42
ความสัมพันธ ระหวางสิ่งมีชีวิต ระหวางสิ่งมีชีวิต การศึกษาความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิต อาจแบงเปน 2 ระดับ คือ 1) Autecolgy : ระหวางสิ่งมีชีวิตชนิดเดียว (individual organism / individual species) เชน ตนไมชนิดหนึ่ง 2) Synecology : สังคมของกลุมสิ่งมีชีวิต เชน ปาไม

Ecosystem ii

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Ecosystem ii

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิตระหวางสิ่งมีชวีิต

การศึกษาความสมัพันธระหวางสิ่งมีชีวิต อาจแบงเปน 2 ระดับ คือ

1) Autecolgy : ระหวางสิ่งมีชีวิตชนิดเดียว (individual organism / individual species) เชน ตนไมชนิดหนึ่ง2) Synecology : สังคมของกลุมสิ่งมีชีวิต เชน ปาไม

Page 2: Ecosystem ii

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบงไดเปน 3 ประเภทใหญ คือ

1. การไดรับประโยชนรวมกัน (mutualism)เปนการอยูรวมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่ไดประโยชนดวยกันทั้งสองชนิด

Page 3: Ecosystem ii

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

• แมลงกับดอกไม แมลงดูดน้ําหวานจากดอกไมเปนอาหาร และดอกไมก็มีแมลงชวยผสมเกสร

• นกเอี้ยงกับควาย นกเอี้ยงไดกินแมลงตางๆ จากหลังควาย และควายก็ไดนกเอี้ยงชวยกําจัดแมลงที่มา กอความรําคาญ

Page 4: Ecosystem ii

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

• มดดํากับเพลี้ย เพลี้ยไดรับประโยชนในการที่ มดดําพาไปดูดน้ําเลี้ยงที่ตนไม และมดดําก็จะไดรับน้ําหวาน

• ปูเสฉวนกับดอกไมทะเล ปูเสฉวนอาศัยดอกไมทะเลพรางตัวจากศัตรู และยังอาศัยเข็มพิษจากดอกไมทะเลปองกันศัตรู สวนดอกไม ทะเลก็ไดรับอาหารจากปูเสฉวนที่กําลังกินอาหารดวย

Page 5: Ecosystem ii

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

• โปรโตซัวในลําไสปลวก ปลวกไมมีน้ํายอยสําหรับยอยเซลลูโลสในเนื้อไม โปรโตซัว ชวยใน การยอย จนทําใหปลวกสามารถกินไมได และ โปรโตรซัวก็ไดรับสารอาหารจากการยอยสลายเซลลูโลส

Page 6: Ecosystem ii

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบงไดเปน 3 ประเภทใหญ คือ

2. ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล (commensalism)เปนการอยูรวมกันของสิ่งมีชีวิต โดยที่ฝายหนึ่งไดประโยชน สวนอีกฝายหนึ่งไมไดประโยชนแตก็ไมเสียประโยชน

Page 7: Ecosystem ii

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

• ปลาฉลามกับเหาฉลาม เหาฉลามอาศัยอยูใกลตัวปลาฉลามและกินเศษอาหารจากปลาฉลาม ซึ่งปลาฉลามจะไมไดประโยชน แตก็ไมเสียประโยชน

• พลูดางกับตนไมใหญ พลูดางอาศัยรมเงาและความชืน้จากตนไม โดยตนไมไมไดประโยชนแตขณะเดียวกันก็ไมเสียประโยชน

Page 8: Ecosystem ii

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

• กลวยไมกับตนไมใหญ กลวยไมยึดเกาะที่ลําตนหรือกิ่งของตนไม ซึ่งไดรับความชื้น และแรธาตุจากตนไม โดยที่ตนไมไมไดรับประโยชน แตก็ไมเสียประโยชน

• เพรียงที่อาศัยเกาะบนผิวหนังของวาฬเพื่อหาอาหาร วาฬไมไดประโยชน แตก็ไมเสียประโยชน

Page 9: Ecosystem ii

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบงไดเปน 3 ประเภทใหญ คือ

3. ฝายหนึ่งไดประโยชนและอีกฝายหนึ่งเสียประโยชน ซึ่งแบงเปน 2 แบบ คือ

1) การลาเหยื่อ (predation) เปนความสัมพันธ โดยมีฝายหนึ่งเปนผูลา (predator) และอีกฝายหนึ่งเปนเหยื่อ (prey) หรือเปนอาหารของอีกฝาย เชน งูกับกบ

Page 10: Ecosystem ii

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบงไดเปน 3 ประเภทใหญ คือ2) ภาวะปรสติ (parasitism) เปนความสัมพันธของสิ่งมีชีวิต ที่มฝีายหนึ่งเปนผูเบียดเบียน เรียกวา ปรสติ (parasite) และอีกฝายหนึ่งเปนเจาของบาน (host)

สัตวพหุบาท

Page 11: Ecosystem ii

ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวีิต

• ตนกาฝากเชน ฝอยทองที่ขึ้นอยูบนตนไมใหญจะดูดน้ําและอาหารจากตนไมใหญ

• หมดั เห็บ ไร พยาธิตางๆ ที่อาศัยอยูกับรางกายคนและสตัว

• เชื้อโรคตางๆ ที่ทําใหเกิดโรคกับคนและสตัว

Page 12: Ecosystem ii

ปจจัยกําหนดลักษณะของระบบนิเวศ

• 1. อณุหภูมิ บรเิวณที่อากาศรอนแถบทะเลทราย จะมีอูฐที่เปนสัตวมีความทนตออากาศรอนแหงแลง และมีพืชพวกกระบองเพชรทีส่ามารถดํารงชีวิตอยูได

• 2. ความชืน้ ในระบบนิเวศใดที่มีความชืน้มาก มักจะมีพืชและสตัวอาศัยอยูอยางหนาแนน

• 3. แสง พืชที่ขึ้นอยูใตเงาไมในปายอมแตกตางกันกับพืชที่ขึ้นในที่โลงแจง

Page 13: Ecosystem ii

ปจจัยกําหนดลักษณะของระบบนิเวศ

• 4. ดิน เปนที่รวมของธาตุอาหารตางๆ ดินที่มีความอุดมสมบรูณหรือมธีาตุอาหารที่แตกตางกันยอมทําใหพืชและสัตวที่อาศัยดินนั้น ดํารงชีวิตอยูแตกตางกัน

• 5. ไฟปา การเกิดไฟปาแตละครั้ง ทําใหชีวิตของพืชและสตัวเปลี่ยนไป

• 6. มลภาวะ เปนปจจัยที่เขามามีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงหรือกําหนดลักษณะของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ

Page 14: Ecosystem ii

ปจจัยกําหนดลักษณะของระบบนิเวศ

• 7. การแยงชิงกัน ทําใหสิ่งมีชีวิตที่ไมสามารถแสวงหาทรัพยากรไดตองลมตายไป

• 8. การกินซึ่งกันและกัน เชน ในทุงที่ปลกูขาวโพด จะมีตั๊กแตนมากินและทําลายขาวโพดเสียหาย เพราะไมมีสัตวอื่นมาจับตั๊กแตนกินเปนอาหาร

• 9. ปรสิต ถือเปนพวกที่กินซึ่งกันและกันก็ได แตมีขอแตกตางที่วาพวกปรสิตจะดูดกินพชืและสตัวอื่นๆ เปนอาหารโดยที่พืชและสตัวนั้นจะไมตายโดยทันที

Page 15: Ecosystem ii

ประเภทของระบบนิเวศ

1. ระบบนิเวศทางธรรมชาติและใกลธรรมชาติ (Natural andseminatural ecosystem)เปนระบบที่ตองพึ่งพลังงานจากดวงอาทิตย เพื่อที่จะทํางานได

Page 16: Ecosystem ii

ประเภทของระบบนิเวศ

1.1 ระบบนิเวศบนบก (Terresttrial ecosystems)1) ระบบนิเวศกึ่งบก เชน ปาพรุ 2) ระบบนิเวศบนบกแท เชน ปาดิบ ทุงหญา ทะเลทราย

1.2 ระบบนิเวศแหลงน้ํา (Aguative cosystems)1) ระบบนิเวศน้ําจืด 2) ระบบนิเวศน้ําทะเล เชน มหาสมุทรแนวปะการัง ทะเลภายในที่เปนน้ําเค็ม น้ํากรอย

Page 17: Ecosystem ii

ประเภทของระบบนิเวศ

2. ระบบนิเวศเมือง-อุตสาหกรรม (Urban-industral ecosystem) เปนระบบที่ตองพึ่งแหลง พลังงานเพิ่มเติม เชน น้ํามันเชื้อเพลิง พลังนิวเคลียร เปนระบบนิเวศที่มนุษยสรางขึ้นมาใหม

Page 19: Ecosystem ii

การจําแนกระบบนิเวศ (Ecosystem Classification)

ในทางนิเวศวิทยา แบงระบบนิเวศในโลกนี้ ออกเปน 2 ระบบใหญๆ คือ

1. ระบบนิเวศบนบก (Terrestrial Ecosystem) ระบบนิเวศที่ชุมชื้น ระบบนิเวศที่ชุมชื้นนอย และคอนขางไปทางแหงแลง

ระบบนิเวศที่แหงแลงมาก

Page 20: Ecosystem ii

การจําแนกระบบนิเวศ (Ecosystem Classification)

2. ระบบนิเวศในน้ํา (Aquatic Ecosystem)- ระบบนิเวศน้ําจืด

ระบบน้ํานิ่ง และระบบน้ําไหล

- ระบบนิเวศน้ําทะเลระบบน้ํากรอย และระบบน้ําเค็ม

Page 22: Ecosystem ii

ปาพรุ

Page 23: Ecosystem ii

ปาชายหาด

Page 24: Ecosystem ii

ปาดงดิบชื้น

Page 25: Ecosystem ii

ปาดงดิบแลง

Page 26: Ecosystem ii

ปาดิบเขา

Page 27: Ecosystem ii

ปาสนเขา

Page 28: Ecosystem ii

ปาเบญจพรรณ

Page 29: Ecosystem ii

ปาเตง็รัง

Page 30: Ecosystem ii

ปาทุง

Page 32: Ecosystem ii

ระบบนิเวศในแหลงน้ําจืด (น้ํานิ่ง)

Page 33: Ecosystem ii

ระบบนิเวศในแหลงน้ําจืด (น้ําไหล)

Page 34: Ecosystem ii

ปจจัยที่มีผลตอสิ่งมีชีวิตในแหลงน้ําจืด

อุณหภูมิ ปรมิาณออกซิเจนละลายในน้ํา ปรมิาณแรธาตุ ความขุน-ใสของน้ํา กระแสน้ํา

Page 36: Ecosystem ii

ระบบนิเวศในแหลงน้ําทะเล (น้ํากรอย)

Page 38: Ecosystem ii

นิเวศพัฒนา (Eco-development)

หมายถึง การพัฒนาใดๆ ที่เปนการกระทําของมนุษย เพื่อการดํารงอยูในสังคม โดยไมทําใหเกิดการกระทบกระเทือนตอคุณภาพสิ่งแวดลอม และการเปลี่ยนแปลงสมดุลของระบบนิเวศ

Page 39: Ecosystem ii

นิเวศพัฒนานิเวศพัฒนา (Eco(Eco--development)development)

แนวคิดของนิเวศพัฒนาใหมีการทําลาย-สูญเสียทรัพยากรธรรมชาตินอยที่สุดมีการควบคุมผลกระทบสิง่แวดลอมจากของเสียหรือมลพิษที่เกิดจากการดําเนินกิจกรรมพิจารณาขีดความทนทานของระบบนิเวศการใชทรพัยากรธรรมชาติตองใหมีการ สูญเปลานอยที่สุด

Page 40: Ecosystem ii

นิเวศพัฒนา (Eco-development)

แนวคิดของนิเวศพัฒนาตองมีการฟนฟู ติดตาม ตรวจสอบ และเฝาระวังคุณภาพสิ่งแวดลอมไมควรปรบัเปลี่ยนโครงสรางและการ ทํางานของระบบนิเวศไปจากเดิมโดยสิ้นเชิงมีการแบงเขตการใชทรัพยากรธรรมชาติที่ชัดเจน

Page 41: Ecosystem ii

ระบบนิเวศ

การศึกษาเกี่ยวกับนิเวศวิทยาและระบบนิเวศ จะทาํใหมนุษยสามารถนําความรูมาเปนเครื่องมือในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ปญหามลพิษ และบทบาทที่มตีอสิ่งแวดลอม เพื่อการอยูรวมกันของสรรพสิ่งในระบบนิเวศ ใหเปนไปในลักษณะของการพึ่งพาอาศัยซึ่งกัน และกันในแนวทางการพัฒนาอยางยั่งยนื

Page 42: Ecosystem ii

Thank You for Your Attention