแตละกลุมยอยเปนผูเสนอ

รายการคําถามของ Case และคณาจารยเปนผูรวบรวมคําถามกอนคัดเลือกตามความเหมาะสม

16.2.3 ปรับเนื้อหาปฏิบัติการ Antioxidant Status Determination 16.3การอภิปรายหรือการวิเคราะหท่ีเสริมสรางคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 16.3.1 ดานสติปญญาและวิชาการ ทักษะและวิชาชีพการวางแผนจัดการเรียนการสอนใน

รายวิชานี้อิงตามเนื้อหา เกณฑมาตรฐานการประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยสภา ภาคผนวกท่ี 3 ความรูความสามารถทางวิทยาศาสตรการแพทยพ้ืนฐานดังนี้

General Principles

Biochemistry and molecular biology energy metabolism, including metabolic sequences and regulation, and disorders

generation of energy from carbohydrates, fatty acids, and amino acids; glycolysis, pentose phosphate pathway, tricarboxylic acid cycle,-oxidation, ketogenesis and ketone bodies oxidation, electron transport and oxidative phosphorylation, glycogenolysis

Page 8: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 8

storage of energy: gluconeogenesis, glycogenesis, fatty acid and triglyceride synthesis

metabolic pathways of small molecules and associated diseases biosynthesis and degradation of carbohydrate biosynthesis and degradation of amino acids (eg, phenyketonuria) biosynthesis and degradation of purine and pyrimidine nucleotides (eg, gout,

Lesch-Nyhan syndrome) biosynthesis and degradation of lipids (eg, dyslipidemias, carnitine deficiency) biosynthesis and degradation of porphyrins

biosynthesis and degradation of other macromolecules and associated abnormalities, complex carbohydrates (eg, lysosomal storage disease), glycoproteins, and proteoglycans

Multisystem processes nutrition

generation, expenditure, and storage of energy at the whole-body level assessment of nutritional status across the life span, including calories, protein,

essential nutrients, hypoalimentation, functions of nutrients protein-calorie balance and malnutrition vitamins: structures of vitamins and derivatives of medical important, absorption,

storage and excretion, functions, food sources and requirements, deficiencies and/or toxicities

mineralrequirements, deficiencies and toxicities eating disorders (eg. obesity, anorexia, bulimia)

biotransformation food toxicology temperature regulation รูปแบบการจัดการเรียนการสอน มีหลายรูปแบบเพื่อวัตถุประสงคท่ีตางกัน 16.3.1.1 การสอนแบบบรรยาย เพ่ือวางรากฐานความรูทางวิชาการ และวิชาชีพ 16.3.1.2 การสอนแบบปฏิบัติการ และการเขียนรายงาน เพ่ือฝกทักษะ การวางแผน

การปฏิบัติการการลงมือปฏิบัติการ การแกไขปญหาเฉพาะหนา การทํางานเปนทีม การวิเคราะหและสรุปผลการทดลอง

16.3.1.3 การสอนแบบกรณีศึกษา การระดมสมองตอบโจทยปญหา และการสืบคนหัวขอท่ีนิสิตสนใจในขอบเขตที่กําหนด จัดทํารายงานและนําเสนอ เพ่ือฝกทักษะการทํางานเปนทีม ฝกทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ การแยกแยะประเด็นปญหา การวางแผนเพ่ือแกไขปญหา การสืบคนขอมูลสารสนเทศ การบูรณาการความรูท่ีไดรับในชั้นเรียนและที่สืบคนเอง วิเคราะหและสังเคราะหเปนองคความรู ใหม และฝกการนําเสนอผลงานในรูปแบบวิชาการ

16.3.2 ดานคุณธรรมและสังคม มีการแนะนําจริยธรรม และการประพฤติตนในฐานะผูเรียนรู และสอดแทรกคติขอคิด เติอนใจ อยูเนืองๆ ขึ้นอยูกับสภาวการณตางๆ ของสังคมและตัวนิสิตเองในหวง เวลานั้นๆ

Page 9: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 9

หมายเหตุรายนามคณาจารยผูรับผิดชอบติดตามนิสิตท่ีมีความเส่ียงทางการศึกษา 1. รองศาสตราจารย ดร.วิไล อโนมะศิริ ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยโทร.02-256-4482 ext. 4124 e-mail: [email protected] 2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธนัญญา ทองตัน ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยโทร.02-256-4482 ext.4114 e-mail : [email protected]

Page 10: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 10

รายละเอียดตารางสอนรายวิชาเมแทบอลิซึมและโภชนาการ (วันจันทรที่ 22 ธันวาคม 2557– วันจันทรที่ 12 มกราคม2558)

วันท่ี เวลา การสอน หัวขอ อาจารย หอง

จันทร 22ธ.ค. 57

08.00-09.00 Lecture Introduction to Metabolism and Nutrition Course

อ.พิสิฏฐ 229/1

09.00-11.00 Lecture Principle of Metabolism and Nutrition อ.ปยะรัตน/ อ.ภรณี

229/1

11.00-12.00 Lecture Intro to Lab I อ.สิทธิศักด์ิ 229/1

12.00-13.00 13.00-13.30 Lecture กิจกรรมสุขภาพ อ.วิไล/

อ.ศุภฤกษ 229/1

13.30-16.00 กิจกรรมสุขภาพ คณาจารย แพทยพัฒน หอง 305-306/

ชั้น 4 อังคาร

23 ธ.ค.57 08.00-10.00 Lecture

Nutrients and Energy Needed Across Life Span

อ.ปยะรัตน/อ.ฐสิณัส

229/1

10.00-10.15 SDL Nutrients and Energy Needed Across Life Span

10.15-12.00 Lecture Carbohydrate metabolism I &II อ.สัญชัย 229/1 12.00-13.00 13.00-15.00 Lecture Carbohydrate metabolismIII & IV อ.สัญชัย 229/1 15.00-16.00 กิจกรรมสุขภาพ อ.วิโรจน และ

คณะ 229/1

พุธ 24ธ.ค. 57

08.00-10.00 Lecture Lipid metabolism I & II อ.สิทธิศักด์ิ /

อ.ชาลิสา 229/1

10.00-10.30 SDL Lipid metabolism I & II 10.30-11.30 Lecture Lipid metabolism III อ.สิทธิศักด์ิ /

อ.ชาลิสา 229/1

11.30-12.00 SDL Lipid metabolism III 12.00-13.00 13.00-14.00 Lecture Lipid metabolism IV อ.สิทธิศักด์ิ /

อ.ชาลิสา 229/1

14.00-15.00 ปฏิบัติการกิจกรรมสุขภาพ 1 คณาจารย แพทยพัฒน หอง 305-306/

ชั้น 4 15.00-16.00 ปฏิบัติการกิจกรรมสุขภาพ 2 คณาจารย แพทยพัฒน

หอง 305-306/ ชั้น 4

Page 11: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 11

วันท่ี เวลา การสอน หัวขอ อาจารย หอง

พฤหัสบดี 25ธ.ค. 57

07.00-08.30 Lab Lab I: Oral Glucose Tolerance Test คณาจารย ชีวเคมี

แพทยพัฒน หอง 305-306

08.30-09.00 Lecture Intro to Lab I (Practicing) อ.สิทธิศักด์ิ แพทยพัฒน หอง 305-306

09.00-12.00 Lab Lab I: Oral Glucose Tolerance Test คณาจารย ชีวเคมี

แพทยพัฒน หอง 305-306

12.00-13.00 13.00-14.00 Lecture Eating Behavior & Obesity อ.ฐสิณัส 229/1 14.00-15:00 Lecture การศึกษา Body Composition โดย BIA อ.สมพล 229/1

15.00-16.00 Lecture Amino Acid Metabolism I อ.พิสิฏฐ 229/1

ศุกร 26ธ.ค. 57

08.00-10.00 Lecture Amino Acid Metabolism II & III อ.พิสิฏฐ 229/1

10.00-11.00 Lecture Intro to case I อ. นิดา 229/1 11.00-12.00 Lecture Alcohol Metabolism อ.พิสิฐ 229/1

12.00-13.00 13.00-16.00 รายวิชา Medical Ethics and Critical Thinking

จันทร

29 ธ.ค.57

08.00-10.00 Lecture Nucleotide Metabolism I & II อ.ธนัญญา 229/1

10.00-10.15 SDL Nucleotide Metabolism I & II 10.15-11.15

Lecture Vitamin I อ.วิไล/

อ.สิทธิศักด์ิ 229/1

11.15-12.00 Lecture Formative I อ.นิดา 229/1 12.00-13.00 13.00-15.00 Small

Group Case study I

คณาจารย ชีวเคมี

กลุมยอย แพทยพัฒน

ชั้น 2 15.00-16.00 Lecture Summary of Case I อ.นิดา 229/1

อังคาร 30 ธ.ค. 57

8.00-10.00 SDL Case study

10.00-12.00 Lecture Vitamin II & III อ.วิไล/

อ.สิทธิศักด์ิ 229/1

12.00-13.00 13.00-16.00

กิจกรรมสุขภาพ คณาจารย แพทยพัฒน

หอง 305-306/ชั้น 4

พุธ 31ธ.ค.57

หยุดวันส้ินป

พฤหัส 1 ม.ค. 58

หยุดวันข้ึนปใหม

ศุกร 2 ม.ค. 58

หยุดเทศกาลปใหม

Page 12: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 12

วันท่ี เวลา การสอน หัวขอ อาจารย หอง

จันทร 5ม.ค. 58

08.00-10.00 Lecture Mineral I & II อ.พิสิฐ 229/1 10.00-11.00 Lecture Dietary Supplementation อ.นวลทิพย 229/1 11.00-12.00 Lecture Body Temperature อ.จุไรพร 229/1 12.00-13.00 13.00-14.00 Lecture Calorimetry อ.จุไรพร 229/1 14.00-16.00 Lab Lab II: Calorimetry and Body Temperature คณาจารย

สรีรวิทยา แพทยพัฒน หอง 304

อังคาร 6 ม.ค. 58

08.00-09.00 Lecture Intro to Lab III (Practicing) อ.ฐสิณัส แพทยพัฒน

หอง 305-306

09.00-12.00 Lab Lab III: Antioxidant Status Determination คณาจารย

ชีวเคมี แพทยพัฒน หอง 305-306

12.00-13.00 13.00-14.00 Lecture Antioxidants อ.พิสิฏฐ 229/1 14.00-14.30 SDL Antioxidants 14.30-16.00 Lecture GMOs อ. จิระพันธ 229/1

พุธ 7 ม.ค. 58

08.00-09.00 Lecture Clinical Enzymology อ. จิระพันธ 229/1 09.00-10.00 Lecture Intro to Case II อ.ศุภฤกษ 229/1

10.00-12.00 Lecture Nutrition for Health Promotion and Disease Prevention

อ.ปยะรัตน/อ.ฐสิณัส/ อ.ภรณี

229/1

12.00-13.00 13.00-15.00 Lecture Integration of Metabolism อ.พิสิฏฐ 229/1 15.00-16.00 Lecture Formative II อ.ศุภฤกษ 229/1

พฤหัส 8 ม.ค. 58

08.00-09.00 Lecture Metabolism of Heme and Complex Molecules

อ.นวลทิพย 229/1

09.00-10.00 Lecture Metabolism of Xenobiotics and Biotransformation

อ.ชาญชัย 229/1

10.00-10.15 SDL Integration of Metabolism 10.15-11.15 Lecture Food Toxicology and Food Additives I อ.ชาญชัย 229/1 11.15-12.00 เตรียมนําเสนอกลุมยอย 12.00-13.00

13.00-16.00 Small Group Small Group-Problem Solving on “Integration of Metabolism”

คณาจารย ชีวเคมี

กลุมยอย แพทยพัฒน

ชั้น 2 ศุกร

9 ม.ค. 58

08.00-09.00 Lecture Food Toxicology and Food Additives II อ.ชาญชัย 229/1 09.00-09.30 Lecture Intro to Lab IV (Practicing) อ.ชาญชัย 229/1

09.30-12.00 Lab Lab IV: Food Additive Determination คณาจารย

ชีวเคมี แพทยพัฒน หอง 305-306

12.00-13.00

13.00-16.00 รายวิชา Medical Ethics and Critical Thinking

Page 13: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 13

วันท่ี เวลา การสอน หัวขอ อาจารย หอง จันทร

12 ม.ค. 58 08.00-10.00 Small Group

Case Study II คณาจารย ชีวเคมี

กลุมยอย แพทยพัฒน

ชั้น 2 10.00-10.15 SDL Case Study II 10.15-11.15 Lecture Summary of Case Study II อ.ศุภฤกษ 229/1 11.15-12.00 Lecture Formative III อ.ศุภฤกษ 229/1 12.00-13.00 13.00-13.30 Lecture Lab(I-IV) summary คณาจารย 229/1 13.30-15.00 อภิปรายกิจกรรมสุขภาพ(กลุมยอย) คณาจารย 229/1

15.00-16.00 Q&A Course Evaluation อ.ศุภฤกษ/

อ.นิดา 229/1

Page 14: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 14

เน้ือหาและแผนการสอนรายหัวขอ ภาคบรรยาย

Page 15: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 15

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Introduction to Metabolism and Nutrition ผูสอน ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิสิฏฐ ประพันธวัฒนะ วัตถุประสงคของการจัดการเรียนการสอน : เพ่ือใหนิสิตสามารถ

1. สามารถบอกกระบวนการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาเมแทบอลิซึม และโภชนาการ 2. สามารถบอกวัตถุประสงค และเนื้อหาโดยรวมของรายวิชาเมแทบอลิซึม และโภชนาการ 3. เตรียมพรอมสําหรับการเรียนในรายวิชาเมแทบอลิซึม และโภชนาการ 4. ทราบบทบาท และการปฏิบัติตนท่ีเหมาะสมในการเรียน

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย ซักถามพูดคุย 1 ชั่วโมง วันจันทรท่ี 22ธันวาคม พ.ศ. 2557เวลา 08.00-09.00น. สื่อการศึกษา

- คูมือนิสิต ประมวลรายวิชา และแผนการสอนรายวิชาเมแทบอลิซึม และโภชนาการ - ตารางสอนรายวิชาเมแทบอลิซึม และโภชนาการ - เอกสารคัดลอกจาก ธรรมนูญชีวิต พุทธจริยธรรมเพ่ือชีวิตท่ีดีงาม หมวดท่ี 4 คนกับมรรค

เรื่องท่ี 18 คนผูเลาเรียนศึกษา แตงโดย พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโต) - ส่ือการสอนในรูปแบบ Powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอรพรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

Page 16: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 16

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Principle of Metabolism and Nutrition ผูสอน ศาสตราจารย ปยะรัตน โตสุโขวงศ/ อาจารยแพทยหญิงภรณีเหลาอิทธิ วัตถุประสงคของการจัดการเรียนการสอน : เพ่ือใหนิสิตสามารถ 1. บอกความสําคัญของโภชนาการและความสัมพันธของอาหารจากพืชและสัตว 2. บอกความสําคัญและความตองการของสารอาหารและพลังงานตอรางกาย 3. บอกชนิดและความสําคัญของสารอาหารหลักและสารอาหารที่จําเปนได เน้ือหาการบรรยาย :

1. โภชนาการ อาหาร สารอาหาร และเมแทบอลิซึม 2. สารอาหารและความสําคัญ 3. ความสําคัญของสารอาหารตาง ๆ ในรางกาย

3.1 สารอาหารหลัก 3.2 สารอาหารท่ีจําเปนและตองการปริมาณนอย

4. คําแนะนําการบริโภคอาหาร 4.1 จานอาหารของฉัน 4.2 พีระมิดอาหาร 4.3 ธงโภชนาการ

5. การผันแปรของโภชนาการและโรคที่เปนปญหาสาธารณสุขของประเทศ 6. โครงการสําคัญท่ีมีการนําความรูโภชนาการสูภาคปฏิบัติ

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 2 ชั่วโมง วันจันทรท่ี 22ธันวาคม พ.ศ. 2557เวลา 9.00-11.00 น. สื่อการศึกษา

- เอกสารประกอบการสอน - ส่ือการสอนในรูปแบบ Powerpoint และแผนทึบ - เครื่องคอมพิวเตอรพรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 17: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 17

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (3000274) เร่ือง Nutrients and energy needed acrosslifespan ผูรับผิดชอบ ศาตราจารย ปยะรัตน โตสุโขวงศ/ อาจารย ดร.นายแพทยฐสิณัส ดิษยบุตร

วัตถุประสงคของการจัดการเรียนการสอน :เพ่ือใหนิสิตสามารถ 1. อธิบายสารอาหารและพลังท่ีจําเปนตองใชในชีวิตประจําวันตามวัย 2. คํานวณพลังงานและสารอาหารตามสัดสวนอาหารแลกเปล่ียน 3. อธิบายคําแนะนําในการบริโภคอาหาร 4. บอกหลักการประเมินสภาวะโภชนาการ 5. บอกปจจัยท่ีเปนสาเหตุของภาวะทุโภชนาการได 6. อธิบายความสําพันธของเมแทบอลิซึมกับความผันแปรของโภชนาการได

เน้ือหาการบรรยาย :

1. ความตองการพลังงานและสารอาหารประจําวัน 1.1 พลังงานเพ่ือใชในการดํารงชีวิตประจําวัน 1.2 การเปล่ียนแปลงสารอาหารหลักเปนพลังงาน 1.3 ขอกําหนดมาตรฐานของสารอาหารที่จําเปนหรือควรไดรับประจําวัน

2. ความตองการสารอาหารและพลังงานในวัยตางๆ 2.1 ความตองการพลังงานตามวัยและกิจกรรมตางๆ 2.2 ความตองการสารอาหารตามคา RDA ในวัยตางๆ

3. หลักการคํานวณพลังงานและสารอาหารจากอาหารแลกเปล่ียน 3.1 รายการอาหารแลกเปล่ียน (food exchange list) 3.2 การคํานวณพลังงานและสารอาหารหลักในอาหารตอจานท่ีบริโภคในแตละมื้อ

4. การประเมินสภาวะโภชนาการ (assessment of nutritional status) 4.1 การประเมินทางคลินิก 4.2 การประเมินหนาท่ีของรางกาย 4.3 การประเมินขนาดสัดสวนและวิเคราะหองคประกอบรางกาย 4.4 การประเมินอาหารท่ีบริโภค 4.5 การประเมินทางชีวเคมีและการตรวจทางหองปฏิบัติการ

5. โภชนาการเพื่อสุขภาพและอาหารที่ดีเพ่ือสุขภาพ 5.1 อาหารท่ีดีเพ่ือสุขภาพ 5.2 ปริมาณสารอาหารในนมเหลือง นมแม และนมวัว 5.3 สวนประกอบที่สําคัญในน้ํานม 5.4 ประโยชนของการเล้ียงลูกดวยนมแม 5.5 โภชนาการและการสรางเสริมสุขภาพในผูสูงอายุ

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 2 ชั่วโมง วันอังคารท่ี 23ธันวาคม พ.ศ. 2557เวลา 8.00-10.00 น. สื่อการศึกษา

Page 18: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 18

Symposium with LCD, Website and computer for powerpoint presentation การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 19: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 19

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Carbohydrate Metabolism ผูสอน ผูชวยศาสตราจารย ดร.สัญชัย พยุงภร Learning objectives:The student should be able to

1. Discuss the major pathways of carbohydrate metabolism and interrelationship among carbohydrate, lipid and protein metabolism

2. Describe the Embden-Myerhoff pathway (glycolysis) and its regulation 3. Describe the role of Krebs’ cycle and its intermediates in metabolism 4. Calculate the ATP yield from the complete oxidation of glucose 5. Cite the main functions of the pentose phosphate pathway (PPP) 6. Describe the glycolytic bypass reactions of gluconeogenesis and the regulation of

gluconeogenesis 7. Outline the pathway and regulation of glycogen degradation and synthesis 8. Compare and summarize the major pathways for metabolism of glucose in various cells

of the body 9. Discuss the regulation of blood glucose by various hormones 10. Identify metabolic defects that produce diabetes mellitus (DM) 11. Perform and interpret oral glucose tolerance test 12. Outline fructose and galactose metabolism and discuss enzyme defect that produce

galactosemia 13. Provide an overview of carbohydrate derivative and complex carbohydrate metabolism

Learning contents:

1. Overview of carbohydrate metabolism 2. Overview of major pathways interrelationship among glucose, lipid and protein

metabolism 3. Glycolysis 4. Krebs’ cycle (citric acid cycle) 5. Generation of ATP from glucose 6. The pentose phosphate pathway (PPP) 7. Gluconeogenesis 8. Degradation and formation of glycogen 9. Maintenance of blood glucose levels and major pathways for glucose metabolism in

various cells of the body 10. Abnormal metabolism in diabetes mellitus 11. Metabolism of fructose and galactose 12. Metabolism of complex carbohydrate: glycosaminoglycans and glycoproteins

Page 20: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 20

13. Integrate the knowledge to solve case problem

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 3 ชั่วโมง45 นาที วันอังคารท่ี 23ธันวาคม พ.ศ. 2557เวลา 10.15-12.00 น.และเวลา 13.00-15.00 น. สื่อการศึกษา

- เอกสารประกอบการสอน เรื่อง เมแทบอลิซึมของคารโบไฮเดรต เขียนโดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.สัญชัย พยุงภร และ ศ.ปยะรัตน โตสุโขวงศ

- ส่ือการสอนในรูปแบบ Powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอรพรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 21: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 21

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Lipid Metabolism ผูสอน ศาสตราจารย ดร.นายแพทยสิทธิศักด์ิ หรรษาเวก/ อาจารย ดร.ชาลิสา หลุยเจริญ ชีพสุนทร Learning objectives:The student should be able to

1. Describe triacylglycerol biosynthesis and lipolysis metabolism 2. Describe fatty acid biosynthesis 3. Explain fatty acid catabolism 4. Explain ketone bodies and ketogenesis 5. Describe eicosanoid metabolism 6. Describe biosynthesis of complex lipids 7. Describe cholesterol biosynthesis 8. Categorize plasma lipoproteins and hyperlipoproteinemia

Learning contents:

1. Triacylglycerol metabolism 1.1 Biosynthesis and storage of triacylglycerol 1.2 Lipolysis metabolism and regulation

2. Fatty acid metabolism 2.1 Biosynthesis of fatty acids 2.2 β-oxidation of fatty acids 3. Metabolism of ketone bodies

3.1 Structure of ketone bodies 3.2 Ketogenesis and utilization 4. Metabolism of eicosanoids 4.1 Cyclooxygenase pathway 4.2 Lipoxygenase pathway

5. Biosynthesis of complex lipids 5.1 Biosynthesis of glycerophospholipids 5.2 Biosynthesis of ether glycerolipids 5.3 Biosynthesis of sphingolipids

6. Metabolism of cholesterol 6.1 Biosynthesis of cholesterol 6.2 HMG CoA reductase

7. Metabolism of lipoproteins 7.1 Lipoproteins and lipid transport 7.2 Hyperlipidemia and atherosclerosis

Page 22: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 22

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 4 ชั่วโมง วันพุธท่ี 24ตุลาคม พ.ศ. 2557เวลา 08.00-10.00 น., 10.30-11.30 น. และ 13.00-14.00 น. สื่อการศึกษา

- เอกสารประกอบการสอน เรื่อง เมแทบอลิซึมของลิปด เขียนโดย ศาสตราจารย ดร.นายแพทย สิทธิศักด์ิ หรรษาเวก - ส่ือการสอนในรูปแบบ Powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอรพรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก เอกสารอางอิง Champe, P.C. (1994) Lippincott's Illustrated Reviews:Biochemistry, 2th ed., J.B. Lippincott Company, Philadephia, Chapter 16-20. Nelson D.L. (2004) Lehninger principles of biochemistry, 4th ed., W. H. Freeman, Chapter 17 and 21. Berg J.M. (2002) Stryer biochemistry 5th ed., W. H. Freeman, Chapter 22 and 26.

Page 23: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 23

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Eating behavior and Obesity ผูสอน อาจารย ดร.นายแพทย ฐสิณัส ดิษยบุตร Learning objectives: The student should be able to:

1. describe term, classification and importance of overweight and obesity 2. describe the mechanism of appetite and satiety 3. describe role and functions of leptin involving eating behavior 4. describe risk factors and complications of overweight 5. describe the health promotion for overweigh prevention

Learning contents :

1. คําจํากัดความและระบาดวิทยาของภาวะน้ําหนักเกินและโรคอวน 2. สาเหตุและกลไกการเกิดภาวะโภชนาการเกิน

2.1 ปจจัยเส่ียงภายในกับภาวะโภชนาการเกิน 2.1.1 พันธุกรรมกับการสะสมพลังงาน และภาวะโภชนาการเกิน 2.1.2 กลไกควบคุมความรูสึกอยากอาหารและความอิ่ม และสารส่ือประสาทที่เกี่ยวของ 2.1.3 Leptin กับการควบคุมน้ําหนัก

2.2 ปจจัยเส่ียงภายนอกกับภาวะโภชนาการเกิน 2.2.1 อาหารและรูปแบบการดําเนินชีวิตท่ีเส่ียงตอภาวะโภชนาการเกิน

3 โรคและภาวะแทรกซอนของภาวะโภชนาการเกิน 3. แนวทางการดูแลสุขภาพเพ่ือปองกันภาวะโภชนาการเกิน

การจัดประสบการณการเรียนรู:การบรรยาย 1 ชั่วโมง วันพฤหัสบดีท่ี 25ธันวาคม พ.ศ. 2557เวลา 13.00-14.00 น. สื่อการศึกษา

- เอกสารประกอบการสอนเรื่อง พฤติกรรมการบริโภคอาหารและโรคอวน เขียนโดย รองศาสตราจารย ดร.นวลทิพย กมลวารินทร และ อาจารย ดร. นายแพทยฐสิณัส ดิษยบุตร

- ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอร พรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 24: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 24

ภาควิชา สรีรวิทยา รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ การศึกษา Body Composition โดย BIA ผูสอน รองศาสตราจารย นายแพทยสมพล สงวนรังศิริกุล และ รองศาสตราจารย ดร. วิไล อโนมะศิริ Learning objectives: นิสิตมีความสามารถดังนี้ 1. อธิบายหลักการของ Bioelectrical Impedance Analysis or BIAท่ีใชในการประเมินสัดสวนของ รางกาย 2.แปลผล body composition ของตนเองที่ไดจากการประเมินดวยเครื่อง BIA 3. บรรยายขอปฏิบัติในการหลีกเล่ียงความคลาดเคล่ือนท่ีอาจเกิดขึ้นในขั้นตอนการประเมิน ดวย BIA Learning contents:

1. หลักการประเมิน body composition โดยวิธี Bioelectrical Impedance Analysis or BIA

2. การทํางานเครื่องมือท่ีใชในการประเมิน 3. ปจจัยท่ีมีผลตอการประเมิน body composition โดยวิธี Bioelectrical Impedance Analysis or BIA

4. การแปลผลจากเครื่อง Tanita

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 1 ชั่วโมง วันพฤหัสบดีท่ี 25 ธันวาคม พ.ศ. 2557เวลา 14.00-15.00 น. สื่อการศึกษา

1. Power point 2. ผลการอานคา BIA แตละบุคคล

การประเมินผล: 1. นิสิตตระหนักถึงความสําคัญของการดูแลสุขภาพของตนเอง และ รายงานในสมุดสุขภาพ

Page 25: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 25

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Amino Acid Metabolism ผูสอน ผูชวยศาสตราจารย ดร. พิสิฏฐ ประพันธวัฒนะ Learning objectives: The student should be able to

1. Define essential and nonessential amino acids 2. Describe protein turnover and turnover of the amino acid metabolic pool 3. Describe the mechanisms of protein degradation 4. Define the various states of nitrogen balance and account for the factors affecting

them 5. Explain the removal of -amino group of amino acids by transamination and oxidative

deamination reactions. 6. Outline the mechanism of ammonia intoxication 7. Describe and account for the essential roles and the regulation of the urea cycle 8. Outline the fates of various -keto acids 9. Outline the biosynthesis of the nonessential amino acids 10. Discuss the intertissue relationships in the metabolism of amino acids

Learning contents :

1. Classification of the essential and nonessential amino acids 2. The turnover of amino acid metabolic pool 3. Nitrogen balances 4. Mechanism in protein turnover 5. Amino acid catabolism

5.1 Transamination 5.2 oxidative deamination 5.3 Amino acid oxidase reaction

6. The fates of ammonia 6.1 The mechanism of ammonia intoxication 6.2 Urea Cycle

7. Carbon skeleton catabolism 7.1 Glucogenic amino acids 7.2 Ketogenic amino acids 7.3 Glucogenic-ketogenic amino acids

8. Biosynthesis of nonessential amino acid from 8.1 Intermediates in the TCA cycle and glycolysis 8.2 Nonessential amino acids as precursors

Page 26: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 26

8.3 Essential amino acids as precursors 9. Intertissue relationships in the metabolism of amino acids

9.1 Interorgan flux of amino acids in the postabsorptive state 9.2 Metabolism of glutamine in acid base balance

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 3 ชั่วโมง วันพฤหัสบดีท่ี 25 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เวลา 15.00-16.00 น. วันศุกรท่ี 26 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เวลา 08.00-10.00 น. สื่อการศึกษา

- หนังสือ เมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน เลม 1 เรื่องเมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน เขียนโดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิสิฏฐ ประพันธวัฒนะ - ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอรพรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 27: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 27

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Alcohol Metabolism ผูสอน ศาสตราจารยนายแพทยพิสิฐต้ังกิจวานิชย Learning objectives: The student should be able to

1. Explain the physical and biochemical property of alcoholic compounds 2. Outline food sources, absorption, transport, tissue distribution, storage, metabolites,

adducts and excretion of alcoholic compounds 3. Explain the cellular metabolism of alcoholic compounds 4. Explain the mechanism and calculate the ATP production from alcoholic catabolism 5. Explain the physiological effect of alcoholic compounds and clinical manifestations in

alcohol toxicity Learning contents :

1. Classification and nomenclature of alcoholic compounds 2. Types of alcoholic drinking 3. Alcohol metabolism :

3.1 Absorption 3.2 Transport and tissue distribution 3.3 Storage 3.4 Metabolites and adducts 3.5 Excretion 4. Physiological effect of alcoholic compounds 5. Clinical manifestations in alcohol toxicity การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 1 ชั่วโมง วันศุกรท่ี 26 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เวลา 11.00-12.00 น. สื่อการศึกษา

- เอกสารประกอบการสอนเรื่องAlcohol metabolism เขียนโดย ศาสตราจารยนายแพทยพิสิฐ ต้ังกิจวานิชย

- ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอร พรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 28: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 28

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Nucleotide Metabolism ผูสอน ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธนัญญา ทองตัน Learning objectives : The students should be able to

1. Describe the synthesis of purine and pyrimidine ribonucleotides - both de novo and salvage pathways

2. Define the reactions leading to dNTP formation 3. Describe the nucleotide degradations 4. Describe the biosynthesis of nucleotide derived coenzymes 5. Explain the clinical disorders correlated to the nucleotide metabolism

Learning contents: 1. Background of the chemical structures of nucleotides, nucleosides and bases 2. Synthesis of purine ribonucleotides

2.1 IMP 2.2 AMP / GMP from IMP 2.3 Regulation of the purine nucleotide biosynthesis 2.4 Salvage of purine nucleotides

3. Synthesis of pyrimidine ribonucleotides 3.1 UMP 3.2 UTP and CTP 3.3 Regulation of the pyrimidine nucleotide biosynthesis

4. Biosynthesis of deoxyribonucleotides 4.1 rNDP reductase 4.2 dTTP 5. Nucleotide degradation 6. Biosynthesis of nucleotide coenzymes : NAD/ FAD/ coenzyme A 7. Biological and medical importance of nucleotide analogs 8. Clinical disorders of nucleotide metabolism : Gout / Lesch-Nyhan Syndrome / ADA

deficiency

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 2 ชั่วโมง วันจันทรท่ี 29 ธันวาคม พ.ศ. 2557เวลา 08.00-10.00 น.

Page 29: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 29

สื่อการศึกษา - เอกสารประกอบการสอน เรื่อง เมแทบอลิซึมของนิวคลิโอไทด เขียนโดย

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธนัญญา ทองตัน - ส่ือการสอนในรูปแบบ Powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอร พรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 30: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 30

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึม และโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Vitamins ผูสอน รองศาสตราจารยดร.วิไล อโนมะศิริ/ศาสตราจารย ดร.นพ.สิทธิศักด์ิ หรรษาเวก Learning objectives: The student should be able to

1. Define vitamins and differentiate vitamins from hormones 2. Classify vitamins into fat soluble and water soluble and explain the differences 3. Discuss the causes of vitamin deficiency in general 4. Explain each vitamin regarding chemical structure, precursor and provitamins,

metabolism and active or functional forms, function, deficiency, dependency, toxicity and therapeutic uses

Learning contents : 1. Introduction to vitamins

1.1 Definition 1.2 Differences between vitamins and hormones 1.3 Classification 1.4 General properties of fat soluble and water soluble vitamins 1.5 Causes of vitamin deficiency : primary, secondary

2. Fat soluble vitamins : A, D, E and K and water soluble vitamins : B complex group and ascorbic acid :

2.1 Chemical structure of the compounds exhibiting vitamin activities 2.2 Precursor or provitamin 2.3 Food sources 2.4 Metabolism 2.5 Absorption of the bioavailable vitamins from ingested food 2.6 Storage 2.7 Transportation from storaging organ to target tissue 2.8 Synthesis of the active functional forms 2.9 Excretion

3. Physiological function of the vitamins 4. Mechanism of vitamin action at biochemical or molecular levels

4.1 Vitamin deficiency, dependency and toxicity : specific causes, major signs and symptoms

4.2 Therapeutic uses of the vitamins.

Page 31: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 31

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 3 ชั่วโมง วันจันทรท่ี 29 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เวลา 10.15-11.15 น. วันอังคารท่ี 30 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เวลา 10.00-12.00 น. สื่อการศึกษา

- หนังสือเมแทบอลิซึมและโภชนาการ เลม 2 เมแทบอลิซึมของวิตามิน แรธาตุ และโภชนาการในมนุษยเรื่องเมแทบอลิซึมของวิตามินเขียนโดย รองศาสตราจารย ดร.วิไล อโนมะศิริ

- ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอร พรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 32: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 32

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Mineral Metabolism ผูสอน ศาสตราจารยนายแพทยพิสิฐต้ังกิจวานิชย Learning objectives: The student should be able to

1. Classify the essential elements according to body composition and body requirement 2. Outline food sources, absorption, transport, tissue distribution, storage function and

excretion of the macro- and microelements 3. Explain the biochemical and clinical manifestation in deficiency and toxicity of macro-

and microelements

Learning contents : 1. Classification of body essential elements

1.1 Macroelements 1.2 Microelements

2. Recommended dietary allowances and food sources of macro- and microelements 3. Macroelements and microelements :

Food sources / Absorption / Transport and tissue distribution / Storage Function Excretion

4. Biochemical and clinical manifestations in deficiency and toxicity. การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 2 ชั่วโมง วันจันทรท่ี 5 มกราคม พ.ศ. 2558เวลา 8.00-10.00 น. สื่อการศึกษา

- หนังสือเมแทบอลิซึมและโภชนาการ เลม 2 เมแทบอลิซึมของวิตามิน แรธาตุ และโภชนาการในมนุษยเรื่องเมแทบอลิซึมของแรธาตุเขียนโดย ศาสตราจารย นายแพทยพิสิฐ ต้ังกิจวานิชยภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

- ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอร พรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 33: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 33

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Dietary supplementation ผูสอน รองศาสตราจารย ดร.นวลทิพย กมลวารินทร Learning objectives: The student should be able to:

1. Describe definition of supplementary food 2. List types and forms of supplementary food 3. List regulations concerning supplementary food 4. Describe how to use a supplementary food properly

Learning contents:

1. Introduction to supplementary food 2. Definition of supplementary food 3. Dietary ingredients 4. Form of supplementary food 5. Precaution on using supplementary food

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 1 ชั่วโมง วันจันทรท่ี 5 มกราคม พ.ศ. 2558เวลา 10.00-11.00น. สื่อการศึกษา

- ตําราเมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) ของภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง Dietary supplementation เขียนโดย รองศาสตราจารย ดร. นวลทิพย กมลวารินทร

- ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอร พรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 34: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 34

ภาควิชา สรีรวิทยา รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Body temperature ผูสอน รองศาสตราจารย แพทยหญิงจุไรพร สมบุญวงค และ คณาจารยภาควิชาสรีรวิทยา Learning objectives: The student should be able to :-

1. Define the body temperature 2. List the factors influencing the heat production and heat loss 3. Explain the sweating mechanism and its regulation 4. Explain the regulation of body temperature 5. Discuss the abnormalities of body temperature regulation

Learning contents: Theory: 1. Body temperature 5 min 1.1 Core temperature 1.2 Surface temperature 1.3 Normal body temperature 2. Factors influencing heat production and heat loss 10 min 2.1 Heat production 2.1.1 Basal metabolism 2.1.2 Muscular activity 2.1.3 Thyroxine effect on cells 2.1.4 Sympathetic effect of cells 2.1.5 Temperature effect on cells 2.2 Heat loss 2.2.1 Radiation 2.2.2 Evaporation 2.2.3 Conduction 3. Sweating 5 min 3.1 Sweat glands 3.2 Mechanism of sweat secretion 3.3 Regulation of sweat secretion 4. Regulation of body temperature 30 min 4.1 Thermostatic mechanism 4.1.1 Themoreceptor 4.1.2 Temperature-regulating center 4.1.3 Mechanisms of increased heat loss when the body becomes overheated

Page 35: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 35

4.1.4 Mechanisms of heat conservation and increased heat production when the body becomes cooled 4.2 Behavioral mechanism 4.3 Local skin reflex 5. Abnormalities of body temperature regulation 10 min 5.1 Fever 5.2 Heat stroke 5.3 Hypothermia Laboratory 1 hr 1. Measurement of body temperature 2. Factors affecting body temperature : method of measurement, temperature of consumed water, sex and exercise 3. Body temperature of homeothermic and poikilothermic การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 1 ชั่วโมง วันจันทรท่ี 5 มกราคม พ.ศ. 2558เวลา 11.00-12.00 น. ปฏิบัติการ 1 ชัว่โมง เรื่อง Measurement of Body Temperature วันจันทรท่ี 5 มกราคม พ.ศ. 2558เวลา 14.00-15.00 น. อาคารแพทยพัฒน ชั้น 3 สื่อการศึกษา

- เอกสารประกอบการสอน โดย รองศาสตราจารย แพทยหญิงจุไรพร สมบุญวงค ภาควิชาสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

- ส่ือการสอนในรูปแบบ Powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอรพรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 36: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 36

ภาควิชา สรีรวิทยา รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Calorimetry ผูสอน รองศาสตราจารย แพทยหญิงจุไรพร สมบุญวงค และ คณาจารยภาควิชาสรีรวิทยา Learning objectives: The student should be able to 1. Define the energy metabolism 2. Explain the measurement of the metabolic rate 3. List the factors affecting the metabolic rate 4. Describe the basal metabolic rate 5. Explain how to measure and calculate the basal metabolic rate Learning contents:

1. Energy metabolism 5 min 1.1 Energy balance 1.2 Anabolism and catabolism 2. Measurement of the metabolic rate 35 min 2.1 Direct calorimetry 2.2 Indirect calorimetry 3. Respiratory quotient (RQ) and respiratory exchange ratio (R) 5 min 4. Factors affecting the metabolic rate 10 min 4.1 Exercise and physical activity 4.2 Dietary-induced thermogenesis 4.3 Age and sex 4.4 Body surface area 4.5 Hormones : thyroid hormone, male sex hormone, growth hormone 4.6 Sympathetic stimulation 4.7 Emotion 4.8 Fever 4.9 Climate 4.10 Sleep 4.11 Malnutrition 5. Basal metabolic rate (BMR) 5 min 5.1 Basal conditions 5.2 Usual technique for determining the BMR 5.3 Expressing the BMR in terms of surface area 5.4 Expressing the BMR in percentage above or below normal

Page 37: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 37

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 1 ชั่วโมง วันจันทรท่ี 5 มกราคม พ.ศ. 2558 เวลา 13.00-14.00 น. ปฏิบัติการ 1 ชั่วโมง เรื่อง Indirect Calorimetry by using spirometer of Benedict-Roth apparatus

วันจันทรท่ี 5 มกราคม พ.ศ. 2558เวลา15.00-16.00 น. อาคารแพทยพัฒน ชั้น 3 สื่อการศึกษา

- เอกสารประกอบการสอน โดย รองศาสตราจารย แพทยหญิงจุไรพร สมบุญวงค ภาควิชาสรีรวิทยา คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

- ส่ือการสอนในรูปแบบ Powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอรพรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ - เครื่องมือ Metabolator ชนิด Spirometer of Benedict-Roth Apparatus

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 38: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 38

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Antioxidants ผูสอน ผูชวยศาสตราจารย ดร. พิสิฏฐ ประพันธวัฒนะ Learning objectives: The students should be able to

1. Describe the chemistry and generation of free radicals 2. Describe the source of reactive oxygen metabolites and oxidative stress in vivo 3. Discuss nitric oxide and reactive nitrogen-oxygen species 4. Describe the reaction of free radicals with biomolecules 5. Discuss the role of reactive oxygen species in pathology and oxidative stress 6. Describe the defense mechanism against oxygen toxicity

Learning contents:

1. The radical nature of oxygen 2. Types and characteristics of reactive oxygen species 3. Major sources of primary reactive oxygen species in the cell 4. Nitric oxide and reactive nitrogen-oxygen species 5. Role of reactive oxygen species in pathology and oxidative stress 6. Cellular defenses against oxygen toxicity

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 1 ชั่วโมง วันอังคารท่ี 6 มกราคม พ.ศ. 2558เวลา 13.00-14.00 น. สื่อการศึกษา

- หนังสือเมแทบอลิซึมและโภชนาการ เลม 2 เมแทบอลิซึมของวิตามิน แรธาตุ และโภชนาการในมนุษยเรื่องสารอนุมูลอิสระและสารทีมีฤทธิ์ออกซิไดสเขียนโดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิสิฏฐ ประพันธวัฒนะ

- ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอร พรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 39: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 39

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ ส่ิงมีชีวิตดัดแปลงพันธุ (จีเอ็มโอ)

(Genetically Modified Organisms, GMOs) ผูสอน ศาสตราจารย ดร.จิระพันธ กรึงไกร Learning objectives: The students should be able to:

1. Describe principles of genetic engineering or recombinant DNA technology 2. Describe methods for molecular cloning and expression of the gene 3. List some applications of genetic engineering in medicine and basic science 4. Define genetically modified organisms (GMOs) 5. Describe methods for GMOs construction in plant and/or animal 6. Describe methods for GMOs detection and/or test in foods 7. Discuss safety, ethics, regulation of GMOs

Learning contents :

1. Genetic engineering or recombinant DNA technology 1.1. History 1.2. Principles : DNA cloning, cloning vectors, gene libraries, screening 1.3. Analysis and used of cloned DNA : nucleic acid sequencing, polymerase chain

reaction (PCR), mutagenesis, etc. 1.4. Applications in medicine: drugs, diagnosis, gene therapy, DNA fingerprint, etc. 1.5. Applications in basic science: molecular markers, evolution, knockout animals,

GMOs, etc. 2. Genetically modified organisms (GMOs)

2.1. Past, present and future 2.2. Transgenic plant and animals: definition, purpose, users, etc. 2.3. GMOs plants and foods: global issue, quantity, types, etc. 2.4. Construction and production of GMOs plant 2.5. Detection and test for GMOs foods 2.6. Safety, ethics and regulation

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 1.5 ชั่วโมง วันอังคารท่ี 6 มกราคม พ.ศ. 2558เวลา 14.30-16.00 น. สื่อการศึกษา

- เอกสารประกอบการสอน เรื่องพันธุวิศวกรรมและส่ิงมีชีวิตดัดแปลงพันธุ(จีเอ็มโอ) เขียนโดย ศาสตราจารย ดร.จิระพันธ กรึงไกร ภาควิชาชวีเคมี คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 40: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 40

- ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอร พรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก เอกสารอางอิง (References) : Watson , J.D. et al. (2004) Molecular Biology of the Gene, pp. 643-711, 5th edition, Pearson/

Benjamin Cummings & CSHL Press, San Francisco. Turner, P.C. et al. (2000) Molecular Biology, pp.103-181 2ndedition,Bios & Springer-Verlag, Hong

Kong. Weaver, R.F. (1999) Molecular Biology, pp.63-133, WCB/McGraw-Hill, New York. Maulik, S., and Patel, S.D. (1997) Molecular Biotechnology: Therapeutic Applications and

Strategies, Wiley-Liss, New York. Taverniers, I. et al. (2004) Biotech Inter. 16, 20-23. Nap, J.P. et al. (2003) Plant J. 33, 1-18, and Corner, A.J. et al. (2003) Plant J. 33, 19-46. Ahmed, F.E. (2002) Trends Biotech. 20, 215-223. Niemann, H. (2004) Proc. Natl. Acad Sci. 101, 7211-7212.

Page 41: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 41

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ เอนไซมวิทยาทางคลินิก (Clinical enzymology) ผูสอน ศาสตราจารย ดร.จิระพันธ กรึงไกร Learning objectives: The students should be able to:

1. Discuss clinical correlation of enzymes 2. Describe enzymes as markers for diagnosis 3. Describe enzymes used in therapy 4. Describe enzymes as target of drug 5. Describe enzyme abnormalities in metabolisms

Learning contents: 1. Principles of diagnostic enzymology: pathological enzyme release, transport,

distribution, elimination 2. Diagnostic enzymes in pathophysiological conditions 3. Therapeutic enzymes 4. Drug targeting enzymes 5. Enzyme abnormalities in various metabolic pathways: excess and deficiency 6. Identification and treatment of an enzyme deficiency

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 1 ชั่วโมง วันพุธท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2558 เวลา 08.00-09.00 น. สื่อการศึกษา

- เอกสารประกอบการสอน เรื่องเอนไซมวิทยาทางคลินิก เขียนโดย ศาสตราจารย ดร.จิระพันธ กรึงไกร - ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint เครื่องคอมพิวเตอร พรอมเครื่องฉายภาพขึ้นจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก เอกสารอางอิง (References) 1. Moss, D. W., and Rosalki, S. B. (1996) Enzyme Test in Diagnosis, Arnold Group, London. 2. Mayne, PH. (1996) Clinical Chemistry in Diagnosis and Treatment, 6thed, Arnold Group,

London. 3. Cohn, R. M., and Roth, K. S. (1996) Biochemistry and Diseases, chapters: 11,12,15-17,25,

Williams & Wilkins, Baltimore. 4. Devlin, T. M. (2011) Textbook of Biochemistry with Clinical Correlations, pp.381-424, 7th

edition, John Wiley & Sons Inc., New York.

Page 42: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 42

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (3000274) เร่ือง Nutrition for Health Promotion and Disease Prevention ผูรับผิดชอบ ศาตราจารย ปยะรัตน โตสุโขวงศ/ อาจารย ดร.นายแพทยฐสิณัส ดิษยบุตร/ อาจารยแพทยหญิงภรณีเหลาอิทธิ

Learning objectives: The students should be able to

1. Describe term, classification and importance of metabolic syndrome 2. Describe the mechanism of appetite and satiety 3. Describe role and functions of leptin involving eating behavior 4. Describe nutrition and health promotion strategies for metabolic syndrome and cancer

patients Learning contents:

1. การสรางเสริมสุขภาพ 1.1 กลยุทธและกิจกรรมหลักของการสรางเสริมสุขภาพ 1.2 การแบงการปองกันโรคและสรางเสริมสุขภาพ

2. รูปแบบของอาหารปองกันโรคและอาหารประจําถ่ินท่ีสําคัญ 2.1 อาหารประจําถ่ิน

2.1.1อาหารตะวันตก (Western diet) 2.1.2อาหารเมดิเตอรเรเนียน 2.1.3 อาหารญี่ปุน 2.1.4 อาหารพ้ืนบานไทย

2.2 อาหารปองกันโรค 2.2.1 อาหารมังสวิรัติ 2.2.2 อาหารแดส (DASH)

3. อาหารและการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพ 4. อาหารและการจัดการความเครียดเพ่ือสุขภาพ

4.1 ผลของความเครียดตอการเปล่ียนแปลงทางชีวเคมีในรางกาย 4.2 การผอนคลายความเครียดและการจัดการความเครียด 4.3 ประโยชนของการผอนคลายความเครียด 4.4 อาหารคลายความเครียดและอาหารเพ่ิมความเครียด

5. การสรางเสรมิสุขภาพเพ่ือปองกันโรคเรื้อรัง 5.1 ภาวะเมแทบอลิกซินโดรม

5.2 โรคความดันโลหิตสูง 5.3โรคเบาหวาน

5.4โรคหัวใจ 5.5โรคไต 5.6 โรคตับ

Page 43: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 43

5.7 โรคกระดูก 5.8 โรคทางสมอง 5.9 โรคมะเร็ง

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 2 ชั่วโมง วันพุธท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2558 เวลา 10.00-12.00 น. สื่อการศึกษา Symposium with LCD, Website and computer for powerpoint presentation การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation: ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 44: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 44

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึม และโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Integration of Metabolism ผูสอน ผูชวยศาสตราจารย ดร. พิสิฏฐ ประพันธวัฒนะ และคณาจารยภาควิชาชีวเคมี Learning objectives: The student should be able to integrate the knowledge to

1. Account for the major metabolic fuel storage in the body 2. Describe the major metabolic pathways of the fuel molecules in both catabolism and

anabolism 3. Explain the metabolic control in molecular, cellular and organ levels 4. Explain the control of metabolism by hormones

4.1 Insulin 4.2 Glucagon 4.3 Epinephrine

5. Explain the metabolism of various tissues in 5.1 Feeding state 5.2 Post absorptive state 5.3 Starvation 5.4 Exercises: aerobic and anaerobic exercise

Learning contents :

1. ภาพรวมของวิถีเมแทบอลิซึม 1.1 แหลงพลังงานของรางกาย 1.2 หลักการของวิถีเมแทบอลิซึมของสารพลังงานหลัก

2. การควบคุมเมแทบอลิซึมของสารพลังงาน 2.1 การควบคุมในระดับอวัยวะ

2.1.1 ควบคุมเมแทบอลิซึมโดยฮอรโมนหลัก: อินสุลิน กลูคากอน อิพิเนฟริน 2.2 การควบคุมระดับเซลลและออรแกเนลล

2.2.1 การควบคุมการผานเขาออกของเมแทบอไลท 2.2.2 การควบคุมการทํางานของเอนไซม 2.2.3 ปริมาณเอนไซม 2.2.4 ไอโซไซม 2.2.5 การกระตุนหรือการยับย้ังการทํางาน 2.2.6 การควบคุมโดยการเหนี่ยวนําใหสรางมากขึ้น หรือกดการสรางใหนอยลง 2.2.7 การจัดเอนไซมหรือวิถีเมแทบอลิซึมเปนสัดสวนในเซลล 2.2.8 วิถีเล่ียงของเมแทบอลิซึม

3. อวัยวะหรือเนื้อเย่ือท่ีสําคัญในรางกายท่ีควบคุมเมแทบอลิซึมของสารพลังงาน 3.1 ตับ

Page 45: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 45

3.2 กลามเนื้อ 3.3 กลามเนื้อหัวใจ 3.4 เนื้อเย่ือไขมัน 3.5 สมอง 3.6 ไต 3.7 เม็ดเลือดแดง

4. การผสมผสานของเมแทบอลิซึมในระดับอวัยวะในสภาวะตาง ๆ ของรางกาย 4.1 สภาวะหลังรับประทานอาหาร 4.2 สภาวะระหวางมื้ออาหาร 4.3 สภาวะอดอาหาร 4.4 สภาวะออกกําลังกาย

4.4.1 การออกกําลังกายแบบไมใชออกซิเจน 4.4.2 การออกกําลังกายแบบใชออกซิเจน

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย

- อภิปรายกลุมยอย และการถามตอบ รวม 3 ชั่วโมง วันพฤหัสบดีท่ี 8 มกราคม พ.ศ. 2558 เวลา 13.00-13.30 น.

นิสิตแบงกลุมยอย 13 กลุม เพ่ือรวมกันหาคําตอบใหกับคําถามท่ีเกี่ยวกับเมแทบอลิซึมท่ีไดรับมอบหมาย โดยใชเวลาประมาณ 30 นาที

เวลา 13.30-16.00 น. กลุมยอยสงตัวแทนครั้งละ 2 กลุมเพ่ือผลัดกันถามตอบปญหาท่ีเลือก โดยอาจารยผูควบคุมจะสรุปคําตอบท่ีถูกตองใหในตอนทายของการถามแตละปญหา ใชเวลาประมาณ 2 ชั่วโมง 30 นาที

- บรรยาย 2 ชั่วโมง โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิสิฏฐ ประพันธวัฒนะ วันพุธท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2558เวลา 13.00-15.00 น.

สื่อการศึกษา - เอกสารประกอบการสอน เรื่องการควบคุมและการผสมผสานของเมแทบอลิซึม โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิสิฏฐ ประพันธวัฒนะ - คําถาม จํานวน 10-15 คําถาม - ส่ือการสอนในรูปแบบ Powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอรพรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก สังเกตความสนใจ และการมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอน

Page 46: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 46

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Metabolism of heme and complex molecules ผูสอน รองศาสตราจารย ดร.นวลทิพย กมลวารินทร Learning objectives: The student should be able to:

1. Describe the biosynthesis and degradation of heme 2. Describe the biosynthesis of some important complex molecules

Learning contents:

1. Biosynthesis and degradation of heme

- Heme structure

- Biosynthesis of heme

- Regulation of heme biosynthesis

- Abnormality of heme biosynthesis

- Degradation of heme

- Structure of glycoprotein and proteoglycans

- Biosynthesis of glycoprotein 2. Biosynthesis of some important complex molecules e.g. gangliosides,

mucopolysaccharide and related disorder

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 1 ชั่วโมง วันพฤหัสบดีท่ี 8 มกราคม พ.ศ. 2558เวลา 8.00-9.00 น. สื่อการศึกษา

- ตําราเมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) ของภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง Metabolism of heme and complex molecules เขียนโดย รองศาสตราจารย ดร. นวลทิพย กมลวารินทร

- ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอร พรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 47: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 47

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Metabolism of Xenobiotics and Biotransformation ผูสอน ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชาญชัย บุญหลา LEARNING OBJECTIVES: The students should be able to

1. Define xenobiotics 2. Describe the fate of xenobiotics in the body 3. Describe the absorption of xenobiotics 4. Describe the distribution of xenobiotics 5. Describe and comprehend the biotransformation of xenobiotics 6. Describe the excretion of xenobiotics

LEARNING CONTENTS: 1. Definition of xenobiotics 2. The disposition of xenobiotics in the body

2.1 Absorption 2.2 Distribution 2.3 Biotransformation or metabolism 2.4 Excretion

3. The absorption of xenobiotics 3.1 Ingestion; GI absorption 3.2 Inhalation; Lung 3.3 Skin

4. The distibution of xenobiotics 4.1 Storage depots; plasma proteins, liver/kidney, fat, bone

5. The biotransformation (metabolism) of xenobiotics 5.1 Phase I reaction 5.1.1 Bioinactivation (Detoxification) 5.1.2 Bioactivation 5.2 Cytochrome P450 enzyme (Mixed-Function Oxidase System) 5.3 Phase II reaction: conjugation 5.3.1 Glucuronidation 5.3.2 Sulfation 5.3.3 Conjugation with glutathione 5.3.4 Acetylation 5.3.5 Methylation

6. The excretion of xenobiotics 6.1 Urinary excretion

Page 48: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 48

6.2 Biliary excretion 6.3 Othor minor excretory routes

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 1 ชั่วโมง วันพฤหัสบดีท่ี 8มกราคม พ.ศ. 2558 เวลา 09.00 -10.00 น. สื่อการศึกษา

- เอกสารประกอบการสอน เรื่อง Disposition of Xenobiotics เขียนโดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชาญชัย บุญหลา

- ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอร พรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก เอกสารอางอิง

1. Haley J.T. and Berndt O.W. (1987) Handbook of toxicology; Hemisphere Publishing Corporation, Washington, USA

2. Hodgson E. and Levi E.P. (1994) Introduction to Biochemical Toxicology; Norwalk, Conn: Appleton & Lange

3. Stine E.K. and Brown M.T. (1996) Principles of Toxicology; Lewis Publishers, New York, USA

Page 49: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 49

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (Metabolism and Nutrition) หัวขอ Food toxicologyand food additives ผูสอน ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชาญชัย บุญหลา LEARNING OBJECTIVES: The students should be able to

1. Define food toxicants 2. Classify toxicants in food 3. Describe the action and toxic effect of food toxicants

LEARNING CONTENTS 1. Definition of food toxicants 2. Types of toxicity

2.1 Acute toxicity 2.2 Chronic toxicity

3. Classification and toxic effect of toxicants 3.1 Naturally occurring toxins

3.1.1 Plant toxins 3.1.2 Animal toxins 3.1.3 Mushroom toxins

3.2 Contaminants 3.2.1 Microorganisms 3.2.2 Environmental contaminants/toxicants

3.2.2.1 Pesticides 3.2.2.2Heavy metals

3.3 Food additives 3.3.1 Intentional food additives

3.3.1.1 Antimicrobial agents 3.3.1.2 Antioxidants 3.3.1.3 Colors 3.3.1.4 Sweeteners 3.3.1.5 Flavors 3.3.1.6 Flavor enhancers 3.3.1.7 Nutrient additives

3.3.2 Accidental or indirect food additives 3.3.2.1 Microwave packaging 3.3.2.2 Dioxins 3.3.2.3 Chemicals used for decaffeinting 3.3.2.4 Hormones

Page 50: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 50

3.3.2.5 Antibiotics

การจัดประสบการณการเรียนรู: การบรรยาย 2 ชั่วโมง วันพฤหัสบดีท่ี 8 มกราคม พ.ศ. 2558เวลา 10.15-11.15 น. วันศุกรท่ี 9มกราคม พ.ศ. 2558 เวลา 08.00-09.00 น. สื่อการศึกษา

- เอกสารประกอบการสอน เรื่อง Food toxicants เรียบเรียงโดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชาญชัย บุญหลา - ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint - เครื่องคอมพิวเตอร พรอมเครื่องฉายภาพข้ึนจอ

การประเมินผล: Formative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก Summative evaluation : ขอสอบแบบปรนัย 5 ตัวเลือก เอกสารอางอิง

Shibamoto, Takayuki and Bjeldanes LF. (1993) Introduction to food toxicology. Academic Press Inc. California, USA

Davidek J. (1995) Natural toxic compounds of food; Formation and changes during food processing and storage, CRC Press Inc. Florida, USA

Page 51: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 51

เน้ือหา และแผนการสอนรายหัวขอ ภาคปฏิบัติ กรณีศึกษา และอภิปรายหมู

Page 52: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 52

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (3000274) เร่ือง ปฏิบัติการ เรื่อง การวิเคราะหหาระดับน้ําตาลในพลาสมา และปสสาวะ ผูรับผิดชอบ ศาสตราจารย ดร.นพ.สิทธิศักด์ิ หรรษาเวก แนะนํา และสรุปปฏิบัติการ

และ คณาจารยภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

วัตถุประสงคของการจัดการเรียนการสอน :เพ่ือใหนิสิตสามารถ 1. บอกหลักการวินิจฉัยโรคเบาหวานเบ้ืองตนได 2. อภิปรายประโยชน และขอจํากัด และบอกวิธีการตรวจวัดระดับน้ําตาลกลูโคสในพลาสมา และ

ปสสาวะภายหลังอดอาหาร 3. อภิปรายหลักการ การแปลผลและประโยชนของการทํา glucose tolerance test 4. ทํางานเปนกลุม 5. วิเคราะห วิจารณ สรุปผลการทดลอง และเขียนรายงาน 6. นําความรูท่ีไดไปประยุกตใชทางคลินิก

การจัดประสบการณการเรียนรู

วันจันทรท่ี 22ธันวาคม พ.ศ. 2557 เวลา 11.00-12.00 น. การแนะนําการปฏิบัติการ ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1 การเตรียมตัวของผูจะทดสอบ

วันพฤหัสบดีท่ี 25 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เวลา 07.00-08.30 น. เจาะเลือดคร้ังท่ี 1 ท่ีหองปฏิบัติการ อาคารแพทยพัฒน ชั้น 3 เวลา 08.30-09.00 น. การแนะนําการปฏิบัติการ ท่ีหองปฏิบัติการ อาคารแพทยพัฒน ชั้น 3 หลักการและขั้นตอนการลงมือวิเคราะห เวลา 09.00-12.00 น. เจาะเลือดคร้ังท่ี 2 และปฏิบัติการ ท่ีหองปฏิบัติการ อาคารแพทยพัฒน ชั้น 3

วันจันทรท่ี 12 มกราคม พ.ศ. 2558 เวลา 13.00-13.30 น. สรุปปฏิบัติการ ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1

สื่อการศึกษา เอกสารคูมือปฏิบัติการชีวเคมี สําหรับนิสิตแพทย ชั้นปท่ี 2 ปการศึกษา 2554 การสอนในรูปแบบ powerpoint เครื่องคอมพิวเตอร พรอมอุปกรณฉายภาพขึ้นจอ อุปกรณวิทยาศาสตร และสารเคมี

การประเมินผล สังเกตจากการฝกปฏิบัติรวมกัน และการเขียนรายงาน การสอบดวยขอสอบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 53: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 53

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึม และโภชนาการ (3000274) เร่ือง ปฏิบัติการ เรื่อง การวิเคราะหหาระดับสารตานอนุมูลอิสระ ผูรับผิดชอบ อาจารย ดร.นายแพทยฐสิณัส ดิษยบุตรแนะนําและสรุปปฏิบัติการ

และ คณาจารยภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

วัตถุประสงคของการจัดการเรียนการสอน : เพ่ือใหนิสิตสามารถ 1. บอกชนิดอนุมูลอสิระ และยกตัวอยางสารตานอนุมูลอิสระในอาหาร ผัก และผลไม 2. บอกชนิดและวิธีวิเคราะหผลิตผลของการมีสารอนุมูลอิสระมากในรางกาย 3. บอกหลักการวิเคราะหไขมัน 4. อภิปรายวิธีปฏิบัติ และผลของการสรางเสริมสุขภาพแบบองครวม (Holistic approach) ตอการ

เปล่ียนแปลงระดับไขมันและสารตานอนุมุลอิสระ 5. ทํางานเปนกลุม 6. วิเคราะห วิจารณ สรุปผลการทดลอง และเขียนรายงาน 7. นําความรูท่ีไดไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได

การจัดประสบการณการเรียนรู วันอังคารท่ี 6 มกราคมพ.ศ. 2558

เวลา 08.00-09.00 น. การแนะนําการปฏิบัติการ ท่ีหองปฏิบัติการ อาคารแพทยพัฒน ชั้น 3 เวลา 09.00-12.00 น. ปฏิบัติการ ท่ีหองปฏิบัติการ อาคารแพทยพัฒน ชั้น 3

วันจันทรท่ี 12 มกราคม พ.ศ. 2558 เวลา 13.00-13.30 น. สรุปปฏิบัติการ ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1

ส่ือการศึกษา เอกสารคูมือปฏิบัติการชีวเคมี สําหรับนิสิตแพทย ชั้นปท่ี 2 ปการศึกษา 2554 การสอนในรูปแบบ powerpoint เครื่องคอมพิวเตอร พรอมอุปกรณฉายภาพขึ้นจอ อุปกรณวิทยาศาสตร และสารเคมี

การประเมินผล สังเกตจากการฝกปฏิบัติรวมกัน และการเขียนรายงาน การสอบดวยขอสอบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 54: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 54

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (3000274) เร่ือง ปฏิบัติการ เรื่อง การวิเคราะหหาสารพิษ และสารปรุงแตงอาหาร ผูรับผิดชอบ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชาญชัย บุญหลา แนะนํา และสรุปปฏิบัติการ

และ คณาจารยภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

วัตถุประสงคของการจัดการเรียนการสอน : เพ่ือใหนิสิตสามารถ 1. บอกหลักการวิเคราะหหาสารปรุงแตงในอาหารท่ีพบบอย อันไดแก ฟอรมัลดีไฮด ไนไตรต ไน

เตรต และบอรแรกซ 2. อภิปราย ขอเห็นดวย และขอขัดแยง (pro and cons) ในเรื่องสารปรุงแตงอาหาร 3. บอกความเปนพิษ และหลักการวิเคราะหสารพิษแอฟลา (alpha toxin) 4. ทํางานเปนกลุม 5. วิเคราะห วิจารณ สรุปผลการทดลอง และเขียนรายงาน 6. นําความรูท่ีไดไปประยุกตใชในการสํารวจทางโภชนาการได

การจัดประสบการณการเรียนรู วันศุกรท่ี 9 มกราคม พ.ศ. 2558

เวลา 09.00-09.30 น. การแนะนําการปฏิบัติการ ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1 เวลา 09.30-12.00 น. ปฏิบัติการ ท่ีหองปฏิบัติการ อาคารแพทยพัฒน ชั้น 3

วันจันทรท่ี 12 มกราคม พ.ศ. 2558 เวลา 13.00-13.30 น. สรุปปฏิบัติการ ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1

สื่อการศึกษา เอกสารคูมือปฏิบัติการชีวเคมี สําหรับนิสิตแพทย ชั้นปท่ี 2 ปการศึกษา 2554 การสอนในรูปแบบ powerpoint เครื่องคอมพิวเตอร พรอมอุปกรณฉายภาพขึ้นจอ อุปกรณวิทยาศาสตร และสารเคมี

การประเมินผล สังเกตจากการฝกปฏิบัติรวมกัน และการเขียนรายงาน การสอบดวยขอสอบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 55: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 55

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึม และโภชนาการ (3000274) เร่ือง กรณีศึกษาท่ี 1 ผูรับผิดชอบ อาจารย แพทยหญิงนิดาเสรีฉันทฤกษ/ รองศาสตราจารย ดร. วิไล อโนมะศิริ

แนะนํากรณีศึกษา และสรุปกรณีศึกษา คณาจารยภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

วัตถุประสงคของการจัดการเรียนการสอน : เพ่ือใหนิสิตสามารถ

1. อธิบายอาการทางคลินกิ และการตรวจทางหองปฏิบัติการโดยอาศัยความรูทางชีวเคมี และ สรีรวิทยา

2. ทํางานเปนกลุม รูบทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบในฐานะสมาชิกกลุม 3. คนควาความรูเพ่ิมเติมและเรียนรูดวยตนเอง 4. คิด วิเคราะห วิจารณ และสรุปอยางมีเหตุผล และวิจารณญาณ 5. นําความรูท่ีไดไปประยุกตในทางคลินิก

การจัดประสบการณการเรียนรู วันศุกรท่ี 26 ธันวาคม พ.ศ. 2557

เวลา 10.00-11.00 น. แนะนํากรณีศึกษา ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1 วันจันทรท่ี 29ธันวาคมพ.ศ. 2557

เวลา 13.00-15.00 น กลุมยอยจํานวน 13 กลุม ท่ีหองเรียนกลุมยอย อาคารแพทยพัฒน ชั้น 2 เวลา 15.00-16.00 น สรุปรวม ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1

สื่อการศึกษา เอกสารกรณีศึกษา

แผนใส และปากกาเขียนแผนใส เครื่องฉายแผนใสขามศีรษะ ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint เครื่องคอมพิวเตอร พรอมอุปกรณฉายภาพขึ้นจอ

การประเมินผล สังเกตจากการอภิปรายกลุมยอย

การสอบดวยขอสอบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 56: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 56

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (3000274) เร่ือง กรณีศึกษาท่ี 2 ผูรับผิดชอบ อาจารย นายแพทยศุภฤกษ จรูญลัคนาวณิชย/ รองศาสตราจารย ดร. วิไล อโนมะศิริ

แนะนํากรณีศึกษา และสรุปกรณีศึกษา คณาจารยภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

วัตถุประสงคของการจัดการเรียนการสอน : เพ่ือใหนิสิตสามารถ

1. ทํางานเปนกลุม รูบทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบในฐานะสมาชิกกลุม 2. คนควาความรูเพ่ิมเติมและเรียนรูดวยตนเอง 3. คิด วิเคราะห วิจารณ และสรุปอยางมีเหตุผล และวิจารณญาณ 4. นําความรูท่ีไดไปประยุกตในทางคลินิก

การจัดประสบการณการเรียนรู วันพุธท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2558

เวลา 9.00-10.00 น. แนะนํากรณีศึกษา ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1 วันจันทรท่ี 12 มกราคม พ.ศ. 2558

เวลา 8.00-10.00 น กลุมยอยจํานวน 13 กลุม ท่ีหองเรียนกลุมยอย อาคารแพทยพัฒน ชั้น 2 เวลา 10.15-11.15 น สรุปรวม ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1

สื่อการศึกษา เอกสารกรณีศึกษา

แผนใส และปากกาเขียนแผนใส เครื่องฉายแผนใสขามศีรษะ ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint เครื่องคอมพิวเตอร พรอมอุปกรณฉายภาพขึ้นจอ

การประเมินผล สังเกตจากการอภิปรายกลุมยอย

การสอบดวยขอสอบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 57: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 57

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (3000274) เร่ือง กิจกรรมสุขภาพ ผูรับผิดชอบ รองศาสตราจารย ดร. วิไล อโนมะศิริ/ รองศาสตราจารยดร.นายแพทยวิโรจนเจียมจรัสรังษี/ รองศาสตราจารยนายแพทยสมพลสงวนรังศิริกุล/ และ คณาจารยภาควิชาชีวเคมีคณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

วัตถุประสงคของการจัดการเรียนการสอน : เพ่ือใหนิสิตสามารถ 1. ประเมินภาวะสุขภาพของตนเอง 2. เขาใจหลักการของโภชนาการเพ่ือการมีสุขภาพดี 3. ประเมินพฤติกรรมทางดานโภชนการและการใชพลังงานในแตละวันของตนเอง 4. รวบรวมและวิเคราะหทางสถิติเกี่ยวกับขอมูลทางดานสุขภาพของนิสิตแพทยในกลุมยอยและ

อภิปรายในแงปจจัยเส่ียงของ Metabolic Syndrome 5. นําความรูท่ีไดไปประยุกตใชทางคลินิกเพ่ือแนะนําผูปวยใหสามารถดูแลตนเองเพ่ือการมี

สุขภาพท่ีดี ลดปจจัยเส่ียงและปองกันโรค

การจัดประสบการณการเรียนรู วันจันทรท่ี 22 ธันวาคมพ.ศ. 2557

เวลา 13.00-13.30 น. การแนะนํากิจกรรมสุขภาพ ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1 เวลา 13.30-16.00 น. ประเมินภาวะสุขภาพของตนเอง ท่ีหองปฏิบัติการ อาคารแพทยพัฒน ชั้น 3,4 วันอังคารท่ี 23 ธันวาคม พ.ศ. 2557

เวลา 15.00-16.00 น. กิจกรรมสุขภาพ ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1 วันพุธท่ี 24 ธันวาคม พ.ศ. 2557

เวลา 14.00-16.00น. ปฏิบัติการเรื่องการคํานวณพลังงาน ท่ีหองปฏิบัติการ อาคารแพทยพัฒน ชั้น 3,4 จากรายการอาหารแลกเปล่ียน

วันอังคารท่ี 30 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เวลา 13.00-16.00น. ประเมินภาวะสุขภาพของตนเอง ท่ีหองปฏิบัติการ อาคารแพทยพัฒน ชั้น 3,4

วันจันทรท่ี 12 มกราคม พ.ศ. 2558 เวลา 13.30-15.00 น. อภิปรายกิจกรรมสุขภาพ(กลุมยอย) ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1

สื่อการศึกษา เอกสารคูมือบันทึกอาหารและการใชพลังงาน สําหรับนิสิตแพทย ชั้นปท่ี 2 ปการศึกษา 2555 ตัวอยางอาหารสําหรับคํานวณรายการอาหารแลกเปลี่ยน อุปกรณและเคร่ืองมือในการประเมินสุขภาพ เครื่องคอมพิวเตอร พรอมอุปกรณฉายภาพขึ้นจอ

การประเมินผล สังเกตจากการฝกปฏิบัติรวมกันการบันทึกขอมูลลงในเอกสาร และการอภิปรายหมู การสอบดวยขอสอบปรนัย 5 ตัวเลือก

Page 58: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

ประมวลรายวิชา และแผนการสอน 58

ภาควิชา ชีวเคมี รายวิชา เมแทบอลิซึมและโภชนาการ (3000274) เร่ือง Formative I-III

วัตถุประสงคของการจัดการสอบ : เพ่ือใหนิสิตไดประเมินความรูท่ีไดศึกษา ดวยตนเอง

การจัดประสบการณการเรียนรู วันจันทรท่ี 29 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1 เวลา 11.15-12.00น. วันพุธท่ี 7 มกราคมพ.ศ. 2558 ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1 เวลา 15.00-16.00 น. วันจันทรท่ี 12มกราคม พ.ศ. 2558 ท่ีอาคารแพทยพัฒนชั้น 2 หอง 229/1 เวลา 11.15-12.00น.

สื่อการศึกษา ขอสอบ formative evaluation รายวิชาเมแทบอลิซึมและโภชนาการ สําหรับนิสิตแพทย ชั้นปท่ี 2 ส่ือการสอนในรูปแบบ powerpoint เครื่องคอมพิวเตอร พรอมอุปกรณฉายภาพขึ้นจอ

Page 59: course syllabus metabo 2557biochem.md.chula.ac.th/Data/s/course syllabus...เมแทบอล ซ มและโภชนาการพ .ศ. 2557 3 ประมวลรายว

เมแทบอลิซึมและโภชนาการพ.ศ. 2557 59

ประกาศ นิสิตทุกคน โปรดทราบ

1) การลงโทษนิสิตผูกระทําผิด ระเบียบ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

วาดวย ระบบการศึกษาสําหรับข้ันปริญญาบัณฑิต พ.ศ. 2540 ขอ 15 การลงโทษนิสิตผูกระทําผิด 15.1 การลงโทษนิสิตท่ีกระทําผิด หรือรวมกระทําผิดระเบียบการสอบในการสอบประจําภาคหรือการสอบระหวางภาค ใหคณะกรรมการประจําคณะท่ีนิสิตสังกัดอยูเปนผูพิจารณาลงโทษดังตอไปนี้ ถาเปนความผิดประเภททุจริต ใหลงโทษโดยใหไดรับF ในรายวิชาท่ีกระทําผิดระเบียบการสอบ สวนรายวิชาอ่ืนท่ีนิสิตผูนั้นลงทะเบียนเรียนไว ถาเปนรายวิชาท่ียังไมไดสอบ ก็ใหดําเนินการสอบตามปกติและใหไดผลการสอบตามท่ีสอบไดจริง และใหพิจารณาพักการศึกษาไมตํ่ากวา 1 ภาคการศึกษาหรืออาจใหพนสถานภาพการเปนนิสิต และอาจพิจารณาลงโทษตัดคะแนนความประพฤติตามระเบียบวาดวยวินัยนิสิตถายังไมพนสถานภาพการเปนนิสิต ท้ังนี้ตามพฤติการณและความรายแรงแหงการกระทํา ถาเปนความผิดประเภทสอเจตนาทุจริต ใหลงโทษโดยใหไดรับF ในรายวิชาท่ีกระทําผิด ระเบียบการสอบ และอาจพิจารณาส่ังพักการศึกษานิสิตผูนั้นไดไมเกิน 1 ภาคการศึกษา ถาเปนความผิดอยางอื่นท่ีระบุไวในขอปฏิบัติของนิสิตในการสอบใหลงโทษตามควรแกความผดินั้น แตจะตองไมเกินกวาระดับโทษต่ําสุดของความผิดประเภททุจริตตามขอ

15.2 ถานิสิตกระทําผิดหรือรวมกระทําผิดอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวกับการศึกษาใหคณะกรรมการประจําคณะท่ีนิสิตสังกัดอยูเปนผูพิจารณาลงโทษตามควรแกความผิดนั้น

15.3 ใหคณบดีคณะท่ีนิสิตสังกัดอยูดําเนินการลงโทษ ตามมติของคณะกรรมการประจําคณะ และแจงมหาวิทยาลัยเพ่ือดําเนินการตอไป

15.4 การพักการศึกษาของนิสิตตามคําส่ังใหเริ่มเมื่อส้ินสุดภาคท่ีกระทําผิดนั้น โดยใหมีระยะเวลาการลงโทษตอเนื่องกัน ท้ังนี้ใหนับระยะเวลาท่ีถูกส่ังพักการศึกษาเขาเปนระยะการศึกษา และใหจําแนกสภาพนิสิตทุกภาคการศึกษาท่ีถูกส่ังพักดวย

15.5 นิสิตท่ีถูกส่ังพักการศึกษาจะตองชําระคารักษาสถานภาพการเปนนิสิตทุกภาคการศึกษาตามระเบียบของมหาวิทยาลัย มิฉะนั้นจะตองพนสถานภาพการเปนนิสิต

15.6 เมื่อนิสิตพนกําหนดการส่ังพักการศึกษา เมื่อจะกลับเขาศึกษาจะตองยื่นคํารองขอกลับเขาศึกษาตอคณบดี กอนกําหนดวันลงทะเบียนเรียนไมนอยกวา 1 สัปดาห

2. หามนิสิตนําเคร่ืองมือส่ือสารคอมพิวเตอรแบบพกพาหรือเคร่ืองมือ อุปกรณอ่ืนๆ เขาหองสอบโดยเด็ดขาด หากกรรมการคุมสอบตรวจพบ ใหถือวานิสิตมีเจตนาทุจริตในการสอบ และจะลงโทษอยางหนัก ฝายวิชาการ คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3 พฤศจิกายน 2544