172

Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ
Page 2: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ
Page 3: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

คํานํา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรจัดอยูในกลุม ง. สถาบันที่เนนการวิจัยขั้นสูงและผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาโดยเฉพาะระดับปริญญาเอก เพื่อตอบสนองตอวิสัยทัศนที่วา “มหาวิทยาสงขลานครินทรเปนมหาวิทยาลัยช้ันนําในระดับภูมิภาคเอเชีย ทําหนาที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และทํานุบํารุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเปนฐาน” ไดจัดทํารายงานประจําปการประเมินคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําปการศึกษา 2553 เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม มหาวิทยาลัยฯไดรายงานผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีของ สมศ. จํานวน 18 ตัวบงช้ี โดยมีการประมวลขอมูลจาก 27 คณะ/วิทยาลัย

มหาวิทยาลัยฯ หวังวารายละเอียดขอมูลที่ปรากฏในรายงานประจําปฉบับนี้เปนภาพสะทอนการบริหารงานของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเกิดจากความรวมแรงรวมใจของบุคลากรทุกภาคสวน ทั้งนี้มหาวิทยาลัยฯ ยินดีรับฟงความคิดเห็นขอเสนอแนะจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ตลอดจนจากหนวยงานและองคกรภายนอกอื่นๆ เพื่อนําความคิดเหน็และขอเสนอแนะเหลานั้นไปพิจารณาปรับปรุงและกําหนดแนวทางในการพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยฯ ตอไป

(รองศาสตราจารย ดร.บุญสม ศิริบํารุงสุข) อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

มกราคม 2555

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

Page 4: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

Page 5: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

สารบัญ

หนา

คํานํา ก สารบัญ ข

1. สวนนํา 1 1.1 บทสรุปผูบริหาร 3 1.2 ช่ือหนวยงาน ที่ต้ัง และประวัติความเปนมาโดยยอ 5 1.3 ปรัชญา ปณิธาน เปาหมายและวัตถุประสงค 8 1.4 โครงสรางองคกร และโครงสรางการบริหาร 9 1.5 รายช่ือผูบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการสภาชุดปจจุบัน 12 1.6 การแบงกลุมสาขาวิชา หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน 13 1.7 จํานวนนักศึกษา 14 1.8 จํานวนอาจารยและบุคลากร 14 1.9 ขอมูลพ้ืนฐานโดยยอเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่ 15 1.10 เอกลักษณหรือวัฒนธรรมของสถาบัน 16 1.11 ผลการดําเนินงานตามขอเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก และรอบสอง 19 1.12 ผลงานที่ไดรับรางวัลระดับชาติ และนานาชาติ 20

2. สรุปคะแนนประเมิน 41

3. แบบฟอรมคํานวณคะแนนผลการประเมินคุณภาพภายนอก 45

4. ผลการประเมินตนเอง 51 4.1 ตัวบงชี้พื้นฐาน 53

ดานคุณภาพบัณฑิต 53 ตัวบงช้ีที่ 1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป 53 ตัวบงช้ีที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 57

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ตัวบงช้ีที่ 3 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร 60 ตัวบงช้ีที่ 4 ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร 63 ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค 66 ตัวบงช้ีที่ 5 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร 66 ตัวบงช้ีที่ 6 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน 71 ตัวบงช้ีที่ 7 ผลงานวิชาการที่ไดรับการรับรองคุณภาพ 74 ดานการบริการวิชาการแกสังคม 77

ตัวบงช้ีที่ 8 ผลการนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการ 77 มาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและ/หรือการวิจัย

ตัวบงช้ีที่ 9 ผลการเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนหรือองคกรภายนอก 79

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

Page 6: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 84 ตัวบงช้ีที่ 10 การสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและวัฒนธรรม 84 ตัวบงช้ีที่ 11 การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม 90 ดานการบริหารแลการพัฒนาสถาบัน 96 ตัวบงช้ีที่ 12 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของสภาสถาบัน 96 ตัวบงช้ีที่ 13 การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของผูบริหารสถาบัน 99 ตัวบงช้ีที่ 14 การพัฒนาคณาจารย 101 ดานการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน 104 ตัวบงช้ีที่ 15 ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด 104

4.2 ตัวบงชี้อัตลักษณ 106 ตัวบงช้ีที่16 ผลการพัฒนาตามอัตลักษณของสถาบัน 106 ตัวบงช้ีที่16.1 ผลการบริหารสถาบันใหเกิดอัตลักษณ (นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม) 106 ตัวบงช้ีที่16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ (นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม) 110 ตัวบงช้ีที่17 ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปนเอกลักษณของสถาบัน (มหาวิทยาลัยวิจัย) 112

4.3 ตัวบงชี้มาตรการสงเสริม 118 ตัวบงช้ีที่18 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคม 118

ตัวบงช้ีที่18.1 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในประเด็นที่ 1 ภายในสถาบัน 118 (มหาวิทยาลัยสรางเสริมสุขภาพ) ตัวบงช้ีที่18.2 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในประเด็นที่ 2 ภายนอกสถาบัน 122 (การจัดการทรัพยากรที่ยั่งยืน)

5. ภาคผนวก 127 5.1 ภาคผนวก ก ความหมายรหัสเอกสารอางอิง 129 5.2 ภาคผนวก ข ขอมูลพ้ืนฐานระดับคณะ 133 5.3 ภาคผนวก ค ขอมูลคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินตนเองรายตัวบงช้ี แยกตามคณะ 147 5.4 ภาคผนวก ง คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการจัดทํารายงานประจําปการประเมินคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2553 155 5.5 ภาคผนวก จ สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก และรอบสอง 161

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

Page 7: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

1. สวนนํา

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

1

Page 8: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

2

Page 9: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

1. สวนนํา 1.1 บทสรุปผูบริหาร

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรมีผลประเมินตนเองในกลุมตัวบงช้ีพันธกิจหลัก (ตัวบงช้ี 1-11) เทากับ 4.65 คะแนน ระดับดีมาก และภาพรวม (ตัวบงช้ี 1-18) เทากับ 4.57 คะแนน ระดับดีมาก

กลุมตัวบงชี้พื้นฐาน

กลุมตัวบงชี้พื้นฐานที่ 1 : ดานคุณภาพบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรใหความสําคัญกับคุณภาพของหลักสูตร อาจารย และทุกกระบวนการที่

เกี่ยวของกับการเรียนการสอน มีการจัดโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน พัฒนาคุณภาพอาจารย กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรูของนักศึกษา เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คือ เปนผูมีความรูความสามารถทางวิชาการ มีคุณธรรมจริยธรรมตามอัตลักษณ และมีสมรรถนะสากล

กระบวนการดังกลาวมหาวิทยาลัยมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง สงผลใหการไดงานทําของบัณฑิตมี

สัมฤทธิผลสูงถึงรอยละ 84.48 นายจางมีความพึงพอใจตอคุณภาพบัณฑิต 3.96 คะแนน และมีผลงานตีพิมพเผยแพรในระดับบัณฑิตศึกษาที่มีคุณภาพ

จากการดําเนินการดังกลาวสงผลใหมีคะแนนประเมินตนเองเทากับ 4.55 คะแนน ผลการประเมินอยูในระดับดีมาก

กลุมตัวบงชี้พื้นฐานที่ 2 : ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค มหาวิทยาลัยไดกําหนดนโยบายการเปนมหาวิทยาลัยวิจัย (Research University) ไวในแผนพัฒนา

มหาวิทยาลัยชวงป พ.ศ. 2553-2554 โดยมุงสรางระบบเพื่อเปลี่ยนวัฒนธรรมองคกรใหมุงสูวิจัยและบัณฑิตศึกษา สงเสริมสาขาความเปนเลิศที่สอดคลองกับมิติเชิงพื้นที่ ไดแก ยางพารา ปาลมน้ํามัน อาหารทะเล ทะเลสาบสงขลา และอิสลามศึกษา มีสํานักวิจัยและพัฒนาทําหนาที่ประสาน สงเสริมและสนับสนุนการบริหารงานวิจัย คณะ/หนวยงานทําหนาที่ดําเนินการวิจัย

จากการจัดวางระบบและกลไกสนับสนุนการวิจัยต้ังแตตนน้ําถึงปลายน้ํา สงผลใหปการศึกษา 2553 มี

งานวิจัยและงานสรางสรรคที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร 1,055 เรื่อง คิดเปนรอยละ 32.34 มีงานวิจัยที่นําไปใชประโยชนรอยละ 21.24 และมีผลงานวิชาการที่ไดรับการรับรองคุณภาพรอยละ 7.79

จากการดําเนินการดังกลาวสงผลใหมีคะแนนประเมินตนเองเทากับ 4.30 คะแนน ผลการประเมินอยูในระดับดี

กลุมตัวบงชี้พื้นฐานที่ 3 : ดานการบริการวิชาการแกสังคม

การบริการวิชาการแกสังคมเปนหนึ่งในภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยที่พึงใหบริการวิชาการแกชุมชน สั ง คมและประ เทศช าติ ในรู ปแบบต า งๆ ตามคว ามถนั ดและมี ค ว าม เ ชี่ ย วช าญ โดยมี ร ะ เบี ยบมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรวาดวยการใหบริการทางวิชาการ พ.ศ. 2551 เปนแนวทางในการบริหารจัดการโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการ

ปการศึกษา 2553 มีการนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย รอยละ 52.02 มีโครงการสงเสริมการเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนหรือ

องคกรภายนอกอยางตอเนื่อง

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

3

Page 10: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

จากการดําเนินการดังกลาวสงผลใหมีคะแนนประเมินตนเองเทากับ 5.00 คะแนน ผลการประเมินอยูในระดับดีมาก

กลุมตัวบงชี้พื้นฐานที่ 4 : ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยกําหนดวัฒนธรรมรวมของบุคลากรคือ “ประโยชนเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หน่ึง” โดยได

กําหนดแผนงาน ผูรับผิดชอบ ตัวบงช้ีการดําเนินงาน และปฏิทินการปฏิบัติงานอยางชัดเจนทั้ง 5 วิทยาเขต เปดโอกาสใหบุคลากรทั้งอาจารย เจาหนาที่ และนักศึกษาเขารวมกิจกรรมทางดานศิลปวัฒนธรรม พัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรมอยางสม่ําเสมอ

ขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยเนนพัฒนาภูมิทัศนดวยตนไมใหญของทองถิ่นนานาพรรณ การดูแลอาคารสถานที่เนนการมีสวนรวมของประชาคมผานกระบวนการกิจกรรม 5ส 6ส 7ส และการรวมมือรวมใจการจัดใหมีกิจกรรม Big Cleaning Day อีกทั้งมีการอนุรักษธรรมชาติหลากหลายรูปแบบ มีระบบการรักษาปลอดภัยที่ดี ทั้งภายในอาคารและนอกอาคาร

จากการดําเนินการดังกลาวสงผลใหมีคะแนนประเมินตนเองเทากับ 5.00 คะแนน ผลการประเมินอยูในระดับดีมาก

กลุมตัวบงชี้พื้นฐานที่ 5 : ดานการบริหารและการพัฒนาสถาบัน สภามหาวิทยาลัยไดกํากับดูแลการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยเพื่อใหมีระบบการบริหารและการจัดการที่

ดี มีประสิทธิภาพ อยางตอเนื่อง และมีการประเมินผลสําเร็จในการปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของสภามหาวิทยาลัย และผูบริหารทุกระดับ สงผลใหตลอด 5 ปที่ผานมา มหาวิทยาลัยไดกาวไปสูการยอมรับ และอยูในกลุมของมหาวิทยาลัยช้ันนําที่เนนวิจัย

ในสวนการพัฒนาคณาจารยไดมีการกําหนดแผนการพัฒนาเปนรายบุคคล มีมาตรการสรางแรงจูงใจเพื่อดึงดูดอาจารยที่มีศักยภาพมารวมงานหลากหลายรูปแบบ ซึ่งคุณภาพอาจารยถือเปนปจจัยสําคัญที่สงผลตอคุณภาพของผูเรียน

จากการดําเนินการดังกลาวสงผลใหมีคะแนนประเมินตนเองเทากับ 3.90 คะแนน ผลการประเมินอยูในระดับดี

กลุมตัวบงชี้พื้นฐานที่ 6 : ดานการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน มหาวิทยาลัยมีนโยบายชัดเจนที่จะยกระดับคุณภาพสูสากลจึงกําหนดนโยบายดานการประกันคุณภาพ

โดยใช EdPEx/TQA/PMQA เปนเครื่องมือ โดยดําเนินการควบคูกับระบบประกันคุณภาพภายในและภายนอก มีการพัฒนาระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการดําเนินงานประกันคุณภาพ ซึ่งมหาวิทยาลัยใชระบบคุณภาพเปนกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานภายในทุกระดับ มีการรายงานผลการประกันคุณภาพตอหนวยงานที่เกี่ยวของ และเปดเผยตอสาธารณชน

จากการดําเนินการดังกลาวสงผลใหมีคะแนนประเมินตามระบบประกันคุณภาพภายใน ปการศึกษา 2553 เทากับ 4.54 คะแนน ผลการประเมินอยูในระดับดีมาก

กลุมตัวบงชี้อัตลักษณ

มหาวิทยาลัยกําหนดอัตลักษณ คือ “นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม” โดยมีแนวทางดําเนินการอยางมีระบบ ดวยการการสรางรายวิชาบังคับในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป “กิจกรรมเสริมหลักสูตร” การเปนแบบอยางของครู อาจารย การสรางสื่อบม

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

4

Page 11: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

เพาะคุณธรรม จริยธรรม เพื่อใหครู อาจารยนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน และมีการกําหนดมาตรฐานการเรียนรู กิจกรรมพัฒนานักศึกษาดานคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งจากการสํารวจความคิดเห็นของบุคลากรพบวาเห็นดวยกับการการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยที่เสริมสราง อัตลักษณในระดับมาก คาเฉลี่ยเทากับ 3.81 กระบวนการเหลานี้จะสงผลใหบัณฑิตเปนคนดี เปนปญญาชนที่มีวุฒิภาวะที่พรอมที่จะรับใชสังคม สะทอนความพึงพอใจของนายจางตอบัณฑิตดานคุณธรรมจริยธรรม มีคาคะแนนเทากับ 4.12

เอกลักษณของสถาบัน คือ การเปน “มหาวิทยาลัยวิจัย” มีกระบวนการสงเสริม สนับสนุนการวิจัยอยางเปนระบบทั้งตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา มีผลใหมหาวิทยาลัยมีผลงานวิจัยที่ไดรับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ คณาจารยและบุคลากรมีความพึงพอใจกับงานเสริมสรางเอกลักษณของมหาวิทยาลัยในระดับมาก มีคาคะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.81

จากการดําเนินการดังกลาวสงผลใหมีคะแนนประเมินตนเองเทากับ 4.71 คะแนน ผลการประเมินอยูในระดับดีมาก กลุมตัวบงชี้มาตรการสงเสริม

มหาวิทยาลัยกําหนดประเด็นการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมภายในสถาบัน คือ การเปน “มหาวิทยาลัยสรางเสริมสุขภาพ” โดยมีนโยบายสนับสนุน สงเสริมดานการพัฒนาสุขภาพและการออกกําลังกายของนักศึกษา บุคลากรและประชาชนทั่วไป โดยใชหลัก Sport Ecosystem หรือ ม.อ. คือ สวรรคของการออกกําลังกาย (PSU is a Sport Heaven) สวนการช้ีนํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมภายนอกสถาบัน คือ “การจัดการทรัพยากรที่ยั่งยืน” ซึ่งสอดคลองกับกรอบการพัฒนามหาวิทยาลัย ที่มุงเนนการเปนชุมชนวิชาการที่มีความเปนผูนํา ในมิติทองถิ่นที่สอดรับกับศักยภาพพื้นฐานของภาคใต เพื่อใหมหาวิทยาลัยสามารถใชองคความรูสูการพัฒนาภูมิภาค/สังคมโดยยกระดับศักยภาพชุมชนเชิงระบบอยางยั่งยืน

จากการดําเนินการดังกลาวสงผลใหมีคะแนนประเมินตนเองเทากับ 5.00 คะแนน ผลการประเมินอยูในระดับดีมาก

1.2 ชื่อหนวยงาน ท่ีต้ัง และประวัติความเปนมาโดยยอ ตรา สัญลักษณ ดอกไม และสี ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

มหาพิชัยมงกุฎ คือ ศิราภรณซึ่งเปนสัญลักษณสําคัญแสดงวาทรงเปนพระมหากษัตริย

จักรกับตรีศูล คือ ตราเครื่องหมายประจําราชวงศจักรี

ม.อ. คือ อักษรยอพระนามเดิมสมเด็จพระบรมราชชนกเจาฟามหิดลอดุลยเดช

สงขลานครินทร คือ พระนามฐานันดรศักดิ์ที่พระบรมราชชนก (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว) โปรดเกลาฯ สถาปนาเจาฟามหิดลอดุลยเดชดํารงพระนามอิสริยยศ ฐานันดรศักดิ์เปนเจากรม โดยพระราชทานชื่อเมืองสงขลาเปนพระนามทรงกรมเพื่อเปนเกียรติแกเมืองสงขลา เมื่อ พ.ศ.2446 เสมือนเปนเจาแหงนครสงขลา

ดอกไม คือ ดอกศรีตรัง (Jacaranda filicifolia (Anderson) D.Don)

สี คือ สีน้ําเงิน (Blue)

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

5

Page 12: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ประวัติความเปนมาโดยยอ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (Prince of Songkla University) จัดตั้งขึ้นในสมัยการเรงรัดพัฒนาประเทศ โดยมี

วัตถุประสงคเพื่อกระจายโอกาสการศึกษาระดับอุดมศึกษาออกสูภูมิภาค ยกระดับมาตรฐานการศึกษาในทองถิ่น และสนับสนุนการพัฒนาภูมิภาค มีลักษณะพิเศษแตกตางจากมหาวิทยาลัยอื่นๆ คือ เปนมหาวิทยาลัยที่มีเจตนารมณที่จะใหเปนมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต มีการกระจายคณะวิชาไปตั้งอยูตามจังหวัดตางๆ ในภาคใต มีเขตพื้นที่การศึกษาตั้งอยูใน 5 จังหวัด ไดแก สงขลา ปตตานี ภูเก็ต สุราษฎรธานี และตรัง

มหาวิทยาลัยเริ่มการกอต้ังในป พ.ศ. 2508 โดยรัฐบาลในขณะนั้นไดแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการกอต้ัง

มหาวิทยาลัยภาคใต ไดรับจัดสรรเงินงบประมาณในปงบประมาณ 2509 เปนปแรก วันที่ 12 มีนาคม 2511 มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มีผลบังคับใชต้ังแตวันที่ 13 มีนาคม 2511 เปนตนมา จากนั้นมหาวิทยาลัยไดมีพัฒนาการมาตามลําดับ ดังนี้

ป พ.ศ. 2510-2519 เปนชวงของแผนการพัฒนาการศึกษา ระยะที่ 2-3 เปนระยะของการจัดตั้งและเสริมสรางความแข็งแกรงของคณะวิชาตางๆ ไดแก การจัดต้ังคณะวิศวกรรมศาสตร, คณะวิทยาศาสตร, คณะแพทยศาสตร และคณะวิทยาการจัดการ ที่วิทยาเขตหาดใหญ จัดตั้งคณะศึกษาศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร และหอสมุดจอหน เอฟ เคนเนดี้ ที่วิทยาเขตปตตานี

ป พ.ศ. 2520-2529 เปนชวงระยะเวลาในแผนการพัฒนาการศึกษาระยะที่ 4-5 มหาวิทยาลัยไดเพิ่มบทบาทในการบริการวิชาการสังคมควบคูกับการจัดตั้งคณะวิชาที่เปนความตองการของภูมิภาคและประเทศ ไดแก การสนองตอบความตองการกําลังคนในระดับที่สูงกวาปริญญาตรี เริ่มเปดสาขาวิชาในระดับบัณฑิตศึกษา โดยมีบัณฑิตวิทยาลัยเปนหนวยงานกลาง อีกทั้งไดสนองความตองการกําลังคนของทองถิ่นในดานเกษตรและสาธารณสุข ขยายโอกาสทางการศึกษาไปยัง เขตการศึกษาภูเก็ต มีการจัดการเรียนการสอนตั้งแต พ.ศ. 2520 เปนตนมา จัดตั้งคณะทันตแพทยศาสตร, คณะเภสัชศาสตร, คณะพยาบาลศาสตร, คณะทรัพยากรธรรมชาติ ที่วิทยาเขตหาดใหญ และคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ที่วิทยาเขตปตตานี จัดตั้งหนวยงานสนับสนุนการเรียนการสอน ขยายบทบาทดานการวิจัยและการบริการวิชาการแกสังคมเพิ่มขึ้น โดยจัดต้ังวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต (วิทยาลัยชุมชนแหงแรกของประเทศไทย) เพื่อสนองความตองการกําลังคนในทองถิ่น จัดต้ังหอสมุดคุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร, ศูนยคอมพิวเตอร, สํานักวิจัยและพัฒนา และสํานักสงเสริมและการศึกษาตอเนื่อง เพื่อเปนหนวยงานกลางในการสนับสนุนการเรียนการสอน ประสานงานวิจัย และใหบริการวิชาการแกชุมชน

ป พ.ศ. 2530-2539 เปนระยะเวลาในแผนการพัฒนาการศึกษา ระยะที่ 6-7 เปนชวงของการพัฒนาสนับสนุนงานวิจัยและงานบริการวิชาการแกชุมชน การปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน การขยายโอกาสทางการศึกษาไปยังเขตการศึกษา สุราษฎรธานี มีการจัดการเรียนการสอนตั้งแตปการศึกษา 2533 เปนตนมา และขยายโอกาสทางการศึกษาไปยังเขตการศึกษาตรัง มีการจัดการเรียนการสอนในป พ.ศ. 2534 เปนปแรก นอกจากนี้ในชวงแผนพัฒนาการศึกษา ระยะที่ 7 มหาวิทยาลัยไดกําหนดเปาประสงคของการพัฒนาที่จะเปนแหลงวิชาการระดับสูง เพื่อเปนที่พึ่งของทองถิ่น มีความเปนเลิศทางวิชาการ และมีพลวัตในสังคมวิชาการนานาชาติ ดังเห็นไดจากการเพิ่มจํานวนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา จัดต้ังศูนยเครื่องมือวิทยาศาสตร, สํานักวิทยบริการ, คณะการจัดการสิ่งแวดลอม, คณะอุตสาหกรรมเกษตร, วิทยาลัยอิสลามศึกษา, วิทยาลัยชุมชนสุราษฎรธานี และศูนยศึกษาเพื่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝายอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT Studies Center)

ป พ.ศ. 2540-2544 เปนระยะเวลาในแผนการพัฒนาการศึกษา ระยะที่ 8 มหาวิทยาลัยไดกําหนดวัตถุประสงค ดังนี้ ดานบริหารการศึกษา มุงสรางประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่เอื้อตอการเปนมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต และการพัฒนาสูการเปนมหาวิทยาลัยในกํากับรัฐบาล ดานการจัดการศึกษา มุงผลิตบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต ท่ีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ โดยคํานึงถึงศักยภาพและการกระจายโอกาสทางการศึกษา ดานการวิจัย มุงสูความเปนเลิศทางวิชาการดวยการ บูรณาการการวิจัยกับการเรียนการสอนและการประยุกตใช เพื่อช้ีนํารูปแบบการพัฒนาและการแกปญหาที่สําคัญของภาคใตและประเทศ ดานการบริการวิชาการ เนนใหบริการวิชาการแกชุมชนในรูปแบบตางๆ เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษยในทุกระดับ และเปนที่พ่ึงทางวิชาการแกสังคม และดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มุงสรางความเขาใจใหตระหนักถึงคุณคา และเห็น

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

6

Page 13: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ความสําคัญของวัฒนธรรมที่หลากหลายทั้งในสังคมภูมิภาคภาคใต สังคมไทย และสังคมโลก ในระยะนี้มีการจัดตั้งคณะ/หนวยงานใหม ดังนี้ คณะศิลปศาสตร, สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา, สถาบันทรัพยากรชายฝง, สถาบันเครือขายพัฒนาการสงเสริมการวิจัยระดับพื้นที่ (สวรส. ภาคใต) และศูนยพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรเพื่อการสงออก

ป พ.ศ. 2545-2549 เปนระยะเวลาในแผนการพัฒนาการศึกษา ระยะที่ 9 เปนชวงของการพัฒนาตามแผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยซึ่งเปลี่ยนจุดเนนจากการเรียนการสอนเพื่อการผลิตบัณฑิต เปนมหาวิทยาลัยที่เนนการวิจัย ที่ใชการเจริญเติบโตและความเขมแข็งของบัณฑิตศึกษาเปนฐาน รวมทั้งเนนใหความสําคัญในเรื่องการพัฒนานักศึกษาใหเปนบัณฑิตที่มีทั้งภูมิธรรมและคุณธรรม การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาใหทั่วถึงและหลากหลาย การสรางบริบทสูการเปนสถาบันเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต และการปฏิรูปการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ มีระบบที่เปนเอกภาพและมีความเชื่อมโยงกัน มีการจัดตั้งคณะเศรษฐศาสตร, คณะนิติศาสตร, คณะการแพทยแผนไทย, คณะวิทยาการสื่อสาร, คณะรัฐศาสตร, คณะศิลปกรรมศาสตร, คณะเทคโนโลยีและการจัดการ, คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร, คณะอุตสาหกรรมบริการ, คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม และคณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ

ป พ.ศ. 2550-2554 เปนระยะเวลาในแผนการพัฒนาการศึกษา ระยะที่ 10 มหาวิทยาลัยกําหนดทิศทางการพัฒนาในการกาวสูมหาวิทยาลัยเนนวิจัย โดยมุงเนนการสรางระบบเพื่อเปลี่ยนวัฒนธรรมองคกรใหมุงสูวิจัยและบัณฑิตศึกษา มีความเปนเลิศบางสาขาในเรื่องยางพารา, ปาลมน้ํามัน, อาหารทะเล, ทะเลสาบสงขลา และอิสลามศึกษา ผลิตบัณฑิตใหเปนผูมีความรูความสามารถทางวิชาการ และเปนคนดี เปนมหาวิทยาลัยที่เอื้ออาทรตอการพัฒนาชุมชน วิทยาเขตมีความเขมแข็ง เปนองคกรที่ใชหลักธรรมาภิบาลควบคูกับการเปนองคกรแหงการเรียนรู และพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ในปการศึกษา 2550 มีการปรับโครงสรางคณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร และคณะเทคโนโลยีและการจัดการ เปนคณะวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีอุตสาหกรรม และคณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ ปรับโครงสรางคณะอุตสาหกรรมบริการ เปนคณะการ-บริการและการทองเที่ยว และคณะวิเทศศึกษา ปรับโครงสรางฝายหอสมุดคุณหญิงหลง อรรถระวีสุนทร เปนสํานักทรัพยากรการเรียนรูคุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร ปรับโครงสรางสํานักงานเขตการศึกษาภูเก็ตเปนสํานักงานอธิการบดีวิทยาเขตภูเก็ต ปรับโครงสรางสํานักงานเขตการศึกษาสุราษฎรธานีเปนสํานักงานอธิการบดีวิทยาเขตสุราษฎรธานี รวมทั้งมีการจัดตั้งคณะ/หนวยงานใหม ดังนี้ คณะเทคนิคการแพทย วิทยาลัยนานาชาติ และสถาบันสันติศึกษา

มหาวิทยาลัยมีชวงของการพัฒนามาเปนลําดับ คือ การจัดตั้งและเสริมสรางคณะวิชาตางๆ เพิ่มขึ้น พรอมกับการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ตอมาเริ่มมีบทบาทในการบริการวิชาการแกสังคมควบคูกับการจัดต้ังคณะวิชาที่เปนความตองการของภูมิภาคและประเทศ พรอมทั้งไดกาวสูการเปนมหาวิทยาลัยที่เนนการวิจัยมากขึ้น มีผลงานดานการวิจัยเพิ่มขึ้นทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งการจัดตั้งหนวยงานที่มีสวนชวยสนับสนุนและขยายบทบาทมหาวิทยาลัยใหมีขีดความสามารถในการมีสวนรวมในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรเปนมหาวิทยาลัยแหงแรกของภาคใต มีวัตถุประสงคเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาสูดินแดนภาคใตเพ่ือยกระดับมาตรฐานการศึกษาของทองถิ่น และเพื่อการสนับสนุนการพัฒนาภูมิภาค เปนมหาวิทยาลัยที่มีเจตนาตั้งแตเริ่มกอต้ังที่จะใหเปนมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต โดยมุงมั่นที่จะใหสามารถปฏิบัติหนาที่เปนศูนยกลางทางวิชาการระดับสูงเพื่อตอบสนองการพัฒนาภาคใต และเปนสถาบันที่รับใชชุมชนไดอยางแทจริง

มหาวิทยาลัยไดเจริญรอยตามพระราชประสงคของสมเด็จพระบรมราชชนกฯ ที่ทรงมีความเห็นวา เมื่อดําริจะมีมหาวิทยาลัยประเทศนี้เองแลว เราควรพิจารณาวา กิจของมหาวิทยาลัยนั้นมีอะไรบาง “การเสาะหาวิชชา หรือเปดโอกาสใหกุลบุตร ไดเรียนทําการเสาะหาวิชชา เลี้ยงดูทํานุบํารุงนักปราชญผูสามารถเสาะหาวิชชา และใชผลอันนั้นมาสอนกุลบุตรได เปนกิจสําคัญที่สุดของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเปนสมองตนความคิดของชาติ เปนสถานเลี้ยง “คนดี” ของชาติ” มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรจึงเปนมหาวิทยาลัยแหงการเสาะหาวิชชาเพื่อประโยชนแหงมวลมนุษย ดวยการเตรียมความพรอมเชิงระบบบริหารและสนับสนุนใหนักวิชาการของมหาวิทยาลัยวิจัยศึกษาหาความรู ใหเกิดความรูแจง มีความเปนนักปราชญ ทํานุบํารุงเลี้ยงดูนักปราชญ นําความรูของนักปราชญมาถายทอดใหกับลูกศิษย ดวยจิตวิญญาณของความเปนครู โดยการสานสัมพันธระหวางศิษยกับอาจารย อันประกอบดวย 3 สายสัมพันธ คือ 1) ความรูแจง รูจริง 2) จิตวิญญาณของความ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

7

Page 14: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

เปนครู และ 3) ดานวิธีการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และเปนสถานเลี้ยงคนดีของชาติดวยนโยบายการบมเพาะนักศึกษาที่เขมขน

1.3 ปรัชญา ปณิธาน เปาหมายและวัตถุประสงค

ปรัชญาและปณิธานในการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยไดนอมนําพระราโชวาทของสมเด็จพระบรมราชชนกฯ มาเปนจิตวิญญาณที่ยึดมั่นและฝงลึกในสํานึกของชาวมหาวิทยาลยัและดําเนินรอยตามเบื้องพระยุคลบาทที่วา

“ขอใหถือผลประโยชนสวนตัว เปนที่สอง ประโยชนของเพื่อนมนุษย เปนกิจที่หนึ่ง ลาภ ทรัพย และเกียรติยศ จะตกมาแกทานเอง ถาทานทรงธรรมะแหงอาชีพยไวใหบริสุทธิ”

เพื่อใหการดําเนินที่กลาวมาแลวขางตน บรรลุตามวัตถุประสงคที่ ต้ังไว จึงมีการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค คานิยม วัฒนธรรม และสมรรถนะหลัก ดังนี้

วิสัยทัศน

“เปนมหาวิทยาลัยช้ันนําในระดับภูมิภาคเอเชีย ทําหนาที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และทํานุบํารุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเปนฐาน” พันธกิจ

1. พัฒนามหาวิทยาลัยใหเปนสังคมฐานความรูบนพื้นฐานพหุวัฒนธรรมและหลักเศรษฐกิจพอเพียงโดยใหผูใฝรูไดมี

โอกาสเขาถึงความรูในหลากหลายรูปแบบ 2. สรางความเปนผูนําทางวิชาการในสาขาที่สอดคลองกับศักยภาพพื้นฐานของภาคใต และเชื่อมโยงสูเครือขายสากล 3. ผสมผสานและประยุกตความรูบนพื้นฐานประสบการณการปฏิบัติสูการสอนเพื่อสรางปญญา คุณธรรม สมรรถนะ

และโลกทัศนสากลใหแกบัณฑิต เปาประสงคหลัก

ยุทธศาสตรท่ี 1 การสรางคุณคางานวิจัยใหเปนแกนความรูเฉพาะทางที่เปนเลิศ/เพื่อเสริมสรางคุณคางานวิจัยใหเปนแกนความรูเฉพาะทางที่เปนเลิศ และพัฒนาใหเกิดรูปธรรมของนวัตกรรมสําหรับขับเคลื่อนอนาคต และกาวสูมหาวิทยาลัยช้ันนํา

ยุทธศาสตรท่ี 2 การสรางองคความรูเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนสูการเปนมหาวิทยาลัยวิจัย/เพื่อเสาะแสวงหาวิชชาอันกอเกิดเปนทุนวิชาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนสูมหาวิทยาลัยวิจัย สามารถถายทอดความรูและเทคโนโลยีเพื่อยกระดับศักยภาพชุมชนเขมแข็ง และผลพลอยไดเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศในระดับนานาชาติ

ยุทธศาสตรท่ี 3 การผลิตบัณฑิตที่มีความรู สมรรถนะสมบูรณสูตลาดงานสากล/เพื่อสรางบัณฑิตที่มีความรู

ความสามารถ ดํารงดวยคุณธรรมบนพื้นฐานความเปนไทย มีทักษะชีวิต สํานึกสาธารณะ และสมรรถนะสมบูรณสูตลาดงานสากล

ยุทธศาสตรท่ี 4 การเปนศูนยกลางการเรียนรูในทุกมิติที่เปดกวางตอการแสวงหาความรู/เพื่อสรางบริบททางวิชาการที่เปดกวางตอการแสวงหาความรูดวยมิติ/รูปแบบ/ภารกิจ/ที่มีการบูรณาการอยางหลากหลายและทั่วถึง ที่เปนการเสริมสรางทรัพยากรบุคคลในทองถิ่นสูสังคมแหงภูมิปญญาดวยการเรียนรู

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

8

Page 15: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ยุทธศาสตรท่ี 5 การเปนองคกรคุณภาพ ตามหลักธรรมาภิบาลและองคกรแหงการเรียนรู/เพื่อการดําเนินยุทธศาสตรการบริหารจัดการเชิงรุกที่มีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได และสอดรับกับการบริหารมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต ภายใตกรอบปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล และเพื่อเสริมสรางสมรรถนะและปรับวัฒนธรรมองคกรสูการเปนองคกรแหงการเรียนรูที่มีการสรางสมและจัดการองคความรู เพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางมั่นคงยั่งยืน แผนงานเฉพาะกิจ ขับเคลื่อนใหวิทยาเขตปตตานี มีบทบาทในการแกปญหาและพัฒนาระบบการศึกษาในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต คานิยม

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรมีความมุงมั่นที่จะเปนมหาวิทยาลัยช้ันนําในระดับภูมิภาคเอเชียและในระดับสากล บุคลากรทุกคนในมหาวิทยาลัยจึงไดสรางคานิยมรวมกัน ไดแกคําวา “PSU” ซึ่งมีความหมายดังนี้

P: Professionalism

1. ใฝรู เสาะหาวิชา สรางสมปญญา 2. ถูกตอง มีมาตรฐาน รวดเร็ว 3. มุงมั่น ทุมเท และมีจิตสาธารณะ

S: Social responsibility 4. เปนที่พ่ึง และชี้นําสังคม 5. แลกเปลี่ยน และแบงปน 6. บมเพาะคนดี สูสังคม

U: Unity 7. มีความรักและสํานึกรวมเปนสวนหน่ึงขององคกร 8. ผลักดันองคกรสูเปาหมายรวม 9. รวมกันทํางานดวยความเต็มใจเสียสละ และอดทน

วัฒนธรรม

“ประโยชนของเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง (Our Soul is for the Benefit of Mankind)”

สมรรถนะหลักขององคการ “การเปนมหาวิทยาลัยแหงการเสาะหาวิชชา (วิจัย) เพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนการสอน แกปญหา เพิ่มขีด

ความสามารถและศักยภาพของประเทศและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน” มหาวิทยาลัยกําหนดใหการวิจัยเพื่อใหเกิดความรูใหมเปนสมรรถนะหลักขององคกร เนื่องจากเปนปจจัยหลักที่

สําคัญที่มหาวิทยาลัยนําไปเปนฐานในการดําเนินงานภารกิจในทุกดาน เพื่อใหการดําเนินงานบรรลุตามพันธกิจที่กําหนดไวในการเปนสังคมฐานความรู การเปนผูนําทางวิชาการ และการประยุกตใชความรูสูการเรียนการสอน

1.4 โครงสรางองคกร และโครงสรางการบริหาร

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

9

Page 16: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

สํานักงานอธิการบดี

บัณฑิตวิทยาลัย

ศูนยคอมพิวเตอร

สํานักวิจัยและพัฒนา

วิทยาเขตหาดใหญ

คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะวิทยาศาสตร

คณะแพทยศาสตร

คณะวิทยาการจัดการ

คณะทรัพยากรธรรมชาติ

คณะเภสัชศาสตร

คณะพยาบาลศาสตร

ศูนยเครื่องมือวิทยาศาสตร

คณะทันตแพทยศาสตร

คณะการจัดการสิ่งแวดลอม

คณะอุตสาหกรรมเกษตร

คณะศิลปศาสตร

สํานักวิทยบริการ

สํานักสงเสริมและการศึกษาตอเนื่อง

คณะศึกษาศาสตร

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

วิทยาลัยอิสลามศึกษา

วิทยาเขตปตตานี

วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต วิทยาลัยชุมชนสุราษฎรธานี

วิทยาเขตภูเก็ต วิทยาเขตสุราษฎรธานี วิทยาเขตตรัง

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

เปนหนวยงานระดับคณะที่จัดตั้งโดยมติสภามหาวิทยาลัย

หนวยงานสนับสนุนวิชาการกลาง

สํานักงานอธิการบดีวิทยาเขตตรัง สํานักงานอธิการบดีวิทยาเขตภูเก็ต

เปนหนวยงานที่มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง

คณะนิติศาสตร

คณะศิลปกรรมศาสตร

คณะวิทยาการสื่อสาร

คณะการบริการและการทองเที่ยว คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝง

สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา

หนวยงานอิสระกลางระดับมหาวิทยาลัย

ศูนยศึกษาการพัฒนาเขต เศรษฐกิจสามฝาย (IMT-GT Center)

สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

(สวรส. ภาคใต มอ.)

คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ

สํานักงานอธิการบดีวิทยาเขตสุราษฎรธานี

คณะเศรษฐศาสตร

สถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต (วพส.)

คณะรัฐศาสตร

คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม

คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ

ศูนยประสานงานรีโมทเซนซิ่งภาคใต สํานักงานประกันคุณภาพ

เปนหนวยงานกลางที่ไมไดมีสถานภาพเทียบเทาระดับคณะ

ศูนยบมเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

คณะการแพทยแผนไทย

โครงการจัดตั้ง คณะเทคนิคการแพทย

สํานักทรัพยากรการเรียนรูคุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร

คณะวิเทศศึกษา

ขอมูล ณ มิถุนายน 2553

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

10

Page 17: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร รศ. ดร.บุญสม ศิริบํารุงสุข

โครงสรางการบริหารของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

รองอธิการบดี วิทยาเขตปตตานี ผศ.สมปอง ทองผอง

รองอธิการบดีฝายวิชาการและวิเทศสัมพันธ วิทยาเขตปตตานี รศ.ดร.ปรารถนา กาลเนาวกุล

(1 มิถุนายน 2552 - 31 ตุลาคม 2553) รศ.ดร.ยุพดี ชัยสขุสันต

(1 พฤศจิกายน 2553-ปจจุบัน)

คณบดีคณะศึกษาศาสตร รศ.ดร.ชุมศักดิ์ อินทรรักษ

(1 สิงหาคม 2551 - 1 เมษายน 2554) ผศ.สมปอง ทองผอง

(รักษาการในตําแหนง 1เมษายน 2554- ปจจุบัน)

คณบดีคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร รศ.อาหวัง ลานุย

คณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รศ.ดร.เจรญิ นาคะสรรค

ผูอํานวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา รศ. ดร.อิสมาแอ อาลี

(1 สิงหาคม 2549- 31 กรกรฎาคม 2553) ดร.ยูโซะ ตาและ

(1 สิงหาคม 2553 - ปจจุบัน)

คณบดีคณะวิทยาการสื่อสาร รศ.อิ่มจิต เลิศพงษสมบัติ

ผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชนภูเก็ต อาจารยวิโรจน ภูตอง

คณบดีคณะการบริการและการทองเที่ยว อาจารยชัยนันท ไชยเสน

(1มิถุนายน 2553-31 ตุลาคม 2553) รศ.ดร.ปรารถนา กาลเนาวกุล

(1 พฤศจิกายน 2553- ปจจุบัน)

ผูอํานวยการวิทยาลัยชุมชนสุราษฎรธานี ผศ. ดร.พงศศักดิ์ เหลาดี

รองอธิการบดี อาจารยพิชิต เรืองแสงวัฒนา

รองอธิการบดีฝายศิษยเกา และชุมชนสัมพันธ รศ.ผดุงยศ ดวงมาลา

รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา รศ. ดร.ธวัช ชิตตระการ

รองอธิการบดีเขตการศึกษาภูเก็ต ผศ. ดร.เมธี สรรพานิช

รองอธิการบดีเขตการศึกษาสุราษฎรธานี ผศ. ดร.เสียง กฤษณีไพบูลย

วิทยาเขตหาดใหญ วิทยาเขตปตตานี

วิทยาเขตสุราษฎรธานี วิทยาเขตตรัง

รองอธิการบดีเขตการศึกษาตรัง รศ. ดร.ปติ ทฤษฏิคุณ

วิทยาเขตภูเก็ต

รองอธิการบดีฝายบริการวิชาการ และวิเทศสัมพันธ

รศ. ดร.ฉัตรไชย รัตนไชย

คณบดีคณะศิลปศาสตรและ วิทยาการจัดการ

ผศ.จรูญ ตันสูงเนิน

รองอธิการบดีฝายวิจัยและบัณฑิตศึกษา รศ. ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล

รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนาระบบ วิทยาเขตปตตานี ผศ.นพพร เหรียญทอง

คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร ผศ.พิเชษฐ เปยรกลิ่น

(14 มกราคม 2550- 6 มีนาคม 2554)

รศ.ระวีวรรณ ชอุมพฤกษ (7 มีนาคม 2554 – ปจจุบัน)

ผูอํานวยการสํานักสงเสริมและการศึกษาตอเนื่อง อาจารยสมศักดิ์ เหลาเจริญสุข

ขอมูล ณ พ.ค. 2553

ประธานกรรมการสงเสริมกิจการมหาวิทยาลัย นายสมพร ใชบางยาง

นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ศ. ดร.เกษม สุวรรณกุล

คณะกรรมการบริหารงานบุคคลฯ (คบม.)

ที่ประชุมคณบดี

สภาวิชาการ

คณบดีคณะพาณิชยศาสตร และการจัดการ

ผศ.พักตรา คูบุรัตถ

คณบดีคณะรัฐศาสตร ผศ.ปยะ กิจถาวร

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยอุตสาหกรรม ดร.นิทัศน เพราแกว

คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม รศ.ภูวดล บุตรรตัน

รองอธิการบดีฝายพัฒนานักศึกษาและวัฒนธรรม วิทยาเขตปตตานี

ผศ.นิฟาริด ระเดนอาหมัด

รองอธิการบดีวิทยาเขตหาดใหญ ผศ. นพ.อุทัย เกาเอี้ยน

รองอธิการบดีฝายพัฒนานักศึกษา กีฬา และวัฒนธรรม

ผศ. ดร.นิวตัิ แกวประดับ

คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตร ผศ.ดร.ไพศาล วุฒิจํานง

(1 มีนาคม 2550 – 28 กุมภาพันธ 2554) ศ.ดร.ภาวิณี ชินะโชติ

(6 มีนาคม 2554 - ปจจุบัน)

คณบดีคณะศิลปศาสตร รศ.ดร.อดิศา แซเตียว

คณบดีคณะการแพทยแผนไทย รศ.ดร.สนั่น ศุภธีรสกุล

ผูอํานวยการสํานักวิจัยและพัฒนา รศ.ดร.พีระพงศ ทีฆสกุล

คณบดีคณะแพทยศาสตร รศ. นพ.สุเมธ พีรวุฒิ

คณบดีคณะวิทยาศาสตร รศ.ดร.จฑุามาส ศตสขุ

คณบดีคณะวิทยาการจัดการ ผศ.ดร.บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ศ.ดร. อมรรัตน พงศดารา

ผูอํานวยการศูนยเครื่องมือวิทยาศาสตร รศ.ดร.เกริกชัย ทองหนู

คณบดีคณะเภสัชศาสตร ผศ.ดร.สิริรัศมิ์ ปนสุวรรณ

คณบดีคณะทรัพยากรธรรมชาติ รศ. ดร.วัลลภ สันติประชา

คณบดีคณะทันตแพทยศาสตร รศ.ทพ.วิลาศ สัตยสัณหสกุล

คณบดีคณะการจัดการสิ่งแวดลอม ผศ.ดร.โรจนัจฉริย ดานสวัสดิ ์

คณบดีคณะเศรษฐศาสตร ดร.ศักดิ์ชัย ศิริพัฒน

คณบดีคณะนิติศาสตร อาจารยวศิน สุวรรณรัตน

คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร รศ. ดร.จรัญ บุญกาญจน

ผูอํานวยการสถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝง รศ.ดร.ประวิทย โตวัฒนะ

ผูอํานวยการศูนยบมเพาะวิสาหกิจ ผศ.คํารณ พิทักษ

ผูอํานวยการศูนยคอมพิวเตอร ผศ.ดร.ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล

คณบดีคณะพยาบาลศาสตร รศ.ดร.ลดาวัลย ประทีปชัยกูร

(1 ตุลาคม 2552 - 30 กันยายน 2553) รศ.ดร.อรญัญา เชาวลิต

(1ตุลาคม 2553 - ปจจุบัน)

คณะวิเทศศึกษา อาจารยศุภชัย แสงปญญา

รองอธิการบดีฝายวิชาการและการศึกษา รศ.ดร.อรญัญา เชาวลิต

(1 มิถุนายน 2552 - 31 มีนาคม 2554)

รองอธิการบดีฝายวิชาการและพัฒนาบุคลากร รศ. นพ.วรัญ ตันชัยสวัสดิ ์(1 เมษายน 2554-ปจจุบัน)

รองอธิการบดีฝายพัฒนาบุคลากร รศ. นพ.วรัญ ตันชัยสวัสดิ ์

(1 มิถุนายน 2552 – 1 เมษายน 2554)

ผูอํานวยการสถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา ผศ.กมล คงทอง

ผูอํานวยการสํานักทรัพยากรการเรียนรูคุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร รศ.ปญญรักษ งามศรีตระกูล

ผูอํานวยการสํานักวิทยบริการ ผศ. ดร.วสันต อติศัพท

รองอธิการบดีฝายพัฒนานักศึกษาและวัฒนธรรม วิทยาเขตปตตานี

ผศ.นิฟาริด ระเดนอาหมัด

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

11

Page 18: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

1.5 รายชื่อผูบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการสภาชุดปจจุบัน ทําเนียบอธิการบดี

1. ฯพณฯ พ.อ.(พิเศษ) ถนัด คอมันตร เม.ย. 2511 - มี.ค. 2512 2. ศาสตราจารย ดร.สตางค มงคลสุข มี.ค. 2512 - ก.ค. 2514 3. ศาสตราจารย ดร.บัวเรศ คําทอง ก.ค. 2514 - ก.ค. 2516 4. ศาสตราจารยนายแพทยสวัสดิ์ สกุลไทย ก.ค. 2516 - ก.ค. 2518 5. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ผาสุข กุลละวณิชย ก.ค. 2518 - ก.ค. 2522 6. ศาสตราจารยนายแพทยทองจันทร หงศลดารมภ ก.ค. 2522 - มิ.ย. 2528 7. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ผาสุข กุลละวณิชย ก.ค. 2528 - พ.ค. 2534 8. รองศาสตราจารย ดร.ศิริพงษ ศรีพิพัฒน มิ.ย. 2534 - พ.ค. 2540 9. รองศาสตราจารย ดร.สุนทร โสตถิพันธุ มิ.ย. 2540 - พ.ค. 2543 10. รองศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ชิตพงศ มิ.ย. 2543 - มี.ค.2549 11. รองศาสตราจารย ดร.บุญสม ศิริบํารุงสุข มิ.ย. 2549 - ปจจุบัน

รายนามนายกสภามหาวิทยาลัยและกรรมการสภามหาวิทยาลัย ผูทรงคุณวุฒิ (วาระการดํารงตําแหนงระหวาง 19 กุมภาพันธ 2553-18 กุมภาพันธ 2555) 1. ศาสตราจารย ดร.เกษม สุวรรณกุล นายกสภามหาวิทยาลัย 2. ศาสตราจารยนายแพทยจรัส สุวรรณเวลา อุปนายกสภามหาวิทยาลัย 3. ดร.กฤษณพงศ กีรติกร กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 4. ศาสตราจารย ดร.เจตนา นาควัชระ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 5. ศาสตราจารย ดร.นักสิทธ คูวัฒนาชัย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 6. ศาสตราจารย ดร.นิธิ เอียวศรีวงศ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 7. ศาสตราจารยนายแพทยประเวศ วะสี กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 8. ศาสตราจารย ดร.ปรีดา วิบูลยสวัสดิ์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 9. นายพลากร สุวรรณรัฐ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 10. รองศาสตราจารย ดร.วรากรณ สามโกเศศ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 11. ศาสตราจารยนายแพทยวิจารณ พานิช กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 12. นายวิจิตร ณ ระนอง กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 13. ศาสตราจารย ดร.สนิท อักษรแกว กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 14. ศาสตราจารย ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ 15. ศาสตราจารย ดร.สุจินต จินายน กรรมการสภามหาวิทยาลัยผูทรงคุณวุฒิ

รายนามผูบริหารมหาวิทยาลัยปการศึกษา 2553 1. รองศาสตราจารย ดร.บุญสม ศิริบํารุงสุข อธิการบดี 2. อาจารยพิชิต เรืองแสงวัฒนา รองอธิการบดี 3. รองศาสตราจารย ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล รองอธิการบดีฝายวิจัยและบัณฑิตศึกษา 4. รองศาสตราจารยผดุงยศ ดวงมาลา รองอธิการบดีฝายศิษยเกาและชุมชนสัมพันธ 5. รองศาสตราจารย ดร.ธวัช ชิตตระการ รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

12

Page 19: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

6. รองศาสตราจารย ดร.อรัญญา เชาวลิต รองอธิการบดีฝายวิชาการและการศึกษา (1 มิถุนายน 2552 - 31 มีนาคม 2554) 7. รองศาสตราจารยนายแพทยวรัญ ตันชัยสวัสดิ์ รองอธิการบดีฝายพัฒนาบุคลากร (1 มิถุนายน 2552 – 1 เมษายน 2554) รองอธิการบดีฝายวิชาการและพัฒนาบุคลากร (1 เมษายน 2554- ปจจุบัน) 8. รองศาสตราจารย ดร.ฉัตรไชย รัตนไชย รองอธิการบดีฝายบริการวิชาการและวิเทศสัมพันธ 9. ผูชวยศาสตราจารยนายแพทยอุทัย เกาเอี้ยน รองอธิการบดีวิทยาเขตหาดใหญ 10. ผูชวยศาสตราจารย ดร.นิวัติ แกวประดับ รองอธิการบดีฝายพัฒนานักศึกษา กีฬา และวัฒนธรรม 11. ผูชวยศาสตราจารยสมปอง ทองผอง รองอธิการบดีวิทยาเขตปตตานี 12. ผูชวยศาสตราจารยนิฟาริด ระเดนอาหมัด รองอธิการบดีฝายพัฒนานักศึกษาและวัฒนธรรม วิทยาเขตปตตานี 13. ผูชวยศาสตราจารยนพพร เหรียญทอง รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนาระบบ วิทยาเขตปตตานี 14. รองศาสตราจารย ดร.ปรารถนา กาลเนาวกุล รองอธิการบดีฝายวิชาการและวิเทศสัมพันธ วิทยาเขตปตตานี (1 มิถุนายน 2552 - 31 ตุลาคม 2553) 15. รองศาสตราจารย ดร.ยุพดี ชัยสุขสันต รองอธิการบดีฝายวิชาการและวิเทศสัมพันธ วิทยาเขตปตตานี (1 พฤศจิกายน 2553 – ปจจุบัน) 16. ผูชวยศาสตราจารย ดร.เมธี สรรพานิช รองอธิการบดี วิทยาเขตภูเก็ต 17. ผูชวยศาสตราจารย ดร.เสียง กฤษณีไพบูลย รองอธิการบดี วิทยาเขตสุราษฎรธานี 18. รองศาสตราจารย ดร.ปติ ทฤษฎิคุณ รองอธิการบดี วิทยาเขตตรัง

1.6 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน

หลักสูตร สาขาวิชา มหาวิทยาลัยเปดสอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก รวมทั้งเปดสอนในระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต

และประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูงดวย ในปการศึกษา 2553 มีหลักสูตรที่เปดสอนทั้งสิ้น 277 หลักสูตร จําแนกเปนหลักสูตรในระดับปริญญาตรี 131 หลักสูตร คิดเปนรอยละ 47.29 ระดับปริญญาโท 98 หลักสูตร คิดเปนรอยละ 35.38 ระดับปริญญาเอก 41 หลักสูตร คิดเปนรอยละ 14.80 และระดับประกาศนียบัตร 2 หลักสูตร คิดเปนรอยละ 0.72 และ ระดับประกาศนียบัตรช้ันสูง 5 หลักสูตร คิดเปนรอยละ 1.8

การแบงกลุมสาขาวิชา ในปการศึกษา 2553 หนวยงานจัดการเรียนการสอนทั้งหมดแบงเปน 9 กลุมไดแก กลุมสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ กลุม

สาขาวิทยาศาสตรกายภาพและชีวภาพ กลุมสาขาวิศวกรรมศาสตร กลุมสาขาเกษตรศาสตร กลุมสาขาบริหารธุรกิจ/พาณิชยศาสตร บัญชี การจัดการการทองเที่ยว เศรษฐศาสตร กลุมสาขาครุศาสตร/ศึกษาศาสตร กลุมสาขามนุษยและสังคมศาสตร กลุมสาขาศิลปกรรม และกลุมสาขาสหวิทยาการ มีจํานวนคณะทั้งสิ้น 27 คณะ รายละเอียดดังนี้

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

13

Page 20: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

กลุมสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ 1. คณะทันตแพทยศาสตร 2. คณะพยาบาลศาสตร 3. คณะแพทยศาสตร 4. คณะเภสัชศาสตร 5. คณะการแพทยแผนไทย กลุมสาขาวิทยาศาสตรกายภาพและชีวภาพ 6. คณะวิทยาศาสตร 7. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 8. คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 9. คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม กลุมสาขาวิศวกรรมศาสตร 10. คณะวิศวกรรมศาสตร กลุมสาขาเกษตรศาสตร 11. คณะอุตสาหกรรมเกษตร 12. คณะทรัพยากรธรรมชาติ 13. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

กลุมสาขาบริหารธุรกิจ/พาณิชยศาสตร บัญชี การจัดการ การทองเท่ียว เศรษฐศาสตร 14. คณะวิทยาการจัดการ 15. คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 16. คณะเศรษฐศาสตร 17. คณะการบริการและการทองเที่ยว กลุมสาขาครุศาสตร/ศึกษาศาสตร 18. คณะศึกษาศาสตร กลุมสาขาศิลปกรรม 19. คณะศิลปกรรมศาสตร กลุมสาขามนุษยและสังคมศาสตร 20. คณะนิติศาสตร 21. คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 22. คณะศิลปศาสตร 23. วิทยาลัยอิสลามศึกษา 24. คณะรัฐศาสตร กลุมสาขาสหวิทยาการ 25. คณะวิทยาการสื่อสาร 26. คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจัดการ 27. คณะวิเทศศึกษา

1.7 จํานวนนักศึกษา

ปการศึกษา 2553 มหาวิทยาลัยมีนักศึกษาทั้งสิ้น 33,537 คน จําแนกตามระดับการศึกษา ดังนี้ ระดับปริญญาตรี 28,759 คน คิดเปนรอยละ 85.76 ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 205 คน คิดเปนรอยละ 0.61 ระดับปริญญาโท 3,760 คน คิดเปนรอยละ 11.21 ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง 199 คน คิดเปนรอยละ 0.59 และระดับปริญญาเอก/เทียบเทา 614 คน คิดเปนรอยละ 1.83

จํานวนนักศึกษาสามารถจําแนกตามวิทยาเขตไดดังนี้ นักศึกษาวิทยาเขตหาดใหญ 19,448 คน คิดเปนรอยละ 57.99 วิทยาเขตปตตานี 8,203 คน คิดเปนรอยละ 24.46 วิทยาเขตภูเก็ต 2,125 คน คิดเปนรอยละ 6.34 วิทยาเขตสุราษฎรธานี 1,345 คน คิดเปนรอยละ 4.01 และวิทยาเขตตรัง 2,416 คน คิดเปนรอยละ 7.20 1.8 จํานวนอาจารยและบุคลากร

มหาวิทยาลัยมีบุคลากรรวมทั้งสิ้น 10,303 คน แบงบุคลากรตามลักษณะงานออกเปน 2 กลุม คือ สายวิชาการ 2,042 คน และสายสนับสนุน 8,261 คน โดยกระจายอยูใน 5 วิทยาเขต คือ วิทยาเขตหาดใหญ 8,361 คน วิทยาเขตปตตานี 1,222 คน วิทยาเขตภูเก็ต 344 คน วิทยาเขตตรัง 135.50 คน และวิทยาเขตสุราษฎรธานี 240.50 คน

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

14

Page 21: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

สายวิชาการ

วิทยาเขต อาจารย

ผูชวยศาสตราจารย

รองศาสตราจารย

ศาสตราจารย รวม

สายสนับสนุน

หาดใหญ 650.00 414.50 235.50 22.00 1,322.00 7,039.00

ปตตานี 326.50 76.00 24.50 1.00 428.00 794.00

ภูเก็ต 83.00 10.00 4.00 0.00 97.00 247.00

ตรัง 66.50 4.00 1.00 0.00 71.50 64.00

สุราษฎรธานี 112.50 9.00 2.00 0.00 123.50 117.00

รวม 1,238.50 513.50 267.00 23.00 2,042.00 8,261.00

สายวิชาการ วิทยาเขต

ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวม

หาดใหญ 52.00 427.50 842.50 1,322.00

ปตตานี 23.50 271.00 133.50 428.00

ภูเก็ต 7.00 66.00 24.00 97.00

ตรัง 3.00 63.50 5.00 71.50

สุราษฎรธานี 6.00 82.00 35.50 123.50

รวม 91.50 910.00 1,040.50 2,042.00

1.9 ขอมูลพื้นฐานโดยยอเก่ียวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่

มหาวิทยาลัยมีอาคารสถานที่ เทคโนโลยี อุปกรณ และสิ่งอํานวยความสะดวกที่สําคัญ ดังนี้ 1.9.1 อาคารสถานที่

มหาวิทยาลัยมีมูลคาอาคารสถานที่และที่ดินรวมทั้งสิ้น 9,578 ลานบาท จําแนกเปนมูลคาอาคารสถานที่ 4,809 ลานบาท คิดเปนรอยละ 50.21 มูลคาที่ดิน 4,769 ลานบาท คิดเปนรอยละ 49.79 ของมูลคาอาคารสถานที่และที่ดินที่เปนสินทรัพยถาวร มหาวิทยาลัยมี 5 วิทยาเขต ซึ่งแตละวิทยาเขตจะประกอบดวย อาคารเรียน อาคารเรียนรวมและ

หองปฏิบัติการ อาคารบริหาร และศูนยวิจัยตางๆ ทั้งนี้ในวิทยาเขตหาดใหญยังมีพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา 50 พรรษา สยามบรมราชกุมารี ใหการใหความรูเกี่ยวกับธรรมชาติวิทยา และศูนยประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป เพื่อรองรับการจัดประชุม สัมมนา และกิจกรรมตางๆ ในภาคใต

1.9.2 เทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยมีเทคโนโลยีเพื่อชวยใหการทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สะดวก รวดเร็ว แมนยํา และประหยัดคาใชจาย ประกอบดวย

1) เทคโนโลยีการสื่อสารผานระบบโทรศัพทพ้ืนฐาน Internet และระบบทางไกล 2) เทคโนโลยีสารสนเทศทางการบริหารและตัดสินใจ 3) ฐานขอมูลนักศึกษา บุคลากรและการเงิน

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

15

Page 22: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

4) ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (GIS) และเทคโนโลยีตนแบบดานพลังงาน (ไบโอดีเซล) 1.9.3 อุปกรณ

นอกเหนือจากอุปกรณชวยงานพื้นฐาน อาทิ คอมพิวเตอรสวนบุคคล, แฟกซ, เครื่องถายเอกสาร, โปรเจคเตอร เปนตนแลว มหาวิทยาลัยมีอุปกรณสนับสนุนการเรียนการสอนและงานวิจัยที่สําคัญกระจายตามคณะ และหนวยงานบริการวิชาการ คอื ศูนยคอมพิวเตอร ศูนยเครื่องมือวิทยาศาสตร และศูนยเครื่องมือกลาง คณะวิทยาศาสตร

1.9.4 สิ่งอํานวยความสะดวกที่สําคัญ

มหาวิทยาลัยมีสิ่งอํานวยความสะดวกที่สําคัญไดแก โรงพยาบาล, ศูนยกีฬาและนันทนาการ, หอพักนักศึกษาและบุคลากร, ธนาคาร และหองสมุด

1.9.5 งบประมาณ

แหลงงบประมาณของมหาวิทยาลัยมาจากงบประมาณแผนดินและงบประมาณเงินรายไดเปนหลัก ในปงบประมาณ 2553 มหาวิทยาลัยไดรับงบประมาณเพื่อบริหารและจัดการศึกษาทั้งสิ้น 7,350.99 ลานบาท จําแนกเปน งบประมาณแผนดิน 3,267.6029 ลานบาท คิดเปนรอยละ 44.45 และรายรับงบประมาณเงินรายได 4,083.397 ลานบาท คิดเปนรอยละ 55.54 ของงบประมาณทั้งหมด

1.10 เอกลักษณหรือวัฒนธรรมของสถาบัน

มหาวิทยาลัยสถาปนาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค เพื่อเปนแหลงการศึกษาขั้นสูงของเยาวชนในภาคใต และเพื่อการพัฒนาภาคใตและพัฒนาประเทศ จึงไดมีการกําหนดอัตลักษณ ไดแก นักศึกษามีคุณธรรมจริยธรรม และมีเอกลักษณ ไดแก การเปนมหาวิทยาลัยวิจัย โดยในนโยบายและแผนพัฒนามหาวิทยาลัยมีการกําหนดรายละเอียดดังนี้

1.10.1 ผลิตบัณฑิตใหเปนผูมีความรูความสามารถทางวิชาการและเปนคนดี มีสมรรถนะสากล รวมทั้งกระจายโอกาสทางการศึกษาใหกับภูมิภาค

1.10.2 เปนมหาวิทยาลัยที่เนนวิจัย ดวยการสรางระบบเพื่อเปลี่ยนวัฒนธรรมองคกรใหมุงสูวิจัยและบัณฑิตศึกษา เปนมหาวิทยาลัยที่เอื้ออาทรตอการพัฒนา การวิจัยปญหาทองถิ่นและตอยอดภูมิปญญาทองถิ่นโดยมีชุมชนรวมวิจัย

1.10.3 มีความเปนเลิศบางสาขา ที่เปนบริบทของภาคใตและศักยภาพของมหาวิทยาลัยไดแก ยางพารา, ปาลมน้ํามัน, อาหารทะเล, ทะเลสาบสงขลา และอิสลามศึกษา

1.10.4 เปนมหาวิทยาลัยที่เอื้อตอการพัฒนาชุมชน (University-Community Engagement) ใหบริการรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพตอชุมชน เนนการใหความรวมมือกับจังหวัดในเขตที่ต้ังของวิทยาเขต การใหความชวยเหลือกับองคกรปกครองทองถิ่น ความเชื่อมโยงกับโรงเรียน ความเชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรม การมีสวนรวมในการปฏิรูปการศึกษาในเขต 3 จังหวัดชายแดนที่มีปญหาความไมสงบ เคารพในความตางวัฒนธรรมของชุมชนและความเทาเทียมกันทุกช้ันของสังคม

1.10.5 วิทยาเขตมีความเขมแข็ง มีโอกาสเทาเทียมและมีความรวมมือกันอยางใกลชิด กําหนดยุทธศาสตรความรวมมือระหวางวิทยาเขต (PSU Solidarity) แตละวิทยาเขตมีความเปน Flagship Campus ที่เปนเอกลักษณของตนเอง ดังนี้ วิทยาเขตหาดใหญเดนทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยี, วิทยาศาสตรสุขภาพ, และการบริหารจัดการ วิทยาเขตปตตานีเดนทางสังคมศาสตรและอิสลามศึกษา วิทยาเขตภูเก็ตเดนทางความเปนนานาชาติ และสาขาการจัดการโรงแรม วิทยาเขตสุราษฎรธานีเดนทางเทคโนโลยีประยุกต วิทยาเขตตรังเดนทางสังคมศาสตรประยุกต ธุรกิจ และอุตสาหกรรมบริการ

1.10.6 เปนองคกรที่ใชหลักธรรมาภิบาลควบคูกับการเปนองคกรแหงการเรียนรู รวมทั้งใหความสําคัญกับการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร นอกจากนี้มหาวิทยาลัยไดกําหนดแนวคิดในการพัฒนามหาวิทยาลัยสูอนาคต เพื่อเติบโต

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

16

Page 23: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

อยางมั่นคงโดยมีวัฒนธรรมองคกรเปนฐานในการพัฒนา ไดแก การสรางวัฒนธรรมการประเมิน ตรวจสอบ โปรงใส รับผิดชอบ ชอบธรรม และยุติธรรม รวมทั้งสรางวัฒนธรรมที่พึงประสงคใหเกิดขึ้นในมหาวิทยาลัย ไดแก วัฒนธรรมการเรียนรูรวมกัน (Learning Organization and Knowledge Management), วัฒนธรรมวิจัยและบัณฑิตศึกษา, วัฒนธรรมการสื่อสารภายในองคกรและสรางความเขาใจ, วัฒนธรรมขอมูลและสารสนเทศ, วัฒนธรรม IT, วัฒนธรรมกระจายอํานาจและรับผิดชอบตออํานาจที่ไดรับ, ความงดงามของวัฒนธรรมการเขาสูตําแหนงบริหาร, วัฒนธรรมไทย, วัฒนธรรมการเคารพ/ปฏิบัติตามกฎระเบียบ วินัย และมารยาททางสังคม และวัฒนธรรมการเอื้ออาทรตอกัน

1.10.7 การเปลี่ยนแปลงหรือสรางพลังสะสม (Momentum) ของมหาวิทยาลัยในการเจริญเติบโตและการกาวสูการแขงขันในอุตสาหกรรมการศึกษานั้น มีการขับเคลื่อนใหคุณภาพเปนวัฒนธรรมของขององคกรดวยวิธีการที่หลากหลาย วิธีการหนึ่งก็คือการสรางและพัฒนาระบบประกันคุณภาพ

มหาวิทยาลัยประกาศนโยบายคุณภาพเมื่อเดือนพฤษภาคม 2544 ใหมีการพัฒนาคุณภาพทั่วทั้งองคกร ดําเนินการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน เพื่อนําไปสูการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน

การศึกษา ดวยการกําหนดใหมีระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ และประเมิน ดังนี้ มหาวิทยาลัยควบคุมคุณภาพการศึกษาดวยกระบวนการวางแผน ควบคุม ตรวจสอบ ประเมิน และ

ปรับปรุงระบบ PDCA-PaR บนพื้นฐานของการมีสวนรวมของบุคลากรในองคการรวมถึงผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย ดวยการพัฒนาตัวบงช้ีและเกณฑการประเมินตาม 9 องคประกอบของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) จัดทําคูมือการจัดทํารายงานประจําปการประเมินคุณภาพตามภารกิจของหนวยงานที่รับผิดชอบดานการเรียนการสอน หนวยงานสนับสนุนเทียบเทาคณะ และหนวยงานสนับสนุนบริหาร แลวจึงประกาศใหคณะ/หนวยงาน ใชองคประกอบ ตัวบงช้ี และเกณฑการประเมินคุณภาพตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด ทําใหมีระบบ แนวทาง และมาตรฐาน เดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย มีความเปนเอกภาพและสอดคลองตามบริบทของหนวยงาน ในระดับนโยบายมีคณะกรรมการอํานวยการขับเคลื่อนยุทธศาสตรเปนคณะทํางานที่กําหนดและตัดสินใจในเชิงนโยบายดานประกันคุณภาพ แตงต้ังคณะกรรมการบูรณาการ KPIs กับระบบประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยเพื่อบูรณาการระบบประกันคุณภาพเขากับการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัย ที่สามารถตอบสนองตอทิศทางตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัย2550-2554 รวมทั้งสรางการมีสวนรวมจากหนวยงานสนับสนุนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ ไดแก คณะกรรมการจัดทํารายงานประจําปการประเมินคุณภาพ ในระดับปฏิบัติมีคณะกรรมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ (Quality Management Representative : QMR) คณะกรรมการดําเนินงานประกันคุณภาพ (Quality Assurance Committee : QAC) เปนกลไกสําคัญในการนํานโยบายไปสูการปฏิบัติในระดับคณะ/หนวยงาน/ภาควิชา/งาน ในการดําเนินงานดานประกันคุณภาพมีการมอบหมายและกําหนดผูรับผิดชอบงานดานประกันคุณภาพชัดเจน โดยแตงตั้งผูชวยอธิการบดีฝายประกันคุณภาพเปนผูบังคับบัญชาสํานักงานประกันคุณภาพ ในฐานะเปนหนวยงานกลางของมหาวิทยาลัยรับผิดชอบการนํานโยบายไปปฏิบัติดวยการสื่อสารและสรางการมีสวนรวมในทุกระดับ และจัดทําแผนกลยุทธดานประกันคุณภาพ (Master Plan) แผนปฏิบัติงาน 5 ป (Operational Plan) แผนปฏิบัติการ 1 ป (Action Plan) เพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาและการปฏิบัติงานดานประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยอยางเปนรูปธรรม ใหความสําคัญกับบุคลากรทุกระดับในฐานะเปนสวนหน่ึงของกลไกการประกันคุณภาพ มีการจัดทําแผนพัฒนาบุคลากรดานประกันคุณภาพทั้งในระดับมหาวิทยาลัย และระดับคณะ/หนวยงาน

มหาวิทยาลัยไดดําเนินการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา โดยแตงตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ทําหนาที่ตรวจสอบและประเมินระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในคณะ/หนวยงาน และมีระบบการใหขอมูลผลจากการตรวจสอบและประเมินระบบและกลไกยอนกลับแกผูที่เกี่ยวของผานคณะบุคคล/คณะ/หนวยงาน/ทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

17

Page 24: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

มหาวิทยาลัยไดดําเนินการพัฒนาระบบประกันคุณภาพอยางตอเนื่อง ดวยการกําหนดใหหนวยงานภายในนําจุดออนและขอสังเกตของคณะกรรมการประเมินไปจัดทําแผนพัฒนาและรายงานผลการพัฒนาใน

รายงานประจําปการประเมินคุณภาพของปถัดไป รวมทั้งบูรณาการเขากับการควบคุมภายในของคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน และการบริหารความเสี่ยง ทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและคณะ/หนวยงาน โดยมีคณะ

กรรมการบริหารความเสี่ยงทําหนาที่ขับเคลื่อนใหกระบวนการจัดการศึกษามีคุณภาพ นอกจากนี้มหาวิทยาลัยไดนําผลการประเมินคุณภาพภายในระดับคณะ/หนวยงานไปสรางระบบการเทียบเคียงสมรรถนะภายใน (Internal Benchmarking) มีจุดเนนที่กระบวนการปฏิบัติงาน (Process) ตามภารกิจของมหาวิทยาลัยโดยใชการจัดการความรู (Knowledge Management) เปนเครื่องมือในการยกระดับการพัฒนาวงจรคุณภาพ PDCA-PaR ภายใต

บริบทของมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาระบบประกันคุณภาพแบบกาวกระโดด นอกจากการดําเนินงานตามระบบประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยแลว บางหนวยงานไดพัฒนาระบบ

ประกันคุณภาพที่สอดคลองกับสาขาวิชาชีพและไดรับการรับรองคุณภาพ ดังนี้ ศูนยคอมพิวเตอรไดรับการ

รับรอง ISO 9001:2000, ศูนยเครื่องมือวิทยาศาสตรไดรับการรับรอง ISO 9001:2000 และ ISO/IEC 17025:1999 (มอก. 17025-2548), โรงพยาบาลสงขลานครินทร คณะแพทยศาสตร ไดรับรางวัลการบริหารสูความเปนเลิศ ประจําป 2550 (Thailand Quality Class 2007-TQC) จากสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ และไดรับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation) จากสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล

ในปงบประมาณ 2553 มหาวิทยาลัยไดทําขอตกลงกับ ก.พ.ร. เพื่อขับเคลื่อนระบบบริหารจัดการภาครัฐ(Public Management Quality Award: PMQA) และไดเขารวมโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสูความเปนเลิศ (The 2009-2010 Education Criteria for Performance Excellence = EdPEx) ซึ่งเปนกรอบมาตรฐานเดียวกันกับ Thailand Quality Award (TQA) โดยมีคณะเภสัชศาสตรเขารวมโครงการนํารอง และในปการศึกษา 2553 หนวยงานสนับสนุนเทียบเทาคณะ ซึ่งไดแก สถาบัน/ศูนย/สํานัก ขับเคลื่อนระบบคุณภาพตามกรอบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสูความเปนเลิศ โดยอาศัยความรวมมือรวมใจและความเพียรพยายามของผูบริหารและบุคลากรทุกฝาย เพื่อ “นํามหาวิทยาลัยสูความเปนเลิศระดับสากล”

1.10.8 การพัฒนามหาวิทยาลัยสูระดับสากล จากการศึกษาและรวบรวมขอมูลการจัดอันดับสถาบันการศึกษาในรอบปการศึกษา 2553/ปงบประมาณ 2553 มหาวิทยาลัยไดรับการยอมรับทางวิชาการดวยกระบวนการเทียบเคียงสมรรถนะตามมาตรฐานสากลทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ โดยไดรับการจัดอันดับเปนสถาบันการศึกษาชั้นนําของโลก ดังนี้ 1) ระดับสถาบัน

1.1) The Webometrics Ranking of World Universities โดย Cybermetrics Lab (CINDOC), a unit of the National Research Council (CSIC), Spain วันเดือนปท่ีจัดอันดับ มกราคม 2554

Top World Rank (3,000 อันดับ) ไดรับการจัดอันดับที่ 324 Top Asia Rank (100 อันดับ) ไดรับการจัดอันดับที่ 36 Top South East Asia Rank (100 อันดับ) ไดรับการจัดอันดับที่ 2 Top Thailand ไดรับการจัดอันดับที่ 1

1.2) QS World University Ranking 2010 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรไดรับการจัดอันดับที่ 501-550

1.3) QS Asian University Ranking 2010 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรไดรับการจัดอันดับที่ 95

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

18

Page 25: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

2) ระดับสาขาวิชา 2.1) QS World University Ranking 2010

By Subject Area สาขา IT and Engineering ไดรับการจัดอันดับที่ 351-400

2.2) QS Asian University Ranking 2010 By Subject Area สาขา IT and Engineering ไดรับการจัดอันดับที่ 76 สาขา Life sciences&biomedicine ไดรับการจัดอันดับที่ 53 สาขา Social sciences ไดรับการจัดอันดับที่ 94 สาขา Natural sciences ไดรับการจัดอันดับที่ 70 สาขา Arts and Humanities ไดรับการจัดอันดับที่ 84 By Criteria Academic Paper Review ไดรับการจัดอันดับที่ 67 Citation per Faculty ไดรับการจัดอันดับที่ 156 Employer Review ไดรับการจัดอันดับที่ 67 International Faculty ไดรับการจัดอันดับที่ 201+ International Students ไดรับการจัดอันดับที่ 201+ Student Faculty Ratio ไดรับการจัดอันดับที่ 201+

1.11 ผลการดําเนินงานตามขอเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก และรอบสอง

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรใหความสําคัญตอการนําผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกมากําหนดแนว

ทางการพัฒนาอยางเปนรูปธรรม โดยที่ประชุมคณะกรรมการอํานวยการขับเคลื่อนยุทศาสตร มีมติใหมหาวิทยาลัย/คณะ/หนวยงานใหความสําคัญกับผลการประเมินคุณภาพทุกระดับ โดยกําหนดใหนําผลการประเมินที่เปนขอเสนอแนะ/ขอสังเกตดําเนินการดังนี้

1. ทบทวน กลั่นกรอง คัดเลือก จัดลําดับความสําคัญ และกําหนดแนวทางพัฒนา ผูรับผิดชอบ ระยะเวลาดําเนินการจนถึงแลวเสร็จ ภายหลังจากไดรับรายงานผลการประเมินคุณภาพทุกระดับแลว

2. กําหนดใหมีวาระรายงานความกาวหนาในการนําผลการประเมินมาพิจารณาเปนวาระประจําในการประชุม

คณะกรรมการประกันคุณภาพทุกครั้ง ทั้งในระดับภาควิชา/คณะ/หนวยงานและมหาวิทยาลัยเพื่อใหผูรับผิดชอบไดรายงานผลการดําเนินการเปนระยะ

3. การติดตามผลการพัฒนา 3.1. ระดับภาควิชาและระดับคณะนําแจงเพื่อรายงานความกาวหนาเพื่อทราบและรับฟงขอเสนอแนะในคณะกรรมการ

ประกันคุณภาพภาควิชา/คณะทุก 6 เดือน 3.2. ระดับมหาวิทยาลัย นําแจงเพื่อรายงานความกาวหนาในคณะกรรมการอํานวยการขับเคลื่อนยุทศาสตรทุก 6 เดือน

และแจงเพื่อทราบในคณะกรรมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพเพื่อรับฟงอเสนอแนะ เมื่อครบรอบ 1 ป สรุปผลการพัฒนาลงในรายงานการประจําปการประเมินคุณภาพของแตละคณะ/หนวยงาน/

มหาวิทยาลัย

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

19

Page 26: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

1.12 ผลงานที่ไดรับรางวัลระดับชาติ และนานาชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เปนสถาบันการศึกษาระดับสูง ทําหนาที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และทํานุบํารุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเปนฐาน ในปการศึกษา 2553 ที่ผานมา นักศึกษา

อาจารย และบุคลากร ไดสรางผลงานและรางวัลที่สรางชื่อเสียงใหกับมหาวิทยาลัยจํานวนมาก รายละเอียดดังนี้

นักวิจัยที่ไดรับผลงานระดับชาติและนานาชาติ

ลําดับที่

คํานําหนาชื่อ

นักวิจัยหลัก/อาจารยที่ปรึกษา/ผูประดิษฐ

นักวิจัยรวม/อาจารยที่ปรึกษารวม/ผูประดิษฐรวม

ภาควิชา/สาขาวิชา คณะ ชื่อผลงาน ชื่อรางวัล สถาบันจัดงาน/

ใหรางวัล

1 รศ.ดร. เจริญ นาคะสรรค เทคโนโลยียางและ

พอลิเมอร วิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี รางวัลวิทยาศาสตร

และเทคโนโลยี มูลนิธิโทเร ประเทศไทย

มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริมวิทยาศาสตร

ประเทศไทย

2 รศ.ดร. เจริญ นาคะสรรค เทคโนโลยียางและ

พอลิเมอร วิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี รางวัลสภาวิจัย

แหงชาติ: รางวัลนักวิจัยดีเดน

แหงชาติ ประจําป 2553 สาขาวิทยาศาสตร

กายภาพและ

คณิตศาสตร

สํานักงาน

คณะกรรมการวิจัย

แหงชาติ

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

20

Page 27: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่

คํานําหนาชื่อ

นักวิจัยหลัก/อาจารยที่ปรึกษา/ผูประดิษฐ

นักวิจัยรวม/อาจารยที่ปรึกษารวม/ผูประดิษฐรวม

ภาควิชา/สาขาวิชา คณะ ชื่อผลงาน ชื่อรางวัล สถาบันจัดงาน/

ใหรางวัล

3 รศ.ดร. เพริศพิชญ คณาธารณา 1. รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร 2. ดร.จงดี ธรรมเขต 3. นายศักดิ์ชัยบดี สังขแกว

เคมี วิทยาศาสตร อุ ปกรณ สกั ดส า ร

แบบไมโครที่ เปน

มิตรกับสิ่งแวดลอม

รางวัลสภาวิจัย

แหงชาติ : รางวัล ผลงานประดิษฐ

คิดคน ประจําป 2553 ดานวิทยาศาสตรเคมีและ

เภสัช รางวัลประกาศเกียรติคุณ

สํานักงาน

คณะกรรมการวิจัย

แหงชาติ

4 รศ.ดร. ศุภยางค วรวุฒิคุณชัย 1. นายสืบตระกูล วิเศษสมบัติ 2. ผศ.ดร.กนกวรรณ กิตตินิยม 3. ผศ.ดร.พจนีย ศรีมาโนชญ 4. ผศ.ดร.วิจิตร วงคล่ําซํา

วิทยาศาสตร อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ

ตรวจหา เชื้ อ แคม

ไพโลแบคเตอร

รางวัลสภาวิจัย

แหงชาติ : รางวัล ผลงานประดิษฐ

คิดคน ประจําป 2553 ดานเกษตรศาสตรและ

อุตสาหกรรมเกษตร รางวัลประกาศ

เกียรติคุณ

สํานักงาน

คณะกรรมการวิจัย

แหงชาติ

5 รศ. ธงชัย พันธเมธาฤทธิ์ 1. นางสาวกิ่งกานต เปาะทอง 2. นางสาวสุดารัตน อินทรนอย 3. นางสาวจิราภรณ ศรีพรม 4. นางสาวยุพา ฤทธิ์โต 5. นางสาวสาธิญา ดรุณศิลป

วิทยาศาสตร สื่ อ ก า ร เ รี ย นก า ร

สอน เกี่ ย วกั บการ

สรางเครื่องมือและ

วิธี ก าร วัดสํ าหรับ

ฟสิกส วัสดุโดยใช

รางวัลสภาวิจัย

แหงชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ

คิดคน ประจําป 2553 ดาน

สํานักงาน

คณะกรรมการวิจัย

แหงชาติ

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

21

Page 28: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่

คํานําหนาชื่อ

นักวิจัยหลัก/อาจารยที่ปรึกษา/ผูประดิษฐ

นักวิจัยรวม/อาจารยที่ปรึกษารวม/ผูประดิษฐรวม

ภาควิชา/สาขาวิชา คณะ ชื่อผลงาน ชื่อรางวัล สถาบันจัดงาน/

ใหรางวัล

6. นางสาวพีรพรรณ แพงรักษ 7. นางสาวนิภาพร ดําขุน 8. นางสาวสุธารัตน เกตุสิงห 9. นางสาวเมทินี ดุริยรัฐการ 10. นางสาวนอดใอนี พูลขาว 11. นางสาวสุไหลขอ โดหลี 12. นางสาวเยาวนุช มะธุระ 13. นางสาวจุฑารัตน บัวมีกลิ่น 14. นางสาวสุจารี ฤทธิภักดี 15. นางสาวศิรินพร แกวเมฆา

แลปวิวและวิชวล

เบสิก วิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี รางวัลประกาศเกียรติคุณ

6 ผศ.นพ. สุนทร วงษศิริ 1. นพ.ปรเมศวร สุวรรณโณ 2. นพ.วราห ยืนยงวิวัฒน 3. รศ.นพ.บุญสิน ตั้งตระกูลวนิช 4. ผศ.นพ.สิทธิโชค อนันตเสรี

ศัลยศาสตร ออรโธปดิกส

แพทยศาสตร อุปกรณชวยผ าตัด

โ ร ค พั ง ผื ด ก ด รั ด

เสนประสาทขอมือ "สงขลานครินทร"

รางวัลสภาวิจัย

แหงชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ

คิดคน ประจําป 2553 ดานวิทยาศาสตร

การแพทย รางวัลประกาศเกียรติคุณ

สํานักงาน

คณะกรรมการวิจัย

แหงชาติ

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

22

Page 29: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่

คํานําหนาชื่อ

นักวิจัยหลัก/อาจารยที่ปรึกษา/ผูประดิษฐ

นักวิจัยรวม/อาจารยที่ปรึกษารวม/ผูประดิษฐรวม

ภาควิชา/สาขาวิชา คณะ ชื่อผลงาน ชื่อรางวัล สถาบันจัดงาน/

ใหรางวัล

7 ผศ.ดร. สอาด ริยะจันทร

วิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีวัสดุ วิทยาศาสตร

นักวิทยาศาสตรรุน

ใหม ประจําป พ.ศ. 2553

มูลนิธิสงเสริม

วิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีในพระ

บรมราชูปถัมภ

8 ผศ.ดร. สอาด ริยะจันทร

วิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีวัสดุ วิทยาศาสตร

2010 TRF-CHE-SCOPUS Young Researcher Award ส า ข า Agricultural Sciences&Technology

สกว. สกอ. และหนวยงานจัดทํา

ฐานขอมูลอางอิง

สากล Scopus

9 ผศ.ดร. สาระ บํารุงศรี

ชีววิทยา วิทยาศาสตร

The Spallanzani Award 2010

North American Society for Bat Research Organization

10 รศ.นพ. พรพรต ลิ้มประเสริฐ

พยาธิวิทยา แพทยศาสตร Targeted Genomic Capture Arrays and high througput sequence for Autism Susceptibility Genes in Thai Multiplex Families

รางวัลทุนวิจัยอันดับ

ที่ 1 โครงการประกวดทุนวิจัย The Great Gigabase Grant (3Gs)

บริษัทโรชไดแอกโน

สติกส (ประเทศไทย) จํากัด รวมกับสถาบันวิจัยจีโนม ศูนยพันธุวิศวกรรม

และ

เทคโนโลยีชีวภาพ

แหงชาติ

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

23

Page 30: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่

คํานําหนาชื่อ

นักวิจัยหลัก/อาจารยที่ปรึกษา/ผูประดิษฐ

นักวิจัยรวม/อาจารยที่ปรึกษารวม/ผูประดิษฐรวม

ภาควิชา/สาขาวิชา คณะ ชื่อผลงาน ชื่อรางวัล สถาบันจัดงาน/

ใหรางวัล

with Autism Spectrum Disorder

11 ผศ. พิเชษฐ เปยรกลิ่น

ศิลปกรรม

ศาสตร วิ ห า ร แ ห ง จิ ต (Temple is Mind)

ทุ น ส ร า ง ส ร ร ค

ศิลปกรรม ศิลป พีระศ รี ค รั้ ง ที่ 10 โครงการเชิดชูเกียรติ

ศิลปนยอดเยี่ยมแหง

ประเทศไทย รางวัลศิ ล ป พี ร ะ ศ รี ประจําป 2553

มหาวิทยาลัย

ศิลปากร

12 รศ.ดร. ชาคริต ทองอุไร

วิศวกรรมเคมี วิศวกรรมศาสตร

ค น ดี สั ง ค ม ไ ท ย สาขาวิจัยและพัฒนา

พลังงาน

คณะกรรมการ

อํานวยการจัดงาน

รางวัลไทยและ

นิตยสารเสนทางไทย

13 รศ.ดร. พูนสุข ประเสริฐสรรพ 1. รศ.ดร.อลิศรา เรืองแสง (ม.ขอนแกน) 2. รศ.ดร.ภาวิณี ชัยประเสริ

เทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรม

เกษตร กลุ ม วิ จั ย เ พื่ อ ก า ร

พัฒนากระบวนการ

ผลิตไฮโดรเจนจาก

ร า ง วั ล กลุ ม วิ จั ย ดี

เยี่ยม ประจําป 2550 (รับรางวัล ป 2553)

สํานักงาน

คณะกรรมการการ

อุดมศึกษาแหงชาติ

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

24

Page 31: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่

คํานําหนาชื่อ

นักวิจัยหลัก/อาจารยที่ปรึกษา/ผูประดิษฐ

นักวิจัยรวม/อาจารยที่ปรึกษารวม/ผูประดิษฐรวม

ภาควิชา/สาขาวิชา คณะ ชื่อผลงาน ชื่อรางวัล สถาบันจัดงาน/

ใหรางวัล

(มจธ.) 3. ดร.สมพงศ โอทอง (ม.ทักษิณ) 4. ดร.ประไพพิศ ชัยรัตนมโนกร (ม.เกษตรศาสตร) 5. ดร.สุขสมาน สังโยคะ (ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม)

วัตถุดิบมวลชีวภาพ

โดยจุลินทรีย (สกอ.)

14 รศ.ดร. สุภิญญา ติ๋วตระกูล

เภสัชเวทและเภสัช

พฤกษศาสตร เภสัชศาสตร

2010 TRF-CHE-SCOPUS Young Researcher Award สาขา Life Sciences

สํานักงานกองทุน

สนับสนุนการวิจัย (สกว.) สํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา ( สกอ.) รวมกับสํานักพิมพ Elsevier (ผูจัดทําฐานขอมูล

วารสารวิชาการ

ระดับนานาชาติ Scopus)

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

25

Page 32: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่

คํานําหนาชื่อ

นักวิจัยหลัก/อาจารยที่ปรึกษา/ผูประดิษฐ

นักวิจัยรวม/อาจารยที่ปรึกษารวม/ผูประดิษฐรวม

ภาควิชา/สาขาวิชา คณะ ชื่อผลงาน ชื่อรางวัล สถาบันจัดงาน/

ใหรางวัล

15 รศ. อาซีซัน แกสมาน 1. รศ.ดร.เจริญ นาคะสรรค 2. ผศ.ดร.อดิศัย รุงวิชานิวัฒน 3. นายสมคิด ศรีสุวรรณ

เทคโนโลยียางและ

พอลิเมอร วิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี ตนแบบการผลิตน้ํา

ยางขนจาก

กระบวนการครีมมิ่ง

ในระดับ

อุตสาหกรรมและ

ตนแบบการ

ประยุกตใชงานใน

การทําน้ํายางเคลือบ

สระน้ําและสายยาง

ยืด

รางวัลผลงานวิจั ย

ดีเดน สกว. ประจําป 2553

สกว.

16 นาย สัมฤทธิ์ เรืองจันทร

รังสีวิทยา แพทยศาสตร เครื่องดันลําไส เ ห รี ย ญ ท อ ง Thailand Kaizen Award 2010

สมาคมสงเสริม

เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)

17 นางสาว กฤติกา หนูเกลี้ยง

โรงพยาบาลสงขลา

นครินทร แพทยศาสตร กางเกงผาออมซักได เหรียญเงิน Thailand

Kaizen Award 2010 สมาคมสงเสริม

เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)

18 นาง กาญจนา ยอดศรี

โรงพยาบาลสงขลา

นครินทร แพทยศาสตร หุนชวยนอง เหรียญเงิน Thailand

Kaizen Award 2010 สมาคมสงเสริม

เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

26

Page 33: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ขอมูลรางวัลจากการเสนอผลงานทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา

ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ระดับการศึกษา ชื่อผลงาน อาจารยที่ปรึกษา รางวัลที่ไดรับ สถาบันที่จัด ชื่อการประชุม

คณะทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรเกษตรเขตรอน

1. นางพรศิลป สีเผือก นักศึกษาระดับปริญญาเอก

ความหลากหลายของเชื้อ

ราที่ยอยสลายเศษซากตน

ยางพารา

รศ.ดร.วสันณ เพชรรัตน รศ.ดร.เสาวลักษณ พงษไพจิตร

ชมเชย ประเภทบรรยาย

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร การประชุมวิชาการพืช

สวนแหงชาติ ครั้งที่ 10 (18-20 พ.ค.54)

2. นายวิสุทธิ์ สิทธิฉายา นักศึกษาระดับปริญญาเอก

พลวัติประชากรของ

แมลงกลุมมอด (Coleoptera: Bostrichidae, Curculionidea, Platypodinea) และ ดวงกระดูกสัตวแมลง

ศัตรูมอด (Coleoptera: Cleridae) ในสวนทุเรียน

รศ.ดร.สุรไกร เพิ่มคํา*

ดีเยี่ยม ประเภทบรรยาย

คณะเกษตร ม.เกษตรศาสตร

การประชุมวิชาการพืช

สวนแหงชาติครั้งที่ 10 (18-20 พ.ค. 54)

สาขาวิชาพืชศาสตร 3. นายสมศักดิ์ โพธารส

นักศึกษาระดับปริญญาโท Inheritance of Resistance to Cowpea Aphid (Aphis craccivora Koch.) in Cowpea IT82E-16

รศ.ดร.จรัสศร ีนวลศรี*

ดี ประเภทบรรยาย

เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร รวมกับ University of Tsukuba

ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร

บั ณฑิ ต ศึ ก ษ า ส า ข า

เ ท ค โน โ ล ยี ชี ว ภ า พ

เกษตร ครั้งที่ 4 AG-BIO/PERDO (9-10 ธ.ค. 53)

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

27

Page 34: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ระดับการศึกษา ชื่อผลงาน อาจารยที่ปรึกษา รางวัลที่ไดรับ สถาบันที่จัด ชื่อการประชุม 4. นางสาวสุรีรัตน เย็นซอน

นักศึกษาระดับปริญญาเอก Biological Factors Affecting Gene Transformation in Embryogenic Callusof Oil Palm by Agrobacterium tumerfaciens

รศ.ดร.สมปอง เตชะโต*

ดี ประเภทบรรยาย

เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร รวมกับ University of Tsukuba

ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร

บั ณฑิ ต ศึ ก ษ า ส า ข า

เ ท ค โน โ ล ยี ชี ว ภ า พ

เกษตร ครั้งที่ 4 AG-BIO/PERDO (9-10 ธ.ค. 53)

สาขาวาริชศาสตร 5. นายนัทท นันทพงศ

นักศึกษาระดับปริญญาโท Effects of melamine on growth performance, histological changes and melamine residue in sex-reversed red tilapia (Oreochromis niloticus x O. mossambicus)

รศ.ดร.วุฒิพร พรหมขุนทอง* รศ.จินตมาศ สุวรรณจรัส

ดีเดน ประเภทบรรยาย

เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร

รวมกับ University of Tsukuba

ประชุมวิชาการ

บัณฑิตศึกษาสาขา

เทคโนโลยีชีวภาพ

เกษตร ครั้งที่ 4 AG-BIO/PERDO (9-10 ธ.ค. 53)

คณะวิทยาศาสตร สาขาวิชาเคมี

1. น.ส.สุจิตรา ภูระหงษ นักศึกษาปริญญาเอก

Synthesis of Template-based Polyaniline Nanowires Template-free Cauliflower by Electrodeposition

รศ.ดร.เพริศพิชญ คณาธารณา* รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร ดร.จงดี ธรรมเขต

ดีเดน ประเภทโปสเตอร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

The Second Regional Electrochemistry Meeting of South-East Asia on Applied Electrochemistry for Modern Life (16-19 พ.ย. 53)

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

28

Page 35: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ระดับการศึกษา ชื่อผลงาน อาจารยที่ปรึกษา รางวัลที่ไดรับ สถาบันที่จัด ชื่อการประชุม 2. นายโอภาส บุญเกิด

นักศึกษาปริญญาเอก

Cost-Effective Formaldehyde Sensing Device for Industry Applications

รศ.ดร.เพริศพิชญ คณาธารณา* รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร

Outstanding Oral Presentation Award ประเภทบรรยาย

ศูนยความเปนเลิศดาน นวัตกรรมทางเคมี

การประชุมวิชาการ

ศูนยความเปนเลิศดาน

นวัตกรรมทางเคมี ครั้งที่ 7 PERCH-CIC Congress VII (6-9 พ.ค. 54)

3. น.ส.อรวรรณ ทิพยมณี นักศึกษาปริญญาเอก

Capacitive Immunosensor Using para- Phenylenediamine Modified Electrode for HAS Detection

รศ.ดร.เพริศพิชญ คณาธารณา* รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร

Outstanding Poster Presentation Award ประเภทโปสเตอร

ศูนยความเปนเลิศดาน นวัตกรรมทางเคมี

การประชุมวิชาการ

ศูนยความเปนเลิศดาน

นวัตกรรมทางเคมี ครั้งที่ 7 PERCH-CIC Congress VII (6-9 พ.ค. 54)

4. น.ส.สุภาพร ดาวัลย นักศึกษาปริญญาเอก

Surface Plasmon Resonance Immunosensor for Melioidosis Detection

รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร* รศ.ดร.เพริศพิชญ คณาธารณา

Outstanding Poster Presentation Award ประเภทโปสเตอร

ศูนยความเปนเลิศดาน นวัตกรรมทางเคมี

การประชุมวิชาการ

ศูนยความเปนเลิศดาน

นวัตกรรมทางเคมี ครั้งที่ 7 PERCH-CIC Congress VII (6-9 พ.ค. 54)

5. น.ส.ธวัลรัตน กอบเกียรติถวิล นักศึกษาปริญญาโท

Synthesis, Characterizations and Fluoresent Properties of Chalcones and Heteroaryl Chalcone Derivertives

รศ.ดร.สุชาดา จันทรพรหมมา* รศ.ดร.ฉัตรชนก กะราลัย

Outstanding Poster Presentation Award ประเภทโปสเตอร

ศูนยความเปนเลิศดาน นวัตกรรมทางเคมี

การประชุมวิชาการ

ศูนยความเปนเลิศดาน

นวัตกรรมทางเคมี ครั้งที่ 7 PERCH-CIC Congress VII (6-9 พ.ค. 54)

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

29

Page 36: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ระดับการศึกษา ชื่อผลงาน อาจารยที่ปรึกษา รางวัลที่ไดรับ สถาบันที่จัด ชื่อการประชุม 6. น.ส.จรรยาภรณ ศิริกาญจน

นักศึกษาปริญญาโท

Spectrofluorometric Method for Determination of Phosphate in Concertraed Latex

ดร.ฐิติมา รุจิราลัย* ผศ.ดร.วิไลรัตน ชีวะเศรษฐธรรม

Outstanding Poster Presentation Award ประเภทโปสเตอร

ศูนยความเปนเลิศดาน นวัตกรรมทางเคมี

การประชุมวิชาการ

ศูนยความเปนเลิศดาน

นวัตกรรมทางเคมี ครั้งที่ 7 PERCH-CIC Congress VII (6-9 พ.ค. 54)

7. น.ส.สุจิตรา ภูระหงษ นักศึกษาปริญญาเอก

Ru/Rh-Carbon Fiber Microeletrode Biosensor for nsensitive Detection of a-Ketoglutarate

รศ.ดร.เพริศพิชญ คณาธารณา* รศ.ดร.ปณต ถาวรังกูร ดร.จงดี ธรรมเขต

Outstanding Oral Presentation Award ประเภทบรรยาย

ศูนยความเปนเลิศดาน นวัตกรรมทางเคมี

การประชุมวิชาการ

ศูนยความเปนเลิศดาน

นวัตกรรมทางเคมี ครั้งที่ 7 PERCH-CIC Congress VII (6-9 พ.ค. 54)

สาขาวิชาเคมีศึกษา 8. น.ส.ศิริกานต กันนัย

นักศึกษาปริญญาโท

1,3-Diol, B-Hydroxyketone and pyranone derivatives from the unidentified sea grassderived fungus PSU-ES83

ศ.ดร.วัชรินทร รกุขไชยศิริกุล* ดร.เยาวภา สุขพรมา

ดีเดน ประเภทโปสเตอร

ม.สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ

ประชุมวิชาการระดับ

นานาชาติ "7th IMT-GT UNINET and the 3rd Joint International PSU-UNS Conferences" (7-8 ต.ค. 53)

9. น.ส.ศิริกานต กันนัย นักศึกษาปริญญาโท

Pyranone Derivertives from the Seagrass-derived Fungus Polyporales PSU-ES83

ศ.ดร.วัชรินทร รกุขไชยศิริกุล* ดร.เยาวภา สุขพรมา

Outstanding Poster Presentation Award ประเภทโปสเตอร

ศูนยความเปนเลิศดาน นวัตกรรมทางเคมี

การประชุมวิชาการ

ศูนยความเปนเลิศดาน

นวัตกรรมทางเคมี ครั้งที่ 7 PERCH-CIC

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

30

Page 37: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ระดับการศึกษา ชื่อผลงาน อาจารยที่ปรึกษา รางวัลที่ไดรับ สถาบันที่จัด ชื่อการประชุม Congress VII

(6-9 พ.ค. 54)

สาขาวิชาเคมีอินทรีย 10. นายศรัณยู ใคลคลาย

นักศึกษาปริญญาเอก

Cytochalasin, Quinone, Succinicacid and Tetralone Derivatives from the Mangrove-derived Fungus Xylariales PSU-MA34

ศ.ดร.วัชรินทร รกุขไชยศิริกุล* ดร.เยาวภา สุขพรมา

ดีเดน ประเภทโปสเตอร

ม.สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ

ประชุมวิชาการระดับ

นานาชาติ "7th IMT-GT UNINET and the 3rd Joint International PSU-UNS Conferences" (7-8 ต.ค. 53)

11. นายธานินทร ทัดระเบียบ นักศึกษาปริญญาโท

โฟโตเคมีของสารละลาย

ไอโอดีนและไทเทเนียม

ออกซาเลต

รศ.ดร.สัมพันธ วงศนาวา*

ดีเดน ประเภทโปสเตอร

ม.ศรีนครินทรวิโรฒ

Pure Applied Chemistry Conference 2011 (PACCON 2010) (5-7 ม.ค. 54)

สาขาวิชาจุลชีววิทยา 12. น.ส.จุฑาทิพย จีนแกวเปยม

นักศึกษาปริญญาโท

Endophytic Fungi from Rhodomyrtus tomentosa (Ait.) Hassk. Which Produced Antimicrobial Substances

รศ.ดร.เสาวลักษณ พงษไพจิตร* ดร.จริยา สากายโรจน

Outstanding Oral Presentation Award ประเภทบรรยาย

ศูนยความเปนเลิศดาน นวัตกรรมทางเคมี

การประชุมวิชาการ

ศูนยความเปนเลิศดาน

นวัตกรรมทางเคมี ครั้งที่ 7 PERCH-CIC Congress VII (6-9 พ.ค. 54)

สาขาวิชาชีวเคมี 13. น.ส.แววฤดี แววทองรักษ

นักศึกษาปริญญาเอก ประสิทธิภาพของไคโต

ซานในการควบคุมโรค

ผศ.ดร.วิจิตรา ลีละศุภกุล* ดร.ศุภชัย ภิสัชเพ็ญ

ดีเดน ประเภทบรรยาย

ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยี

หลังการเก็บเกี่ยว ม.งานสัมมนาวิชาการ

วิทยาการหลังการเก็บ

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

31

Page 38: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ระดับการศึกษา ชื่อผลงาน อาจารยที่ปรึกษา รางวัลที่ไดรับ สถาบันที่จัด ชื่อการประชุม เนาราเชียว (Penicilium

digitatum Sacc.) หลังการเก็บเกี่ยวของผลสมโชกุน

เชียงใหม

เกี่ยวแหงชาติ ครั้งที่ 8 (1-3 ก.ย. 53)

สาขาวิชาชีววิทยา 14. นายธรรมรัตน พุทธไทย

นักศึกษาปริญญาเอก

อัดไวในเรซิ่น? พืชวงศสมกุง

รศ.ดร.กิติเชษฐ ศรีดิษฐ*

รางวัลแหงความ

พยายาม และความสําเร็จเปนครั้ง

แรกของประเทศไทย ประเภทสื่อเผยแพร

โครงการพัฒนาองค

ความรู และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากร

ชีวภาพในประเทศไทย

งานประชุมวิชาการ

ประจําปโครงการ BRT ครั้งที่ 14 (10-12 ต.ค. 53)

15. น.ส.จารุวรรณ มะยะกูล นักศึกษาปริญญาเอก

The effects of nutrient enrichment and herbivory on growth, reproduction, and chemical defense of Turbinaria conoides (J. Agardh) Kutzing

ผศ.ดร.อัญชนา ประเทพ* Ass.Prof.Dr.Kim Jeong Ha Ass.Prof.Dr.Brian Edward Lapointe

รองชนะเลิศอันดับที่ 2 ประเภทโปสเตอร

โครงการพัฒนาองค

ความรูและศึกษานโยบาย

การจัดการทรัพยากร

ชีวภาพแหงประเทศไทย (BRT)

การประชุมวิชาการ

สาหรายและแพลงก

ตอนแหงชาติ ครั้งที่ 5 (16-18 มี.ค. 54)

16. น.ส.สุภัทรา พงศภราดร นักศึกษาปริญญาเอก

พลิ้วไหว ใตสายน้ํา

ผศ.ดร.อัญชนา ประเทพ*

ชนะเลิศ อันดับ 1 ประเภทภาพถาย

โครงการพัฒนาองค

ความรูและศึกษานโยบาย

การจัดการทรัพยากร

ชีวภาพแหงประเทศไทย (BRT)

การประชุมวิชาการ

สาหรายและแพลงก

ตอนแหงชาติ ครั้งที่ 5 (16-18 มี.ค. 54)

สาขาวิชาชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ 17. นายวีรยุทธ อยูทอง

นักศึกษาปริญญาโท Characterization of the White Spot Syndrome

รศ.ดร.วิไลวรรณ โชติเกียรติ*

ยอดเยี่ยม ประเภทบรรยาย

ม.สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ

ประชุมวิชาการระดับ

นานาชาติ "7th IMT-GT

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

32

Page 39: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ระดับการศึกษา ชื่อผลงาน อาจารยที่ปรึกษา รางวัลที่ไดรับ สถาบันที่จัด ชื่อการประชุม Viral Binding Protein

UNINET and the 3rd

Joint International PSU-UNS Conferences" (7-8 ต.ค. 53)

18. น.ส.อุมาพร ขิมมากทอง นักศึกษาปริญญาเอก

DNA Vaccine for White Spot Syndrome Virus Infection in Litopenaeus Vannamei

รศ.ดร.วิไลวรรณ โชติเกียรติ*

ดีเดน ประเภทโปสเตอร

ม.สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ

ประชุมวิชาการระดับ

นานาชาติ "7th IMT-GT UNINET and the 3rd Joint International PSU-UNS Conferences" (7-8 ต.ค. 53)

19. น.ส.มลวดี วงศลาภสุวรรณ นักศึกษาปริญญาเอก

Conservation Function of Ribosomal Protein L10A in Oogenesis Progression between Shrimp and Insect

รศ.ดร.วิไลวรรณ โชติเกียรติ*

Outstanding Oral Presentation Award ประเภทบรรยาย

สํานักงานกองทุน

สนับสนุนการวิจัยโดย

เครือขายโครงการปริญญา

เอกกาญจนาภิเษก

การประชุมวิชาการ

โครงการปริญญาเอก

กาญจนาภิเษก ครั้งที่ 12 (1-3 เม.ย. 54)

สาขาวิชานิเวศวิทยา (นานาชาติ) 20. น.ส.เปมิกา อภิชนังกูร

นักศึกษาปริญญาโท

ปลูกหญาทะเลอยางไรให

ยั่งยืน

ผศ.ดร.อัญชนา ประเทพ*

ดีเดน ประเภทบรรยาย

โครงการพัฒนาองค

ความรูและศึกษานโยบาย

การจัดการทรัพยากร

ชีวภาพใน ประเทศไทย

งานประชุมวิชาการ

ประจําปโครงการ BRT ครั้งที่ 15 (10-12 ต.ค. 53)

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

33

Page 40: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ระดับการศึกษา ชื่อผลงาน อาจารยที่ปรึกษา รางวัลที่ไดรับ สถาบันที่จัด ชื่อการประชุม

สาขาวิชาเภสัชวิทยา 21. น.ส.จารุวรรณ ประดับแสง

นักศึกษาปริญญาโท Bioequivalence Study of a Generic Quetiapine (Ketipinor) and the Innovator Preparation (Seroquel) 200 Mg Given Orally in Healthy Thai Male volunteers

รศ.วีรวัฒน มหัทธนตระกูล* รศ.วิบูลย ฤทธิทศิ ผช.ดร.วิวัฒน พิชญากร

ลําดับที่ 1 ประเภทโปสเตอร

ม.ขอนแกน

The 4th Sino-Thai Conference on Traditional Medicine and Natural Products (11-13 ก.ค. 53)

สาขาวิชาฟสิกส 22. นายอับดุลมุตตา ธาตรีบุตร

นักศึกษาปริญญาเอก

First-principles Study of The Electronic and The Structural Properties of Ferroelectrics Oxides

รศ.ดร.เทพอักษร เพ็งพันธ*

Best Paper Award ประเภทบรรยาย

สมาคมวิทยาการและ วิศวกรรมเชิงคอมพิวเตอร

The 15th International Annual Symposium on Computational Science and Engineering (30 มี.ค.-1 เม.ย. 54)

สาขาวิชาสัตววิทยา 23. น.ส.อุไรพร พิมสาย

นักศึกษาปริญญาโท

สัตวเลี้ยงลูกดวยนม

ขนาดเล็ก ในพี้นที่ปกปกพันธุกรรมพืช เขื่อนรัชชประภา จังหวัด สุราษฎรธานี

ผศ.ดร.สาระ บํารุงศรี* Dr.Paul Bates รศ.ดร.จุฑามาส ศตสุข

ชนะเลิศ โปสเตอร (ชมเชย) ประเภทโปสเตอร

ม.นเรศวร จ.พิษณุโลก

การประชุมอนุกรม วิธานและซีสเทมาติคส ในประเทศไทย ครั้งที่ 1 (2-4 พ.ค. 54)

24. นายภูริพงศ เมฆสุวรรณ นักศึกษาปริญญาโท

ปญหาทางอนุกรมวิธาน

ของ Sessile rotifers

รศ.ดร.พรศิลป ผลพันธิน* Dr.Hendrik Seger

ชนะเลิศ บรรยาย (ชมเชย) ประเภทบรรยาย

ม.นเรศวร จ.พิษณุโลก

การประชุมอนุกรม วิธานและซีสเทมาติคส ในประเทศไทย ครั้งที่ 1 (2-4 พ.ค. 54)

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

34

Page 41: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ระดับการศึกษา ชื่อผลงาน อาจารยที่ปรึกษา รางวัลที่ไดรับ สถาบันที่จัด ชื่อการประชุม

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สาขาวิชาวิทยาศาสตรการอาหารและโภชนาการ

1. น.ส.สุธีรา ศรีสขุ นักศึกษาปริญญาโท

การคัดเลือกยีสตจากกลา

เชื้อขนมถวยฟูพี้นบาน

ผศ.ดร.จารุวรรณ มณีศรี* ดร.พายัพ มาศนิยม

ดีเดน ประเภทโปสเตอร

ม.นเรศวร

การประชุมวิชาการ

วิทยาศาสตรวิจัย ครั้งที่ 3 (14-15 มี.ค. 54)

คณะวิศวกรรมศาสตร สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา

1. นายตาย บัณฑิศักดิ์ นักศึกษาปริญญาเอก

The Investigation of Artificial Neural Network Design for Neonatal Hyperbilirubinamia Diagnosis

รศ.บุญเจริญ วงศกิตติศึกษา*

ดีเดน ประเภทโปสเตอร

ม.เทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ

Electrical Engineering Network 2011 (9-11 มี.ค. 54)

2. นายจินดา สามัคคี นักศึกษาปริญญาเอก

การตรวจจับ

องคประกอบฮารมอนิ

กจากสารเพิ่มความ คมชัด สําหรับอัลตราซาวดดวยวิธีพัลสอิน

เวอรชั่น

ผศ.ดร.พรชัย พฤกษภัทรานนต* ผศ.ดร.กิตติพัฒน ตันตระรุงโรจน

ดีเดน ประเภทโปสเตอร

ม.เชียงใหม

การประชุมวิชาการ

วิศวกรรมวิจัยเพื่อการ พัฒนาประเทศ ครั้งที่ 1 (1 เม.ย. 54)

สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและระบบ 3. นายมูหามัด เตะยอ

นักศึกษาปริญญาโท

การเชื่อมเสียดทานแบบ

กวนของอะลูมิเนียมผสม

ตางชนิด

รศ.สมชาย ชูโฉม* ผศ.ดร.ประภาศ เมืองจันทรบุรี

ยอดเยี่ยม รองชนะเลิศอันดับ 2 ประเภทโปสเตอร

ม.อุบลราชธานี รวมกับ ม.เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุร ี

ขายงานวิศวกรรม

อุตสาหการประจําป 2553

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

35

Page 42: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ระดับการศึกษา ชื่อผลงาน อาจารยที่ปรึกษา รางวัลที่ไดรับ สถาบันที่จัด ชื่อการประชุม ระหวางอะลูมิเนียมหลอ

กึ่งของแข็ง 356 กับอะลูมิเนียม ผสม AA 6061-T651 โดยใชเครื่องจักรกลแบบ

อัตโนมัติ

(13-15 ต.ค. 53)

คณะพยาบาลศาสตร สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล

1. นางชไมพร สินธุอุทัย นักศึกษาปริญญาโท

ประเด็นความขัดแยงทาง

จริยธรรม และการตัดสินใจเชิงจริยธรรม จากประสบการณของ

พยาบาลเวรตรวจการที่

ปฏิบัติงานใน

โรงพยาบาลทั่วไป ทามกลางสถานการณ

ความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนใต

รศ.ดร.อรัญญา เชาวลิต* ผศ.ดร.ทัศนีย นะแส

ยอดเยี่ยม

ศูนยนโยบายและผลลัพธ ทางการพยาบาลศาสตร ม.เชียงใหม

งานประชุมวิชาการ

ระดับชาติ นโยบาย สุขภาพ ภาวะผูนํา และการจัดการทางการ

พยาบาล (8-9 พ.ย. 53)

สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก 2. น.ส.ทิพวรรณ นําเจริญ

นักศึกษาปริญญาโท

ผลของการสอนโดยใช

สื่อหนังสือการตูน

สําหรับฝกบริหารการ

หายใจและใชยาสูดพน

ตอการควบคุมโรคหอบ

ผศ.ดร.วันธณี วิรุฬหพานิช* ผศ.ดร.มยุรี นภาพรรณสกุล

ดีเดน ประเภทบรรยาย

ม.ทักษิณ

การประชุมวิชาการ

ระดับชาติเครือขาย วิจัยสถาบันอุดมศึกษา

ทั่วประเทศ ประจําป 2554 และการประชุม

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

36

Page 43: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ระดับการศึกษา ชื่อผลงาน อาจารยที่ปรึกษา รางวัลที่ไดรับ สถาบันที่จัด ชื่อการประชุม หืดในเด็กวัยเรียน

วิชาการ และเสนอผลงานวิจัย ม.ทักษิณ ครั้งที่ 21 (25-28 พ.ค. 54)

คณะแพทยศาสตร สาขาวิชาระบาดวิทยา

1. น.ส.ดาริกา ใสงาม นักศึกษาปริญญาเอก

ความสัมพันธระหวาง

พฤติกรรมการดื่มสุรา

และสูบบุหรี่กับ

พฤติกรรมเสี่ยงตอ

สุขภาพของนักเรียน

มัธยมศึกษาในประเทศ

ไทย

รศ.ดร.สาวิตรี อัษณางคกรชัย* Dr.Alna Geater

ดีเดน ประเภทบรรยาย

ศูนยวิจัยปญหาสุรา

การประชุมวิชาการสุรา

ระดับชาติ ครั้งที่ 6 (22-23 พ.ย. 53)

คณะเภสัชศาสตร สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม

1. นายวิชัย สันติมาลีวรกุล นักศึกษาปริญญาเอก

Molecular Epidemiology of Clostridium Difficile and Prevalence of the NAP-1 Strain Among Patients Admitted to a General and a Private Hospital in Houston, Texas, USA

รศ.ดร.โพยม วงศภูวรักษ* Asst.Prof.Kevin w.Garey

Tom Bergan Memorial Awards ประเภทโปสเตอร

เมืองมิลาน ประเทศอิตาลี

27th International Congress of Chemotherapy / 21st European Congress of Clinical Microbiology and Infectious Diseases (1-10 พ.ค. 54)

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

37

Page 44: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ระดับการศึกษา ชื่อผลงาน อาจารยที่ปรึกษา รางวัลที่ไดรับ สถาบันที่จัด ชื่อการประชุม

สาขาวิชาเภสัชศาสตร 2. นายอภิชาต อธิไภริน

นักศึกษาปริญญาเอก

The RING Heterodimer BRCA1-BARD1 is a Ubiquitin Ligase Inactivated by Platinum-Based Anticancer Drugs

รศ.ดร.อดิศร รัตนพันธ* ผศ.ดร.ภูธร แคนยุกต

ชนะเลิศ ประเภทบรรยาย

บริษัท Merck Ltd.(Thailand)

Merck Young Scientist Award 2010 (18 พ.ย. 53)

3. น.ส.นภัสสร ฉันทธํารงศิริ นักศึกษาปริญญาเอก

New Formamide Diterpenes from the Thai Sponge Stylissa sp.

ผศ.ดร.อนุชิต พลับรูการ*

ดี ประเภทบรรยาย

ม.รังสิต

The Third International Conference on Natural Products for Health and Beauty (NATPRO3) (16-18 มี.ค. 54)

สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินิก 4. น.ส.รัชฎาภรณ โชติเวทยศิลป

นักศึกษาปริญญาโท การวิเคราะหระบบการ

จัดการขอมูลดวย

คอมพิวเตอรใน หนวยไตเทียม โรงพยาบาลสงขลา

นครินทร

รศ.ดร.โพยม วงศภูวรักษ* ผศ.พงศศักดิ์ ดานเดชา

ดี ประเภทโปสเตอร

บัณฑิตวิทยาลัย ม.ขอนแกน

การประชุมวิชาการ

เสนอผลงานวิจัยระดับ

บัณฑิตวิทยาลัยครั้งที่ 12 (28 ม.ค. 54)

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

38

Page 45: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ขอมูลรางวัลจากการเสนอผลงานทางวิชาการ ระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา

ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ระดับการศึกษา ชื่อผลงาน อาจารยที่ปรึกษา รางวัลที่ไดรับ สถาบันที่จัด ชื่อการประชุม

คณะศิลปะศาสตร สาขาภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร

1. นางสาวเกศสุดา ไทยประดิษฐ นักศึกษาชั้นปที่ 4

การแขงขันประกวดสุนทร

พ จ น ภ า ษ า จี น ระดับอุดมศึกษา "สะพานสูภาษาจีน" ครั้งที่ 10 รอบชิงชน ะ เ ลิ ศ ร ะ ดั บ ป ร ะ เ ท ศ หัวขอ “Bridge of Friendship, Resonance of Passion”

รางวัลอันดับ 3 จากผูเขาแ ข ง ขั น 1 9 สถาบันการศึกษา

สํานักงานสงเสริมการ

เรียนการสอนภาษาจีน

นานาชาติประจําประเทศ

ไทย (Hanban) รวมกับสํานักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

โ ร ง แ ร ม รั ช ด า ซิ ตี้ กรุงเทพมหานคร (10 มิ.ย. 54)

คณะวิศวกรรมศาสตร 1. นางสาวจินดาภรณ ก า ร เ ล น เ ก ม ส ด ว ย

biofrrdback จากสัญญาไฟฟากลามเนื้อ เพื่อชวยเสริมสรางและฟ นฟู ค ว ามแข็ ง แ ร ง

ให กั บ กล า ม เ นื้ อ Tibialis Anterior

ผศ.ดร.พรชัย พฤกษภัทรานนต และรศ.บุญเจริญ วงศกิตติศึกษา

ศู น ย เ ท ค โ น โ ล ยี

อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส แ ล ะ

คอม พิ ว เ ตอร แห ง ช าติ สํ า นั ก ง า น พั ฒ น า

วิ ท ย า ศ า ส ต ร แ ล ะ

เ ท ค โ น โ ล ยี แ ห ง ช า ติ ร ว ม กั บ Singapore Therapeutic ,Assistive&Rehabilitative Technologies (START) Centre

การแขงขันโครงงานของ

นักศึกษา(Student Design Challenge :SDC) งาน

ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร ด า น

วิ ศ ว ก ร ร ม ก า ร ฟ น ฟู

ส ม ร ร ถ ภ า พ แ ล ะ

เทคโนโลยีสิ่ ง อํ านวย

ความสะดวกสําหรับคน

พิการ (i-CREATe 2011)

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

39

Page 46: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที่ ชื่อ-สกุล ระดับการศึกษา ชื่อผลงาน อาจารยที่ปรึกษา รางวัลที่ไดรับ สถาบันที่จัด ชื่อการประชุม สาธารณรัฐสิงคโปร

คณะอุตสาหกรรมเกษตร 1. Mr.Nilesh Nirmal

นักศึกษาระดับปริญญาเอก Leucaena Leucocephala Seed : Minosine Extraction Formation in Pacific White Shrimp

ศ.ดร.สุทธวัฒน เบญจกุล รางวัลชนะเลิศ บริษัท ALLTECH BIOTECHLOGY CORP.,LTD

Alltech young scientist

2. Mr.Sajid Maqsood Emerging role of Plant Polyphenols as the Alternative Natur

ศ.ดร.สุทธวัฒน เบญจกุล รางวัลผูชนะอันดับสาม บริษัท ALLTECH BIOTECHLOGY CORP.,LTD

Alltech young scientist

คณะวิทยาศาสตร 1. นางสาวปยวรรณ ศรีแกว และ

นายภรัณยู อานนท ระบบอัตโนมัติในการบันทึก

ขอมูลจากบัตรประชาชน อ.เถกิง วงศศิริโชติ รางวัลผลงานโดดเดน

ดาน Aritificial Intelligence

มูลนิธิวิจัยเทคโนโลยี

สารสนเทศ (มส.) หรือ Foundation for Research in Information Technology (FRIT)

"ร า ง วั ล เ จ า ฟ า ไ อ ที รัตนราชสุดา สารสนเทศ ครั้งที่ 6"

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

40

Page 47: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

2. สรุปคะแนนประเมิน

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

41

Page 48: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

42

Page 49: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

2. สรุปคะแนนประเมิน

ประเภทตัวบงชี้ จํานวนตัวบงชี้ คาเฉลี่ยท่ีได ผลการประเมิน กลุมตัวบงช้ีพื้นฐาน 15 4.49 ดี กลุมตัวบงช้ีอัตลักษณ 2 (3) 4.71 ดีมาก กลุมตัวบงช้ีมาตรการสงเสริม 1 (2) 5.00 ดีมาก กลุมตัวบงช้ีพันธกิจหลักของสถานศึกษา (ตัวบงช้ี 1-11) 11 4.65 ดีมาก

ภาพรวม 18 (20) 4.57 ดีมาก

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

43

Page 50: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

44

Page 51: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

3. แบบฟอรมคํานวณคะแนน

ผลการประเมินคุณภาพภายนอก

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

45

Page 52: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

46

Page 53: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

3. แบบฟอรมคํานวณคะแนนผลการประเมินคุณภาพภายนอกเชิงปริมาณ

รายละเอียดตัวตั้ง ขอมูล ขอมูล ผลการ

รายละเอียดตัวหาร ปกศ. 2553 ถวงน้ําหนัก ดําเนินงาน 1 2 3 4 5

ตัวบงชี้พื้นฐาน 4.49

ดี

ดานคุณภาพบัณฑิต 4.55

1. บัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป จํานวนบัณฑิตที่ไดงานทําฯ 4,083.00 84.48 4.22 4.22 ดีมาก

จํานวนบัณฑิตที่ตอบฯ 4,833.00

2. คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา

แหงชาติ

ความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต 3.96 3.96 3.96

3. ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดบัปริญญาโทที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร ถวงน้ําหนักผลงานฯ 378.75 40.04 8.01 5.00

คาน้ําหนัก 0.125 0.00 0.00

คาน้ําหนัก 0.25 461.00 115.25

คาน้ําหนัก 0.50 255.00 127.50

คาน้ําหนัก 0.75 116.00 87.00

คาน้ําหนัก 1.00 49.00 49.00

ผูสําเร็จการศึกษาป.โท 946.00

4. ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร ถวงน้ําหนักผลงานฯ 93.25 166.52 16.65 5.00

คาน้ําหนัก 0.125 0.00 0.00

คาน้ําหนัก 0.25 41.00 10.25

คาน้ําหนัก 0.50 4.00 2.00

คาน้ําหนัก 0.75 4.00 3.00

คาน้ําหนัก 1.00 78.00 78.00

ผูสําเร็จการศึกษาป.เอก 56.00

ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค 4.30

5. งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร คาเฉลี่ยคะแนนของทุกคณะ 4.02 4.02 4.02 ดี

ถวงน้ําหนักผลงานฯ 663.88 32.34

คาน้ําหนัก 0.125 1.00 0.13

คาน้ําหนัก 0.25 449.00 112.25

คาน้ําหนัก 0.50 87.00 43.50

คาน้ําหนัก 0.75 40.00 30.00

คาน้ําหนัก 1.00 478.00 478.00

อาจารยและนักวิจัยทั้งหมด 2,053.00

องคประกอบและตัวบงชี้

เชิงคุณภาพ

ผลการประเมินคะแนน

(ระบุเลข 1 ในขอที่มีการดําเนินงาน) จํานวนขอที่

ทําได

คิดคะแนน

เทียบเกณฑ

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

47

Page 54: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

เชิงปริมาณ

รายละเอียดตัวตั้ง ขอมูล ขอมูล ผลการ

รายละเอียดตัวหาร ปกศ. 2553 ถวงน้ําหนัก ดําเนินงาน 1 2 3 4 5

องคประกอบและตัวบงชี้

เชิงคุณภาพ

ผลการประเมินคะแนน

(ระบุเลข 1 ในขอที่มีการดําเนินงาน) จํานวนขอที่

ทําได

คิดคะแนน

เทียบเกณฑ

6. งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน จํานวนงานวิจัย/สรางสรรค 436.00 21.24 5.31 5.00

อาจารยและนักวิจัยทั้งหมด 2,053.00

7. ผลงานวิชาการที่ไดรับการรับรองคุณภาพ ถวงน้ําหนักผลงานฯ 160.00 7.79 3.90 3.90

คาน้ําหนัก 0.25 65.00 16.25

คาน้ําหนัก 0.50 18.00 9.00

คาน้ําหนัก 0.75 121.00 90.75

คาน้ําหนัก 1.00 44.00 44.00

อาจารยและนักวิจัยทั้งหมด 2,053.00

ดานการบริการวิชาการแกสังคม 5.00

8. ผลการนําความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชในการพัฒนาการเรียน

การสอนและ/หรือการวิจัย

โครงการ/กิจกรรมพัฒนาการ

เรียนการสอนและการวิจัย

233.00 52.24 8.71 5.00 ดีมาก

โครงการ/กิจกรรมทั้งหมด 446.00

9. ผลการเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนหรือองคกรภายนอก 1 1 1 1 1 5 5.00

ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00

10. การสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและวัฒนธรรม 1 1 1 1 1 5 5.00 ดีมาก

11. การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม 1 1 1 1 1 5 5.00

ดานการบริหารและการพัฒนาสถาบัน 3.90

12. การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของสภาสถาบัน ผลประเมิน 4.16 4.16 4.16 ดี

13. การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของผูบริหารสถาบัน ผลประเมิน 4.09 4.09 4.09

14. การพัฒนาคณาจารย ถวงน้ําหนักของอาจารย 8,452.00 4.14 3.45 3.45

อาจารย-ตรี 87.50 0.00

อาจารย-โท 674.50 1,349.00

อาจารย-เอก 476.50 2,382.50

ผูชวยศาสตราจารย-ตรี 4.00 4.00

ผูชวยศาสตราจารย-โท 182.50 547.50

ผูชวยศาสตราจารย-เอก 327.00 1,962.00

รองศาสตราจารย-ตรี 0.00 0.00

รองศาสตราจารย-โท 53.00 265.00

รองศาสตราจารย-เอก 214.00 1,712.00

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

48

Page 55: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

เชิงปริมาณ

รายละเอียดตัวตั้ง ขอมูล ขอมูล ผลการ

รายละเอียดตัวหาร ปกศ. 2553 ถวงน้ําหนัก ดําเนินงาน 1 2 3 4 5

องคประกอบและตัวบงชี้

เชิงคุณภาพ

ผลการประเมินคะแนน

(ระบุเลข 1 ในขอที่มีการดําเนินงาน) จํานวนขอที่

ทําได

คิดคะแนน

เทียบเกณฑ

ศาสตราจารย-ตรี 0.00 0.00

ศาสตราจารย-โท 0.00 0.00

ศาสตราจารย-เอก 23.00 230.00

อาจารยทั้งหมด 2,042.00

ดานการพัฒนาและประกันคุณภาพภายใน 4.54

15. ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด ผลประเมินป 53 4.54 4.54 4.54 ดีมาก

ตัวบงชี้อัตลักษณ 4.71

16.1 ผลการบริหารสถาบันใหเกิดอัตลักษณ (นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม) 1 1 1 1 1 5 5.00 ดีมาก

16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ (นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม) ความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต 4.12 4.12 4.12

17. ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปนเอกลักษณของสถาบัน

(มหาวิทยาลัยวิจัย)

1 1 1 1 1 5 5.00

ตัวบงชี้มาตรการสงเสริม 5.00

18.1 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในประเด็นที่ 1 ภายในสถาบัน

(มหาวิทยาลัยสรางเสริมสุขภาพ)

1 1 1 1 1 5 5.00 ดีมาก

18.2 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในประเด็นที่ 2 ภายนอกสถาบัน (การ

จัดการทรัพยากรที่ยั่งยืน)

1 1 1 1 1 5 5.00

คาเฉลี่ยตัวบงชี้ที่ 1-11 ของ สมศ. 4.65

ดีมาก

คาเฉลี่ยตัวบงชี้ที่ 1-15 ของ สมศ. 4.49

ดี

คาเฉลี่ยทุกตัวบงชี้ของ สมศ. 4.57

ดีมาก

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

49

Page 56: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

50

Page 57: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

4. ผลการประเมินตนเอง

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

51

Page 58: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

52

Page 59: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

4. ผลการประเมินตนเอง

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานคณุภาพบัณฑิต

ตัวบงช้ีที่ 1 บัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทาํหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน ใชบัญญัติไตรยางศเทียบ กาํหนดรอยละ 100 เทากบั 5 คะแนน

หมายเหต ุไมนับรวมบัณฑิตที่มีงานทํากอนเขาศึกษาหรือมีกิจการของตนเองที่มีรายไดประจําอยูแลว ผูที่ศึกษาตอในระดับบัณฑิตศึกษา ผูอุปสมบท และผูที่เกณฑทหาร (หักออกทั้งตัวตั้งและตัวหาร)

เกณฑมาตรฐาน เชิงปริมาณ

ขอมูลพ้ืนฐาน ผลการดําเนินงาน

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีท้ังหมด (คน) 5,674.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีตอบแบบสํารวจ (คน) 5,413.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีไดงานทํา (คน) 3,762.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีประกอบอาชีพอิสระ (คน) 321.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีมีงานทํากอนเขาศึกษา (คน) 0.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีศึกษาตอ (คน) 580.00

รอยละของผูตอบแบบสํารวจเรื่องการมีงานทํา 95.40 หมายเหตุ : เปนผูสําเร็จการศึกษาปการศึกษา 2552 วิธีการคาํนวณ

จํานวนบัณฑิตปรญิญาตรีที่ไดงานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป

จํานวนบัณฑิตที่ตอบแบบสํารวจทั้งหมด

× 100

ผลการคํานวณ

4,083.00 4,833.00

× 100 = 84.48

ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 80 84.48 4.22 ไมบรรลุเปาหมาย ผลการดําเนินงาน 1. ขอมูลรอยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําภายใน 1 ป รวมทั้งการประกอบอาชีพอิสระ ไดจากการสํารวจขอมูลผานระบบ

ออนไลน ตั้งแตกลางเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน พ.ศ.2553 เปนการสํารวจขอมูลหลังจากบัณฑิตสําเร็จการศึกษาประมาณ 5-6 เดือน และการติดตามบัณฑิตที่ยังไมไดงานทําในชวงเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2554 เพื่อใหครบ 1 ป หลังสําเร็จการศึกษา พบวา บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาและรับปริญญารุนปการศึกษา 2552 ทั้งหมด 5,674 คน ตอบแบบสํารวจ 5,413 คน คิดเปนรอยละของผูตอบแบบ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

53

Page 60: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

สํารวจเรื่องการมีงานทําเทากับ 95.40 ไดงานทําและประกอบอาชีพอิสระ (ไมรวมบัณฑิตที่ศึกษาตอ) 4,083 คน คิดเปนรอยละ 84.48 ประเมินตนเองได 4.22 คะแนน

2. ในการดําเนินงานเพื่อใหตัวบงชี้นี้บรรลุมาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิตนั้น มหาวิทยาลัยไดดําเนินงานใหอยูในเกณฑมาตรฐาน และพยายามใหบรรลุเปาหมายตามที่ระบุในแผนการพัฒนามหาวิทยาลัยทั้งระดับมหาวิทยาลัยและกระจายความรวมมือไปยังวิทยาเขต คณะ และหนวยงานที่เกี่ยวของ ดังนี้ 2.1 การนํานโยบายและสาระสําคัญแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ป 2552-2556 ไปสูการปฏิบัติ

อยางตอเนื่อง โดยเฉพาะยุทธศาสตรที่สงเสริมและพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษาผานระบบเครือขาย และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในดานการบริหารจัดการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ โดยมีกลยุทธที่เกื้อหนุนใหเกิดการนํา และประยุกตใช ICT ในระบบการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้น และสรางกระบวนการเรียนรูผานระบบเครือขาย (E-Learning) อนัเปนผลใหมีส่ือการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส รายวิชาที่มีบริการบนระบบเครือขายสถานที่และหองเรียนในมหาวิทยาลัยสามารถเขาถึงระบบเครือขายมหาวิทยาลัยไดทุกที่เพิ่มขึ้น ซ่ึงสามารถนําไปสูการเปลี่ยนแปลงวิธีการเรียนการสอนอยางตอเนื่อง และประการสําคัญสงผลใหนักศึกษามีโอกาสไดงานทําเมื่อสําเร็จการศึกษาเพิ่มขึ้นดวย และจากการสํารวจความพึงพอใจของนายจางตอบัณฑิตดานเทคโนโลยีสารสนเทศมีเพิ่มสูงขึ้นทุกป นอกจากนี้มหาวิทยาลัยไดกําหนดใหมีการประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการผลิตบัณฑิตในทุกคณะ/หนวยงานของมหาวิทยาลัยใหมีระบบเครือขายส่ือสารขอมูล และคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพและเพียงพอ รวมถึงพัฒนาศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอนและการวิจัย เพื่อสนับสนุนการเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่องของนักศึกษา

2.2 การจัดบริการที่สนับสนุนการไดงานทําของนักศึกษาหลากหลายรูปแบบ เพื่อสงเสริมสนับสนุนและเปดโอกาสใหนักศึกษาไดเขาถึงแหลงงานมากขึ้น มหาวิทยาลัยมีบริการดานกิจการนักศึกษาที่มีคุณภาพ ซ่ึงไดดําเนินการอยางตอเนื่อง ไดแก การจัด 7 บริการที่เปนเลิศ ดําเนินงานโดยงานแนะแนวและจัดหางาน กองกิจการนักศึกษา โดยการทําเว็บไซตหางาน “PSU Job Search” (ดูรายละเอียดไดที่ http://student.psu.ac.th/jobssearch/) เปน เว็บไซตที่นักศึกษาสามารถฝากประวัติสวนตัวหรือคนหาตําแหนงงาน และสมัครงาน โดยมีผูประกอบการที่เปนสมาชิกสามารถติดตอรับนักศึกษาทํางานไดทันที และในการดําเนินการดังกลาวสงผลตอการไดงานทําของบัณฑิตที่ชัดเจน และเปนระบบที่ไดดําเนินการอยางตอเนื่อง

2.3 การเตรียมความพรอมใหบัณฑิตพรอมที่จะเขาสูตลาดแรงงาน รูวิธีการหางาน และการสรางงานอิสระ ซ่ึงไดดําเนินการทั้งในระดบัมหาวิทยาลัยและคณะ โดยมหาวิทยาลัยไดดําเนินการจัดกิจกรรมตางๆ อยางตอเนื่องทุกป เชน ปจฉิมนิเทศนักศึกษาทุกคณะ เพื่อใหขอมูลในการเตรียมความพรอมกอนเขาสูตลาดแรงงาน การเชิญหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และบริษัทเอกชนที่ประสงคจะรับบัณฑิตเขาทํางาน เขารวมโครงการตลาดนัดพบแรงงานที่จัดในมหาวทิยาลัยโดยไดรับความรวมมือและการประสานงานกันในระดับวิทยาเขตและคณะ การสงเสริมและสนับสนุนใหบัณฑิตสรางงาน โดยไดมีโครงการเสริมสรางสมรรถนะบัณฑิตใหสามารถประกอบธุรกิจเองได เปนความรวมมือระหวางนักศึกษา บัณฑิต ศิษยเกา และบุคลากรในมหาวิทยาลัยและผูเกี่ยวของอื่นๆ ในภาคเอกชน ดําเนินการในความรับผิดชอบของศูนยบมเพาะวิสาหกิจ มีรายละเอียดที่ http://www.psu-bic.psu.ac.th/

2.4 การกําหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคเพื่อเปนกรอบในการผลิตบัณฑิต มหาวิทยาลัยมีแผน/เปาหมายที่จะผลิตบัณฑิตใหมีความรอบรูในศาสตรของสาขา มีความสามารถในการใชภาษาตางประเทศ และประยุกตใช IT ไดอยางดี พรอมทั้งใหคณะกาํหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคในระดับคณะดวย คุณลักษณะดังกลาวใชเปนกลไกหนึ่งในการผลิตบัณฑิต โดยมหาวิทยาลัยไดดําเนินการจัดกิจกรรมสนับสนุนอยางตอเนื่อง เชน โครงการคายภาษาอังกฤษ หรือ English Camp ที่ดําเนินการมาตั้งแตป 2544 จนถึงปจจุบัน นอกจากนี้มหาวิทยาลัยไดกําหนดเปาหมายใหนักศึกษาเกงภาษา โดยมีโครงการ/กิจกรรมที่สําคัญ ไดแก การใชโปรแกรมสอนภาษาอังกฤษ ELLIS ทั้ง 5 วิทยาเขต และการใชโปรแกรมสอนภาษาอังกฤษ Tell me more โดยการจัดอบรมใหกับอาจารยในมหาวิทยาลัยรวมทั้งมีความรวมมือภายใตเครือขาย IMT-GT UNINET เพื่อสรางเครือขายดานการเรียนการสอนการวิจัย และสรางโอกาสในการแลกเปลี่ยนบุคลากร นักศึกษาฝกงาน และนักศึกษาโครงการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ทั้งนี้เพื่อพัฒนาขีดความสามารถและความมั่นใจของนักศึกษาในการใชภาษาอังกฤษ และการจัดกิจกรรมเพื่อเขาอบรมภาษาอังกฤษโดยชมรมภาษาอังกฤษ ซ่ึงเปนกิจกรรมในลักษณะใหเตรียมความพรอมดานภาษากอนเขาสูตลาดแรงงานดวย

3. ผลการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับตัวบงชี้นี้ มหาวิทยาลัยไดเสนอที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยอยางตอเนื่องเปนประจําทุกป เพื่อรายงานใหที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยทราบผลการดําเนินงาน และรับขอเสนอแนะมาเพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการผลิต

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

54

Page 61: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ผลการดาํเนนิงาน ลําดับที ่ หนวยงาน

ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ คะแนนประเมิน

1 คณะทันตแพทยศาสตร 60.00 60.00 100.00 5.00 2 คณะพยาบาลศาสตร 102.00 102.00 100.00 5.00 3 คณะแพทยศาสตร 195.00 195.00 100.00 5.00 4 คณะเภสัชศาสตร 159.00 165.00 96.36 4.82 5 คณะการแพทยแผนไทย 40.00 40.00 100.00 5.00 6 คณะวิทยาศาสตร 400.00 515.00 77.67 3.88 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 105.00 129.00 81.40 4.07 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม - - - - 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 146.00 162.00 90.12 4.51

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 303.00 376.00 80.59 4.03 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 87.00 97.00 89.69 4.48 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 185.00 198.00 93.43 4.67 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 90.00 117.00 76.92 3.85 14 คณะวิทยาการจัดการ 493.00 569.00 86.64 4.33 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 361.00 427.00 84.54 4.23 16 คณะเศรษฐศาสตร 82.00 97.00 84.54 4.23 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 123.00 133.00 92.48 4.62 18 คณะศึกษาศาสตร 378.00 465.00 81.29 4.06 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 9.00 19.00 47.37 2.37 20 คณะนิตศิาสตร 46.00 49.00 93.88 4.69 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 230.00 318.00 72.33 3.62 22 คณะศิลปศาสตร 100.00 117.00 85.47 4.27 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 68.00 84.00 80.95 4.05 24 คณะรัฐศาสตร 48.00 60.00 80.00 4.00 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 94.00 133.00 70.68 3.53 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 98.00 118.00 83.05 4.15

บัณฑิตของมหาวิทยาลัยและคณะ รวมทั้งไดแจงผลรายงานใหคณะทราบอยางตอเนื่องทุกป เพื่อใหคณะทบทวนและปรับปรุงคุณภาพบัณฑิตของแตละคณะในสวนที่รับผิดชอบตอไป

หมายเหตุ : บัณฑิตรุนปการศึกษา 2552 ไมมีการสํารวจขอมูลจํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทํากอนเขาศึกษา รายการหลักฐาน ม.อ.1-01 รายงานภาวะการหางานทาํของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร รุนปการศึกษา 2552 ม.อ.1-02 เอกสารนําเสนอรายงานการประชุมสภามหาวิทยาลัย คร้ังที ่331 (4/2554) วนัที่ 28 พฤษภาคม 2554 ม.อ.1-03 เวบ็ไซตการหางานทาํ ม.อ.1-04 ศูนยบมเพาะวิสาหกิจ ม.อ.1-05 รายงานภาวะการหางานทาํของบัณฑิต รุนปการศึกษา 2552 จากคณะที่สํารวจเพิ่มเติม

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

55

Page 62: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ผลการดาํเนนิงาน ลําดับที ่ หนวยงาน

ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ คะแนนประเมิน

27 คณะวิเทศศึกษา 81.00 88.00 92.05 4.60

มหาวิทยาลัย 4,083.00 4,833.00 84.48 4.22

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

56

Page 63: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานคณุภาพบัณฑิต

ตัวบงช้ีที่ 2 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาต ิ

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน ใชคาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบณัฑิต (คะแนนเต็ม 5)

หมายเหต ุ

เกณฑมาตรฐาน เชิงปริมาณ ขอมูลพ้ืนฐาน ผลการดําเนินงาน

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีไดงานทําท้ังหมด 3,457.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดงานทําท้ังหมด 573.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีไดรับการประเมินคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

แหงชาติ 1,178.00

ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5) 3.93

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดรับการประเมินคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

แหงชาติ 249.00

ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5) 4.09

ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี โท เอก ตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5)

3.96

หมายเหตุ : เปนผูสําเร็จการศึกษาปการศึกษา 2551 วิธีการคาํนวณ

ผลรวมของคาคะแนนที่ไดจากการประเมินบณัฑิต

จํานวนบัณฑิตทีไ่ดรับการประเมินทั้งหมด

ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

3.80 3.96 3.96 บรรลุเปาหมาย ผลการดําเนินงาน 1. ขอมูลระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการ และผูใชบัณฑิต ไดจากรายงานการวิจัย เร่ือง ความพึงพอใจของนายจาง/ผูใช

บัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร รุนปการศึกษา 2551 (เก็บรวบรวมขอมูลจากบัณฑิตที่ทํางานแลวรุนปการศึกษา 2551 (ท่ีเขารับพระราชทานปริญญาบัตร เมื่อ 22-23 กันยายน 2552) โดยสงแบบสอบถามใหนายจาง/ผูประกอบการที่บัณฑิตทํางานจํานวน 4,030 ชุด เปนหนวยงานที่รับบัณฑิตระดับปริญญาตรีเขาทํางาน 3,457 ชุด ระดับบัณฑิตศึกษา 573 ชุด ไดรับแบบสอบถามกลับคืนมา 1,427 ชุด คิดเปนรอยละ 35.40 ซ่ึงสูงกวารอยละ 20 โดยไดรับแบบสอบถามคืนมาในชวงกันยายน-ธันวาคม 2553 (ดําเนินการโดยกองแผนงาน) พบวา ความพึงพอใจของนายจาง/ผูใชบัณฑิตตอบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มีระดับคะแนนเฉลี่ย 3.96 โดยความพึงพอใจตอบัณฑิตปริญญาตรีเทากับ 3.93 และความพึงพอใจตอบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาเทากับ 4.09

2. จากผลการประเมินความพึงพอใจบัณฑิตของผูใชบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พบวา นายจาง/ผูประกอบการ/ผูใชบัณฑิตเปนกลุมบุคคลที่เกี่ยวของกับบัณฑิตและสามารถสะทอนคุณภาพบัณฑิตบางประการไดชัดเจน ดังนี้

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

57

Page 64: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

2.1 ความพึงพอใจทางดานภาษาอังกฤษ นายจาง/ผูใชบัณฑิตมีความพึงพอใจเพิ่มขึ้น ซ่ึงมหาวิทยาลัยไดมีการพัฒนาปรับปรุงอยางตอเนื่อง โดยกําหนดแผนกลยุทธเพื่อพัฒนาความเขมแข็งดานภาษาอังกฤษ ที่ใหการสนับสนุนสงเสริมใหทุกคณะ/หนวยงาน และภาควิชา/หลักสูตร ดําเนินการตามกลยุทธที่กําหนด ดังนี้ 1) สอดแทรกสื่อหรือเอกสารการสอนภาษาอังกฤษในรายวิชาที่สอนโดยใชภาษาไทย 2) ใชภาษาอังกฤษอยางนอย 50% ในการสอนบางรายวิชาในหลักสูตร 3) รวมมือกับสถาบันตางประเทศที่ใชภาษาอังกฤษในรูปแบบตางๆ เชน แลกเปลี่ยนนักศึกษาหรือสงนักศึกษาไปฝกปฏิบัติการ

(Laboratory) ฝกงาน ฝกอบรม หรือลงทะเบียนเรียนบางรายวิชาในภาคฤดูรอน และสามารถเทียบโอนหนวยกติได สรางหลักสูตร 2+2 หรือ 3+1หรือ 3.5+0.5 จัดใหมี Distant Learning หรือ Real-time Learning ในรายวิชาตางๆ

4) กําหนดใหนักศึกษาสอบวัดระดับความรูภาษาอังกฤษ 5) พัฒนาการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน 6) จัดใหมีการสอนภาษาอังกฤษเฉพาะสาขาเพื่อเตรียมความพรอมใหนักศึกษาสามารถนําไปใชไดในวิชาชีพของตน 7) สนับสนุนคณะที่รับผิดชอบสอนรายวิชาภาษาอังกฤษใหสามารถรองรับภารกิจไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 8) จัดตั้งเครือขายวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 9) พัฒนาศักยภาพดานภาษาอังกฤษของอาจารย 10) พัฒนาศักยภาพดานภาษาอังกฤษของบุคลากรสายสนับสนุน 11) จัดใหมีโครงการ/กิจกรรมเสริมสรางความเขมแข็งดานภาษาอังกฤษอยางตอเนื่อง 12) จัดกิจกรรมแขงขันเพื่อสรางเสริมและยกระดับทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษาอยางตอเนื่องและเปนระบบ 13) กําหนดใหการเขารวมกิจกรรมดานภาษาอังกฤษเปนกิจกรรมเสริมหลักสูตรในลักษณะบังคับเลือก และนักศึกษาสามารถ

นําไปบันทึกเปนชั่วโมงกิจกรรมได 14) เพิ่มส่ิงแวดลอมที่เปนภาษาอังกฤษ 15) จัดหาและมีแผนการใชทรัพยากรการเรียนรูภาษาอังกฤษดวยตนเองอยางคุมคาและมีประสิทธิภาพ 16) เพิ่มนักศึกษาชาวตางชาติที่ใชภาษาอังกฤษในการสื่อสาร 17) เพิ่มอาจารยชาวตางประเทศที่ใชภาษาอังกฤษในการสื่อสาร 18) กําหนดกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาความเขมแข็งดานภาษาอังกฤษอยางตอเนื่องและเปนรูปธรรม 19) สรางเครือขายการเรียนรูรวมกัน 20) จัดตั้งหนวยงานหรือปรับโครงสรางองคกรเพื่อเปนแกนกลางในการขับเคลื่อนการพัฒนาความเขมแข็งดานภาษาอังกฤษ

2.2 ความพึงพอใจความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศ นายจาง/ผูใชบัณฑิตมีความพึงพอใจเพิ่มขึ้น ซ่ึงมหาวิทยาลัยมีเปาหมายหลักดานเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยสงเสริมและสนับสนุนใหประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการผลิตบัณฑิตของคณะ/หนวยงานในมหาวิทยาลัยอยางตอเนื่อง ใหมีระบบเครือขายส่ือสารขอมูลและคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพและเพียงพอ และ

พัฒนาศักยภาพของระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหาร การเปน E-University เพื่อใชประโยชนจาก ICT สูกระบวนการเรยีนรูและการสอนที่เชื่อมโยงวิทยาเขต และนําไปสูการเรียนรูดวยตนเองอยางตอเนื่องของนักศึกษา สงผลใหความสามารถดานเทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษามีการพัฒนาอยางตอเนื่อง จนเมื่อสําเร็จการศึกษาไดงานทํา และสามารถทํางานดวยความรูความสามารถ ซ่ึงไดรับความพึงพอใจจากนายจาง/ผูใชบัณฑิตเพิ่มขึ้น และเห็นไดวานายจาง/ผูใชบัณฑิตยังคงพึงพอใจในระดับมาก

3. ผลการดําเนินงานที่เกี่ยวของกับตัวบงชี้นี้ มหาวิทยาลัยไดเสนอที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยอยางตอเนื่องเปนประจําทุกครั้งที่มีการ

สํารวจ เพื่อรายงานใหที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยทราบผลการดําเนินงาน และรับขอเสนอแนะเพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการผลิต รวมทั้งสงรายงานฉบับเต็มเพื่อใหคณะ/หนวยงานที่เกี่ยวของทราบและเพื่อใหคณะทบทวน/ปรับปรุงคุณภาพของบัณฑิตของแตละคณะที่รับผิดชอบตอไป

หมายเหตุ: ผลการประเมินระดับสูงกวาปริญญาตรี บันทึกในขอมูลผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5) เนื่องจากการสํารวจขอมูลระดับบัณฑิตศึกษาไมมีการจําแนกระดับการศึกษาเปนปริญญาโทและปริญญาเอก

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

58

Page 65: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายการหลักฐาน ม.อ.2-01 จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดรับการประเมินคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ เปนบัณฑิตรุนปการศึกษา 2551 ม.อ.2-02 ผลการประเมินความพึงพอใจของนายจาง/ผูใชบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร รุนปการศึกษา 2551 ม.อ.2-03 เอกสารนําเสนอรายงานการประชุมสภามหาวิทยาลัยคร้ังที่ 331 (4/2554) วันที่ 28 พ.ค. 2554

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 1 คณะทันตแพทยศาสตร 4.20 4.20 2 คณะพยาบาลศาสตร 3.95 3.95 3 คณะแพทยศาสตร 3.92 3.92 4 คณะเภสัชศาสตร 3.92 3.92 5 คณะการแพทยแผนไทย 3.97 3.97 6 คณะวิทยาศาสตร 3.94 3.94 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3.72 3.72 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 4.18 4.18 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 3.74 3.74

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 3.90 3.90 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 3.85 3.85 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 3.91 3.91 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 3.83 3.83 14 คณะวิทยาการจัดการ 3.96 3.96 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 3.96 3.96 16 คณะเศรษฐศาสตร 3.96 3.96 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 4.15 4.15 18 คณะศึกษาศาสตร 4.12 4.18 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 3.62 3.62 20 คณะนิตศิาสตร 4.03 4.03 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 3.98 3.98 22 คณะศิลปศาสตร 4.15 4.15 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 3.89 3.89 24 คณะรัฐศาสตร - - 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 4.04 4.04 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 3.87 3.87 27 คณะวิเทศศึกษา 3.72 3.72

มหาวิทยาลัย 3.96 3.96

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

59

Page 66: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานคณุภาพบัณฑิต

ตัวบงช้ีที่ 3 ผลงานของผูสาํเรจ็การศึกษาระดบัปริญญาโทที่ไดรบัการตีพิมพหรือเผยแพร

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน

กําหนดระดับคุณภาพงานวิจัยที่ตพีมิพ ดังนี ้

คาน้าํหนัก ระดับคณุภาพงานวิจัย

0.25 มีการเผยแพรสูสาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง

0.50 มีการตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceeding) ที่ไดรับการยอมรับในสาขา

0.75 มีการตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (proceeding) หรือมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานขอมูล TCI หรือวารสารวิชาการ

ระดับชาติที่ไดรับการยอมรับในสาขา

1.00 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ที่ไดรับการยอมรับในสาขา หรือในระดับสากล เชน ISI หรือ Scopus

กําหนดระดับคุณภาพงานสรางสรรคที่เผยแพรดังนี ้

คาน้าํหนัก ระดับคณุภาพงานสรางสรรค*

0.125 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับสถาบนัหรือจังหวัด

0.25 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับชาต ิ

0.50 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ

0.75 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน

1.00 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ *องคประกอบของคณะกรรมการไมนอยกวา 3 คน และตองมีบุคคลภายนอกสถานศึกษารวมพิจารณาดวย

อาเซียน หมายถึง สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of South East Asian Nations) มี 10 ประเทศ ไดแก บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย และเวียดนาม การเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ เปนโครงการเฉพาะระหวางประเทศไทยกับประเทศอื่น การเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน เปนการเผยแพรเฉพาะในกลุมอาเซียน 10 ประเทศ (อยางนอย 5 ประเทศหมายถึงนับรวมประเทศไทยดวย) และการใหคะแนนตามแหลงเผยแพร ไมจําเปนตองไปแสดงในตางประเทศ การเผยแพรในระดับนานชาต ิเปนการเผยแพรที่เปดกวางสําหรับทุกประเทศ (อยางนอย 5 ประเทศ ทีไ่มไดอยูในกลุมอาเซียน) เกณฑการใหคะแนน ใชบัญญัติไตรยางศเทียบ กาํหนดรอยละ 25 เทากับ 5 คะแนน ทุกกลุมสาขาวิชา

หมายเหต ุ

เกณฑมาตรฐาน เชิงปริมาณ ขอมูลพ้ืนฐาน ผลการดําเนินงาน

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมด 946.00

จํานวนงานวิจัยท่ีมีการตีพิมพเผยแพรในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง 461.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

60

Page 67: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

จํานวนรวมของบทความวิจัย ท่ีตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceeding) ท่ีไดรับการยอมรับในสาขา

255.00

จํานวนรวมของบทความวิจัย ท่ีตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceeding) หรือมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติท่ีปรากฏในฐานขอมูล TCI หรือวารสารวิชาการระดับชาติท่ีไดรับการยอมรับในสาขา

116.00

จํานวนรวมของบทความวิจัย ท่ีตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีไดรับการยอมรับในระดับสาขา หรือในระดับสากล เชน ISI หรือ Scopus

49.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรระดับสถาบันหรือจังหวัด 0.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับชาติ 0.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ 0.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน 0.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ 0.00

วิธีการคาํนวณ

ผลรวมถวงน้ําหนกัของผลงานที่ตพีมิพหรือเผยแพร

ของผูสําเร็จการศกึษาระดับปริญญาโท จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดบัปริญญาโททั้งหมด

× 100

ผลการคํานวณ

378.75 946.00

× 100 = 40.04

ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 25 40.04 5.00 บรรลุเปาหมาย ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2553 มีบัณฑิตที่จบการศึกษาระดับปริญญาโททั้งแผน ก และ ข จํานวน 946 คน มีผลงานเผยแพรจํานวน 881 ชิ้น คิดเปนผลการดําเนินงานถวงน้ําหนักเปน 378.75 เมื่อเทียบกับบัณฑิตที่จบการศึกษาระดับปริญญาโท คิดเปนรอยละ 40.04 ไดคะแนนการประเมินตนเองเทากับ 5.00 รายการหลักฐาน ม.อ. 3-01 สรุปรายชื่อบทความวิจัยจากวิทยานิพนธ และสารนิพนธ พรอมชื่อเจาของบทความ ชื่อวิทยานิพนธหรือสารนิพนธ ปที่ตีพิมพ ชื่อวารสารหรือรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการที่ตีพิมพ คาน้ําหนักของบทความวิจัยแตละชิ้น ปการศึกษา 2553 จําแนกรายคณะ จํานวน 18 คณะ ม.อ. 3-02 บทความวิจัยจากวิทยานิพนธ และสารนิพนธ ปการศึกษา 2553 จําแนกรายคณะ จํานวน 18 คณะ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

61

Page 68: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ผลการดาํเนนิงาน ลําดับที ่ หนวยงาน

ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ คะแนนประเมิน

1 คณะทันตแพทยศาสตร 3.50 3.00 116.67 5.00 2 คณะพยาบาลศาสตร 25.75 97.00 26.55 5.00 3 คณะแพทยศาสตร 7.75 9.00 86.11 5.00 4 คณะเภสัชศาสตร 9.00 25.00 36.00 5.00 5 คณะการแพทยแผนไทย - - - - 6 คณะวิทยาศาสตร 68.75 82.00 83.84 5.00 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4.50 18.00 25.00 5.00 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 20.75 13.00 159.62 5.00 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 2.50 3.00 83.33 5.00

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 53.00 140.00 37.86 5.00 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 24.75 20.00 123.75 5.00 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 14.00 46.00 30.43 5.00 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม - - - - 14 คณะวิทยาการจัดการ 41.75 187.00 22.33 4.47 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ - - - - 16 คณะเศรษฐศาสตร 9.50 38.00 25.00 5.00 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 10.75 13.00 82.69 5.00 18 คณะศึกษาศาสตร 41.75 127.00 32.87 5.00 19 คณะศิลปกรรมศาสตร - - - - 20 คณะนิตศิาสตร - - - - 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 1.25 3.00 41.67 5.00 22 คณะศิลปศาสตร 36.00 108.00 33.33 5.00 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 3.50 14.00 25.00 5.00 24 คณะรัฐศาสตร - - - - 25 คณะวิทยาการสื่อสาร - - - - 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ - - - - 27 คณะวิเทศศึกษา - - - -

มหาวิทยาลัย 378.75 946.00 40.04 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

62

Page 69: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานคณุภาพบัณฑิต

ตัวบงช้ีที่ 4 ผลงานของผูสาํเรจ็การศึกษาระดบัปริญญาเอกที่ไดรบัการตีพิมพหรือเผยแพร

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน

กําหนดระดับคุณภาพงานวิจัยที่ตพีมิพ ดังนี ้

คาน้าํหนัก ระดับคณุภาพงานวิจัย

0.25 มีการตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชมุวิชาการระดับชาติ/ระดับนานาชาติ หรือมีการตีพิมพในวารสารวิชาการที่ปรากฏอยูในฐานขอมลู TCI

0.50 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดบัชาตทิี่มีชือ่ปรากฏอยูในประกาศของสมศ.

0.75 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏอยูในฐานขอมูลการจัด อันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูควอไทลที่ 3 หรือ 4 (Q3 หรือ Q4) ในปลาสุด ใน Subject Category ที่ตีพิมพ หรือมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยูในประกาศ ของ สมศ.

1.00 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับ

วารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอไทลที่ 1 หรือ 2 (Q1 หรือ Q2) ในปลาสุด ใน Subject Category ที่ตีพิมพ หรือมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลสากล ISI และ Scopus

กําหนดระดับคุณภาพงานสรางสรรคที่เผยแพร ดังนี ้

คาน้าํหนัก ระดับคณุภาพงานสรางสรรค*

0.125 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับสถาบนัหรือจังหวัด

0.25 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับชาต ิ

0.50 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ

0.75 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน

1.00 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ *องคประกอบของคณะกรรมการไมนอยกวา 3 คน และตองมีบุคคลภายนอกสถานศึกษารวมพิจารณาดวย

อาเซียน หมายถึง สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of South East Asian Nations) มี 10 ประเทศ ไดแก บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย และเวียดนาม การเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ เปนโครงการเฉพาะระหวางประเทศไทยกับประเทศอื่น การเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน เปนการเผยแพรเฉพาะในกลุมอาเซียน 10 ประเทศ (อยางนอย 5 ประเทศหมายถึงนับรวมประเทศไทยดวย) และการใหคะแนนตามแหลงเผยแพร ไมจําเปนตองไปแสดงในตางประเทศการเผยแพรในระดับนานชาต ิเปนการเผยแพรที่เปดกวางสําหรับทุกประเทศ (อยางนอย 5 ประเทศ ทีไ่มไดอยูในกลุมอาเซียน) เกณฑการใหคะแนน ใชบญัญัติไตรยางศเทียบ กาํหนดรอยละ 50 เทากับ 5 คะแนน ทุกกลุมสาขาวิชา

หมายเหต ุ

เกณฑมาตรฐาน เชิงปริมาณ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

63

Page 70: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ขอมูลพ้ืนฐาน ผลการดําเนินงาน

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทั้งหมด 56.00

จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ 21.00

จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือจํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติท่ีปรากฏในฐานขอมูล TCI

20.00

จํานวนบทความวิจัยฯ ท่ีมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติท่ีมีช่ือปรากฏในประกาศของ สมศ. 4.00

จํานวนบทความวิจัยท่ีมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีมีช่ือปรากฏอยูในประกาศของ สมศ. 1.00

จํานวนบทความวิจัยท่ีมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีมีช่ือปรากฏอยูในฐานขอมูลสากล IS 73.00

จํานวนบทความวิจัยท่ีมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีมีช่ือปรากฏอยูในฐานขอมูลสากล Scopus 4.00

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีช่ือปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอไทลท่ี 4 (Q4) ในปลาสุด ใน subject category ท่ีตีพิมพ

2.00

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีช่ือปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอไทลท่ี 3 (Q3) ในปลาสุด ใน subject category ท่ีตีพิมพ

1.00

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีช่ือปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอไทลท่ี 2 (Q2) ในปลาสุด ใน subject category ท่ีตีพิมพ

0.00

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีช่ือปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอไทลท่ี 1 (Q1) ในปลาสุด ใน subject category ท่ีตีพิมพ

1.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับสถาบันหรือจังหวัด 0.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับชาติ 0.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ 0.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน 0.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ 0.00

วิธีการคาํนวณ

ผลรวมถวงน้ําหนกัของผลงานที่ตพีมิพหรือเผยแพร ของผูสําเร็จการศกึษาระดับปริญญาเอก

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดบัปริญญาเอกทั้งหมด

× 100

ผลการคํานวณ

93.25 56.00

× 100 = 166.52

ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 75 166.52 5.00 บรรลุเปาหมาย

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

64

Page 71: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2553 มหาวิทยาลัยฯมีผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทั้งหมด 56 คน มหาวิทยาลัยฯ มีจํานวนบทความวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาเอกที่ตีพิมพทั้งหมด 127 บทความ คิดเปนผลการดําเนินงานถวงน้ําหนัก 93.25 มหาวิทยาลัยมีผลการดําเนินงานเปนรอยละ 166.52 ประเมินตนเองได 5.00 คะแนน รายการหลักฐาน ม.อ.4-01 สรุปรายชื่อบทความวิจัยจากวิทยานิพนธ พรอมชื่อเจาของบทความ ชื่อวิทยานิพนธหรือสารนิพนธ ปที่ตีพิมพ ชื่อวารสารหรือรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการที่ตีพิมพ คาน้ําหนักของบทความวิจัยแตละชิ้น จําแนกรายคณะ จํานวน 11 คณะ ม.อ.4-02 บทความวิจัยจากวิทยานิพนธ จําแนกรายคณะ จํานวน 11 คณะ

ผลการดาํเนินงาน ลําดับที ่ หนวยงาน

ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ คะแนนประเมิน

1 คณะทันตแพทยศาสตร - - - - 2 คณะพยาบาลศาสตร 3.75 5.00 75.00 5.00 3 คณะแพทยศาสตร 16.00 11.00 145.45 5.00 4 คณะเภสัชศาสตร 5.25 4.00 131.25 5.00 5 คณะการแพทยแผนไทย - - - - 6 คณะวิทยาศาสตร 38.75 17.00 227.94 5.00 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2.00 2.00 100.00 5.00 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 1.75 1.00 175.00 5.00 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม - - - -

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 2.75 3.00 91.67 5.00 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 21.25 10.00 212.50 5.00 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 0.75 1.00 75.00 5.00 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม - - - - 14 คณะวิทยาการจัดการ - - - - 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ - - - - 16 คณะเศรษฐศาสตร - - - - 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว - - - - 18 คณะศึกษาศาสตร 0.50 1.00 50.00 5.00 19 คณะศิลปกรรมศาสตร - - - - 20 คณะนิตศิาสตร - - - - 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 0.50 1.00 50.00 5.00 22 คณะศิลปศาสตร - - - - 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา - - - - 24 คณะรัฐศาสตร - - - - 25 คณะวิทยาการสื่อสาร - - - - 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ - - - - 27 คณะวิเทศศึกษา - - - -

มหาวิทยาลัย 93.25 56.00 166.52 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

65

Page 72: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค

ตัวบงช้ีที่ 5 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดรบัการตีพิมพหรือเผยแพร

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน กําหนดระดับคุณภาพงานวิจัยที่ตพีมิพ ดังนี ้

คาน้าํหนัก ระดับคณุภาพงานวิจัย

0.25 มีการตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ/ระดับนานาชาติ หรือมีการตีพิมพในวารสารวิชาการที่ปรากฏอยูในฐานขอมูล TCI

0.50 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฏอยูในประกาศของสมศ.

0.75 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏอยูในฐานขอมูลการจัด อันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู ควอไทลที่ 3 หรือ 4 (Q3 หรือ Q4) ในปลาสุด ใน Subject Category ที่ตีพิมพ หรือมีการตีพิมพใน

วารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยูในประกาศ ของ สมศ.

1.00 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการ ระดับนานาชาติที่ปรากฏอยูในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank: www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยู ควอไทลที่ 1 หรือ 2 (Q1 หรือ Q2) ในปลาสุด ใน Subject Category ที่ตีพิมพ หรือมีการตีพิมพใน

วารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยูในฐาน ขอมูลสากล ISI และ Scopus

กําหนดระดับคุณภาพงานสรางสรรคที่เผยแพร ดังนี ้

คาน้าํหนัก ระดับคณุภาพงานสรางสรรค*

0.125 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับสถาบนัหรือจังหวัด

0.25 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับชาต ิ

0.50 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ

0.75 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน

1.00 งานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ *องคประกอบของคณะกรรมการไมนอยกวา 3 คน และตองมีบุคคลภายนอกสถานศึกษารวมพิจารณาดวย

อาเซียน หมายถึง สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of South East Asian Nations) มี 10 ประเทศ ไดแก บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย และเวียดนาม การเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ เปนโครงการเฉพาะระหวางประเทศไทยกับประเทศอื่น การเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน เปนการเผยแพรเฉพาะในกลุมอาเซียน 10 ประเทศ (อยางนอย 5 ประเทศหมายถึงนับรวมประเทศไทยดวย) และการใหคะแนนตามแหลงเผยแพร ไมจําเปนตองไปแสดงในตางประเทศการเผยแพรในระดับนานชาต ิเปนการเผยแพรที่เปดกวางสําหรับทุกประเทศ (อยางนอย 5 ประเทศ ที่ไมไดอยูในกลุมอาเซียน) เกณฑการใหคะแนน ใชบัญญัติไตรยางศเทียบ โดยกําหนดรอยละเทากบั 5 คะแนน จําแนกตามกลุมสาขาวิชา ดังนี้

กลุมสาขาวิชา 5 คะแนน วิทยาศาสตรสุขภาพ 20 วิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี 20 มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 10

หมายเหต ุ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

66

Page 73: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

เกณฑมาตรฐาน เชิงปริมาณ ขอมูลพ้ืนฐาน ผลการดําเนินงาน

จํานวนอาจารยประจําท้ังหมด 2,042.00

จํานวนนักวิจัยประจําท้ังหมด 11.00

จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ 194.00

จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือจํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติท่ีปรากฏในฐานขอมูล TCI

240.00

จํานวนบทความวิจัยฯ ท่ีมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติท่ีมีช่ือปรากฏในประกาศของ สมศ. 80.00

จํานวนบทความวิจัยท่ีมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีมีช่ือปรากฏอยูในประกาศของ สมศ. 34.00

จํานวนบทความวิจัยท่ีมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีมีช่ือปรากฏอยูในฐานขอมูลสากล ISI 375.00

จํานวนบทความวิจัยท่ีมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติท่ีมีช่ือปรากฏอยูในฐานขอมูลสากล Scopus 28.00

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีช่ือปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอไทลท่ี 4 (Q4) ในปลาสุด ใน subject category ท่ีตีพิมพ

3.00

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีช่ือปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอไทลท่ี 3 (Q3) ในปลาสุด ใน subject category ท่ีตีพิมพ

3.00

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีช่ือปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอไทลท่ี 2 (Q2) ในปลาสุด ใน subject category ท่ีตีพิมพ

29.00

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีช่ือปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอไทลท่ี 1 (Q1) ในปลาสุด ใน subject category ท่ีตีพิมพ

46.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับสถาบันหรือจังหวัด 1.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับชาติ 15.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ 7.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน 0.00

จํานวนผลงานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ 0.00 วิธีการคาํนวณระดับมหาวิทยาลัย

ผลรวมคะแนนประเมินระดบัคณะ

จํานวนคณะทีป่ระเมิน

ผลการคํานวณ

108.43 27.00

= 4.02

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

67

Page 74: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 25 32.34 4.02 บรรลุเปาหมาย ผลการดาํเนนิงาน งานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในระดับนานาชาติและระดับชาติ : มหาวิทยาลัยฯไดจัดทําวารสารวิชาการซึ่งมีมาตรฐานการ

ยอมรับทั้งในระดับนานาชาติและระดับชาติ จํานวน 3 ฉบับ ดังนี้ ระดับนานาชาติ จํานวน 1 ฉบับ คือ Songklanakarin Journal of Science and Technology (SJST) และระดับชาติ จํานวน 2 ฉบับ คือ 1) วารสารสงขลานครินทร ฉบับสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร และ 2) สงขลานครินทรเวชสาร ซ่ึงกองบรรณาธิการของวารสารทั้ง 3 ฉบับ ไดกําหนดสาขาของบทความที่จะลงตีพิมพครอบคลุมทุกสาขาวิชาที่มีการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยฯ ดังนั้นจึงสามารถเปนแหลงตีพิมพเผยแพรงานวิจัยของนักวิจัยภายในมหาวิทยาลัยฯ ไดเปนอยางดี ซ่ึงบทความวิจัยที่ไดลงตีพิมพในแตละฉบับตองผานกระบวนการประเมินคุณภาพทางวิชาการจากผูทรงคุณวุฒิในแตละสาขากอนลงตีพิมพในวารสารนั้นๆ สําหรับบทความที่สงไปตีพิมพในวารสารตางประเทศที่มีคา Impact Factor นั้น บางคณะมีผูเชี่ยวชาญทางดานภาษาอังกฤษทําหนาที่ตรวจสอบและปรับปรุงตนฉบับของนกัวิจัยในคณะกอนสงไปตีพิมพในวารสารเอง ซ่ึงจะชวยใหตนฉบับบทความผานการพิจารณารับตีพิมพมากขึ้นและรวดเร็วข้ึน กอปรกับทุกคณะ/หนวยงานใหความสําคัญกับผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารวิชาการโดยกําหนดเปน KPI ประจําภาควิชา/คณะ/หนวยงาน หรือบางคณะมีวารสารของคณะซึ่งเปนเวทีข้ันตนที่เปดโอกาสใหนักวิจัยไดฝกเขียนบทความเพื่อสามารถพัฒนาไปสูบทความในระดับชาติและนานาชาติตอไป

นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยฯไดกําหนดใหมีรางวัลสําหรับบทความวิจัยไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสาร โดยแบงระดับรางวัลตามมาตรฐานการยอมรับและสนับสนุนของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ทั้งระดับชาติและนานาชาติ อีกทั้งยังมีการเพิ่มมูลคารางวัลแกบทความที่ตีพิมพเปนบทความแรกหลังจากจบการศึกษา ซ่ึงเปนสวนสนับสนุนนักวจิยัหนาใหมใหมีความพยายามนําผลงานวิจัยมาจัดทําเปนบทความเพื่อสงใหวารสารวิชาการตีพิมพเผยแพรมากขึ้น ทั้งนี้บางคณะยังไดจัดงบประมาณสวนหนึ่งสําหรับนักวิจัยที่มีการตีพิมพบทความของคณะนอกเหนือจากการสนับสนุนของมหาวิทยาลัยฯอีกดวย เพื่อเปนกําลังใจแกนักวิจัยในการผลิตผลงานตีพิมพเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง

ในกรณีที่นักวิจัยสงผลงานไปลงตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีการเรียกเก็บคาตีพิมพ (Page Charge) หรือคาเขาถึงขอมูล (Open Access) มหาวิทยาลัยฯ จะใหการสนับสนุนโดยสมทบรอยละ 50 ของคาธรรมเนียมที่วารสารเรียกเก็บโดยพิจารณาจากระดับของวารสาร นอกจากนี้นักวิจัยยังสามารถนําผลงานวิจัยดังกลาวย่ืนขอรับรางวัลขางตนไดอีกดวย

ปจจุบันมหาวิทยาลัยฯ มีอาจารยใหมที่จบการศึกษาระดับปริญญาเอกรวมถึงการที่มหาวิทยาลัยฯ เปดสอนหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษาเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะระดับปริญญาเอกซึ่งเปนโอกาสที่สาขาวิชาตางๆ จะมีผลงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรเพิ่มขึ้น ทั้งนี้

มหาวิทยาลัยฯ มีการตั้งจัดกองทุนวิจัย และบางคณะที่มีเงินรายไดก็มีการจัดตั้งกองทุนวิจัยของคณะเชนกัน จึงทําใหการสนับสนุนผลงานวิจัยใหไดรับการตีพิมพเผยแพรไดมากยิ่งขึ้น

มหาวิทยาลัยฯ มีโครงการ Publication Clinic ซ่ึงจะใหคําปรึกษาในเรื่องการตีพิมพผลงานวิจัย การจัดหาชาวตางประเทศ ผูทรงคณุวฒุิดานภาษาอังกฤษชวยอานและแกไขบทความกอนสงตีพิมพ ตลอดจนการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเขียนบทความวิจัย มีการจัดสรรทุน

สนับสนุนนักวิจัยหลังปริญญาเอก ประจําป 2553-2554 เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหผูที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกสามารถทํางานวจิัยอยางตอเนื่องภายใตการกํากับดูแลของนักวิจัยพี่เลี้ยงหรืออาจารยที่มีความเชี่ยวชาญซึ่งจะเปนการพัฒนานักวิจัยรุนใหมใหมีโอกาสสราง

ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพในระดับสากลและในอนาคตนักวิจัยเหลานี้สามารถดําเนินการวิจัยไดอยางเขมแข็งดวยตนเอง นอกจากนี้การที่มีนักวิจัยใหมมาทําวิจัยรวมกับนักวิจัยอาวุโสจะชวยผลักดันใหศักยภาพดานการวิจัยของคลัสเตอรมหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติสูงขึ้น และมีผลงานตพีมิพในระดับนานาชาติเพิ่มขึ้นซึ่งจะขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยฯ สูมหาวิทยาลัยวิจัยไดอยางมีคุณภาพ

งานวิจัยท่ีไดรับการเผยแพร/นําเสนอในที่ประชุมระดับนานาชาติและระดับชาติ : มหาวิทยาลัยฯ มีระบบสนับสนุนโดยการใหทุนนักวิจัยเดินทางไปประชุม/สัมมนา เผยแพรผลงานวิจัยทั้งในระดับนานาชาติและระดับชาติ

ปการศึกษา 2553 มีผลงานวิจัยและงานสรางสรรคที่ตีพิมพเผยแพรทั้งระดับชาติและนานาชาติจํานวน 1,055 เร่ือง คิดเปนผลการดําเนินงานถวงน้ําหนัก 663.88 มีจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัย จํานวน 2,053 คน คิดเปนรอยละ 32.34 โดยแบงตามแตละกลุมสาขาวิชา

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

68

Page 75: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ดังนี้ 1) วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จํานวนผลงานตีพิมพ 698 เรื่อง คิดเปนผลการดําเนินงานถวงน้ําหนัก 426.50 มีจํานวนอาจารยประจํา

และนักวิจัย 821.50 คน คิดเปนรอยละ 51.92 2) วิทยาศาสตรสุขภาพ จํานวนผลงานตีพิมพ 212 เร่ือง คิดเปนผลการดําเนินงานถวงน้ําหนัก 176.00 มีจํานวนอาจารยประจําและ

นักวิจัย 581.50 คน คิดเปน รอยละ 30.27 3) มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร จํานวนผลงานตีพิมพ 145 เร่ือง คิดเปนผลการดําเนินงานถวงน้ําหนัก 61.38 มีจํานวนอาจารย

ประจําและนักวิจัย 650 คน คิดเปน รอยละ 22.31 ประเมินตนเองได 4.02 คะแนน

รายการหลักฐาน ม.อ.5-01 สรุปรายชื่อบทความวิจัย พรอมชื่อเจาของบทความ ปที่ตีพิมพ ชื่อวารสารหรือรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการที่ตีพิมพ คาน้ําหนักของบทความวิจัยแตละชิ้น จําแนกรายคณะ จํานวน 27 คณะ ม.อ.5-02 บทความวิจัยที่ตีพิมพ เผยแพร จําแนกรายคณะ จํานวน 27 คณะ

ผลการดาํเนนิงาน ลําดับที ่ หนวยงาน

ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ คะแนนประเมิน

1 คณะทันตแพทยศาสตร 22.50 86.00 26.16 5.00 2 คณะพยาบาลศาสตร 17.75 114.00 15.57 3.89 3 คณะแพทยศาสตร 90.75 295.50 30.71 5.00 4 คณะเภสัชศาสตร 42.00 72.00 58.33 5.00 5 คณะการแพทยแผนไทย 3.00 14.00 21.43 5.00 6 คณะวิทยาศาสตร 219.25 273.00 80.31 5.00 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 45.00 137.00 32.85 5.00 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 7.25 18.50 39.19 5.00 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 9.50 43.00 22.09 5.00

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 50.00 156.50 31.95 5.00 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 67.00 43.00 155.81 5.00 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 22.50 73.00 30.82 5.00 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 6.00 77.50 7.74 1.94 14 คณะวิทยาการจัดการ 6.75 71.00 9.51 4.75 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 5.00 71.50 6.99 3.50 16 คณะเศรษฐศาสตร 3.25 21.00 15.48 5.00 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 4.25 20.00 21.25 5.00 18 คณะศึกษาศาสตร 12.75 69.00 18.48 5.00 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 6.00 17.00 35.29 5.00 20 คณะนิตศิาสตร 0.25 19.00 1.32 0.66 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 6.50 136.50 4.76 2.38 22 คณะศิลปศาสตร 9.75 76.50 12.75 5.00 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 1.25 28.50 4.39 2.19 24 คณะรัฐศาสตร 0.25 16.00 1.56 0.78 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 2.13 24.00 8.85 4.43

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

69

Page 76: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ผลการดาํเนนิงาน ลําดับที ่ หนวยงาน

ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ คะแนนประเมิน

26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 2.25 46.00 4.89 2.45 27 คณะวิเทศศึกษา 1.00 34.00 2.94 1.47

มหาวิทยาลัย 663.88 2,053.00 32.34 4.02

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

70

Page 77: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค

ตัวบงช้ีที่ 6 งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นาํไปใชประโยชน

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน ใชบัญญัติไตรยางศเทียบ โดยกําหนดรอยละ 20 เทากบั 5 คะแนน ทุกกลุมสาขาวิชา

หมายเหต ุ

เกณฑมาตรฐาน เชิงปริมาณ ขอมูลพ้ืนฐาน ผลการดําเนินงาน

จํานวนอาจารยประจําท้ังหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ 2,042.00

จํานวนนักวิจัยประจําท้ังหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ 11.00

จํานวนรวมของผลงานวิจัยท่ีนําไปใชประโยชน 433.00

จํานวนรวมของผลงานสรางสรรคท่ีนําไปใชประโยชน 3.00 วิธีการคาํนวณ

ผลรวมของจํานวนงานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน

จํานวนอาจารยประจําและนกัวิจัยประจําทั้งหมด

× 100

ผลการคํานวณ

436.00

2,053.00 × 100 = 21.24

ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 20 21.24 5.00 บรรลุเปาหมาย ผลการดาํเนนิงาน

มหาวิทยาลัยฯ ไดกําหนดนโยบายที่จะเปนมหาวิทยาลัยวิจัย (Research University) ไวตั้งแตป 2543 และไดกําหนดไวชัดเจนยิ่งขึ้นในนโยบายและแผนพัฒนามหาวิทยาลัยฯ ชวงป พ.ศ.2550-2554 (http://www.psu.ac.th/policy) มหาวิทยาลัยฯ มีกระบวนการดําเนินงานเพื่อใหบรรลุตัวบงชี้นี้ ดังนี้ มหาวิทยาลัยฯ ไดกําหนดทิศทางการเปนมหาวิทยาลัยท่ีเอื้ออาทรตอการพัฒนาชุมชน(University-Community Engagement) โดยการสรางศักยภาพของชุมชนใหชุมชนมีความเขมแข็ง (Nurturing Community) มีความยั่งยืน ผานกระบวนการสอน บริการวิชาการ และการวิจัย โดยใชแนวทางสรางศักยภาพใหชุมชนสามารถเขาถึงแหลงความรูไดตลอดชีวิต มหาวิทยาลัยฯโดยสํานักวิจัยและพัฒนาจึงสงเสริมและสนับสนุนการนํางานวิจัยไปใชประโยชนอยางตอเนื่อง เร่ิมตั้งแตการนําไปใชประโยชนเพื่อการเรียนการสอน การใชประโยชนเชิงสาธารณะในลักษณะตาง ๆ และการใชประโยชนในเชิงพาณิชย ซ่ึงงานวิจัยบางงานอาจเกี่ยวของกับกระบวนการยื่นขอจดลิขสิทธ์ิ สิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตร สําหรับตัวอยางกิจกรรมที่สนับสนุนการนํางานวิจัยไปใชประโยชน มีดังนี้

- การจําแนกผลงานวิจัยในลักษณะการรวบรวม ประเมิน และคัดแยกผลงานวิจัยที่มีศักยภาพสามารถนําไปใชประโยชนได โดยปจจุบันไดปรับเปนระบบการสังเคราะหผลงานวิจัย ซ่ึงอยูระหวางการเริ่มทําโครงการ

- ระบบการใหรางวัลผลงานวิจัยที่มีประโยชนตอชุมชน

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

71

Page 78: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

- ระบบการใหรางวัลนักวิจัยที่มีผลงานติดอันดับการอางอิงในฐานขอมูลระดับนานาชาติ - ระบบประกาศเกียรติคุณ/การมอบเกียรติบัตร เชิดชูนักวิจัยผูมีผลงานเดนในดานตาง ๆ โดยไมตองเสนอขอ - การมอบรางวัลนักวิจัยดีเดนวันสงขลานครินทร - ระบบประกาศเชิดชูนักวิจัยที่มีผลงานและงานวิจัยเดนลงในจดหมายขาววิจัย การประชาสัมพันธผาน E-mail ผาน Website ของ

สํานักวิจัยและพัฒนา และของมหาวิทยาลัยฯ - การประสานงานกับเครือขายวิจัยของคณะ/หนวยงานตาง ๆ - การประสานงานกับส่ือมวลชนในระดับทองถิ่นและระดับชาติ - การจัดทําสื่อเผยแพรประชาสัมพันธกิจกรรมและผลงานวิจัยสูชุมชนในรูปแบบตาง ๆ - การจัดตั้งหนวยวิจัย สถานวิจัย/สถานวิจัยความเปนเลิศ ซ่ึงทําหนาที่สงเสริม สนับสนุน และนําผลงานวิจัยของ มหาวิทยาลัยฯไป

ใชประโยชนกับภาคชุมชนและอุตสาหกรรม ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2554 มหาวิทยาลัยฯโดยสํานักวิจัยและพัฒนา ไดปรับนโยบายในการนํางานวิจัยไปใชประโยชนเปนแบบเชิงรุกมากขึ้น โดยปรับโครงสรางการทํางานของ 3 หนวยงาน ไดแก 1) สํานักงานประสานงานวิจัยอุตสาหกรรมและชุมชน ภายใตสํานักวิจัยและพฒันา 2) คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยฯ ภายใตกระทรวงวิทยาศาสตร และ 3) สํานักประสานงานชุดโครงการ “การวิจัยและพัฒนาเชิงพื้นที่ 4 จังหวัดภาคใตตอนกลาง (ABC)” ภายใตสํานักงานสนับสนุนการวิจัย หรือ สกว. โดยทั้ง 3 หนวยงานมีสํานักงานตั้งอยูรวมกันที่สํานักงานของสํานักวิจัยและพัฒนา และใชชื่อสํานักงานวา สํานักงานประสานงานวิจัยอุตสาหกรรมและชุมชน หรือ CILO-ซีโล พรอมกันนั้น มหาวิทยาลัยฯไดแตงตั้งผูบริหารในตําแหนงรองผูอํานวยการสํานักวิจัยฯ ฝายวิจัยอุตสาหกรรมและชุมชน เพื่อขับเคลื่อนภารกิจดังกลาว ณ ปจจุบันจากบทบาทและหนาที่ของทั้ง 3 หนวยงาน ทําใหเกิดกิจกรรมตาง ๆ ในนามมหาวิทยาลัยฯ ถายทอดออกสูสังคมจํานวนมาก นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยฯ ยังมีโครงการวิจัยและพัฒนาภาครัฐรวมเอกชนในเชิงพาณิชย เครือขายวิชาการสารเสพติดภาคใต ภารกิจภายใตเครือขายวิจัยภาคใตตอนลาง อุทยานวิทยาศาสตรภาคใตซ่ึงประกอบดวย ศูนยบมเพาะธุรกิจ (PSU-BIC) ฝายการจัดการทรัพยสินทาง

ปญญาและถายทอดเทคโนโลยี (Intellectual Property Office of Prince of Songkla University, IPOP) ซ่ึงเปนโครงการพิเศษและเปนหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยฯ ที่จะทําหนาที่เผยแพรและถายทอดองคความรูดานงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ไปสูชุมชน องคกรตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ในลักษณะการใหบริการวิชาการและบริการวิจัย ในระดับคณะ หลายคณะมีระบบใหรางวัลและเชิดชผูลงานวิจัยที่นําไปใชประโยชนตามบริบทของคณะ ซ่ึงจะชวยใหมหาวิทยาลัยฯมีจํานวนผลงานวิจัยใชประโยชนมากขึ้น ปการศึกษา 2553 มีงานวิจัยและงานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชนทั้งในระดับชาติและนานาชาติ จํานวน 436 ชิ้น มีจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยจํานวน 2,053 คน คิดเปนรอยละ 21.24 ประเมินตนเองได 5.00 คะแนน รายการหลกัฐาน ม.อ.6-01 งานวิจัยใชประโยชนเชิงพาณิชย จําแนกรายคณะ จํานวน 27 คณะ ม.อ.6-02 หลกัฐานการนํางานวิจัยไปใชประโยชน จําแนกรายคณะ จํานวน 27 คณะ

ผลการดาํเนนิงาน ลําดับที ่ หนวยงาน

ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ คะแนนประเมิน

1 คณะทันตแพทยศาสตร 24.00 86.00 27.91 5.00 2 คณะพยาบาลศาสตร 19.00 114.00 16.67 4.17 3 คณะแพทยศาสตร 70.00 295.50 23.69 5.00 4 คณะเภสัชศาสตร 9.00 72.00 12.50 3.13 5 คณะการแพทยแผนไทย 5.00 14.00 35.71 5.00 6 คณะวิทยาศาสตร 52.00 273.00 19.05 4.76 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 23.00 137.00 16.79 4.20 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 2.00 18.50 10.81 2.70

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

72

Page 79: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ผลการดาํเนนิงาน ลําดับที ่ หนวยงาน

ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ คะแนนประเมิน

9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 9.00 43.00 20.93 5.00 10 คณะวิศวกรรมศาสตร 74.00 156.50 47.28 5.00 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 63.00 43.00 146.51 5.00 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 8.00 73.00 10.96 2.74 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 11.00 77.50 14.19 3.55 14 คณะวิทยาการจัดการ 11.00 71.00 15.49 3.87 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 3.00 71.50 4.20 1.05 16 คณะเศรษฐศาสตร 5.00 21.00 23.81 5.00 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 2.00 20.00 10.00 2.50 18 คณะศึกษาศาสตร 14.00 69.00 20.29 5.00 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 1.00 17.00 5.88 1.47 20 คณะนิตศิาสตร 0.00 19.00 0.00 0.00 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 5.00 136.50 3.66 0.92 22 คณะศิลปศาสตร 3.00 76.50 3.92 0.98 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 5.00 28.50 17.54 4.39 24 คณะรัฐศาสตร 6.00 16.00 37.50 5.00 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 2.00 24.00 8.33 2.08 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 6.00 46.00 13.04 3.26 27 คณะวิเทศศึกษา 4.00 34.00 11.76 2.94

มหาวิทยาลัย 436.00 2,053.00 21.24 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

73

Page 80: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานงานวิจัยและงานสรางสรรค

ตัวบงช้ีที่ 7 ผลงานวิชาการที่ไดรับการรับรองคณุภาพ

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน กําหนดระดับคุณภาพผลงานวชิาการ ดังนี ้

คาน้าํหนัก ระดับคณุภาพผลงานวิชาการ

0.25 บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับชาติ

0.50 บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ

0.75 ตําราหรือหนังสือที่มีการประเมินผานตามเกณฑตรวจอานโดยผูทรงคุณวุฒิที่

สถานศึกษากําหนด

1.00 ตําราหรือ หนังสือที่ใชในการขอผลงานทางวิชาการและผานการพิจารณาตามเกณฑการขอตําแหนง ทางวิชาการแลว หรือตําราหรือหนังสือที่มีคุณภาพสูงมีผูทรงคุณวุฒิตรวจอานตามเกณฑขอ ตําแหนงทางวิชาการ

ใชบัญญัติไตรยางศเทียบ โดยกําหนดรอยละ 10 เทากบั 5 คะแนน ทุกกลุมสาขาวิชา

หมายเหต ุ

เกณฑมาตรฐาน เชิงปริมาณ ขอมูลพ้ืนฐาน ผลการดําเนินงาน

จํานวนอาจารยประจําท้ังหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ 2,042.00

จํานวนนักวิจัยประจําท้ังหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ 11.00

บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับชาติ 65.00

บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ 18.00

ตําราหรือหนังสือท่ีมีการประเมินผานตามเกณฑตรวจอานโดยผูทรงคุณวุฒิท่ีสถานศึกษากําหนด 121.00

ตํารา หรือหนังสือท่ีใชในการขอผลงานทางวิชาการและผานการพิจารณาตามเกณฑการขอ ตําแหนงทางวิชาการแลว หรือตําราหรือหนังสือท่ีมีคุณภาพสูงมีผูทรงคุณวุฒิตรวจอานตามเกณฑขอ ตําแหนงทางวิชาการ

44.00

วิธีการคาํนวณ

ผลรวมถวงน้ําหนกัของผลงานวิชาการที่ไดรับรองคุณภาพ

จํานวนอาจารยประจําและนกัวิจัยประจําทั้งหมด

× 100

ผลการคํานวณ

160.00 2,053

× 100 = 7.79

ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 10 7.79 3.90 ไมบรรลุเปาหมาย

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

74

Page 81: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ผลการดาํเนนิงาน มหาวิทยาลัยฯ และหนวยงานตางๆ สนับสนุนการผลิตผลงานวิชาการตามโยบายของมหาวิทยาลัยฯ และหนวยงานมีการจัดสรร

ทรัพยากร งบประมาณ และใหเปนเงินรางวัลแกผูที่มีผลงานตีพิมพ ในป 2553 มีอาจารยประจําและนักวิจัยผลิตบทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารระดับชาติ หรือวารสารที่มีชื่อปรากฏ

ในฐานขอมูล TCI จํานวน 65 เร่ือง จําแนกเปนบทความใน สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีจํานวน 5 เร่ือง สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ จํานวน 14 เรื่อง และสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 46 เรื่อง มีผลงานวิชาการที่ตีพิมพเผยแพรในวารสารระดับนานาชาติ จํานวน 18 เรื่อง จําแนกเปนบทความในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีจํานวน 9 เรื่อง สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ จํานวน 8 เรื่อง และสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 1 เรื่อง

นอกจากนี้ มีตําราหรือหนังสือที่มีการตรวจอานโดยผูทรงคณุวุฒิ จํานวน 121 เร่ือง ตําราและหนังสือที่ใชในการขอผลงานทางวิชาการและผานเกณฑของการขอตําแหนงทางวิชาการแลว หรือตําราหรือหนังสือที่มีคุณภาพสูงมีผูทรงคุณวุฒิตรวจอานตามเกณฑของการขอตําแหนงทางวิชาการ จํานวน 44 เรื่อง

รวมผลงานทางวิชาการที่ไดรับรองคุณภาพทั้งหมดตอจํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยทั้งหมด คิดเปนรอยละ 7.79 ต่ํากวาเปาหมายที่กําหนดไว ประเมินตนเองได 3.90 คะแนน รายการหลักฐาน ม.อ.7-01 บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับชาติ จําแนกรายคณะ จํานวน 27 คณะ ม.อ.7-02 บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ จําแนกรายคณะ จํานวน 27 คณะ ม.อ.7-03 ผลงานวิชาการที่ไดรับรองคุณภาพ จําแนกรายคณะ จํานวน 27 คณะ

ผลการดาํเนนิงาน ลําดับที ่ หนวยงาน

ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ คะแนนประเมิน

1 คณะทันตแพทยศาสตร 4.00 86.00 4.65 2.33 2 คณะพยาบาลศาสตร 10.50 114.00 9.21 4.61 3 คณะแพทยศาสตร 33.00 295.50 11.17 5.00 4 คณะเภสัชศาสตร 8.50 72.00 11.81 5.00 5 คณะการแพทยแผนไทย 0.00 14.00 0.00 0.00 6 คณะวิทยาศาสตร 38.00 273.00 13.92 5.00 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 10.50 137.00 7.66 3.83 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 1.50 18.50 8.11 4.05 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 2.50 43.00 5.81 2.91

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 10.50 156.50 6.71 3.35 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 3.50 43.00 8.14 4.07 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 1.00 73.00 1.37 0.68 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 6.00 77.50 7.74 3.87 14 คณะวิทยาการจัดการ 4.25 71.00 5.99 2.99 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 0.75 71.50 1.05 0.52 16 คณะเศรษฐศาสตร 1.50 21.00 7.14 3.57 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 3.50 20.00 17.50 5.00 18 คณะศึกษาศาสตร 4.75 69.00 6.88 3.44 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 1.50 17.00 8.82 4.41 20 คณะนิตศิาสตร 2.50 19.00 13.16 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

75

Page 82: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ผลการดาํเนนิงาน ลําดับที ่ หนวยงาน

ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ คะแนนประเมิน

21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 3.50 136.50 2.56 1.28 22 คณะศิลปศาสตร 1.25 76.50 1.63 0.82 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 4.00 28.50 14.04 5.00 24 คณะรัฐศาสตร 0.25 16.00 1.56 0.78 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 0.50 24.00 2.08 1.04 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 0.00 46.00 0.00 0.00 27 คณะวิเทศศึกษา 2.25 34.00 6.62 3.31

มหาวิทยาลัย 160.00 2,053.00 7.79 3.90

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

76

Page 83: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานการบริการวชิาการแกสังคม

ตัวบงช้ีที่ 8 ผลการนาํความรูและประสบการณจากการใหบริการวิชาการมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนและ/หรือการวิจัย

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน ใชบัญญัติไตรยางศเทียบ โดยกําหนดรอยละ 30 เทากบั 5 คะแนน

หมายเหต ุ

เกณฑมาตรฐาน เชิงปริมาณ ขอมูลพ้ืนฐาน ผลการดําเนินงาน

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการทั้งหมด 446.00

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ท่ีบูรณาการเฉพาะกับการเรียนการสอน 141.00

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ท่ีบูรณาการเฉพาะกับการวิจัย 31.00

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ท่ีบูรณาการกับทั้งการเรียนการสอนและการวิจัย 61.00

ผลรวมโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ท่ีบูรณาการกับการเรียนการสอนและการวิจัย 233.00 วิธีการคาํนวณ

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการวชิาการ ที่นํามาใชในการพัฒนาการเรียน

การสอนและการวิจัย จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการวชิาการทั้งหมด

× 100

ผลการคํานวณ

233.00 446.00

× 100 = 52.24

ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

รอยละ 30 52.24 5.00 บรรลุเปาหมาย ผลการดาํเนนิงาน ปการศึกษา 2553 มหาวิทยาลัยมีจํานวนกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการจํานวน 446โครงการ นําไปบูรณาการเพื่อการเรียนการสอนจํานวน 141 โครงการ นําไปบูรณาการเพื่อการวิจัยจํานวน 31 โครงการ และนําไปบูรณาการเพื่อการเรียนการสอนและการวิจัยจํานวน 61 โครงการ รวม 233 โครงการ คิดเปนรอยละ 52.24 ของจํานวนกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการทั้งหมด ประเมินตนเองได 5.00 คะแนน รายการหลักฐาน ม.อ.8-01 รายชื่อกจิกรรม/โครงการบริการวิชาการป 2553

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

77

Page 84: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ผลการดาํเนนิงาน ลําดับที ่ หนวยงาน

ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ คะแนนประเมิน

1 คณะทันตแพทยศาสตร 10.00 11.00 90.91 5.00 2 คณะพยาบาลศาสตร 10.00 23.00 43.48 5.00 3 คณะแพทยศาสตร 23.00 34.00 67.65 5.00 4 คณะเภสัชศาสตร 10.00 10.00 100.00 5.00 5 คณะการแพทยแผนไทย 2.00 3.00 66.67 5.00 6 คณะวิทยาศาสตร 13.00 37.00 35.14 5.00 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 10.00 27.00 37.04 5.00 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 7.00 8.00 87.50 5.00 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 4.00 13.00 30.77 5.00

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 12.00 35.00 34.29 5.00 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 2.00 8.00 25.00 4.17 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 9.00 15.00 60.00 5.00 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 4.00 8.00 50.00 5.00 14 คณะวิทยาการจัดการ 7.00 8.00 87.50 5.00 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 8.00 13.00 61.54 5.00 16 คณะเศรษฐศาสตร 6.00 6.00 100.00 5.00 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 5.00 12.00 41.67 5.00 18 คณะศึกษาศาสตร 31.00 51.00 60.78 5.00 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 3.00 10.00 30.00 5.00 20 คณะนิตศิาสตร 3.00 5.00 60.00 5.00 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 6.00 18.00 33.33 5.00 22 คณะศิลปศาสตร 15.00 35.00 42.86 5.00 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 10.00 26.00 38.46 5.00 24 คณะรัฐศาสตร 4.00 8.00 50.00 5.00 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 12.00 12.00 100.00 5.00 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 4.00 4.00 100.00 5.00 27 คณะวิเทศศึกษา 2.00 6.00 33.33 5.00

มหาวิทยาลัย 232.00 446.00 52.02 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

78

Page 85: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานการบริการวชิาการแกสังคม

ตัวบงช้ีที่ 9 ผลการเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนหรือองคกรภายนอก

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลิต

เกณฑการประเมิน 1 2 3 4 5

ปฏิบัตไิด 1 ขอ ปฏิบัตไิด 2 ขอ ปฏิบัตไิด 3 ขอ ปฏิบัตไิด 4 ขอ ปฏิบัตไิด 5 ขอ

หมายเหตุ สําหรับสถาบันที่ไดรับการประเมินป 2554 กรณีเปนกิจกรรมใหม สําหรับเกณฑตอเนื่อง ย่ังยืน และเขมแข็ง ใหใช 1 ปไดโดยอนุโลม

เกณฑมาตรฐาน ขอ ผลการประเมินตนเอง

ตอ. ขอ เกณฑการประเมิน ผลดําเนนิงาน หลักฐาน

1 มีการดํ า เนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยการมีสวนรวมของชุมชน

หรือองค0กร

มหาวิทยาลัยมีการดําเนินโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการตามวงจรคุณภาพ (PDCA) รายละเอียดดังนี้ 1. มหาวิทยาลัยมีแผนพัฒนามหาวิทยาลัย

(พ.ศ.2553-2554) ดานบริการวิชาการดังนี้ ยุทธศาสตร : การเปนศูนยกลางการเรียนรูในทุกมิติที่เปดกวางตอการแสวงหาความรู เปาประสงค : -เรงพัฒนาการผลิตส่ือการเรียนรูสําหรับกลุมเปาหมายทุกระดับ เพื่อสรางโอกาสในการใฝห าความรู โดย เฉพาะสื่ อเทคโนโลยีต า งๆ ที่สามารถนํ า สู การถ ายทอดเพื่ อ เร ง เสริมการ เรี ยนรู ของ

ประชาชนและนักเรียนในพื้นที่เขตพัฒนา

พิเศษเฉพาะกิจ -จัดกิจกรรมบริการวิชาการและรวมกับหนวยงานภายนอกเพื่อถายทอดองคความรู ที่ เ ปนการยกระดับคุณภาพชี วิ ตของ

ประช าชน ทั้ ง ในลั กษณะก า รสร า ง

มูลคาเพิ่มจากภูมิปญญาทองถิ่น ควบคูกับทัศนคติการดํารงอยูรวมกันในสังคมอยาง

สันติสุข 2. ระเบียบมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วา

ดวยการใหบริการทางวิชาการ พ.ศ.2551 และแนวปฏิบัติตามระเบียบฯ

3. ม ห า วิ ท ย า ลั ย มี ก า ร แ ต ง ตั้ ง

คณะกรรมการนโยบายดานบริการวิชาการ 4. มหาวิทยาลัยมีการแตงตั้ งคณะทํางาน

พิจารณารายละเอียดคําของบประมาณ

โครงการบริการวิชาการแกชุมชน

ม.อ.9-01 แผนพัฒนามหาวิทยาลัย (พ.ศ.2553-2554) ม.อ.9-02 แผนปฏิบัติราชการดานบ ริ ก า ร วิ ช า ก า ร ป ร ะ จํ า ป

งบประมาณ 2553 ม . อ . 9 -0 3 เ ว็ บ ไ ซ ต

http://south.psu.ac.th/ โครงการ

ตนแบบศูนยทางไกลเพื่อการศึกษา

และพัฒนาในพื้นที่เส่ียงภัยจังหวัด

ชายแดนภาคใต (e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต) ม.อ.9-04 รายชื่อกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการป 2553 ม .อ .9-05 ระเบียบมหาวิทยาลัย สงขล านคริ นทร ว า ด ว ยก า รใหบริการทางวิชาการ พ.ศ.2551 ม .อ . 9 -0 6 คํ าสั่ งมหาวิทย าลั ย สงขลานครินทร ที่ 1706/2550 ลงวันที่ 11 ก.ย. 2550 เร่ือง แตงตั้งคณะกรรมการนโยบายดานบริการ

วิชาการ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร ม .อ . 9 -0 7 คํ าสั่ งมหาวิทย าลั ย สงขลานครินทร ที่ 1935/2551 ลงวันที่ 9 ต .ค. 2551 เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานพิจารณารายละเอียดคํา

ของบประมาณโครงการบริการ

วิ ช า ก า ร แ ก ชุ ม ช น ป ร ะ จํ า ป งบประมาณ พ.ศ.2553 ม.อ.9-08 งบประมาณเงินรายไดป

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

79

Page 86: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5. มหาวิทยาลัยกําหนดใหคณะ/หนวยงานตางๆ จัดทํางบประมาณเงินรายไดสําหรับกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการ

ก า รดํ า เ นิ น กิ จ ก ร รมบริ ก า ร วิ ช า ก า รนั้ น มหาวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณแผนดิน จํานวน 6.75 ลานบาทใหแกคณะ/หนวยงานตางๆ ไปดําเนินกิจกรรมโครงการบริการวิชาการ ที่ผานก า รพิ จ า รณ า จ า ก คณะทํ า ง า นพิ จ า รณ า

รายละเอียดคําของบประมาณฯ (เปนโครงการใหเปลา) ผลการดําเนินงาน ป พ.ศ.2553 มีจํานวนโครงการทั้งส้ิน 83 โครงการ

นอกจากนี้ คณะ /หนวยงานดํ า เนินการจัดกิจกรรมโครงการตามแผนงบประมาณเงิน

รายได และการรองขอจากองคกร/ชุมชน ตามประเภทกิจกรรมดังนี้

1) การวิเคราะห ทดสอบ ตรวจสอบและตรวจซอม การใหบริการเคร่ืองมือและอุปกรณตางๆ

2) การใหบริการ เกี่ ยวกับ สุขภาพที่

นอกเหนือจากหนาที่ความรับผิดชอบ

โดยตรงของหนวยงานที่เกี่ยวของ 3) การจัดฝกอบรม สัมมนา ประชุม

ปฏิบัติการ 4) การศึกษา สํารวจ วิเคราะห ออกแบบ

และประเมิน 5) การใหคําปรึกษา และคําแนะนํา 6) การใหบริการขอมูล การแปล 7) การใหบริการวิชาการอื่นๆ

สวนการประเมินผลนั้น มหาวิทยาลัยกําหนดใหคณะ /หนวยงานประ เมินผลทุกกิ จกรรม /โครงการบริการวิชาการ ทั้งนี้ หากเปนกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการที่ไดรับงบประมาณ

จัดสรรจากมหาวิทยาลั ยและประสงค จะ

ดํ า เ นิ นก า รกิ จ ก รรมต อ เนื่ อ ง ในป ถั ด ไป มหาวิทยาลัยกําหนดรายงานผลการดําเนินงาน

ในปที่ผานมาดวยโดยกําหนดไวในแบบขอเสนอ

โครงการเพื่อรับการพิจารณา การนําผลประเมินไปพัฒนา เนนการมีสวนรวม

ง บ ป ร ะ ม า ณ 2 5 5 3 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ม.อ.9-09 รายงานผลการปฏิบัติงานดานบริการวิชาการแกสังคมตาม

ตัวชี้วัดและเปาหมาย มหาวิทยาลัยสงขลา-นครินทร ปงบประมาณ 2553 ม . อ . 9 -1 0 ส รุ ป ร า ย ง า น ก า ร

เปรียบเทียบประมาณการรายรับ

กับรายรับจริงปงบประมาณ 2553 ม.อ.9-11 หนังสือที่ มอ.066/ว 047 ลงวันที่ 20 เม.ย. 2553 เร่ือง แนวปฏิบัติการประเมินผลกิจกรรม

โครงการบริการวิชาการ ม .อ .9 -12 แบบเสนอโครงการบริการวิชาการ เพื่ อขอรับการ

สนับสนุนงบ ประมาณโครงการ

บริการวิชาการ ม.อ.9-13 แนวทางการจัดทําคําของบประมาณโครงการบริ ก า ร

วิชาการแกชุมชน ม.อ.9-14 บทสรุปสําหรับผูบริหารโครงการศึกษาพัฒนาหมูบ าน

ประมงตนแบบนํารอง ม.อ.9-15 รายงานความกาวหนาป 2553 โครงการการสร างความมั่นคงดานอาหารและอาชีพแกชาย

และหญิงที่ เปราะบางในภาคใต

ของประเทศไทย ม .อ . 9 -16 โครงการภูมิปญญา

การแพทยแผนไทยสูชุมชนครั้งที่ 5 ม .อ . 9 -17 โครงการภูมิปญญา

การแพทยแผนไทยสูชุมชนครั้งที่ 6

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

80

Page 87: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ของชุมชนหรือองคกร เชน 1. โครงการศึกษาพัฒนาหมูบ านประมง

ตนแบบนํารอง 2. โครงการการสรางความมั่นคงดานอาหาร

และอาชีพแกชายและหญิงที่เปราะบางใน

ภาคใตของ ระเทศไทย

3. โครงการภูมิปญญาการแพทยแผนไทยสู

ชุมชน คร้ังที่ 5 4. โครงการภูมิปญญาการแพทยแผนไทยสู

ชุมชน คร้ังที่ 6

2 บรรลุเปาหมายตามแผนไมต่ํากวารอยละ 80

มหาวิทยาลัยมีแผนการดําเนินโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการจํานวน 78 โครงการและไดดํา เนินการโครงการ /กิจกรรมครบถวนทุกโครงการคิดเปนรอยละ 100

ม.อ.9-04 รายชื่อโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการป 2553

3 ชุมชนหรือองคกรมีผูนําหรือสมาชิกที่มี

การเรียนรูและดําเนินกิจกรรมอยางตอ เนื่อง

มหาวิทยาลัยมีการสนับสนุนสงเสริมใหชุมชน

หรือองคกรมีผูนําหรือสมาชิกเขารวมกิจกรรม

อยางตอเนื่อง เชน โครงการศึกษาพัฒนาหมูบานประมงตนแบบนํารอง, โครงการการสรางความมั่นคงดานอาหารและอาชีพแกชายและหญิงที่

เปราะบางในภาคใตของประเทศไทย,โครงการภูมิปญญาการแพทยแผนไทยสูชุมชนครั้งที่ 5 และ โครงการภูมิปญญาการแพทยแผนไทยสูชุมชนครั้งที่ 6

ม.อ.9-14 บทสรุปสําหรับผูบริหารโครงการศึกษาพัฒนาหมูบ าน

ประมงตนแบบนํารอง ม.อ.9-15 รายงานความกาวหนาป 2553 โครงการการสร างความมั่นคงดานอาหารและอาชีพแกชาย

และหญิงที่ เปราะบางในภาคใต

ของประเทศไทย ม .อ . 9 -16 โครงการภูมิปญญา

การแพทยแผนไทยสูชุมชนครั้งที่ 5 ม .อ . 9 -17 โครงการภูมิปญญา

การแพทยแผนไทยสูชุมชนครั้งที่ 6

4 ชุมชนหรือองคกรสรางกลไกที่มีการ

พัฒนาตนเองอยางตอเนื่องและยั่งยืน โดยคงอัตลักษณและวัฒนธรรมของ

ชุมชนหรือองคกร

มหาวิทยาลัยมีการสนับสนุนสงเสริมใหชุมชน

หรือองคกรสรางกลไกที่มีการพัฒนาตนเองอยาง

ตอเนื่องและยั่งยืนโดยคง อัตลักษณและวัฒนธรรมของชุมชน เชน โครงการศึกษาพัฒนาหมูบานประมงตนแบบนํารอง, โครงการการสรางความมั่นคงดานอาหารและอาชีพแกชาย

และหญิง ที่เปราะบางในภาคใตของประเทศไทย,โครงการภูมิปญญาการแพทยแผนไทยสูชุมชน

คร้ังที่ 5 และ โครงการภูมิปญญาการแพทยแผนไทยสูชุมชนครั้งที่ 6

ม.อ.9-14 บทสรุปสําหรับผูบริหารโครงการศึกษาพัฒนาหมูบ าน

ประมงตนแบบนํารอง ม.อ.9-15 รายงานความกาวหนาป 2553 โครงการการสร างความมั่นคงดานอาหารและอาชีพแกชาย

และหญิงที่ เปราะบางในภาคใต

ของประเทศไทย ม .อ . 9 -16 โครงการภูมิปญญา

การแพทยแผนไทยสูชุมชนครั้งที่ 5 ม .อ . 9 -17 โครงการภูมิปญญา

การแพทยแผนไทยสูชุมชนครั้งที่ 6

5 มีผลกระทบที่เกิดประโยชนสรางคุณคา จากการดําเนินงานใหบริการทางวิชาการของ ม.อ.9-14 บทสรุปสําหรับผูบริหาร

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

81

Page 88: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตอสังคม หรือชุมชน/องคกรมีความเขมแข็ง

มหาวิทยาลัยกอให เกิดคุณคากับสังคมและ

ชุมชนมีความเขมแข็ง สามารถพัฒนาคุณภาพ

ชีวิตใหกินดีอยูดี มีรายไดเพิ่มขึ้น พึ่งพาตนเองได เชน โครงการศึกษาพัฒนาหมูบานประมงตนแบบนํารอง โครงการการสรางความมั่นคงด านอาหารและอาชีพแก ช ายและหญิ งที่

เปราะบางในภาคใตของประเทศไทย,โครงการภูมิปญญาการแพทยแผนไทยสูชุมชนครั้งที่ 5 และ โครงการภูมิปญญาการแพทยแผนไทยสูชุมชนครั้งที่ 6

โครงการศึกษาพัฒนาหมูบ าน

ประมงตนแบบนํารอง ม.อ.9-15 รายงานความกาวหนาป 2553 โครงการการสร างความมั่นคงดานอาหารและอาชีพแกชาย

และหญิงที่ เปราะบางในภาคใต

ของประเทศไทย ม .อ . 9 -16 โครงการภูมิปญญา

การแพทยแผนไทยสูชุมชนครั้งที่ 5 ม .อ . 9 -17 โครงการภูมิปญญา

การแพทยแผนไทยสูชุมชนครั้งที่ 6 ผลการประเมินตนเองปนี้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

5 ขอ 5 5.00 บรรลุเปาหมาย

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 1 คณะทันตแพทยศาสตร 5 5.00 2 คณะพยาบาลศาสตร 5 5.00 3 คณะแพทยศาสตร 5 5.00 4 คณะเภสัชศาสตร 5 5.00 5 คณะการแพทยแผนไทย 5 5.00 6 คณะวิทยาศาสตร 5 5.00 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 5 5.00 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 5 5.00 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 5 5.00

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 5 5.00 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 4 4.00 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 5 5.00 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 5 5.00 14 คณะวิทยาการจัดการ 5 5.00 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 5 5.00 16 คณะเศรษฐศาสตร 5 5.00 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 5 5.00 18 คณะศึกษาศาสตร 5 5.00 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 5 5.00 20 คณะนิตศิาสตร 5 5.00 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 5 5.00 22 คณะศิลปศาสตร 5 5.00 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 5 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

82

Page 89: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 24 คณะรัฐศาสตร 5 5.00 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 5 5.00 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 5 5.00 27 คณะวิเทศศึกษา 5 5.00

มหาวิทยาลัย 5 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

83

Page 90: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานการทํานุบํารงุศิลปะและวัฒนธรรม

ตัวบงช้ีที่ 10 การสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและวัฒนธรรม

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน 1 2 3 4 5

ปฏิบัตไิด 1 ขอ ปฏิบัตไิด 2 ขอ ปฏิบัตไิด 3 ขอ ปฏิบัตไิด 4 ขอ ปฏิบัตไิด 5 ขอ หมายเหต ุ คณะดําเนินการรวมกับมหาวทิยาลยั

เกณฑมาตรฐาน ขอ ผลการประเมินตนเอง

ตอ. ขอ เกณฑการประเมิน ผลดําเนนิงาน หลักฐาน

1 มี ก า รดํ า เนิ น ง านตามวงจร

คุณภาพ (PDCA) มหาวิทยาลัยไดดํ า เนินงานทางดานทํานุบํ ารุ ง

ศิลปวัฒนธรรม โดยจัดทําแผนงานวัฒนธรรมใน

ระดับมหาวิทยาลัยโดยการมีสวนรวมของผูบริหาร

จากทุกวิทยา เขตและหนวยงานหลักทางด าน

วัฒนธรรม เพื่อใหแผนงานมีความสอดคลองกับ

บริบทของแตละวิทยาเขต และสามารถดําเนินงาน

รวมกันได แลวนําแผนงานวัฒนธรรมเขาที่ประชุม

คณบดีเพื่อใหความเห็นชอบ โดยมีกลไกของการ

ดําเนินงานทั้งหนวยงานที่มหาวิทยาลัยจัดตั้งขึ้น คือ ศูนยฯ/สถาบันฯ และไดใชกลไกของคณะหนวยงานที่จัดทําโครงการ/กิจกรรมซึ่งกําหนดไวในแผนงานโครงการของคณะ/หนวยงานดวย การดําเนินงานเพื่อสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะ

และวัฒนธรรมที่ครบถวนครบวงจรคุณภาพเริ่มตั้งแต

การวางแผน การดําเนินงานตามแผน การติดตามและประเมินผล และการนําผลไปพัฒนาปรับปรุง ดังนี้ มห า วิ ท ย า ลั ย ไ ด จั ด ทํ า แ ผ น ง า น ทํ า นุ บํ า รุ ง

ศิลปวัฒนธรรมโดยการมีสวนรวมของทุกวิทยาเขต

และหนวยงานทางดานวัฒนธรรม โดยแตงตั้ งคณะกรรมการการขับเคลื่อนแผนการทํานุบํารุง

ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ประจําปงบประมาณ 2554-2555 มีรองอธิการบดีฝายพัฒนานักศึกษา กีฬาและวัฒนธรรม เปนประธานกรรมการไดยกรางแผนงานวัฒนธรรมทั้งหมดให

สอดคลองกับทิศทาง/เปาหมายการดําเนินงานของมหาวิทยาลัย ในยุทธศาสตร ที่ 3 การผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะสมบูรณสูตลาดงานสากล แลวนําแผนงานเขาสูที่ประชุมคณบดีเพื่อใหคณบดีทุกคณะ/ผูบริหารหนวยงานไดพิจารณาเห็นชอบ และนําไปบรรจุใน

ม .อ .1 0 -0 1 แผนง านวั ฒนธร รม

มหาวิทยาลัย ม.อ.10-02 แผนปฏิบัติงานของคณะ/หนวยงาน ม.อ.10-03 ผูรับผิดชอบงานวัฒนธรรมของแตละคณะ/หนวยงาน ม.อ.10-04 ผูบริหารที่รับผิดชอบงานวัฒนธรรมในระดับมหาวิทยาลัย /วิทยาเขต ม.อ.10-05 คําสั่งแตงตั้งการขับเคลื่อนแผนการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

มห า วิ ท ย า ลั ย สงขล านคริ นท ร ประจําปงบประมาณ 2554-2555 ม.อ.10-06 สรุปรายงานการผลการจัดกิจกรรม ม .อ . 1 0 -0 7 แบบฟอร ม ก า ร เ ก็ บ

รวบรวมขอมูล ม.อ.10-08 คําส่ังแตงตั้งคณะกรรมการจัดทํารายงานประจําปการประเมิน

คุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ปการศึกษา 2553 ม.อ.10-09 สรุปรายงานผลการจัด

กิจกรรม ม.อ.10-10 ขอเสนอแนะของ

คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ประจําปการศึกษา 2552

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

84

Page 91: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

แผนการดําเนินงานเพื่อใหเกิดผลการดําเนินงานตาม

แผน เ มื่ อที่ ป ระชุ มคณบดี เ ห็นชอบแล ว ทุ กคณะ /หนวยงานที่ เกี่ ยวของที่ จะนําไปกําหนดไวใน

แผนงานของคณะ /หนวยงาน โดยมีแผนการปฏิบัติงานในแตละโครงการ/กิจกรรมที่ชัดเจน และบางคณะ /หนวยงานไดสง เสริมและสนับสนุนนักศึกษาใหเขารวมโครงการ/กิจกรรมกับหนวยงานกลางที่จัดโครงการขึ้น อีกทั้ ง ยังมีสโมสรและองคการนักศึกษาไดจัดทําโครงการ/กิจกรรมอยางต อ เ นื่ อ ง โ ด ย มี ผู รั บ ผิ ด ช อ บ ง า น เ กี่ ย ว กั บ

ศิลปวัฒนธรรมของสโมสร /องคการนักศึกษา เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามแผนงานที่กําหนด

มหาวิทยาลัยใชกลไกของคณะ/หนวยงานในการติดตามการดําเนินงานตามแผนงานที่กําหนด เพื่อใหคณะและหนวยงานรายงานผลการดําเนินงานตาม

แบบฟอรมที่มหาวิทยาลัยกําหนดขึ้นตามกรอบ

ระยะเวลาและแผนงานดานการรวบรวมขอมูลเพื่อ

การประกันคุณภาพ โดยมอบหมายใหหนวยงานทางดานวัฒนธรรมเปนหนวยงานกลางในการ

รวบรวมและติดตามผลการดําเนินงานตามแผนและ

ไดกําหนดใหทุกโครงการและกิจกรรมจะตองมีการ

ประเมินผลโครงการ/กิจกรรมโดยใหมีกรอบของตัวชี้วัดดังนี้ 1. จํานวนของผูเขารวมโครงการ/กิจกรรม 2. ความพึงพอใจของผูเขารวมโครงการ/กิจกรรม คณะ/หนวยงานที่เกี่ยวของไดนําผลของการประเมินและจากขอ เสนอแนะของผู เข ารวมโครงการ /กิจกรรมเปนขอมูลพื้นฐานเพื่อกําหนดแผนงาน และนําไปพัฒนาโครงการ/กิจกรรมใหมีความสมบูรณมากยิ่งข้ึน ตอบสนองความตองการของผูรับบริการ มีทั้งพัฒนาปรับปรุงโครงการ/กิจกรรมที่ยังไมไดจัด และพัฒนาปรับปรุงโครงการ/กิจกรรมในรอบปถัดไป และไดนําผลของการประเมินคุณภาพภายในขอ งมห า วิ ท ย า ลั ย ใ นภ า รกิ จ ก า รทํ า นุ บํ า รุ ง

ศิลปวัฒนธรรมมาจัดทําแผนพัฒนา/ปรับปรุง และมอบหมายผู รับผิดชอบอยางชัดเจน ซ่ึงเปนการพัฒนาปรับปรุงในระดับนโยบายอีกทางหนึ่ง

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

85

Page 92: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

2 บรรลุเปาหมายตามแผนไมต่ํา

กวารอยละ 80 ตามที่มหาวิทยาลัยไดจัดทําแผนปฏิบัติงานทางดาน

ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมในปการศึกษา 2553 มีการดําเนินงานไดบรรลุตามเปาหมายของแผน

ม .อ .10-09 สรุปรายงานผลการจัดกิจกรรม ม.อ.10-11 รายงานผล KPI การบรรลุเป าหมายตามแผน /ผลของคณะ /หนวยงาน ม.อ.10-12 รูปกิจกรรม

3 มีการดําเนินงานสม่ําเสมออยาง

ตอเนื่อง มหาวิทยาลัยไดดําเนินงานทางดานการทํานุบํารุง

ศิลปวัฒนธรรมอยางตอเนื่องตามแผนการปฏิบัติงาน

ทั้งในระดับหนวยงานทางดานวัฒนธรรม คณะและองคการนักศึกษามีทั้งกระบวนการพัฒนานักศึกษา การบูรณาการในการเรียนการสอน การสร างบรรยากาศทางดานวัฒนธรรมในมหาวิทยาลัย และการจัดโครงการ/กิจกรรมตามเทศกาลประเพณีตางๆ เชน 1. วันไหวครู 2. วันลอยกระทง 3. วันถือประโยชนเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง

ฯลฯ บางโครงการ/กิจกรรมตามแผนที่กําหนดจะเห็นไดวามีการดําเนินงานตอเนื่องเปนประจําทุกป

ม.อ.10-04 แผนปฏิบัติงานของคณะ/หนวยงาน ม .อ .1 0 -0 5 แผนปฏิ บั ติ ง านขอ ง

องคการนักศึกษา ม.อ.10-09 สรุปรายงานผลการจัด

กิจกรรม ม.อ.10-13 วันไหวครู ม.อ.10-14 วันลอยกระทง ม.อ.10-15 วันถือประโยชนเพื่อน

มนุษยเปนกิจที่หนึ่ง

4 เกิดประโยชนและสรางคุณคา

ตอชุมชนภายใน/ภายนอก การดําเนินงานทางดานวัฒนธรรมของคณะรวมกับ

มหาวิทยาลัยตามนโยบายการบมเพาะคนดี โดยใช

งานวัฒนธรรมเปนเครื่องมือหนึ่งในการบมเพาะนั้น จะสะทอนใหเห็นถึงผู เขารวมกิจกรรมไดพัฒนา

ความคิดในการที่จะดําเนินชีวิตในสังคมใหเปนคนดี มีจิตสํานึกสาธารณะอันจะสงผลใหสังคมและชุมชน

ไดคุณประโยชนและคุณคาในการอยูรวมกันในสังคม มีความเสียสละ นึกถึงประโยชนของสวนรวม ทําใหสังคมและชุมชนสงบสุขได สวนกิจกรรมทางดานศิลปะและวัฒนธรรมที่จัดตามเทศกาลประเพณีทําให

เกิดความสัมพันธที่ดีระหวางสังคมกับมหาวิทยาลัย และทําใหชุมชนไดรับความสุขใจ เชน โครงการลิเกฮูลู (สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา) โครงการอนุรักษภาษาและวัฒนธรรมทองถิ่นภูเก็ต (ม.อ.ภูเก็ต) โครงการชาว ม.อ.รวมใจหางไกลการพนัน (คณะ

รัฐศาสตร) เปนตน การดําเนินงานโครงการ/กิจกรรมทางดานวัฒนธรรมจะตองอาศัยการทํางานรวมกันของทุกฝายที่เกี่ยวของ ทําใหผูปฏิบัติงาน และผูเขารวมโครงการไดทํางาน

ม.อ.10-09 สรุปรายงานผลการจัด

กิจกรรม ม.อ.10-12 รูปกิจกรรม

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

86

Page 93: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รวมกัน มีความเขาใจ เห็นอกเห็นใจกัน จนสุดทายทําใหเกิดความรัก สามัคคี อันสะทอนใหเห็นถึงคุณคาความงดงามของการดําเนินชีวิตของคนในสังคม

5 ไดรับการยกยองระดับชาติและ/หรือนานาชาติ

ในปการศึกษา 2553 บุคลากรที่มีความรูความ สามารถทางดานวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยไดรับ

เ ชิ ญ เ ป น วิ ท ย า ก ร ให กั บหน ว ย ง านภ า ยนอก

มหาวิทยาลัย เชน โครงการนิทรรศการภาพพิมพนานาชาติแหงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จาก

สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา, การไดรับ

รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงิน การแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 56 ของ อ.เจะอับดุลเลาะ เจะสอเหาะ จากคณะศิลปกรรมศาสตร จากการ

นําเสนอผลงานสรางสรรคศิลปกรรม, ผศ.อัมพร ศรประสิทธ์ิ ไดรับการคัดเลือกใหเปนประธานดาน

ศิลปะและวัฒนธรรมในโครงการแลกเปลี่ ยน

ศิลปวัฒนธรรมระหวางสถาบันอุดมศึกษาในเขต

สามเหลี่ยมเศรษฐกิจอินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย (IMT-GT) และ อ.สมโภชน เกตุแกว ไดรับเชิญใหเปน

ผู ช ว ย ผู กํ า กั บ ก า ร แ ส ด ง แส ง เ สี ย ง ล ะ ค ร อิ ง

ประวัติศาสตรทาวเทพกษัตรี ทาวศรีสุนทร ณ จังหวดัภูเก็ต ในดานของนักศึกษา นายเกรียงไกร คมขํา นักศึกษาส า ข า วิ ช า ชุ ม ช น ศึ ก ษ า ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ ไดรับการคัดเลือกเปน “ผูปฏิบัติงานงานดีเดนในรอบปของจังหวัดชายแดนภาคใต ประจําป พ.ศ. 2554” จากกลุมผูนําชุมชน ผูนําศาสนา และองคกรที่ไมแสวงหาผลกําไร ที่ทําหนาที่ใหความชวยเหลือทางราชการ (จังหวัดสงขลา) สาขาการพัฒนาสังคมและทรัพยากรมนุษย โดยการผานการคัดเลือกจากศูนยอํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต ป 2554 ทั้งนี้จะเขาเฝาฯ รับพระราชทานประกาศนียบัตรและเข็มรางวัล จาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี และไดรับการคัดเลือกเปน“เยาวชนดี เดน ป 2554” จากสภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ ซ่ึงเปนการคัดเลือกเยาวชนจากทั่วประเทศตามหลักเกณฑที่ดี

และเหมาะสม เปนที่ยอมรับของสาธารณชนทั่วไป เพื่อสงเสริมและสนับสนุนรวมทั้งยกยองและเชิดชู

เกียรติเยาวชนที่มีความประพฤติดี โดยไดรับโล

ม .อ .1 0 -1 6 เ อ ก ส า ร โ ค ร ง ก า ร

นิทรรศการภาพพิมพนานาชาติแหง

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ม.อ.10-17 ผลงานของอาจารยเจะอับดุลเลาะ เจะสอเหาะ ม.อ.10-18 หลักฐานไดรับการคัดเลือกให เ ป นประธ านด านศิ ลปะและ

วัฒนธรรมในโครงการแลกเปลี่ยน

ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม ร ะ ห ว า ง

สถาบันอุดมศึกษาในเขตสามเหลี่ยม

เศรษฐกิจ อินโดนีเซียมาเลเซีย ไทย (IMT-GT) ม.อ.10-19 หลักฐานไดรับเชิญใหเปนผูชวยผูกํากับการแสดงแสงเสียงละคร

อิงประวัติศาสตร ทาวเทพกษัตรี ทาวศรีสุนทร ณ จังหวัดภูเก็ต ม . อ . 1 0 -2 0 เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก า ศ

ผูปฏิบัติงานดีเดนในรอบปของจังหวัด

ชายแดนภาคใต ม.อ.10-21 เอกสารประกาศเยาวชนดีเดน ม.อ.10-22 เอกสารประกาศนักศึกษาดี เดนรางวัลชนะ เลิศภาคใตของ

กองทุนใหกูยืมเพื่อการศึกษา

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

87

Page 94: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

เกียรติบัตร เข็มเกียรติคุณ และทุนการศึกษา น.ส.กรรณิกา ทองคง นักศึกษาสาขาภาษาจีนเพือ่การส่ือสาร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลา -นครินทร ชั้นป 3ไดรับคัดเลือกใหเปน "นักศึกษาดีเดนรางวัลชนะเลิศ ภาคใตของกองทุนใหกูยืมเพื่อการศึกษา ประจําปการศึกษา 2552"โดยการประกาศของนายธาดา มารติน ผูจัดการกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษาเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2553 เปนตน

ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

5 ขอ 5 5.00 บรรลุเปาหมาย

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 1 คณะทันตแพทยศาสตร 5 5.00 2 คณะพยาบาลศาสตร 5 5.00 3 คณะแพทยศาสตร 5 5.00 4 คณะเภสัชศาสตร 5 5.00 5 คณะการแพทยแผนไทย 5 5.00 6 คณะวิทยาศาสตร 5 5.00 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 5 5.00 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 5 5.00 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 5 5.00

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 5 5.00 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 5 5.00 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 5 5.00 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 5 5.00 14 คณะวิทยาการจัดการ 5 5.00 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 5 5.00 16 คณะเศรษฐศาสตร 5 5.00 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 5 5.00 18 คณะศึกษาศาสตร 5 5.00 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 5 5.00 20 คณะนิตศิาสตร 5 5.00 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 5 5.00 22 คณะศิลปศาสตร 5 5.00 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 5 5.00 24 คณะรัฐศาสตร 5 5.00 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 5 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

88

Page 95: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 5 5.00 27 คณะวิเทศศึกษา 5 5.00

มหาวิทยาลัย 5 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

89

Page 96: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานการทํานุบํารงุศิลปะและวัฒนธรรม

ตัวบงช้ีที่ 11 การพัฒนาสุนทรยีภาพในมิติทางศลิปะและวัฒนธรรม

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน 1 2 3 4 5

ปฏิบัตไิด 1 ขอ ปฏิบัตไิด 2 ขอ ปฏิบัตไิด 3 ขอ ปฏิบัตไิด 4 ขอ ปฏิบัตไิด 5 ขอ

หมายเหต ุ

1. สะอาด หมายถึง ไมรก มีระเบียบ รักษางาย ใชสะดวก 2. สุขลักษณะ หมายถึง สะอาด ปลอดภัย ไรมลภาวะ สุขใจ สบายกาย 3. สวยงาม หมายถึง มีการจัดการจัดแตงอาคาร สภาพแวดลอมอยางเหมาะสม สอดคลองกับพื้นที่แวดลอม ไมส้ินเปลือง และไมกอใหเกิดผลกระทบตอสภาพแวดลอม 4. คณะดําเนินการรวมกับมหาวทิยาลัย

เกณฑมาตรฐาน ขอ ผลการประเมินตนเอง

ตอ. ขอ เกณฑการประเมิน ผลดําเนนิงาน หลักฐาน

1 การมีสวนรวมของบุคลากรในสถาบันที่

กอใหเกิดวัฒนธรรมที่ดี วัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ไดแก “ประโยชน

เพื่ อนมนุษย เ ปนกิ จที่ หนึ่ ง” การทํ า ง านวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยเนนการมีสวนรวม

ของทุกภาคสวนตั้งแตรวมคิดรวมทํา และรวมปฏิบัติโดยมหาวิทยาลัย และคณะ/หนวยงานไดสนับสนุนสงเสริมใหบุคลากรทั้ งอาจารย เจาหนาที่ และนักศึกษาไดมีโอกาสเขารวม

กิจกรรมทางดานศิลปวัฒนธรรมตามโครงการ กิ จ ก รรมที่ คณะ /หน ว ย ง าน ห รือระดั บ

มหาวิทยาลัยจัดข้ึนโดยอาจารย /บุคลากร /เจาหนาที่ไดเขารวมโครงการ/กิจกรรมและสามารถนําจํานวนการเขารวมกิจกรรมมาคิด

ภาระงานได สําหรับนักศึกษาใหนํามาบันทึก

ขอมูลกิจกรรม และเพื่อใหเกิดความรวมมือรวมใจภายในมหาวิทยาลัยในบางโอกาส /เทศกาลมหาวิทยาลัยจึงไดใชการงดการเรียน

การสอนบาง จากการสงเสริมและสนับสนุน

ดังกลาว ทําใหการจัดโครงการ/กิจกรรมไดรับความรวมมือ เปนอย างดี ทั้ งจากผูบริหาร อาจารย เจาหนาที่ และนักศึกษา จนเกิดเปนวัฒนธรรมขององคกร โดยการจัดโครงการ/กิจกรรมแตละครั้งจะมีคณะกรรมการจากทุก

ภาคสวนเขารวม ซ่ึงได รับการแตงตั้ งจากมหาวิทยาลัย คณะ หนวยงานที่ดําเนินโครงการและกิจกรรมนั้นๆ เชน วันถือประโยชนเพื่อนมนุษยเปนกิจที่ 1, วันครูสงขลานครินทร, วันสถาปนามหาวิทยาลัย, วันมหิดล

ม . อ . 1 1 -0 1 จํ า น ว น ผู เ ข า ร ว ม

โครงการ/กิจกรรมที่เปนบุคลากร/นักศึกษาของมหาวิทยาลัย ม.อ.11-02 กิจกรรมวันถือประโยชนเพื่อนมนุษยเปนกิจที่ 1, วันครูสงขลานครินทร, วันสถาปนามหาวิทยาลัย, วันมหิดล

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

90

Page 97: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

2 ส่ิงแวดลอมดานความปลอดภัยของ

อาคารสถานที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ และตกแตงอยางมีความสุนทรีย

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรทั้ง 5 วิทยาเขตมีการเปลี่ยนแปลงดานกายภาพที่ สําคัญของ

มหาวิทยาลัยคือการหลอหลอมศรัทธาของ

อาจารย นักศึกษาและบุคลากรดวยจิตวิญญาณของสงขลานครินทร “ประโยชนของเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง” โดยมีพระรูปพระบิดาเปนสัญลักษณในแตละวิทยาเขตอยางโดดเดน

เปนสงาและวันนี้เปนความชัดเจนในจิตใจของ

ทุกคน พร่ังพรอมดวยความเปนธรรมชาติสีเขียวของตนไมรายรอบ อันเปนความพยายามของสงขลานครินทรในการรักษาไวอยางหวง

แหนในทุกวิถีทางแมตองมีการเตรียมพื้นที่

สํ า ห รั บ ก า ร ข ย า ย ตั ว ข อ ง ภ า ร กิ จ ข อ ง

มหาวิทยาลัยในการนําพาและชวยเหลือสังคมสู

อารยะ หากแตสภาพแวดลอมมหาวิทยาลัยวนันี้ยังไดรับการสงเสริมและรักษาไวใหสามารถ

สนับสนุนตอคุณภาพชีวิตที่ดีอยางย่ังยืน เปนที่ซ่ึงทุกคนในมหาวิทยาลัยรวมถึงชุมชนของคอ

หงสและหาดใหญไดมาพักผอน ออกกําลังกาย และดื่มด่ํากับธรรมชาติที่สดชื่นหลังเลิกภารกิจ

การงานที่เหน็ดเหนื่อยในแตละวันไดผอนคลาย ความสวยงามของธรรมชาติอางเก็บน้ําศรีตรัง

อิงแอบกับเขาคอหงสยังเปนที่เลื่องลืออยูจนทุก

วันนี้ ความสวยงามของสงขลานครินทรแมเปนไป

อยางเรียบงายแตก็โดดเดนดวยธรรมชาติ การพัฒนาในระยะ 5 ปที่ผานมา การกอสรางอาคารสถานที่ของสงขลานครินทรเนนการเปนศูนย

รวมของจิตใจและการทํากิจกรรม อยางเชนอาคารศูนยทรัพยากรการเรียนรู อาคารเรียนรวมและหอประวัติ ที่ เกิดขึ้นใหม อาคารสถานที่ไดรับการพัฒนาเพื่อใหเกิดความเปน

เอกลักษณสะทอนลักษณะกิจกรรมทางศิลปะ

และวัฒนธรรมในการตกแตงภายในอาคาร ภาพภูมิทัศนมีความเปนสีเขียวของตนไมใหญ

ของทองถิ่นนานาพรรณ ความสะอาดที่ไดรับการดูแลจากระบบที่เนนไมใหมีขยะค่ังคางอยู

ในแตละวัน การดูแลอาคารสถานที่เนนการมีสวนรวมของประชาคมผานกระบวนการ

ม .อ .1 1 -0 3 คํ า ส่ั ง แ ต ง ตั้ ง

คณะกรรมการ 5ส , กรรมการ 6ส และคณะกรรมการ 7ส ม .อ .1 1 -0 4 เ อกสารการประชุ มคณะกรรมการ 5ส, คณะกรรมการ 6ส และคณะกรรมการ 7ส หรืออื่นๆ ม .อ .1 1 -0 5 ต า ร า ง ป ฏิ บั ติ ง า น

ประจําวัน ม .อ . 1 1 -0 6 ต า ร า งต ร ว จคว ามเรียบรอยอาคารประจําวัน ม.อ.11-07 มาตรฐานงานรักษาความสะอาด ม.อ.11-08 โครงการจัดการธนาคารขยะรีไซเคิล และแผนอื่นๆ ม.อ.11-09 ภาพกิจกรรมนิทรรศการธนาคารขยะ และการจัดการขยะ ม.อ.11-10 เอกสารเขารวมโครงการ 84 พรรษา 84 ลาน กิโลกรัมรวมใจรีไซเคิลเพื่อพอกับสภาอุตสาหกรรม

แหงประเทศไทย ม.อ.11-11 แผนงานการดูแล ภูมิทัศน (ไมประดับ ไมกระถางในสํานักงาน) ม.อ.11-12 รายละเอียดการจางดูแลรักษาความสะอาด ม . อ . 1 1 -1 3 ภ า พ กิ จ ก ร ร ม 5ส กิจกรรม 6ส และกิจกรรม 7ส ภาพความปลอดภัย ความสะอาดอื่นๆ http://medinfo2.psu.ac.th/7s/01-home.html ม.อ.11-14 กิจกรรม Big Cleaning Day ม.อ.11-15 ภาพถายกิจกรรมปลูกตนไม ม.อ.11-16 โครงการถนนสีขาว และภาพกิจกรรม ม.อ.11-17 แผนภาพงานจราจร ม.อ.11-18 สถิติการทําผิดกฎจราจร ม.อ.11-19 โครงการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ รักษาความปลอดภัยทุก

ชั่วโมงที่ 9

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

91

Page 98: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

กิจกรรม 5 ส 6 ส 7 ส และการรวมมือรวมใจการจัดใหมี กิจกรรม Big Cleaning Day ของแตละคณะ/หนวยงาน มี ผูเขารวมกิจกรรมจํานวนประมาณ 100 คนขึ้นไป ซ่ึงผลดําเนินงานสามารถบรรลุตามเปาหมายไดรอยละ 100 มหาวิทยาลัยมีความจําเปนตองดูแลเรื่องความ

ปลอดภัยเปนพิเศษในสถานการณของภูมิภาคที่

ยังมีความเสี่ยง ภาพระบบการรักษาปลอดภัยที่ดี ทั้งภายในอาคารและนอกอาคาร เชน ทุกคณะ /หนวยงาน มี เจ าหน าที่ รั กษาความปลอดภัยประจําคณะกํากับ ตรวจการเขาออกประตู มีระบบกลองวงจรปด CCTV ภายใน

และภายนอกอาคาร มีการตรวจตราภายนอก ภายในและหองปฏิบัติการวิจัยทุก 1 ชั่วโมง ภายในอาคารมีอุปกรณถังดับเพลิง สายดับเพลงิ ทุกชั้นของอาคาร และระบบความปลอดภัยจากการใชเครื่องมืออุปกรณของหองวิจัย มีระบบแสกนลายนิ้ วมือ เข าออกของคณะ แตไมครอบคลุมทุกคณะ เชน มีคณะวิทยาศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะทันตแพทยศาสตร พยาบาลศาสตร คณะแพทยศาสตร คณะ

ทรัพยากรธรรมชาติ อาคารสํานักงานอธิการบดีทุกวิทยาเขตฯ และคณะอื่นๆ แตละวิทยาเขตฯ สวนคณะที่ ยังไมไดดําเนินการ อยูระหวางดําเนินการพัฒนา มีการอํานวยความสะดวกการใชบริการสถานที่ ตลอด 24 ชั่วโมง เชน บริเวณภายนอกมีการตรวจรถผานเขา-ออก การติดตั้งกลอง CCTV และ มีแผนการซักซอมปองกันอัคคีภัยทุกคณะ มีการรณรงคการสวมใสหมวกกันน็อคอยางตอเนื่อง ไดผลตามเปาหมายรอยละ 95 ภาพการจราจรที่คับค่ังกําลังไดรับการดูแลดวยระบบขนสงมวลชน

ภายใน

ม.อ .11-20 แผนระบบรองรับการซักซอมแผนอพยพปองกันอัคคีภัย ความปลอดภัยอื่นๆ

3 ปรับแตงและรักษาภูมิทัศนใหสวยงาม สอดคลองกับธรรมชาติ และเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรทั้ง 5 วิทยาเขต มีก ร ะ บ ว น ทั ศ น ก า ร ดู แ ล ก า ย ภ า พ ข อ ง

มหาวิ ท ย าลั ยที่ มุ ง เ น นคว ามยั่ ง ยื น กา รดํา เนินการปรับแตงและรักษาภูมิทัศนได

มุ ง เ น น วิ ถี ท า ง ที่ เ อื้ อ ต อ ก า ร อ นุ รั ก ษ

ทรัพยากรธรรมชาติ รูปธรรมของกระบวนการไดสะทอนผานคานิยมและกิจกรรมหลายดาน

ม . อ . 1 1 -2 1 คํ า ส่ั ง แ ต ง ตั้ ง

คณะกรรมการ Green Campus ม .อ . 1 1 -2 2 เอกสารการประชุมคณะกรรมการ Green Campus ม.อ.11-23 รายละเอียดการจางดูแลรักษาภูมิทัศน ม.อ.11-24 แผนงานมาตรฐานการ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

92

Page 99: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ไดแก 1. การสรางพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นและทดแทน

พื้นที่สีเขียวที่นําไปปลูกส่ิงกอสรางตางๆ โดยเนนพรรณไมที่มีอายุยืนยาว ดูแลรักษาง าย ใหความรม ร่ืนตลอดป มีประโยชนตองานภูมิทัศนหลายดาน ทั้งให คว ามร ม ร่ืน สวยง าม และพื้ นที่ประโยชนตอกิจกรรมตางๆ แลว ยังเกิดประโยชนความหลากหลายตอส่ิงมีชีวิต

อื่นๆ เชน เปนแหลงอาหาร ที่อยูอาศัยของสัตวจําพวก นกและกระรอก และมีการจัดโครงการวันอนุรักษเขาคอหงส รวมกับคณะวิ ทย าศ าสตร โครงการวั นถื อประโยชนเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง มีกิจกรรมปลูกตนไมที่มีผูเขารวมนับพัน

คนทั้งภายในและจากชุมชนเพื่อนบาน และมีกิจกรรมการปลูกตนไมหลายหลาก

สี 2. กิจกรรมการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

โดยเฉพาะพลังงานไฟฟา การใชน้ําดิบธรรมชาติเพื่อนํามาใชประโยชนในการ

ดําเนินภารกิจตางๆ ไดมากถึงรอยละ 60 3. การจัดการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เนน

ความพอเพียง การดูแลรักษางาย สวยงามตามธรรมชาติ มีการปองกันมลภาวะหรือมลพิษ เพื่อใหอากาศบริสุทธ์ิ ไมมีฝุนละออง เสียงรบกวน และปรับปรุงสภาพอากาศใหเหมาะสมตอการดําเนินชีวิตที่มี

คุณภาพและความปลอดภัย เชน - การใชปุยหมัก การใชสารอินทรีย/

ชีวภาพ สําหรับการดูแลรักษาภูมิทั ศน (ต น ไม สนามหญ า ) ใหสวยงามอยู เสมอ มีผลดําเนินงานบรรลุเปาหมายไดรอยละ 100

- การใชพลังงานรถไฟฟาบริการรับ-สงนักศึกษาระหวางที่พัก-อาคารเรียน มีผลดําเนินงานบรรลุเปาหมายไดรอยละ 100

- การออกแบบสิ่งกอสรางที่เปนมิตร

กับสิ่ ง แวดล อม เ ชน การสร า งทางเดินหลังคาคลุมสีเขียว (มีไม

ดูแลภูมิทัศน ม .อ .11-25 แผนงานดูแลภูมิทัศนประจําป ม.อ.11-26 แผนการดําเนินงานภูมิทัศนระยะ 3 ป (2553-2555) ม.อ.11-27 ประกาศมหาวิทยาลัยเขตอนุรักษพันธุกรรมพืชเขา คอหงส ม.อ.11-28 โครงการวันอนุรักษ เขาคอหงส ม.อ.11-29 โครงการวันถือประโยชนเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง ม.อ.11-30 ภาพกิจกรรมปลูกตนไมวันสิ่งแวดลอมโลก ม.อ.11-31 ภาพการปรับปรุงภูมิทัศน โครงการดอกไมหลายหลากสี และการออกแบบอาคารสิ่งกอสราง ม.อ.11-32 ภาพถายกิจกรรมปลูกพรรณไมยืนตน ม .อ . 1 1 -3 3 โคร งก า รพลั ง ง าน

รถไฟฟาขนสงมวลชน โครงการทอเมนประปา และประกาศอนุรักษพลังงาน ม.อ .11-34 รายงานผลดําเนินงานโครงการพลังงานรถไฟฟาขนสง

มวลชน ม.อ.11-35 โครงการบริการรถรวม

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

93

Page 100: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

เลื้อยบนหลังคา) เพื่อลดการใชรถ มีผลดําเนินงานบรรลุเปาหมายไดรอย

ละ 100 - จัดกิจกรรมรณรงคใหนักศึกษาใช

รถจักรยาน แตยังไมบรรลุเปาหมาย เนื่องจากยังไมมีการรณรงคอยาง

ตอเนื่อง - การจัดตั้งธนาคารขยะ โดยการรี

ไซเคิลขยะเพื่อนํามาผลิตไบโอแกส มีผลดําเนินงานบรรลุเปาหมายได

รอยละ 100 - ก า ร ส ร า ง โ ร ง ไ ฟฟ า ย อ ย ข อ ง

มหาวิทยาลัย ชวยประหยัดพลังงาน มีผลดําเนินงานบรรลุเปาหมายได

รอยละ 100 - การผลิตน้ํ าประปาจากแหลงน้ํ า

ธรรมชาติเพื่อใชในมหาวิทยาลัย มีผลดําเนินงานบรรลุเปาหมายได รอยละ 100

- ก า ร อ อ ก แ บ บ ล า น จ อ ด ร ถ จักรยานยนต ไมใหกระทบตอตนไมใหญในพื้นที่ เปนตน ผลดําเนินงานบรรลุเปาหมายไดรอยละ 100

4 การจัดใหมีพื้ นที่ และกิ จกรรมทาง

วั ฒนธ ร รมที่ เ อื้ อ แ ล ะส ง เ ส ริ ม ให

นักศึกษาและบุคลากรมีสวนรวมอยาง

สม่ําเสมอ

มหาวิทยาลัยไดจัดใหมีพื้นที่ทางวัฒนธรรมเพื่อ

เอื้อใหเกิดการจัดกิจกรรมใหอาจารย บุคลากร นักศึกษา และบุคคลทั่วไปได เ รียนรูอยางตอเนื่องในทกุวิทยาเขต เชน วิทยาเขตปตตานีมีอาคารหอศิลป, หอวัฒนธรรม, พิพิธภัณฑที่

สามารถเขาศึกษาเรียนรูไดอยางตอเนื่อง วิทยาเขตหาดใหญไดสนับสนุนพื้นที่ตามแตโอกาส

ของการจัดงาน โดยกองอาคารสถานที่จะเปนผูจัดเตรียมการเรื่องของสถานที่ตามโอกาสของ กิจกรรมโครงการ และจัดใหมีการจัดการแสดงทางวัฒนธรรม ณ ศูนยประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป และมีบานศิลปะและหัตถกรรมเปนแหลงเรียนรูที่อ ยูในชุมชน สามารถใหบริการทั้งนักศึกษาและบุคคลทั่วไป

ได วิทยาเขตสุราษฎรธานี วิทยาเขตตรัง วิทยาเขตภูเก็ต ใชพื้นที่ของสวนกลางในการจัด

กิจกรรมทางวัฒนธรรมอยางตอเนื่อง เชน หอประชุมของวิทยาเขตนั้นๆ

ม .อ . 1 1 -36 ภาพการจัดงานตามเทศกาลตางๆ ม.อ.11-37 ภาพหอศิลป พิพิธภัณฑ

บานศิลปหัตถกรรม

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

94

Page 101: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5 ระดับความพึงพอใจของบุคลากรและ

นักศึกษาไมต่ํากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

จากการดําเนินงานที่กลาวมา มหาวิทยาลัยไดทํ าการประ เมินความพึ งพอใจโดยสร า ง

แบบสอบถามบุคลากรและนักศึกษา ของ

มหาวิทยาลั ยผ านระบบ Online โดยมีผลประเมินความพึงพอใจของบุคลากรและ

นักศึกษาทั้ง 5 วิทยาเขต เทากับ 3.54

ม.อ.11-38 แบบสอบถามระดับความพึงพอใจ/ความคิดเห็นดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ม.อ.11-39 ผลการประเมินดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

5 ขอ 5 5.00 บรรลุเปาหมาย

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 1 คณะทันตแพทยศาสตร 5 5.00 2 คณะพยาบาลศาสตร 5 5.00 3 คณะแพทยศาสตร 5 5.00 4 คณะเภสัชศาสตร 5 5.00 5 คณะการแพทยแผนไทย 5 5.00 6 คณะวิทยาศาสตร 5 5.00 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 5 5.00 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 5 5.00 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 5 5.00

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 5 5.00 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 5 5.00 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 5 5.00 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 5 5.00 14 คณะวิทยาการจัดการ 5 5.00 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 5 5.00 16 คณะเศรษฐศาสตร 5 5.00 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 5 5.00 18 คณะศึกษาศาสตร 5 5.00 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 5 5.00 20 คณะนิตศิาสตร 5 5.00 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 5 5.00 22 คณะศิลปศาสตร 5 5.00 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 5 5.00 24 คณะรัฐศาสตร 5 5.00 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 5 5.00 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 5 5.00 27 คณะวิเทศศึกษา 5 5.00

มหาวิทยาลัย 5 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

95

Page 102: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานการบริหารแลการพัฒนาสถาบัน

ตัวบงช้ีที่ 12 การปฏิบัตติามบทบาทหนาที่ของสภาสถาบนั

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน ใชคาคะแนนผลการประเมินผลการดําเนินงานของสภาสถาบัน (คะแนนเต็ม 5) ที่ครอบคลุมประเด็น ดังตอไปนี้ 1.สภาสถาบันทําพันธกิจครบถวนตามภาระหนาที่ที่กําหนดในพระราชบัญญัติของสถานศึกษา 2.สภาสถาบันกําหนดยุทธศาสตร ทิศทาง กํากับนโยบาย ขอบังคับ ระเบียบ 3.สภาสถาบันทําตามกฎระเบียบของตนสังกัด และหนวยงานที่เกี่ยวของ 4.สภาสถาบันกํากับ ติดตาม การดําเนินงานของผูบริหารสถานศึกษา 5.สภาสถาบันดําเนินงานโดยใชหลักธรรมาภิบาล

หมายเหต ุ เปนการประเมินในระดบัสถาบนั คณะไมตองประเมิน

เกณฑมาตรฐาน เชิงปริมาณ ขอมูลพ้ืนฐาน ผลการดําเนินงาน

คะแนนผลการประเมินผลการดําเนินงานของสภาสถาบัน (คะแนนเต็ม 5) 4.16 ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

3.75 4.16 4.16 บรรลุเปาหมาย ผลการดําเนินงาน 1. สภาสถาบันทําพันธกิจครบถวนตามภาระหนาที่ที่กําหนดในพระราชบัญญัติของสถานศึกษา ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ.2522 มาตรา 15 กําหนดบทบาทหนาที่สภามหาวิทยาลัยใหควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของมหาวิทยาลัยและโดยเฉพาะมีอํานาจหนาที่ตามขอ (1)-(14) ไดแก การออกระเบียบกฎหมาย ขอบังคับตางๆ ของมหาวิทยาลัยรวมทั้งวางนโยบายกําหนดทิศทาง วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยไดสงพระราชบัญญัติ ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับมหาวิทยาลัยใหกับกรรมการสภามหาวิทยาลัย, ผูทรงคุณวุฒิ, กรรมการสภามหาวิทยาลัยทุกคนที่ดํารงตําแหนงใหม เพื่อใหทราบถึงบทบาทหนาที่ที่มีตอสถาบันกอนจะปฏิบัติหนาที่ และยังไดจัดวางพระราชบัญญัติ ระเบียบ ขอบังคับดังกลาวไวในหองประชุมทุกครั้งที่มีการประชุม ในการประชุมทุกครั้งสภามหาวิทยาลัยไดพิจารณาเรื่องตางๆ ตามอํานาจหนาที่ในพระราชบัญญัติ กํากับ ดูแลมหาวิทยาลัยใหไปสูทิศทางที่กําหนดรวมกันกับผูบริหารมหาวิทยาลัยโดยไดพิจารณาใหความเห็น ขอเสนอแนะที่สอดคลองกับทิศทางการพฒันาคณุภาพการศกึษาของประเทศรวมทั้งทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลกปจจุบันดวย 2. สภาสถาบันกําหนดยุทธศาสตร ทิศทาง กํากับนโยบาย ขอบังคับ ระเบียบ สภาสถาบันมีบทบาทสําคัญในการกําหนดยุทธศาสตร ทิศทาง กํากับนโยบายขอบังคับ ระเบียบ ดังนี้ 2.1 สภามหาวิทยาลัยคร้ังที่ 323 (4/2553) เมื่อวันที่ 26 มิ.ย. 2553 ไดเสนอแนะทิศทางนโยบายการดําเนินงานโครงการพิเศษ กําหนดยุทธศาสตรการเพิ่มชองทางการรับนักศึกษาเขาศึกษาขั้นปริญญาตรีโดยวิธีรับตรงดวยการใชคะแนนสอบ GAT และ PAT ยุทธศาสตรการรับนักเรียนทุนการศึกษาเพื่อจูงใจนักเรียนตางพื้นที่เขาศึกษาในวิทยาเขตปตตานี 2.2 สภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 324 (5/2553) เมื่อวันที่ 7 ส.ค. 2553 ไดกําหนดระเบยีบฯ วาดวยการแตงตั้งและการสมนาคุณผูอุปการะโรงพยาบาลสงขลานครินทร คณะแพทยศาสตร วางนโยบายกําหนดกรอบอัตรากําลังพนักงานมหาวิทยาลัยตามแผนอัตรากําลังระยะ 3 ป 2.3 สภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 325 (6/2553) เมื่อวันที่ 18 ก.ย. 2553 ไดเสนอแนะทิศทางการดําเนินงานของโครงการจัดตั้งสถานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพสัตวน้ํา กําหนดแผนพัฒนามหาวิทยาลัย 2.4 สภามหาวิทยาลัยคร้ังที่ 326 (7/2553) เมื่อวันที่ 30 ต.ค. 2553 ไดเสนอแนะทิศทางการดําเนินงานสถานวิจยัผลติภณัฑเสรมิอาหาร

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

96

Page 103: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

และอาหารเพื่อสุขภาพ ทิศทาง การวิจัยของสถาบันฮาลาลกําหนดขอบังคับฯ วาดวยการบริหารสถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต ขอบังคับฯ วาดวยการลาออกจากราชการ ขอบังคับฯ วาดวยการสั่งใหขาราชการออกจากราชการเพื่อรับบําเหน็จบํานาญเหตุทดแทน 2.5 สภามหาวิทยาลัยคร้ังที่ 327 (8/2553) เมื่อวันที่ 11 ธ.ค. 2553 เสนอแนะทิศทางการสรางความเขมแข็งสูความเปนเลิศทางวิชาการ สาขาชีวเคมี สาขาระบาดวิทยา กําหนดยุทธศาสตรการจัดตั้งสถาบันสันติศึกษา 2.6 สภามหาวิทยาลัยคร้ังที่ 328 (1/2554) เมื่อวันที่ 29 ม.ค. 2554 กําหนดยุทธศาสตรการจัดตั้งอุทยานวิทยาศาสตร กําหนดขอบังคับฯ วาดวยการบริหารอุทยานวิทยาศาสตร ขอบังคับฯวาดวยการบริหารงานของสถาบันฮาลาล ขอบังคับฯ วาดวยการกําหนดระดับตําแหนงและการแตงตั้งขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาใหดํารงตําแหนงสูงขึ้น ขอบังคับฯ เร่ืองหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขการเลื่อนเงินเดือนของขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา รางขอบังคับฯ วาดวยหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา 2.7 สภามหาวิทยาลัยคร้ังที่ 329 (2/2554) เมื่อวันที่ 5 มี.ค. 2554 เสนอแนะทิศทางการดําเนินงานดานวิชาการของมหาวิทยาลัยทิศทางสูความเปนเลิศสาขาเภสัชศาสตร ระยะที่ 2 กําหนดนโยบายการรับนักศึกษาจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเขาศึกษาระดับปริญญาตรี กําหนดระเบียบฯวาดวยพนักงานเงินรายไดมหาวิทยาลัยขอบังคับฯ วาดวยมาตรฐานภาระงานทางวิชาการของผูดํารงตําแหนงอาจารย ผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย และศาสตราจารย 2.8 สภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 330 (3/2554) เมื่อวันที่ 23 เม.ย. 2554 ไดเสนอแนะทิศทางการแกปญหาน้ําทวม การแกปญหาจังหวัดชายแดนใต การเผยแพรผลงานวิจัยสูชุมชน/ผูใชประโยชน กําหนดแนวปฏิบัติการรับผูพิการเขาศึกษาระดับปริญญาตรี และกําหนดแนวนโยบายการจัดทํางบประมาณเงินรายได 3. สภาสถาบันทําตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับของตนสังกัดและหนวยงานที่เกี่ยวของ สภาสถาบันทําตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับของตนสังกัดและหนวยงานที่เกี่ยวของ ดังนี้ 3.1 สภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 323 (4/2553) เมื่อวันที่ 26 มิ.ย. 2553 รับทราบตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การจัดการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี (ตอเนื่อง) ดําเนินการโครงการรับสมัครนักเรียนทุนการศึกษาเพื่อจูงใจนักเรียนตางพื้นที่เขาศึกษาในวิทยาเขตปตตานีตามที่สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษากําหนด 3.2 สภามหาวิทยาลัยคร้ังที่ 324 (5/2553) เมื่อวันที่ 7 ส.ค. 2553 รับทราบการซักซอมความเขาใจเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาการจัดการศึกษานอกที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ การกําหนดอาจารยประจําหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต และหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงในสาขาวิชาเดียวกันซึ่งสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาแจงใหสภามหาวิทยาลัยรับทราบ 3.3 สภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 326 (7/2553) เมื่อวันที่ 30 ต.ค. 2553 ไดแตงตั้งคณะกรรมการอุทธรณและรองทุกขประจํามหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2547 4. สภาสถาบันกํากับ ติดตามการดําเนินงานของผูบริหารสถานศึกษา สภาสถาบันกํากับ ติดตามการดําเนินงานของผูบริหารสถานศึกษา ดังนี้ สภามหาวิทยาลัยครั้งที่ 324 (5/2553) เม่ือวันที่ 7 ส.ค. 2553 ไดขอใหคณะ/มหาวิทยาลัยรายงานผลการดําเนินงานของคณะ/มหาวิทยาลัยตอสภามหาวิทยาลัยนอกจากนั้นทุกครั้งที่ประชุม อธิการบดีจะรายงานการดําเนินการตามขอเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย 5. สภาสถาบันดําเนินงานโดยใชหลักธรรมาภิบาล สภาสถาบันดําเนินงานโดยใชหลักธรรมาภิบาล ดังนี้ ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พ.ศ.2522 กําหนดใหมีกรรมการผูทรงคุณวุฒิที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งจากบุคคลภายนอก และกรรมการที่แตงตั้งโดยตําแหนงมีหนาที่ควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของมหาวิทยาลัยโดยเฉพาะอํานาจตามมาตรา 15 เพื่อใหการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล อยางไรก็ตามถึงแมสภามหาวิทยาลัยซ่ึงเปนองคกรสูงสุดในมหาวิทยาลัยจะเปนผูที่มีอํานาจหนาที่ควบคุมดูแลกิจการของมหาวิทยาลัยยังไดแสดงความรับผิดชอบการทํางานขององคกรตอผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝาย โดยไดใชหลักธรรมมาภิบาลทั่วทั้งองคกร ไดเปดโอกาสใหมีการประเมินการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัยโดยแตงตั้งคณะกรรมการประเมินสภามหาวิทยาลัยและรายงานผลใหทราบตามรายงานการประเมินสภามหาวิทยาลัยคร้ังที่ 325 (6/2553) เมื่อวันที่ 18 ก.ย. 2553

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

97

Page 104: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตลอดจนแสดงถึงความโปรงใส ไดมีการรายงานผลการดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจํามหาวิทยาลัยทุก 6 เดือน แตงตั้งคณะกรรมการอุทธรณและรองทุกขประจํามหาวิทยาลัยไดมีการรวบรวมการดําเนินงานตางๆ เชน มติที่ประชุม รายงานการเงิน งบประมาณของมหาวิทยาลัยรายงานการประชุมทุกครั้งไวเปนรูปเลม และเผยแพรทาง เว็บไซต http://www.psu.ac.th พรอมที่จะใหผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝายสามารถรวมตรวจสอบการทํางานได นอกจากนั้นการกําหนดใหมีกรรมการสภามหาวิทยาลัยซ่ึงเลือกตั้งจากคณาจารยประจําของแตละวิทยาเขต วิทยาเขตละไมเกิน 2 คน ทําใหมีผูแทนจากคณาจารยที่สามารถรวมตรวจสอบการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัยได จากการที่ที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยเห็นชอบใหมีการประเมินตนเองตามหนาที่และบทบาทของสภามหาวิทยาลัยเพื่อทบทวนการ

ดําเนินงานของคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยและเพื่อนําผลการประเมินมาปรับปรุงการปฏิบัติหนาที่ของสภามหาวิทยาลัยใหมีประสิทธิภาพ

ย่ิงขึ้นอันจะนําไปสูการพัฒนา จึงไดแตงตั้งคณะกรรมการประเมินตนเองของสภามหาวิทยาลัยข้ึน ใหมีอํานาจหนาที่กําหนดระบบ รูปแบบ และรายละเอียดการประเมินตนเองตามหนาที่และบทบาทของสภามหาวิทยาลัยซ่ึงคณะกรรมการฯ ไดประเมินผลโดยใชแบบสอบถามทั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิและกรรมการโดยตําแหนง กําหนดกรอบการประเมินคณะกรรมการรายคณะ เมื่อทํางานไดคร่ึงวาระ หลังจากประเมินแลวไดรายงานการประเมินตนเองของสภามหาวิทยาลัยโดยเปดเผยไวใน http://www.sapa.psu.ac.th/51/ และไดเปดเผยประวัติกรรมการสภามหาวิทยาลัยไวดวยเชนกัน ซึ่งจากการประเมินตนเองของคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยไดคาคะแนนการประเมนิ 4.16 รายการหลักฐาน ม.อ.12-01 หนังสือนําสงพระราชบัญญัติ ระเบียบ ขอบังคับของมหาวิทยาลัย ม.อ.12-02 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยพ.ศ.2522 ม.อ.12-03 ประมวลระเบียบและขอบังคับมหาวิทยาลัยจํานวน 2 เลม (เปนเอกสาร) ม.อ.12-04 รายงานการประชุมสภามหาวิทยาลัยตั้งแตวันที่ 26 มิ.ย. 2553-23 เม.ย. 2554 จํานวน 8 คร้ัง ม.อ.12-05 ประวัติกรรมการสภามหาวิทยาลัย ม.อ.12-06 ผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

98

Page 105: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานการบริหารแลการพัฒนาสถาบัน

ตัวบงช้ีที่ 13 การปฏิบัตติามบทบาทหนาที่ของผูบริหารสถาบนั

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน ใชคะแนนการประเมินผลผูบริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแตงตั้ง (คะแนนเต็ม 5)

หมายเหต ุ ระดับสถาบัน ผูบริหารหมายถึง อธิการบดี และระดบัคณะ ผูบริหารหมายถึง คณบด ี

เกณฑมาตรฐาน เชิงปริมาณ ขอมูลพ้ืนฐาน ผลการดําเนินงาน

คะแนนการประเมินผลผูบริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแตงต้ัง (คะแนนเต็ม 5) 4.09 ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

3.75 4.09 4.09 บรรลุเปาหมาย ผลการดาํเนนิงาน สภามหาวิทยาลัยไดประเมินผลการปฏิบัติงานของอธิการบดี โดยไดมีประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เร่ืองหลักการวาดวยการประเมินผลการปฏิบัติงานของอธิการบดี และไดแตงตั้งคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของอธิการบดี ผลการประเมินอธิการบดีภาพรวมเทากับ 4.09 รายการหลักฐาน ม.อ.13-01 รายงานผลการสาํรวจความเห็นและความคาดหวังตอการบริหารภารกิจของอธิการบดีมหาวิทยาลัยปการศึกษา 2553 ม.อ.13-02 คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของอธิการบดี ม.อ.13-03 ประกาศวาดวยการประเมินผลการปฏิบัติงานของอธิการบดี ม.อ.13-04 แผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ม.อ.13-05 รายงานการประชุมสภามหาวิทยาลัยรอบปการศึกษา 2553

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 1 คณะทันตแพทยศาสตร 3.30 3.30 2 คณะพยาบาลศาสตร 4.73 4.73 3 คณะแพทยศาสตร 4.30 4.30 4 คณะเภสัชศาสตร 4.20 4.20 5 คณะการแพทยแผนไทย 4.35 4.35 6 คณะวิทยาศาสตร 4.57 4.57 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4.07 4.07 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 4.25 4.25 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 4.45 4.45

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 4.43 4.43 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 3.81 3.81 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 4.26 4.26 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 4.51 4.51 14 คณะวิทยาการจัดการ 4.28 4.28

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

99

Page 106: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 4.10 4.10 16 คณะเศรษฐศาสตร 4.37 4.37 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 3.92 3.92 18 คณะศึกษาศาสตร 3.63 3.63 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 4.28 4.28 20 คณะนิตศิาสตร 4.42 4.42 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 4.45 4.45 22 คณะศิลปศาสตร 4.55 4.55 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 3.83 3.83 24 คณะรัฐศาสตร 4.45 4.45 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 4.25 4.25 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 4.16 4.16 27 คณะวิเทศศึกษา 4.09 4.09

มหาวิทยาลัย 4.09 4.09

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

100

Page 107: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานการบริหารแลการพัฒนาสถาบัน

ตัวบงช้ีที่ 14 การพัฒนาคณาจารย

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน

เกณฑการพิจารณา กําหนดคาน้ําหนกัระดับคณุภาพอาจารย ดังนี ้

วุฒิการศึกษา ตําแหนงทางวิชาการ

ปริญญาตร ี ปริญญาโท ปริญญาเอก

อาจารย 0 2 5 ผูชวยศาสตราจารย 1 3 6 รองศาสตราจารย 3 5 8 ศาสตราจารย 6 8 10

เกณฑการใหคะแนน ใชบัญญัติไตรยางศเทียบ โดยกําหนดใหคาดัชนีคุณภาพอาจารยเปน 6 เทากบั 5 คะแนน

หมายเหต ุ

เกณฑมาตรฐาน เชิงปริมาณ ขอมูลพ้ืนฐาน ผลการดําเนินงาน

จํานวนอาจารยประจําท้ังหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ 2,042.00

จํานวนอาจารยประจํา (ท่ีไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ท่ีมีวุฒิปริญญาตรี 87.50

จํานวนอาจารยประจํา (ท่ีไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ท่ีมีวุฒิปริญญาโท 674.50

จํานวนอาจารยประจํา (ท่ีไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ท่ีมีวุฒิปริญญาเอก 476.50

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ท่ีมีวุฒิปริญญาตรี 4.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ท่ีมีวุฒิปริญญาโท 182.50

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ท่ีมีวุฒิปริญญาเอก 327.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ท่ีมีวุฒิปริญญาตรี 0.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ท่ีมีวุฒิปริญญาโท 53.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ท่ีมีวุฒิปริญญาเอก 214.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ท่ีมีวุฒิปริญญาตรี 0.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ท่ีมีวุฒิปริญญาโท 0.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ท่ีมีวุฒิปริญญาเอก 23.00

วิธีการคาํนวณ

ผลรวมถวงน้ําหนกัของอาจารยประจํา

จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

101

Page 108: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ผลการคํานวณ

8,452.00 2,042.00

= 4.14

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

4.00 4.14 3.45 บรรลุเปาหมาย ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2553 มหาวิทยาลัยมีจํานวนอาจารยประจําที่มีวุฒิปริญญาเอกจํานวน 1,040.50 คน (50.95%) ขณะนี้มีอาจารยที่กําลังศึกษาตอทั้งในและตางประเทศจํานวน 255 คน มหาวิทยาลัยมีแผนพัฒนาความกาวหนาของอาจารยอยางเปนระบบ มีการสงเสริมใหอาจารยมีวุฒิปริญญาเอกเพิ่มขึ้น โดยมหาวิทยาลัยไดจัดสรรงบประมาณใหกับอาจารยลาศึกษาตอระดับปริญญาเอก และมีอาจารยบางสวนที่ลาศึกษาไดสําเร็จการศึกษากลับมาปฏิบัติงานแลว นอกจากนี้มหาวิทยาลัย มีคาตอบแทนใหกับอาจารยที่บรรจุวุฒิปริญญาเอกตางหากนอกเหนือจากเงินเดือน และมหาวิทยาลัยยังมีกลไกในการสรรหาและบรรจุผูที่มีวุฒิปริญญาเอกโดยการจาย คาตอบแทนใหรายละ 200,000-300,000 บาท สําหรับผูดํารงตําแหนงทางวิชาการในปการศึกษา 2553 มีจํานวนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการลดลงจากปที่ผานมา แมจะมีการสนับสนุนใหอาจารยเขาสูตําแหนงทางวิชาการ เชน การสนับสนุนทุนวิจัย ทุนสนับสนุนการแตงตํารา หนังสือ และผลิตส่ือการสอน ทุน

สนับสนุนการตีพิมพผลงานวิจัยในวารสารระดับชาติและนานาชาติ การไดรับเงินคาตอบแทน 100,000 บาท สําหรับผูไดรับการแตงตั้งตําแหนงศาสตราจารย เปนตน แตเนื่องจากมีอาจารยทําหนาที่ตําแหนงบริหารดวยทําใหตองใชเวลามากกวา ปกติเพื่อสรางผลงานทางวิชาการและมีอาจารยหลายทานที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการเกษียณอายุราชการเปนจํานวนมากประกอบกับอาจารยที่บรรจุใหมคุณสมบัติ ยังไมครบในการขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการ รายการหลักฐาน ม.อ.14-01 https://dss.psu.ac.th/dss_person ม.อ.14-02 ประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร เรื่อง การจายคาตอบแทนวุฒิปริญญาเอก ม.อ.14-03 สารสนเทศสําหรับการประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ปการศึกษา 2553

ผลการดาํเนนิงาน ลําดับที ่ หนวยงาน

ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ คะแนนประเมิน

1 คณะทันตแพทยศาสตร 382.00 85.00 4.49 3.75 2 คณะพยาบาลศาสตร 511.00 114.00 4.48 3.74 3 คณะแพทยศาสตร 1,734.50 295.50 5.87 4.89 4 คณะเภสัชศาสตร 396.00 72.00 5.50 4.58 5 คณะการแพทยแผนไทย 33.00 14.00 2.36 1.96 6 คณะวิทยาศาสตร 1,184.00 270.00 4.39 3.65 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 520.00 137.00 3.80 3.16 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 70.00 13.50 5.19 4.32 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 136.00 43.00 3.16 2.64

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 723.00 156.50 4.62 3.85 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 236.00 42.00 5.62 4.68 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 420.50 72.00 5.84 4.87 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 251.50 77.50 3.25 2.70

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

102

Page 109: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ผลการดาํเนนิงาน ลําดับที ่ หนวยงาน

ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ คะแนนประเมิน

14 คณะวิทยาการจัดการ 242.00 71.00 3.41 2.84 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 159.00 71.50 2.22 1.85 16 คณะเศรษฐศาสตร 65.00 21.00 3.10 2.58 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 69.00 20.00 3.45 2.88 18 คณะศึกษาศาสตร 251.50 69.00 3.64 3.04 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 47.00 17.00 2.76 2.30 20 คณะนิตศิาสตร 31.00 19.00 1.63 1.36 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 343.50 136.50 2.52 2.10 22 คณะศิลปศาสตร 270.50 76.50 3.54 2.95 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 104.00 28.50 3.65 3.04 24 คณะรัฐศาสตร 41.00 16.00 2.56 2.14 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 57.00 24.00 2.38 1.98 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 105.00 46.00 2.28 1.90 27 คณะวิเทศศึกษา 69.00 34.00 2.03 1.69

มหาวิทยาลัย 8,452.00 2,042.00 4.14 3.45

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

103

Page 110: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีพื้นฐาน ดานการพัฒนาและประกันคณุภาพภายใน

ตัวบงช้ีที่ 15 ผลประเมินการประกันคณุภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน ใชคะแนนผลการประเมินการประกันคุณภาพการศกึษาภายใน โดยตนสังกัด

หมายเหต ุ 1.ใชคะแนนประเมินระบบประกันคุณภาพภายใน (ระบบ 5 คะแนน) ระดับสถาบัน ตามที่หนวยงานตนสังกัดกําหนด ตั้งแตปการศึกษา 2553 (เนื่องจากใชเกณฑการประเมินใหม) เชน -ประเมินป 2554 ใชคะแนนประเมนิ 1 ป คือ ป 2553 -ประเมินป 2555 ใชคาเฉลี่ยคะแนนประเมิน 2 ป คือ ป 2554 และ 2553 -ประเมินป 2556 ใชคาเฉลี่ยคะแนนประเมิน 3 ป คือ ป 2555, 2554 และ 2553 2.กรณีของการประเมินระดับคณะ หากประเมินการประกันคุณภาพภายในของคณะไมครบทุกตัวที่กําหนดในระดับสถาบัน ใหใชคะแนนจาการประเมินในระดบัสถาบันของตัวบงชี้นั้นมาใชแทน

เกณฑมาตรฐาน เชิงปริมาณ ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

4.00 4.54 4.54 บรรลุเปาหมาย ผลการดาํเนนิงาน ปการศึกษา 2553 มหาวิทยาลัยไดมีการขับเคลื่อนตัวบงชี้ของ สกอ. โดยมีการชี้แจงเพื่อทําความเขาใจคํานิยามของ ตวับงชีแ้ละเกณฑ รวมทั้งการรวบรวมขอมูลแกบุคลากรทุกหนวยงานผานที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ (QMR) และคณะกรรมการ

ดําเนินงานประกันคุณภาพ (QAC) เพื่อใหผูรับผิดชอบไปดําเนินการ จากนั้นมีการกําหนดแผนการจัดทํารายงานประจําปการประเมินคุณภาพและประเมินคุณภาพภายใน โดยใหมีการประเมินคุณภาพภายในทุกคณะ/หนวยงานแลวเสร็จในเดือนสิงหาคม 2554 จากนั้นมหาวิทยาลัยนําขอมูลของทุกหนวยงานมาใชประกอบการจัดทํารายงานประจําปการประเมินคุณภาพ ซ่ึงมหาวิทยาลัยมีคะแนนผลการประเมินตนเองตามตัวบงชี้ของ สกอ. 9 องคประกอบ 23 ตัวบงชี้เทากับ 4.54 รายการหลักฐาน ม.อ.15-01 รายงานประจําปการประเมินคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ปการศึกษา 2553 ม.อ.15-02 รายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ปการศึกษา 2553 ม.อ.15-03 ระบบฐานขอมูลดานประกันคุณภาพ https://cheqa.psu.ac.th/cheqa/ ม.อ.15-04 รายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน ระดับคณะ ปการศึกษา 2553 ม.อ.15.05 ขอเสนอแนะ และผลการดําเนินงานตามขอเสนอแนะ จากผลการประเมินคุณภาพภายนอก รอบแรกและรอบสอง ระดับมหาวิทยาลัยและวิทยาเขต

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 1 คณะทันตแพทยศาสตร 4.62 4.62 2 คณะพยาบาลศาสตร 4.57 4.57 3 คณะแพทยศาสตร 4.81 4.81 4 คณะเภสัชศาสตร 4.50 4.50 5 คณะการแพทยแผนไทย 4.34 4.34 6 คณะวิทยาศาสตร 4.34 4.34 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4.39 4.39

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

104

Page 111: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 4.07 4.07 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 4.03 4.03

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 4.36 4.36 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 4.46 4.46 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 4.74 4.74 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 3.80 3.80 14 คณะวิทยาการจัดการ 4.07 4.07 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 4.24 4.24 16 คณะเศรษฐศาสตร 3.85 3.85 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 4.34 4.34 18 คณะศึกษาศาสตร 3.84 3.84 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 3.98 3.98 20 คณะนิตศิาสตร 4.44 4.44 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 3.97 3.97 22 คณะศิลปศาสตร 4.12 4.12 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 3.67 3.67 24 คณะรัฐศาสตร 4.20 4.20 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 4.31 4.31 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 3.82 3.82 27 คณะวิเทศศึกษา 3.77 3.77

มหาวิทยาลัย 4.54 4.54

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

105

Page 112: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีอัตลักษณ

ตัวบงช้ีที่ 16.1 ผลการบริหารสถาบันใหเกิดอัตลักษณ (นักศึกษามีคณุธรรม จริยธรรม)

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน 1 2 3 4 5

ปฏิบัตไิด 1 ขอ ปฏิบัตไิด 2 ขอ ปฏิบัตไิด 3 ขอ ปฏิบัตไิด 4 ขอ ปฏิบัตไิด 5 ขอ หมายเหต ุ คณะดําเนินการรวมกับมหาวทิยาลยั

เกณฑมาตรฐาน ขอ ผลการประเมินตนเอง

ตอ. ขอ เกณฑการประเมิน ผลดําเนนิงาน หลักฐาน

1 มีการกํ าหนดกลยุทธ และ

แ ผ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ที่

ส อ ด ค ล อ ง กั บ อั ต ลั ก ษ ณ ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและวัตถุประสงคของสถาบัน โดยไดรับการเห็นชอบจากสภา

สถาบัน

ในแผนพัฒนามหาวิทยาลัย(พ.ศ.2553-2554) มหาวิทยาลัยไดวางพันธะในการดําเนินงานที่จะมุงผสมผสานและ

ประยุกตความรูในตัวอาจารยผูสอนบนพื้นฐานการมี

ประสบการณตรง และทักษะปฏิบัติจริงของผูสอน เพื่อสรางใหนักศึกษาและบัณฑิตของมหาวิทยาลัยมีเอกลักษณ

ที่สะทอนปญญา สมรรถนะ และโลกทัศนสากล อันเปนสมรรถนะที่สมบูรณสูตลาดแรงงานสากล โดยเฉพาะอยางย่ิงการดํารงไว ซ่ึงอัตลักษณ ที่ดํารงดวยคุณธรรมบน

พื้นฐานความเปนไทย มีทักษะชีวิตและสํานึกสาธารณะมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรจึงไดกําหนดอัตลักษณคือ

นักศึกษามีคุณธรรมจริยธรรม มหาวิทยาลัยเนนกิจกรรมบมเพาะนักศึกษาอยางเปนระบบ

และตอเนื่อง โดยกลยุทธดังกลาวนี้ มหาวิทยาลัยไดนําเสนอสภามหาวิทยาลัยเห็นชอบแลว ในคราวประชุมคร้ังที่ 325 (6/2553) เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2553

ม .อ . 1 6 . 1 -0 1 แผนพัฒน า

มหาวิทยาลัย(พ.ศ.2553-2554) ม .อ . 1 6 . 1 -0 2 ร า ย ง านก า รประชุมสภามหาวิทยาลัยคร้ังที่ 325 (6/2553) เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2553

2 มีการสรางระบบการมีสวน

รวมของผูเรียนและบุคลากร

ในการปฏิบัติตามกลยุทธที่

กําหนดอยางครบถวนสมบูรณ

มหาวิทยาลัยเนนการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักศึกษาโดยดําเนินการอยางมีระบบ คือ การสรางรายวิชา การนําลงสูการปฏิบัติ และการติดตามขยายผล นอกจากนี้ยังมีส่ิงสนับสนุนอื่นๆ เชน การเปนแบบอยางของครู อาจารย การสรางสื่อการเรียนรู การกําหนดมาตรฐานการเรียนรู และการจัดทํารายละเอียดรายวิชา มหาวิทยาลัยสรางรายวิชา “กิจกรรมเสริมหลักสูตร” เปนรายวิชาบังคับในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป โดยมีคําอธิบายรายวิชา คือ “การทํากิจกรรมเชิงบูรณาการองคความรู เนนประโยชนสังคมและประโยชนเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม จิตสํานึกสาธารณะ การทํางานเปนทีมทั้งในสาขาวิชาและหรือระหวางสาขาวิชา ภายใตคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษา” โดยนักศึกษาจะเปน

ม .อ .16 .1-03 รายวิชาศึกษาทั่วไปที่เปนรายวิชาบูรณาการ

บังคับสําหรับทุกหลักสูตรตาม

นโยบายของมหาวิทยาลัย ม .อ . 1 6 . 1 -0 4 แนวทางการจัดการเรียนการสอน รายวิชากิจกรรมเสริมหลักสูตร ม . อ . 1 6 . 1 -0 5 ป ร ะ ก า ศ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

เรื่อง แนวปฏิบัติสําหรับ

อาจารยมหาวิทยาลัย ม.อ.16.1-06 เว็บไซตส่ือบม

เพาะคุณธรรม จริยธรรม ม.อ.16.1-07 มาตรฐานผลการ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

106

Page 113: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ผูจัดทําโครงการ/กิจกรรม ดําเนินการตามโครงการ /กิจกรรม และรายงานผลการดําเนินการ และเมื่อส้ินสุดปการศึกษามหาวิทยาลัยจะขยายผลโดยจัดประกวด

โครงการ/กิจกรรมที่ดําเนินการในรายวิชาดังกลาว ทั้งในระดับคณะ/วิทยาเขต และมหาวิทยาลัย และเชิญผูไดรับรางวัลพรอมอาจารยที่ปรึกษารับรางวัลและเกียรติบัตรใน

งานวัน “ประโยชนของเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง” “Our Soul is for the Benefit of Mankind” วันที่ 24 กนัยายนของทุกป รวมทั้งสัมภาษณ/เสวนา เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูการทําโครงการ/กิจกรรม และสิ่งที่ไดจากการทําโครงการ/กิ จกรรม และนํ าผลงานที่ ได รับรางวัลแสดง เปนนิทรรศการ เพื่อเผยแพรการดําเนินการดวย นอกจากนี้ยังมีส่ิงสนับสนุนในดานการเรียนการสอน เชน การจัดทําส่ือบมเพาะคุณธรรม จริยธรรม เพื่อใหครู อาจารยนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน และยังกําหนดใหอาจารยตองเปนแบบอยางที่ดีแกนักศึกษา โดยจัดทําแนวปฏิบัติสําหรับอาจารยในมหาวิทยาลัยโดยแนว

ปฏิบัติดานหนึ่ง คือ การสอนและการบมเพาะนักศึกษา ดวยจิตวิญญาณของความเปนครู ดวยการเปนแบบอยางครูที่ดี ทั้งกิริยา วาจา และการกระทํา รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมแกนักศึกษา ทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน นอกจากการสรางอัตลักษณในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักศึกษาโดยผานกระบวนการเรียนการ

สอน และการมีสวนรวมของอาจารย นักศึกษาในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา “กิจกรรมเสริมหลักสูตร” แลว มหาวิทยาลัยยังดําเนินการในภาพใหญตามระบบของชาติอีกดวย คือ การดําเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ซ่ึงกําหนดมาตรฐานผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม และการจัดการเรียนการสอน โดยกําหนดกลยุทธการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผลในรายละเอียดของรายวิชาที่รับผิดชอบใน

การสง เสริมคุณธรรม จริยธรรมใหแกนักศึกษาในหลักสูตรตางๆ อีกดวย

เ รี ย น รู วิ ช า ศึ ก ษ า ทั่ ว ไ ป มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ม.อ.16.1-08 รายงานผลการจัดโครงการวัน “ประโยชนของเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง”

3 ผลการประเมินของผูเรียนและ

บุ ค ล า ก ร เ กี่ ย ว กั บ ก า ร

ปฏิบัติงานของสถานศึกษาที่

สอดคลองกับอัตลักษณ ไมต่ํากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

กองแผนงานไดประเมินความคิดเห็นของคณาจารยและ

บุคลากรตอการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยที่สงเสริมอัต

ลักษณของบัณฑิตที่ “มีคุณธรรมและจริยธรรม” โดยสํารวจบุคลากรจากทุกคณะ พบวา บุคลากรเห็นดวยกับการปฏิบัติ ง านของมหาวิทยาลั ยที่ เสริมสร างและ

สอดคลองกับอัตลักษณ ในระดับมาก คาเฉลี่ยเทากับ 3.81

ม .อ .16 .1-09 รายงานผลการป ร ะ เ มิ น ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง

คณาจารยและบุคลากร ตอการดําเนินงานของมหาวิทยาลัยที่

สงเสริมอัตลักษณของบัณฑิตที่ “มีคุณธรรมและจริยธรรม”

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

107

Page 114: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

โดยดานที่ผลการประเมินความคิดเห็น เห็นดวยมากที่สุด ไดแก การกําหนดคุณลักษณะ “มีคุณธรรมและจริยธรรม” ให เปนอัตลักษณของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลา -นครินทร ภายใตวัฒนธรรมองคกรที่ “มุงถือประโยชนของเพื่อมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง” เปนส่ิงที่มีคุณคาตอสังคม มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.31 รองลงมาคือ เห็นดวยกับการจัดงานวันถือประโยชนของเพื่อนมนุษย เปนกิจที่หนึ่ ง (24 กันยายน ของทุกป) คาเฉลี่ยเทากับ 4.22

4 ผลการดําเนินงานกอใหเกิด

ผลกระทบที่ เกิดประโยชน

และ/หรือสรางคุณคาตอสังคม

การเปนมหาวิทยาลัยแหงแรกของภาคใต ที่มีวัตถุประสงคเพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา สู

ดินแดนภาคใตเพื่อยกระดับมาตรฐานการศึกษาของ

ทองถิ่น และเพื่อการสนับสนุนการพัฒนาภูมิภาคอยู

ภายใตจุดยืนที่เปน ความหมายแหงความเปนมหาวิทยาลัย: “บมเพาะคนดีใหเปนปญญาชนที่มีวุฒิภาวะที่พรอมที่จะรับใชสังคม สรางสมปญญาดวยการเสาะหาวิชชาให

มหาวิทยาลัยอุดมดวยนักปราชญ และนําความรูของ

ปราชญสอนและถายทอดใหกับศิษยดวยจิตวิญญาณของ

ความเปนครู” สงผลใหการประเมินความพึงพอใจของ

นายจางตอบัณฑิตม.อ.มีคะแนน 4.12

ม.อ.16.1-10 ผลการประเมินความพึงพอใจของนายจาง/ผูใชบัณฑิตมหาวิทยาลัยรุนป

การศึกษา 2551

5 ผูเรียน/บุคลากร/คณะ/สถาบันไดรับการยกยองหรือยอมรับ

ใ น ร ะ ดั บ ช า ติ แ ล ะ / ห รื อ

น า น า ช า ติ ใ น ป ร ะ เ ด็ น ที่

เกี่ยวกับอัตลักษณ

ตามที่มหาวิทยาลัยดํา เนินตามอัตลักษณและกรอบ

มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ซ่ึงกําหนดมาตรฐานผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม และการจัดการเรียนการสอน มีคณะ/หนวยงานของมหาวิทยาลัยไดรับการยกยองในระดับชาติหรือนานาชาติ ในประเด็นที่เกี่ยวกับอัตลักษณ เชน คณะแพทยศาสตร มีนักศึกษาและศิษยเกา

ไดรับการยกยองดานคุณธรรมและจริยธรรมจากแพทย

สภา “รางวัลคุณธรรมและจริยธรรมจากแพทยสภา” เปนตน

ม.อ.16.1-11 รางวัลคุณธรรม

และจริยธรรมจากแพทยสภา

ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

3 ขอ 5 5.00 บรรลุเปาหมาย

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 1 คณะทันตแพทยศาสตร 5 5.00 2 คณะพยาบาลศาสตร 5 5.00 3 คณะแพทยศาสตร 5 5.00 4 คณะเภสัชศาสตร 5 5.00 5 คณะการแพทยแผนไทย 5 5.00 6 คณะวิทยาศาสตร 5 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

108

Page 115: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 5 5.00 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 5 5.00 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 5 5.00

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 5 5.00 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 5 5.00 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 5 5.00 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 5 5.00 14 คณะวิทยาการจัดการ 5 5.00 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 5 5.00 16 คณะเศรษฐศาสตร 5 5.00 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 5 5.00 18 คณะศึกษาศาสตร 5 5.00 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 5 5.00 20 คณะนิตศิาสตร 5 5.00 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 5 5.00 22 คณะศิลปศาสตร 5 5.00 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 5 5.00 24 คณะรัฐศาสตร 5 5.00 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 5 5.00 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 5 5.00 27 คณะวิเทศศึกษา 5 5.00

มหาวิทยาลัย 5 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

109

Page 116: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีอัตลักษณ

ตัวบงช้ีที่ 16.2 ผลการพฒันาบัณฑิตตามอตัลักษณ (นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม)

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน ใชคาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบณัฑิต (คะแนนเต็ม 5)

หมายเหต ุ คณะดําเนินการรวมกับมหาวทิยาลยั แตผลการประเมินอัตลักษณรายงานแยกรายคณะ

เกณฑมาตรฐาน เชิงปริมาณ ขอมูลพ้ืนฐาน ผลการดําเนินงาน

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีไดงานทําท้ังหมด 3,457.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดงานทําท้ังหมด 573.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีไดรับการประเมินคุณลักษณะตามอัตลักษณ 1,178.00

คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริญญาตรีท่ีมีคุณลักษณะตามอัตลักษณ (คะแนนเต็ม 5) 4.10

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดรับการประเมินคุณลักษณะตามอัตลักษณ 249.00

คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ (คะแนนเต็ม 5) 4.23

คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริญญาตรี โท เอกท่ีมีคุณลักษณะตามอัตลักษณ (คะแนนเต็ม 5) 4.12 วิธีการคาํนวณ

ผลรวมของคาคะแนนที่ไดจากการประเมินบณัฑิตทีม่ีคุณลักษณะตามอัตลักษณ

จํานวนบัณฑิตทีไ่ดรับการประเมินทั้งหมด

ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

3.51 4.12 4.12 บรรลุเปาหมาย ผลการดาํเนนิงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรไดกําหนดอัตลักษณของมหาวิทยาลัย คือ นักศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม โดยผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ พิจารณาจากขอมูลระดับความพึงพอใจของนายจาง ผูประกอบการและผูใชบัณฑิต ซ่ึงสวนหนึ่งไดจากรายงานการวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของนายจาง/ผูใชบัณฑิตมหาวิทยาลัยรุนปการศึกษา 2551 (เก็บรวบรวมขอมูลจากบัณฑิตที่ทํางานแลวรุนปการศึกษา 2551 ที่เขารับพระราชทานปริญญาบัตร เมื่อ 22-23 กันยายน 2552) โดยไดรับแบบสอบถามคืนมาในชวงกันยายน-ธันวาคม 2553 ซ่ึงความพึงพอใจของนายจาง/ผูใชบัณฑิตตอบัณฑิตมหาวิทยาลัยดานคุณธรรม จริยธรรม เปนการประเมินความพึงพอใจของนายจาง/ผูใชบัณฑิตในดานนี้ 6 ขอยอย ไดแก ความขยันอดทน อุตสาหะ ความซื่อสัตย สุจริต ความตรงตอเวลา ความรับผิดชอบในวิชาชีพ ความเปนระเบียบวินัยปฏิบัติตามกติกาของสังคม และการประพฤติตนอยูในศีลธรรมอันดี พบวามีระดับคะแนนเฉลี่ย 4.12 ซ่ึงมาจากความพึงพอใจดานตางๆ สําหรับผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ มหาวิทยาลัยไดกําหนดจากผลการประเมินบัณฑิตของนายจาง/ผูใชบัณฑิต ดานคุณธรรม จริยธรรม ที่เปนหนึ่งใน 5 ดานของคุณภาพบัณฑิตคุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ หมายเหตุ ใชขอมูลผลการประเมินตามกรอบ TQF เฉพาะดานคุณธรรม จริยธรรม จากการสํารวจไมไดจําแนกนักศึกษาที่มีระดับสูงกวา

ปรญิญาตรี โดยขอมูลของคะแนนประเมินรวมเปนระดับบัณฑิตศึกษา

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

110

Page 117: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายการหลักฐาน ม.อ.16.2-01 ผลการประเมินความพึงพอใจของนายจาง/ผูใชบัณฑิตมหาวิทยาลัยรุนปการศึกษา 2551 ม.อ.16.2-02 แผนพัฒนามหาวิทยาลัยป 2553-2554

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 1 คณะทันตแพทยศาสตร 4.28 4.28 2 คณะพยาบาลศาสตร 4.21 4.21 3 คณะแพทยศาสตร 4.02 4.02 4 คณะเภสัชศาสตร 4.09 4.09 5 คณะการแพทยแผนไทย 4.15 4.15 6 คณะวิทยาศาสตร 4.10 4.10 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3.79 3.79 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 4.36 4.36 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 4.06 4.06

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 4.07 4.07 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 4.02 4.02 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 4.06 4.06 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 4.04 4.04 14 คณะวิทยาการจัดการ 4.11 4.11 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 4.10 4.10 16 คณะเศรษฐศาสตร 4.06 4.06 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 4.27 4.27 18 คณะศึกษาศาสตร 4.24 4.18 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 3.89 3.89 20 คณะนิตศิาสตร 4.23 4.23 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 4.20 4.20 22 คณะศิลปศาสตร 4.36 4.36 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 4.05 4.05 24 คณะรัฐศาสตร - - 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 4.21 4.21 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 4.13 4.13 27 คณะวิเทศศึกษา 3.84 3.84

มหาวิทยาลัย 4.12 4.12

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

111

Page 118: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีอัตลักษณ

ตัวบงช้ีที่ 17 ผลการพฒันาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปนเอกลักษณของสถาบัน (มหาวิทยาลัยวิจัย)

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน 1 2 3 4 5

ปฏิบัตไิด 1 ขอ ปฏิบัตไิด 2 ขอ ปฏิบัตไิด 3 ขอ ปฏิบัตไิด 4 ขอ ปฏิบัตไิด 5 ขอ หมายเหต ุ คณะดําเนินการรวมกับมหาวทิยาลยั

เกณฑมาตรฐาน ขอ ผลการประเมินตนเอง

ตอ. ขอ เกณฑการประเมิน ผลดําเนนิงาน หลักฐาน

1 มีการกําหนดกลยุทธการปฏิบัติงานที่

สอดคลองกับจุดเนน จุดเดน หรือ

ความเชี่ยวชาญเฉพาะของสถาบัน โดยได รับการ เห็นชอบจากสภา

สถาบัน

ในชวงป พ.ศ.2553-2554 มหาวิทยาลัยไดกําหนดทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยที่เปน

มหาวิทยาลัย เนนวิจัย โดยมุงเนนการสรางระบบเพื่อเปลี่ยนวัฒนธรรมองคกรใหมุงสู

วิจัยและบัณฑิตศึกษา และมีความเปนเลิศในบางสาขาและบางเรื่อง โดยกําหนดทิศทางความเปนเลิศไว 8 ดาน ไดแก 1) ลุมน้ํ าทะเลสาบสงขลา 2) ปาลมน้ํามัน/ไบโอดีเซล/พลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน 3) อาหารฮาลาล/อาหารทะเล 4) วิทยาศาสตรทางทะเล/การเพาะเลี้ยงชายฝง 5) ยางพารา 6) การปกครองทองถิ่น 3 จังหวัดชายแดนภาคใต/สันติศึกษา 7) การทองเที่ยว 8) โลจิสติกส โดยมีกลยุทธการปฏิบัติงาน คือ 1. พัฒนาใหเกิดเครือขายวิจัยในรูปแบบ

ต า งๆ อย า งหลากหลาย ทั้ ง ในรู ป Research Unit (RU) หรือ Research Center (RC) ในสาขาที่มีศักยภาพพรอมพัฒนาสูความเปนเลิศ และเรื่องที่เปนบริบทแวดลอมของภาคใต

2. กอตั้งสถานวิจัย/สถาบันวิจัยเฉพาะทาง เพื่อรองรับงานวิจัยที่มีทิศทางและมี

ผลลัพธขอตกลงที่ชัดเจน โดยใหมีการเชื่อมโยงกับบัณฑิตศึกษา

3. ตอยอดนวัตกรรมสูการเปลี่ยนแปลงให

เกิดสัมฤทธิ์ผลการพัฒนา และสรางเปนทรัพยสินทางปญญา ตําราหรือผลงานวิชาการ

4. สรางการดําเนินงานเชิงกลยุทธในบริบท

ของอุทยานวิทยาศาสตรภาคใต เพื่อใหระบบเครือข าย เสริมสร างบทบาท

ม.อ.17-01 แผนพัฒนามหาวิทยาลัยป 2553-2554 ม.อ.17-02 แผนปฏิบัติการสํานักวิจัยและพัฒนาป 2553 ม.อ.17-03 Research Roadmap 7 คลัสเตอร

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

112

Page 119: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

มหาวิทยาลัยสูความเปนเลิศ 5. พัฒนาบุคลากรเชิงการบมเพาะ เพื่อ

สอดแทรกให เ กิ ดการปรับ เปลี่ ยน

วัฒนธรรมใหเกิดการสรางงานวิจัยมาก

ข้ึน 6. จัดรูปแบบการรับนักศึกษาบัณฑิตศึกษา

ใ ห ไ ด ต า ม จํ า น ว น ที่ ก อ ใ ห เ กิ ด

ประสิทธิภาพเชิงตนทุน และเนนนําสูการทําวิทยานิพนธระดับบัณฑิตศึกษา

7. เ ส ริ ม ศั ก ย ภ าพขอ งบุ ค ล า ก ร แ ล ะ

หนวยงาน ในการสรางความสามารถในการพึ่งพาตนเองในดานทุนวิจัย โดยปรับการมุงเนนใหกองทุนวิจัยเปนสวน

เกื้อหนุนระบบงานบัณฑิตศึกษาและ

วิทยานิพนธเปนหลัก 8. ผ ลั ก ดั น ก า ร วิ จั ย เ ชิ ง พั น ธ ะ กั บ

ภาคอุตสาหกรรม/และการวิจัยรวมกับสมาคมวิชาชีพหรือทองถิ่น

9. ปรับการพัฒนาฐานขอมูลวิจั ย จากสนับสนุนการดําเนินงานประจํา สูระบบขอมูลแหลงทุนเชิงลึกในการบริหาร

งานวิจัย และใหถึงระดับการสนองภาพลักษณมหาวิทยาลัยเนนวิจัย

นอกจากนี้ในป 2552 มหาวิทยาลัยไดรับการคัด เลื อกจาก สกอ .ใหดํ า เนินโครงการมหาวิทยาลั ยวิ จั ยแห งชาติ และในแผนมหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติมีแผนดําเนินงาน

วิจัย ใน 7 คลัสเตอร ดังนี้ 1. นวัตกรรมยางพารา 2. การเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑอาหารครบวงจร

และความยั่งยืนของอุตสาหกรรมอาหาร

ในภาคใต 3. ทรัพยากรธรรมชาติแหงคาบสมุทรไทย

และการจัดการ 4. การวิจัย พัฒนา และการประยุกตใช

เทคโนโลยีวัสดุ 5. น วั ต ก ร ร ม ท า ง ก า ร แ พ ท ย แ ล ะ

สาธารณสุขที่ ตอบสนองต อความ

ตองการในภาคใต 6. ชายแดนใต

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

113

Page 120: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

7. การพัฒนาเทคโนโลยีปาลมน้ํามันและ

น้ํามันปาลม ซ่ึ ง ใ น แ ต ล ะ ค ลั ส เ ต อ ร จ ะ มี Research Roadmap ทุกคลัสเตอร สําหรับแผนพัฒนามหาวิทยาลัยป 2550-2554 และแผนโครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ

นั้น ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย

2 มีการสรางระบบการมีสวนรวมของ

ผูเรียนและบุคลากรในการปฏิบัติตาม

กลยุทธ ที่กําหนดอยางครบถวน

สมบูรณ

มหาวิทยาลัยมีการสรางระบบการมีสวนรวม

ของผูเรียนและบุคลากร ดังนี้ 1. จัดสรรทุนวิจัยใหแกนักวิจัยและนักศึกษา

ทําใหนักวิจัยและนักศึกษาไดมีสวนรวม

ใ น ก า ร ทํ า ง า น วิ จั ย ต า ม ทิ ศ ท า ง ที่

มหาวิทยาลั ยกํ าหนดในการใหทุน

สนับสนุนการวิจัยจะมีการทบทวน /ปรับปรุง/แกไขเปนประจําทุกป

2. มีการสนับสนุนงบประมาณใหนักวิจัย

และนักศึกษาไปนําเสนอผลงานวิจัยในที่

ประชุมวิชาการทุกป 3. มีการแต งตั้ งบุคลากร /นักวิ จั ย เปน

คณะทํ างานชุดต า งๆ เพื่ อทํ าหน าที่ขับเคลื่อนงานวิจัยในแตละดานใหไปสู

เปาหมาย 4. มีการจัดตั้งเครือขายวิจัย ประกอบดวย

หนวยวิจัย (RU) สถานวิจัย (RC) สถานวิจัยความเปนเลิศ (CoE) และสาขาความเปนเลิศ (DoE)

5. เพื่อใหนักวิจัยไดรวมกลุมกันทําวิจัยอยาง

ทั่วถึง สงเสริมให เกิดงานวิจัยอยางมีทิศทาง งานวิจัยมีความเชื่อมโยงกับบัณฑิตศึกษา สรางนักวิจัยใหม รวมถึงการนําผลงานวิจัยไปตีพิมพเผยแพรหรือ

ไปใชประโยชน

ม.อ.17-04 ประกาศทุนสนับสนุนการวิจัยป 2553 ม.อ.17-05 สูจิบัตรงานวันนักวิจัยและนวัตกรรม ม.อ.คร้ังที่ 5: นักวิจัยและนักศึกษาที่ไดรับรางวัลการนําเสนอ

หรือประกวดผลงานระดับชาติ ม.อ.17-06 คําส่ังแตงตั้งคณะทํางานชุดตางๆ ม.อ . 17-07 รายช่ือเครือขายวิจัยป 2553 ม.อ.17-08 สูจบิัตรงานวันนักวิจัยและนวัตกรรม ม .อ .ครั้ งที่ 5 :ผลการดําเนินงานงานเครือขายวิจัย ม .อ . 1 7 -0 9 รายง านจํ านวน เ งิ นงบประมาณและจํานวนอาจารย /นักวิจัย และนักศึกษา ที่ไปนําเสนอผลงานวิจัย ม.อ.17-10 คําส่ังแตงตั้งคณะทํางานขับเคลื่อนงานวิจัยแตละดาน

3 มีการประเมินความพึงพอใจของ

บุคลากรที่เกี่ยวกับการดําเนินการตาม

จุ ด เน น และจุ ด เ ด น ห รือคว าม

เชี่ยวชาญเฉพาะของสถาบัน ไมต่ํากวา 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

กองแผนงานไดประเมินความคิดเห็นของ

คณาจารย และบุคลากรทุกคณะตอการ

ดํ า เนินงานของมหาวิทยาลั ยที่ส ง เสริม

เอกลักษณ “การเปนมหาวิทยาลัยวิจัย” พบวา ในภาพรวมผูตอบแบบประเมินมีความพึง

พอใจกับงานเสริมสร าง เอกลักษณของ

มหาวิทยาลัยในระดับมาก มีคาคะแนนเฉลี่ย

ม.อ.17-11 การประเมินความคิดเห็นของคณาจารยและบุคลากร ตอการดํ า เนิ น ง านของมหาวิ ท ย าลั ยที่

ส ง เ ส ริ ม เ อ ก ลั ก ษณ “ก า ร เ ป นมหาวิทยาลัยวิจัย”

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

114

Page 121: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

เทากับ 3.81 โดยดานที่มีคะแนนความพอใจมากที่สุดไดแก การกําหนดจุดเนนการเปน “มหาวิทยาลัยวิจัย” ใหเปนเอกลักษณของ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร มีคาเฉลี่ยคะแนนเทากับ 4.00 รองลงมาคือ พอใจมากการจัดงานวันนักวิจัยและนวัตกรรม เพื่อการยกยองนักวิจัยและผลงานวิจัยดี เดน มีคาคะแนนเฉลี่ยเทากับ 3.99

4 ผลการดําเนินงานบรรลุตามจุดเนน จุดเดน หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะ

ของสถาบันและเกิดผลกระทบที่เกิด

ประโยชนและสรางคุณ คาตอสังคม

จากการที่มหาวิทยาลัยกําหนดทิศทางในการ

ดําเนินงานไปสูการเปนมหาวิทยาลัยวิจัย และไดกําหนดกลยุทธในการดําเนินงาน ทําใหผลการดํา เนินงานบรรลุตามเปาหมาย เกิดประโยชนต อ สังคม กล าว คือ มีการนํ าผลงานวิจัยไปใชประโยชนกับชุมชนหรือนํา

ผลงานไปใชประโยชนเชิงพาณิชย เชน การผลิตไบโอดีเซลจากไขมันหมูและน้ํามนัพชืใช

แลวแบบครบวงจร โครงการศึกษาวิจั ยโรงไฟฟาพลังงานน้ําชุมชนภาคใต น้ํานมแพะปรุงแตงกลิ่นรสใหกับ คูระ เดลี โกทส ฟารม อุปกรณรองชวยลดความดันในสนเทายางทําจากยางธรรมชาติ การแยกน้ํามันดินจากน้ําสมควันไม การพัฒนาถวยรับน้ํายางโดยใชน้ํายางธรรมชาติและดินขาว เปนตน นอกจากนี้มีการนําความรูจากงานวิจัยไปใช

ในการสอนตามคณะตางๆ มีการนําผลงาน/สิ่งประดิษฐไปจด อนุสิทธิบัตร

ม .อ .17-12 สูจิบัตรงานวันนักวิจัย และนวั ตกรรม ม .อ . ค ร้ั งที่ 5 :ผลงานวิจัยที่มีประตอชุมชน ผลงานไดรับการจดอนุสิทธิบัตร ผลงานวิจัยนํ า ไปใช ป ระโยชน เ ชิ งพ าณิ ช ย ผลงานนวัตกรรมสงขลานครินทร

5 ผูเรียน/บุคลากร/คณะ/สถานศึกษามีเอกลักษณตามจุดเนน จุดเดน หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะที่กําหนด และไดรับการยอมรับในระดับชาติและ/หรือนานาชาติ

จากการที่มหาวิทยาลัยกําหนดใหจุดเนน

จุดเดนของมหาวิทยาลัยคือ เปนมหาวิทยาลัยวิจัย รวมทั้งการไดรับการคัดเลือกจาก สกอ. ใ ห เ ป น ม ห า วิ ท ย า ลั ย วิ จั ย แ ห ง ช า ติ มหาวิทยาลัยจึงมีผลการดําเนินงานที่ไดรับ

การยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ ดังนี้ 1. มีนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยได รับรางวัล

ระดับชาติและนานาชาติ จํานวน 49 คน 18 รางวัล

2. มีนักวิจัยที่ไดรับเชิดชูเกียรติในระดับ

นานาชาติ 4 คน 3. นักวิจัยที่เปน Corresponding Author ทีม่ี

ผลงานตีพิมพในฐานขอมูล ISI ตั้งแต 3 บทความขึ้นไป 18 คน

ม.อ.17-13 สูจิบัตร งานวันนักวิจัยและนวัตกรรม ม.อ. ครั้งที่ 5 : รายชื่อนักวิจัยที่ไดรับรางวัล

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

115

Page 122: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

4. มีนักวิจัยที่มีจํานวนผลงานตีพิมพสูงสุด 20 อันดับแรกจากฐานขอมูล ISI จํานวน 27 คน

5. มีนักวิจัยที่มีผลงานตีพิมพได รับการ

อางอิง (Citation) สูงสุด 20 อันดับแรก จากฐานขอมูล ISI 20 คน

6. มีนักวิจัยที่คนพบสิ่งใหมหรือส่ิงมีชีวิต

ใหมของโลก (Novel Founding) 1 คน 7. มีผลงานไดรับการจดอนุสิทธิบัตร 11

ชิ้นงาน 8. มีผลงานวิจัยที่นําไปใชประโยชนเชิง

พาณิชย 22 ชิ้นงาน 9. มีผลงานวิจัยที่ไดรางวัลการนําเสนอ

หรือประกวดผลงานระดับชาติ จํานวน 43 ผลงาน

10. มีนั กวิ จั ยที่ ไ ด รั บ เชิญ เป น Keynote Speaker ในการประชุมวิชาการระดับ

นานาชาติ 4 คน 11. มีผลงานวิจัยเผยแพรทางสื่อมวลชนใน

ระดับชาติ 12 ผลงาน ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

4 ขอ 5 5.00 บรรลุเปาหมาย

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน

1 คณะทันตแพทยศาสตร 5 5.00

2 คณะพยาบาลศาสตร 5 5.00

3 คณะแพทยศาสตร 5 5.00

4 คณะเภสัชศาสตร 5 5.00

5 คณะการแพทยแผนไทย 5 5.00

6 คณะวิทยาศาสตร 5 5.00

7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 5 5.00

8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 5 5.00

9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 5 5.00

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 5 5.00

11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 5 5.00

12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 5 5.00

13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 5 5.00

14 คณะวิทยาการจัดการ 5 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

116

Page 123: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน

15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 5 5.00

16 คณะเศรษฐศาสตร 5 5.00

17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 5 5.00

18 คณะศึกษาศาสตร 5 5.00

19 คณะศิลปกรรมศาสตร 5 5.00

20 คณะนิตศิาสตร 5 5.00

21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 5 5.00

22 คณะศิลปศาสตร 5 5.00

23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 5 5.00

24 คณะรัฐศาสตร 5 5.00

25 คณะวิทยาการสื่อสาร 5 5.00

26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 5 5.00

27 คณะวิเทศศึกษา 5 5.00

มหาวิทยาลัย 5 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

117

Page 124: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีมาตรการสงเสริม

ตัวบงช้ีที่ 18.1 ผลการช้ีนํา ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในประเด็นที่ 1 ภายในสถาบัน (มหาวิทยาลัยสรางเสริมสุขภาพ)

ชนิดของตัวบงช้ี ผลผลติ

เกณฑการประเมิน 1 2 3 4 5 - ปฏิบัตไิด 1 ขอ ปฏิบัตไิด 2 ขอ ปฏิบัตไิด 3 ขอ ปฏิบัตไิด 4-5 ขอ

หมายเหต ุคณะสวนใหญดําเนินการรวมกบัมหาวิทยาลัย ยกเวนคณะทรพัยากรธรรมชาติ และคณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ

เกณฑมาตรฐาน ขอ ผลการประเมินตนเอง

ตอ. ขอ เกณฑการประเมิน ผลดําเนนิงาน หลักฐาน

1 มีการดําเนินงานตามวงจร

คุณภาพ (PDCA) มหาวิทยาลัยไดดําเนินการชี้นําและแกปญหา

สั ง ค ม ใ น ด า น สุ ข ภ า พ ต า มน โ ย บ า ย ข อ ง

มหาวิทยาลัยฯ สอดรับกับแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการทรัพยากรที่ ย่ังยืน ที่จะสนับสนุนและสงเสริมดานการพัฒนาสุขภาพและการออกกําลัง

กายของนักศึกษา บุคลากรและประชาชนทั่วไป โดยใชหลัก Sport Ecosystem หรือ ม.อ. คือ สวรรคของการออกกําลังกาย (PSU is a sport heaven) ทั้ง 5 วิทยาเขต โดยมีการแตงตั้ง

คณะกรรมการสรางเสริมสุขภาพของสถาบันซ่ึง

คณะกรรมการประกอบดวยผูแทนจากทุกคณะ/วิทยาเขต(นักศึกษา/บุคลากรที่รับผิดชอบดานกีฬา)และมีการประชุมคณะกรรมการเพื่อกําหนดแผนการดําเนินงานใหครอบคลุมและสอดคลอง

กับนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยมีกลยุทธ ดังนี้ 1. เตรียมความพรอมทางดานสถานที่ออกกําลัง

กายและเลนกีฬาใหเพียงพอและมีความ

สมบูรณพรอมใหบริการ 2. กระตุนการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ 3. จัดการแขงขันกีฬาเพื่อสงเสริมสนับสนุน

การออกกําลังกายของนักศึกษาและบุคลากร 4. สงเสริมสุขภาพของนักศึกษาและบุคลากร 5. จัดกิจกรรมสงเสริมสุขภาพอยางเปนระบบ

เนนการมีสวนรวมทุกวิทยาเขต จากการดําเนินการดังกลาวมหาวิทยาลัยไดจัด

โครงการทั้งหมด 325 โครงการ มีผูเขารวม

ทั้งหมด 32,600 คน ตลอดจนมีการประเมินผลจากการจัดกิจกรรมและนําผลการประเมินมา

ม.อ.18.1-01 คําส่ังแตงตั้งคณะกรรมการโครงการพัฒนาศั กยภาพสู ก า ร เป น

มหาวิทยาลัยสรางเสริมสุขภาพทั้ง 9 ดานแผนพัฒนา ม.อ.18.1-02 คําส่ังแตงตั้งคณะกรรมการอํ า น ว ย ก า ร ส ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ม.อ.18.1-03 แผนปฏิบัติการ ม.อ.18.1-04 รายงานสรุปโครงการ ม.อ.18.1-05 เอกสารสรุปประเมินผล

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

118

Page 125: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

พัฒนาปรับปรุงทุกโครงการ

2 บรรลุเปาหมายตามแผนไม

ต่ํากวารอยละ 80 มหาวิทยาลัยไดดําเนินการตามแผนฯ โดยการจัดโครงการ จํานวน 325 โครงการ พบวามีโครงการที่บรรลุตามเปาหมาย 309 โครงการ คิดเปนรอยละ 95 ทั้ง 5 กลยุทธ โดยมีโครงการเดนๆ ดังนี้ 1. เตรียมความพรอมทางดานสถานที่ออกกําลงั

กายและเลนกีฬาใหเพียงพอและมีความสมบูรณพรอมใหบรกิาร 1.1 โครงการกอสรางสนามกีฬาวิทยาเขต

ปตตานี 1.2 โครงการกอสรางสนามกีฬาวิทยาเขต

ตรัง 2. กระตุนการออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ

2.1 โครงการวิ่งสะสมระยะทาง 2.2 โครงการ Walk Rally

3. จัดการแขงขันกีฬาเพื่อสงเสริมสนับสนุนการออกกําลังกายของนักศึกษา 3.1 โครงการกีฬาสานสัมพันธนองใหม 3.2 โครงการกีฬา 14 คณะ

4. สงเสริมสุขภาพ 4.1 โครงการวิ่งหาดใหญสูธรรมชาติ 4.2 โ ค ร ง ก า ร ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร

มหาวิทยาลัยสุขภาพ 5. จัดกิจกรรมสงเสริมสุขภาพอยางเปนระบบ

เนนการมีสวนรวมทุกวิทยาเขต 5.1 โครงการกีฬา 5 วิทยาเขต 5.2 โครงการสรางเสริมสุขภาพ

ม.อ.18.1-05 เอกสารสรุปประเมินผล ม.อ.18.1-06 สรุปผลการจัดโครงการการชี้นําและ /หรือแกปญหาสังคมในดาน

สุขภาพ ของสถาบัน (สสส.)

3 มีประโยชนและสรางคุณคา

ตอคนในสถาบัน ตามที่ มหาวิทยาลั ยได จั ดทํ า โครงการ เพื่ อ

เสริมสรางสุขภาพที่ดีของบุคลากรและนักศึกษา

อยางตอเนื่อง ทําใหนักศึกษาและบุคลากรใหความสําคัญกับการดูแลสุขภาพอนามัยมากขึ้น ตลอดจนเกิดการปฏิบัติและดูแลรักษาสุขภาพ

อยางจริงจัง เกิดการ “ตระหนักรูนําสูการปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ” สามารถเขาถึงสถานที่ออกกําลังกายโดยมีขอจํากัดนอยปราศจากพฤติกรรมเสี่ยง

ตอการเจ็บปวยทั้งรางกายและจิตใจกอใหเกิด

ประโยชนและสรางคุณคาตอนักศึกษาและ

บุคลากรอยางทั่วถึง นักศึกษาและบุคลากรมีสุขภาพดีถวนหนามีการเขารับการรักษาสุขภาพ

และลาหยุดราชการนอยลง

ม.อ.18.1-07 สถิติการลาปวยของบุคลากร ม.อ.18.1-08 สถิติการเขารับการรักษา พ ย า บ า ล แ ล ะ ก า ร เ บิ ก จ า ย เ งิ น ค า

รักษาพยาบาลของนักศึกษา

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

119

Page 126: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

4 มีผลกระทบที่เกิดประโยชน

และสรางคุณคาตอสถาบัน ตามที่ มหาวิทยาลั ยได จั ดทํ า โครงการ เพื่ อ

เสริมสรางสุขภาวะที่ดีของบุคลากรและนักศึกษา

อยางตอเนื่องทําใหนักศึกษาและบุคลากรมี

สุขภาพดีถวนหนาทําใหมหาวิทยาลัยสามารถทํา

หนาที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ วิจัยและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมไดอยางมีประสิทธิภาพในป 2553 ที่ผานมามีนักศึกษา อาจารย และบุคลากรไดสรางผลงานและรางวัลที่สรางชื่อเสียงใหกับ

มหาวิทยาลัยจํานวนมาก

ม .อ . 1 8 . 1 -09 ผลง านที่ ไ ด รั บร า งวั ลระดับชาติและนานาชาติ ป2553

5 ไดรับการยกยองระดับชาติ

และ/หรือนานาชาติ มหาวิทยาลัยไดจัดสงนักศึกษาและบุคลากรเขา

รวมการแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย กีฬาบุคลากรสํ านักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา กีฬาแหงชาติ กีฬา IMT-GT VASITY CARNIVAL ซ่ึงจากการจัดสงนักกีฬาดังกลาว นักกีฬาไดรับเหรียญรางวัลโดยแยกออกเปนสวน

ของนักศึกษาและบุคลากรดังนี้ 1. นักศึกษา

1.1 การแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยแหง

ประเทศไทย ครั้งที่ 38 จามจุรียเกมส ครั้ งที่ 38 1 เหรี ยญเงิน 5 เหรี ยญทองแดง

1.2 กีฬาแหงชาติ 1 เหรียญทองแดง 1.3 กีฬา IMT-GT VASITY CARNIVAL

3 เหรียญทอง 2 เหรียญเงิน 2 เหรียญทองแดง

ทั้งนี้มหาวิทยาลัยยังไดจัดสงนักกีฬาเขารวมการ

คัดเลือกนักกีฬาทีมชาติ ชนิดกีฬาบริดจเขารอบ 4 คนสุดทาย 2. บุคลากร กีฬาบุคลากรสํ านักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา คร้ังที่ 30 คาวบอยเกมส 15 เหรียญทอง 19 เหรียญเงิน 27 เหรียญทองแดง

ม .อ .18.1-10 สรุปผลการแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย คร้ังที่ 38 จามจุรียเกมส ม .อ .18.1-11 สรุปผลการแขงขันกีฬาแหงชาติ ม .อ .18.1-12 สรุปผลการแขงขันกีฬา IMT-GT VASITY CARNIVAL ม .อ .18.1-13 สรุปผลการแขงขันกีฬาบุคลากรสํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา คร้ังที่ 30 คาวบอยเกมส

ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

5 ขอ 5 5.00 บรรลุเปาหมาย

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

120

Page 127: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 1 คณะทันตแพทยศาสตร 5 5.00 2 คณะพยาบาลศาสตร 5 5.00 3 คณะแพทยศาสตร 5 5.00 4 คณะเภสัชศาสตร 5 5.00 5 คณะการแพทยแผนไทย 5 5.00 6 คณะวิทยาศาสตร 5 5.00 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 5 5.00 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 5 5.00 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 5 5.00

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 5 5.00 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 5 5.00 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 4 5.00 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 5 5.00 14 คณะวิทยาการจัดการ 5 5.00 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 5 5.00 16 คณะเศรษฐศาสตร 5 5.00 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 5 5.00 18 คณะศึกษาศาสตร 5 5.00 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 5 5.00 20 คณะนิตศิาสตร 5 5.00 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 5 5.00 22 คณะศิลปศาสตร 5 5.00 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 5 5.00 24 คณะรัฐศาสตร 5 5.00 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 5 5.00 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 5 5.00 27 คณะวิเทศศึกษา 5 5.00

มหาวิทยาลัย 5 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

121

Page 128: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตัวบงช้ีมาตรการสงเสริม

ตัวบงช้ีที่ 18.2 ผลการช้ีนาํ ปองกัน หรือแกปญหาของสังคมในประเด็นที่ 2 ภายนอกสถาบัน (การจัดการทรัพยากรที่ย่ังยืน)

ชนิดของตัวบงช้ี ปจจัยนําเขา

เกณฑการประเมิน 1 2 3 4 5 - ปฏิบัตไิด 1 ขอ ปฏิบัตไิด 2 ขอ ปฏิบัตไิด 3 ขอ ปฏิบัตไิด 4-5 ขอ

หมายเหต ุคณะสวนใหญดําเนินการรวมกบัมหาวิทยาลัย ยกเวนคณะทรพัยากรธรรมชาติ และคณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ

เกณฑมาตรฐาน ขอ ผลการประเมินตนเอง

ตอ. ขอ เกณฑการประเมิน ผลดําเนนิงาน หลักฐาน

1 มีการดําเนินงานตามวงจร

คุณภาพ (PDCA)

1. มหาวิทยาลัยไดจัดทําแผนปฏิบัติการดานการ

จัดการทรัพยากรที่ย่ังยืน เพื่อเปนกรอบในการดําเนินงานของคณะ/หนวยงาน โดยผานความเห็นชอบจากที่ประชุมทีมบริหาร และที่ประชุมสภามหาวิทยาลัย

2. คณะ /หน วยง าน นํ า เสนอโครงการที่สอดคลองกับกรอบการจัดการทรัพยากรที่

ย่ั ง ยื น ที่ ม ห า วิ ท ย า ลั ย กํ า ห น ด โ ด ยมหาวิทยาลัยมอบอํานาจอนุมัติใหผูบริหาร

ของหน ว ย ง านให เ ห็นชอบการจั ดทํ า

โครงการตามกรอบที่มหาวิทยาลัยกําหนด เพื่อใหกระบวนการจัดทําแผน/โครงการมีความรวดเร็วและยืดหยุน ไดตามความเหมาะสมของสถานการณ

3. คณะ/หนวยงานไดมีการประเมินผลการดําเนินงาน แตละโครงการและรายงานผลตอหนวยงาน และมหาวิทยาลัยตามลําดบั

4. เพื่อใหกระบวนการจัดทําแผนปฏิบัติการ

ดานการจัดการทรัพยากรที่ย่ังยืนสอดคลอง

กับเกณฑการประเมินของ สมศ . ที่มีการปรับเปลี่ยน มหาวิทยาลัยไดแจงปรับปรุงรายละเอียดการดําเนินการงานตอคณะ /หนวยงาน และใหคณะ/หนวยงานยืนยันการดําเนินงานตามเกณฑ สมศ.

ม.อ.18.2-01 แผนพัฒนามหาวิทยาลัย(พ.ศ.2553-2554) ม.อ .18.2-02 แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการที่ย่ังยืน

2 บรรลุเปาหมายตามแผนไม

ต่ํากวารอยละ 80 ตามแผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ 2553 มหาวิทยาลัยมีโครงการดานการจัดการทรัพยากร

ที่ย่ังยืนที่จะดําเนินการทั้งสิ้น 60 โครงการ และสามารถดําเนินการไดตามแผนทุกโครงการ โดยมีผลสัมฤทธิ์ในภาพรวมที่รอยละ 99.22

ม.อ. 18.2-03 สรุปผลการจัดโครงการการจัดการทรัพยากรที่ย่ังยืน

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

122

Page 129: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

3 มีประโยชนและสรางคุณคา

ตอคนในชุมชน โครงการดานการจัดการทรัพยากรที่ย่ังยืนที่ได

ดําเนินการตามแผนปฏิบัติการประจําป กอใหเกิดประโยชน กั บชุ มชนในด านต า งๆ จํ า แนกรายละเอียดได ดังนี้ 1. ชุมชนนําองคความรู ไปประยุกตใชใน

ชีวิตประจําวัน 2. เพิ่มศักยภาพของบุคลากรในชุมชน 3. เพิ่มพูนความรู 4. ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน 5. กอใหเกิดรายได 6. เสริมสรางทัศนคติการดํารงอยูรวมกันใน

สังคมอยางสันติสุข 7. การอนุ รักษทรัพยากรธรรมชาติ และ

ส่ิงแวดลอมเพื่อความยั่งยืน

ม.อ. 18.2-03 สรุปผลการจัดโครงการการจัดการทรัพยากรที่ย่ังยืน

4 มีผลกระทบที่เกิดประโยชน

และสรางคุณคาตอชุมชน

หรือสังคม

โครงการที่มหาวิทยาลัยจัดข้ึนสงผลใหเปนแหลง

เรียนรูและศึกษาดูงานของชุมชน มีการถายทอดเทคโนโลยีกระทั่งชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได อาทิ 1. การผลิตไบโอดีเซลจากไขมันหมู ไดมีการ

นําเอาไบโอดีเซลที่ไดมาใชเปนพลังงาน

ทดแทนในกิจกรรมของสถานีตํารวจ ชุมชนและโรงงานอุตสาหกรรม มีการลงพื้นที่ เพื่อถายทอดความรูสูชุมชน และสรางกระบวนการการทํางานรวมกัน

ระหวางเด็ก ชุมชน และโรงเรียน ทําใหชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองดานพลังงานและ

เปนการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางชุมชน งานวิจัยชิ้นนี้จะชวยลดมลพิษทางอากาศ ลดการปลดปลอยของเสียสูส่ิงแวดลอม และเนนการใชทรัพยากรอยางคุมคา

2. ชุดลางไบโอดีเซลโดยกระบวนการลางดวย

น้ํารวมกับสารดูดซับระบบตอเนื่อง ไดถูกนําไปติดตั้งและใชงานแลวในชุมชนจํานวน 3 ชุด และไดมีการนําความรูไปใชในการออกแบบโรงงานผลิตไบโอดีเซลในเชิง

พาณิชย งานวิจัยชิ้นนี้จะชวยการในแกไขปญหาดาน

ส่ิงแวดลอม เชน สารดูดซับที่ผานการใชงานสามารถสลายยอยเองไดตามธรรมชาติ กระบวนการทดสอบแบบกะประมาณของ

ปริมาณกลี เซอไรด ในไบโอดี เซลโดย

ม.อ. 18.2-03 สรุปผลการจัดโครงการการจัดการทรัพยากรที่ย่ังยืน ม.อ.18.2-04 โครงการถายทอดความรูการผลิตไบโอดีเซลจากไขมันหมูสูชุมชน ม .อ .18.2-05 ภาพชุดลางไบโอดีเซลที่ติดตั้งในชุมชน ม .อ .18.2-06 ภาพการทดสอบแบบกะประมาณของปริมาณกลีเซอไรดในไบโอ

ดีเซล ม .อ .18.2-07 ภาพการใหบริการสถานีจายไบโอดีเซล

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

123

Page 130: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

กระบวนการทรานสเอสเตอริฟเคชันดวย เตาไมโครเวฟ เปนการตรวจสอบคุณภาพ

ของไบโอดีเซลในเบื้องตนของผูผลิตขนาด

กลางและขนาดเล็ก ซ่ึงสามารถตรวจสอบไดเองดวยอุปกรณ และวิธีที่ไมยุงยาก เห็นผลชัดเจน มีคาใชจายที่เปนคาสารเคมีในราคาไมเกิน 5 บาท และใชเวลาทดสอบเพียง 15 นาที โดยยึดหลัก งาย เร็ว ถูก มุงชวยผูผลิตรายยอย

3. เปดสถานีจายไบโอดีเซลในระบบทั่วไป เพื่อสรางความเชื่อมั่นในการใชไบโอดีเซลเปน

พลังงานทางเลือก ชุมชนเชื่อมั่นวาสถาน วิจัยฯ สามารถสนับสนุนองคความรูไดโดยไมถูกทอดทิ้ง

5 ไดรับการยกยองระดับชาติ

และ/หรือนานาชาติ จากการดําเนินนโยบายการจัดการทรัพยากรที่

ย่ังยืนรวมกันระหวางคณะและมหาวิทยาลัยพบวา

มีกิจกรรมไดรับการยกยองไดแก 4. โครงการ Pollution Control and Sustainable

Fisheries Management in Songkhla Lake, Thailand คณะเศรษฐศาสตร ไดรับคัดเลือกใหนําเสนอในการประชุมวิชาการระดับ

น า น า ช า ติ The 4th World Congress of Environmental and Resource Economists (WCERE) ระหว างวันที่ 27 มิถุนายน -2 กรกฎาคม 2553 (รวม Pre-Conference) ที่ Montreal ประเทศ Canada ซ่ึงจัดโดย European Association of Environmental and Resource Economists (EAERE) รวมกับ Association of Environmental and Resource Economists (AERE) หัวขอเรื่อง “Pollution Control and Sustainable Fisheries Management in Songkhla Lake, Thailand” เปนการประชุมที่มีผลงานวิจัยที่ไดมาตรฐาน

จากนักเศรษฐศาสตรประเทศตางๆ ทั่วโลกเขารวมนําเสนอ

5. โล เกียรติ คุณพรอมประกาศนียบัตรการ

ป ร ะ ก วด “ร า ง วั ล ค ว า ม คิ ด ริ เ ร่ิ ม ท า ง

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนา

อยางย่ังยืน : กระบวนการและผลิตภัณฑเคมี ครั้ งที่ 4” เ ร่ือง การพัฒนากระบวนการ

ผลิตไบโอดี เซลชนิดเอทิล เอสเตอร เชิ ง

ม.อ.18.2-08 โครงการ Pollution Control and Sustainable Fisheries Management in Songkhla Lake, Thailand ค ณ ะ

เศรษฐศาสตร ม . อ . 1 8 .2-0 9 โ ล เ กี ย ร ติ คุ ณ พ ร อ ม

ประกาศนียบัตร การประกวด “รางวัลความคิด ริ เริ่ มทางวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน : กระบวนการและผลิตภัณฑเคมี คร้ังที่ 4” ม.อ .18.2-10 โลรางวัลคนดีสังคมไทย สาข า วิ จั ย แ ล ะพั ฒน าพลั ง ง าน จ า ก

คณะกรรมการอํานวยการจัดงานรางวัล

ไทยและนิตยสารเสนทางไทย มอบใหแก รศ.ดร.ชาคริต ทองอุไร ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

124

Page 131: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

อุตสาหกรรมคุณภาพสูง) 6. โลรางวัลคนดีสังคมไทย สาขาวิจัยและ

พัฒนาพลังงานจากคณะกรรมการอํานวยการ

จัดงานรางวัลไทยและนิตยสารเสนทางไทย มอบใหแก รศ.ดร.ชาคริต ทองอุไร ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร

ผลการประเมินตนเองปนี ้

เปาหมาย ผลดําเนนิงาน คะแนนการประเมินตนเอง บรรลุเปาหมาย

5 ขอ 5 5.00 บรรลุเปาหมาย

ลําดับที ่ หนวยงาน ผลการดาํเนนิงาน คะแนนประเมิน 1 คณะทันตแพทยศาสตร 5 5.00 2 คณะพยาบาลศาสตร 5 5.00 3 คณะแพทยศาสตร 5 5.00 4 คณะเภสัชศาสตร 5 5.00 5 คณะการแพทยแผนไทย 5 5.00 6 คณะวิทยาศาสตร 5 5.00 7 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 5 5.00 8 คณะการจัดการสิ่งแวดลอม 5 5.00 9 คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม 5 5.00

10 คณะวิศวกรรมศาสตร 5 5.00 11 คณะอุตสาหกรรมเกษตร 5 5.00 12 คณะทรัพยากรธรรมชาต ิ 4 5.00 13 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอตุสาหกรรม 5 5.00 14 คณะวิทยาการจัดการ 5 5.00 15 คณะพาณิชยศาสตรและการจัดการ 5 5.00 16 คณะเศรษฐศาสตร 5 5.00 17 คณะการบรกิารและการทองเที่ยว 5 5.00 18 คณะศึกษาศาสตร 5 5.00 19 คณะศิลปกรรมศาสตร 5 5.00 20 คณะนิตศิาสตร 5 5.00 21 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 5 5.00 22 คณะศิลปศาสตร 5 5.00 23 วิทยาลัยอิสลามศกึษา 5 5.00 24 คณะรัฐศาสตร 5 5.00 25 คณะวิทยาการสื่อสาร 5 5.00 26 คณะศิลปศาสตรและวิทยาการจดัการ 5 5.00 27 คณะวิเทศศึกษา 5 5.00

มหาวิทยาลัย 5 5.00

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

125

Page 132: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

126

Page 133: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5. ภาคผนวก

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

127

Page 134: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

128

Page 135: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.1 ภาคผนวก ก ความหมายรหสัเอกสารอางองิ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

129

Page 136: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

130

Page 137: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.1 ภาคผนวก ก ความหมายรหัสเอกสารอางอิง

1. อักษรยอ แสดงรหัสเอกสารอางอิง ม.อ. = มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

2. ตัวเลขลําดับท่ี 1 และ 2 แสดงลําดับท่ีของตัวบงชี้

3. ตัวเลขลําดับท่ี 3 และ 4 แสดงลําดับท่ีของเอกสารอางอิง

ตัวอยางเชน

ม.อ.1-01 หมายถึง เอกสารอางอิงในรายงานประจําปการประเมินคุณภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร สําหรับตัวบงช้ี 1 เปนเอกสารอางอิงลําดับที่ 1

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

131

Page 138: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

132

Page 139: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.2 ภาคผนวก ข ขอมลูพื้นฐานระดับคณะ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

133

Page 140: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

134

Page 141: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.2 ภาคผนวก ข ขอมูลพื้นฐานระดับคณะ

ตัวบงชี้ ขอมูลพื้นฐาน มหาวิทยาลัย ทันตแพทยศาสตร พยาบาลศาสตร แพทยศาสตร เภสัชศาสตร การแพทยแผนไทย วิทยาศาสตรวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดลอม

เทคโนโลยีและ

สิ่งแวดลอม

1* จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทั้งหมด* 5,674.00 61.00 102.00 207.00 171.00 44.00 653.00 163.00 - 178.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ตอบแบบสํารวจ* 5,413.00 61.00 102.00 197.00 168.00 44.00 636.00 149.00 - 174.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดงานทํา* 3,762.00 60.00 102.00 195.00 155.00 38.00 382.00 85.00 - 130.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระ* 321.00 0.00 0.00 0.00 4.00 2.00 18.00 20.00 - 16.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทํากอนเขาศึกษา* 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 - 0.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ศึกษาตอ* 580.00 1.00 0.00 2.00 3.00 4.00 121.00 20.00 - 12.00

รอยละของผูตอบแบบสํารวจเรื่องการมีงานทํา* 95.40 100.00 100.00 95.17 98.25 100.00 97.40 91.41 - 97.75

2** จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําทั้งหมด** 3,457.00 42.00 131.00 152.00 116.00 39.00 299.00 72.00 - 82.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดงานทําทั้งหมด** 573.00 12.00 81.00 10.00 30.00 - 30.00 6.00 17.00 -

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดรับการประเมินคุณภาพตาม

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ**1,178.00 19.00 64.00 75.00 38.00 21.00 90.00 22.00 - 26.00

ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

ตรีตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5)**3.93 4.13 3.80 3.90 3.90 3.97 3.91 3.70 - 3.74

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดรับการประเมินคุณภาพตาม

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ**249.00 5.00 38.00 5.00 10.00 - 9.00 2.00 7.00 -

ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับ

บัณฑิตศึกษาตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5)**4.09 4.49 4.52 4.10 3.99 - 4.32 3.96 4.18 -

ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

ตรี โท เอก ตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5) **3.96 4.20 3.95 3.92 3.92 3.97 3.94 3.72 4.18 3.74

3 จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมด 946.00 3.00 97.00 9.00 25.00 - 82.00 18.00 13.00 3.00

จํานวนงานวิจัยที่มีการตีพิมพเผยแพรในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง 461.00 0.00 23.00 0.00 0.00 - 27.00 0.00 0.00 0.00

จํานวนรวมของบทความวิจัย ที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ

ระดับชาติ (Proceeding) ที่ไดรับการยอมรับในสาขา255.00 0.00 23.00 0.00 7.00 - 68.00 7.00 26.00 5.00

จํานวนรวมของบทความวิจัย ที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ

ระดับนานาชาติ (Proceeding) หรือมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏ

ในฐานขอมูล TCI หรือวารสารวิชาการระดับชาติที่ไดรับการยอมรับในสาขา

116.00 2.00 10.00 1.00 2.00 - 16.00 0.00 9.00 0.00

จํานวนรวมของบทความวิจัย ที่ตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาตทิี่ไดรับการ

ยอมรับในระดับสาขา หรือในระดับสากล เชน ISI หรือ Scopus49.00 2.00 1.00 7.00 4.00 - 16.00 1.00 1.00 0.00

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรระดับสถาบันหรือจังหวัด 0.00 - - - - - - - - -

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับชาติ 0.00 - - - - - - - - -

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ 0.00 - - - - - - - - -

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน 0.00 - - - - - - - - -

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ 0.00 - - - - - - - - -

4 จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทั้งหมด 56.00 - 5.00 11.00 4.00 - 17.00 2.00 1.00 -

จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ 21.00 - 0.00 0.00 0.00 - 19.00 0.00 2.00 -

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

135

Page 142: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.2 ภาคผนวก ข ขอมูลพื้นฐานระดับคณะ

ตัวบงชี้ ขอมูลพื้นฐาน

1* จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทั้งหมด*

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ตอบแบบสํารวจ*

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดงานทํา*

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระ*

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทํากอนเขาศึกษา*

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ศึกษาตอ*

รอยละของผูตอบแบบสํารวจเรื่องการมีงานทํา*

2** จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําทั้งหมด**

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดงานทําทั้งหมด**

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดรับการประเมินคุณภาพตาม

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ**

ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

ตรีตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5)**

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดรับการประเมินคุณภาพตาม

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ**

ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับ

บัณฑิตศึกษาตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5)**

ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

ตรี โท เอก ตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5) **

3 จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมด

จํานวนงานวิจัยที่มีการตีพิมพเผยแพรในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง

จํานวนรวมของบทความวิจัย ที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ

ระดับชาติ (Proceeding) ที่ไดรับการยอมรับในสาขา

จํานวนรวมของบทความวิจัย ที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ

ระดับนานาชาติ (Proceeding) หรือมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏ

ในฐานขอมูล TCI หรือวารสารวิชาการระดับชาติที่ไดรับการยอมรับในสาขา

จํานวนรวมของบทความวิจัย ที่ตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไดรับการ

ยอมรับในระดับสาขา หรือในระดับสากล เชน ISI หรือ Scopus

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรระดับสถาบันหรือจังหวัด

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับชาติ

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ

4 จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทั้งหมด

จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ

วิศวกรรมศาสตร อุตสาหกรรมเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติ

วิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี

อุตสาหกรรม

วิทยาการจัดการพาณิชยศาสตรและ

การจัดการเศรษฐศาสตร

การบริการและการ

ทองเที่ยวศึกษาศาสตร ศิลปกรรมศาสตร

465.00 113.00 241.00 130.00 608.00 454.00 106.00 154.00 519.00 21.00

456.00 110.00 238.00 127.00 600.00 446.00 104.00 140.00 474.00 20.00

281.00 78.00 154.00 84.00 433.00 330.00 75.00 115.00 368.00 8.00

22.00 9.00 31.00 6.00 60.00 31.00 7.00 8.00 10.00 1.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

80.00 13.00 40.00 10.00 31.00 19.00 7.00 7.00 9.00 1.00

98.06 97.35 98.76 97.69 98.68 98.24 98.11 90.91 91.33 95.24

204.00 65.00 132.00 78.00 587.00 371.00 33.00 83.00 321.00 17.00

72.00 10.00 22.00 - 112.00 - 25.00 2.00 123.00 -

62.00 23.00 41.00 24.00 179.00 114.00 10.00 25.00 137.00 11.00

3.81 3.83 3.90 3.83 3.92 3.96 3.90 4.19 4.12 3.62

38.00 3.00 12.00 - 56.00 - 8.00 2.00 46.00 -

4.00 4.01 3.94 - 4.06 - 4.04 3.69 4.13 -

3.90 3.85 3.91 3.83 3.96 3.96 3.96 4.15 4.12 3.62

140.00 20.00 46.00 - 187.00 - 38.00 13.00 127.00 -

13.00 0.00 0.00 - 141.00 - 38.00 1.00 127.00 -

52.00 6.00 4.00 - 13.00 - 0.00 3.00 8.00 -

25.00 17.00 12.00 - 0.00 - 0.00 12.00 8.00 -

5.00 9.00 3.00 - 0.00 - 0.00 0.00 0.00 -

- - - - - - - - - -

- - - - - - - - - -

- - - - - - - - - -

- - - - - - - - - -

- - - - - - - - - -

3.00 10.00 1.00 - - - - - 1.00 -

0.00 0.00 0.00 - - - - - 0.00 -

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

136

Page 143: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.2 ภาคผนวก ข ขอมูลพื้นฐานระดับคณะ

ตัวบงชี้ ขอมูลพื้นฐาน

1* จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทั้งหมด*

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ตอบแบบสํารวจ*

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดงานทํา*

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระ*

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทํากอนเขาศึกษา*

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ศึกษาตอ*

รอยละของผูตอบแบบสํารวจเรื่องการมีงานทํา*

2** จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําทั้งหมด**

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดงานทําทั้งหมด**

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดรับการประเมินคุณภาพตาม

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ**

ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

ตรีตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5)**

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดรับการประเมินคุณภาพตาม

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ**

ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับ

บัณฑิตศึกษาตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5)**

ผลการประเมินจากความพึงพอใจของนายจางที่มีตอผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

ตรี โท เอก ตามกรอบ TQF เฉลี่ย (คะแนนเต็ม 5) **

3 จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งหมด

จํานวนงานวิจัยที่มีการตีพิมพเผยแพรในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง

จํานวนรวมของบทความวิจัย ที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ

ระดับชาติ (Proceeding) ที่ไดรับการยอมรับในสาขา

จํานวนรวมของบทความวิจัย ที่ตีพิมพในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ

ระดับนานาชาติ (Proceeding) หรือมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏ

ในฐานขอมูล TCI หรือวารสารวิชาการระดับชาติที่ไดรับการยอมรับในสาขา

จํานวนรวมของบทความวิจัย ที่ตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไดรับการ

ยอมรับในระดับสาขา หรือในระดับสากล เชน ISI หรือ Scopus

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรระดับสถาบันหรือจังหวัด

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับชาติ

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ

4 จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทั้งหมด

จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ

นิติศาสตรมนุษยศาสตรและ

สังคมศาสตรศิลปศาสตร วิทยาลัยอิสลามศึกษา รัฐศาสตร วิทยาการสื่อสาร

ศิลปศาสตรและ

วิทยาการจัดการวิเทศศึกษา

177.00 406.00 143.00 93.00 72.00 152.00 127.00 114.00

156.00 351.00 137.00 85.00 70.00 136.00 125.00 107.00

41.00 218.00 90.00 65.00 40.00 77.00 87.00 71.00

5.00 12.00 10.00 3.00 8.00 17.00 11.00 10.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

107.00 33.00 20.00 1.00 10.00 3.00 7.00 19.00

88.14 86.45 95.80 91.40 97.22 89.47 98.43 93.86

58.00 239.00 66.00 93.00 - 69.00 54.00 54.00

- 1.00 18.00 2.00 - - - -

20.00 73.00 21.00 29.00 - 21.00 11.00 22.00

4.03 3.97 4.15 3.87 - 4.04 3.87 3.72

- 1.00 6.00 1.00 - - - -

- 4.14 4.16 4.41 - - - -

4.03 3.98 4.15 3.89 - 4.04 3.87 3.72

- 3.00 108.00 14.00 - - - -

- 2.00 75.00 14.00 - - - -

- 0.00 33.00 0.00 - - - -

- 1.00 1.00 0.00 - - - -

- 0.00 0.00 0.00 - - - -

- - - - - - - -

- - - - - - - -

- - - - - - - -

- - - - - - - -

- - - - - - - -

- 1.00 - - - - - -

- 0.00 - - - - - -

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

137

Page 144: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.2 ภาคผนวก ข ขอมูลพื้นฐานระดับคณะ

ตัวบงชี้ ขอมูลพื้นฐาน มหาวิทยาลัย ทันตแพทยศาสตร พยาบาลศาสตร แพทยศาสตร เภสัชศาสตร การแพทยแผนไทย วิทยาศาสตรวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดลอม

เทคโนโลยีและ

สิ่งแวดลอม

จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

หรือจํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานขอมูล TCI20.00 - 0.00 0.00 1.00 - 16.00 0.00 2.00 -

จํานวนบทความวิจัยฯ ที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฏใน

ประกาศของ สมศ.4.00 - 2.00 0.00 0.00 - 0.00 0.00 0.00 -

จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู

ในประกาศของ สมศ.1.00 - 1.00 0.00 0.00 - 0.00 0.00 0.00 -

จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู

ในฐานขอมูลสากล ISI73.00 - 1.00 16.00 5.00 - 26.00 2.00 0.00 -

จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดบันานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู

ในฐานขอมูลสากล Scopus4.00 - 0.00 0.00 0.00 - 4.00 0.00 0.00 -

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร

SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอ

ไทลที่ 4 (Q4) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

2.00 - 0.00 0.00 0.00 - 0.00 - 0.00 -

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร

SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอ

ไทลที่ 3 (Q3) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

1.00 - 0.00 0.00 0.00 - 0.00 - 1.00 -

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร

SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอ

ไทลที่ 2 (Q2) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

0.00 - 0.00 0.00 0.00 - 0.00 - - -

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร

SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอ

ไทลที่ 1 (Q1) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

1.00 - 1.00 0.00 0.00 - 0.00 - - -

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับสถาบันหรือจังหวัด 0.00 - - - - - - - - -

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับชาติ 0.00 - - - - - - - - -

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ 0.00 - - - - - - - - -

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน 0.00 - - - - - - - - -

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ 0.00 - - - - - - - - -

5 จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด 2,042.00 85.00 114.00 295.50 72.00 14.00 270.00 137.00 13.50 43.00

จํานวนนักวิจัยประจําทั้งหมด 11.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 3.00 0.00 5.00 0.00

- จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ 194.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 134.00 1.00 3.00 0.00

- จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

หรือจํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานขอมูล TCI240.00 7.00 18.00 5.00 1.00 2.00 41.00 9.00 8.00 18.00

- จํานวนบทความวิจัยฯ ที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฏใน

ประกาศของ สมศ.80.00 0.00 9.00 11.00 0.00 1.00 1.00 1.00 0.00 4.00

- จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏ

อยูในประกาศของ สมศ.34.00 0.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

138

Page 145: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.2 ภาคผนวก ข ขอมูลพื้นฐานระดับคณะ

ตัวบงชี้ ขอมูลพื้นฐาน

จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

หรือจํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานขอมูล TCI

จํานวนบทความวิจัยฯ ที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฏใน

ประกาศของ สมศ.

จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู

ในประกาศของ สมศ.

จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู

ในฐานขอมูลสากล ISI

จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู

ในฐานขอมูลสากล Scopus

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร

SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอ

ไทลที่ 4 (Q4) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร

SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอ

ไทลที่ 3 (Q3) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร

SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอ

ไทลที่ 2 (Q2) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร

SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอ

ไทลที่ 1 (Q1) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับสถาบันหรือจังหวัด

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับชาติ

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ

5 จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด

จํานวนนักวิจัยประจําทั้งหมด

- จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ

- จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

หรือจํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานขอมูล TCI

- จํานวนบทความวิจัยฯ ที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฏใน

ประกาศของ สมศ.

- จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏ

อยูในประกาศของ สมศ.

วิศวกรรมศาสตร อุตสาหกรรมเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติ

วิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี

อุตสาหกรรม

วิทยาการจัดการพาณิชยศาสตรและ

การจัดการเศรษฐศาสตร

การบริการและการ

ทองเที่ยวศึกษาศาสตร ศิลปกรรมศาสตร

0.00 1.00 0.00 - - - - - 0.00 -

0.00 0.00 0.00 - - - - - 1.00 -

0.00 0.00 0.00 - - - - - 0.00 -

2.00 21.00 0.00 - - - - - 0.00 -

0.00 0.00 0.00 - - - - - 0.00 -

1.00 0.00 1.00 - - - - - 0.00 -

0.00 0.00 0.00 - - - - - 0.00 -

0.00 0.00 0.00 - - - - - 0.00 -

0.00 0.00 0.00 - - - - - 0.00 -

- - - - - - - - - -

- - - - - - - - - -

- - - - - - - - - -

- - - - - - - - - -

- - - - - - - - - -

156.50 42.00 72.00 77.50 71.00 71.50 21.00 20.00 69.00 17.00

0.00 1.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

35.00 1.00 4.00 0.00 11.00 1.00 0.00 0.00 2.00 -

28.00 15.00 35.00 7.00 4.00 2.00 2.00 15.00 2.00 -

10.00 0.00 5.00 1.00 2.00 1.00 1.00 1.00 17.00 -

11.00 0.00 11.00 0.00 0.00 0.00 3.00 0.00 3.00 -

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

139

Page 146: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.2 ภาคผนวก ข ขอมูลพื้นฐานระดับคณะ

ตัวบงชี้ ขอมูลพื้นฐาน

จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

หรือจํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานขอมูล TCI

จํานวนบทความวิจัยฯ ที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฏใน

ประกาศของ สมศ.

จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู

ในประกาศของ สมศ.

จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู

ในฐานขอมูลสากล ISI

จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏอยู

ในฐานขอมูลสากล Scopus

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร

SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอ

ไทลที่ 4 (Q4) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร

SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอ

ไทลที่ 3 (Q3) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร

SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอ

ไทลที่ 2 (Q2) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับวารสาร

SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัดอยูในควอ

ไทลที่ 1 (Q1) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับสถาบันหรือจังหวัด

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับชาติ

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน

จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ

5 จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด

จํานวนนักวิจัยประจําทั้งหมด

- จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ

- จํานวนบทความวิจัยฯ ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

หรือจํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่ปรากฏในฐานขอมูล TCI

- จํานวนบทความวิจัยฯ ที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาติที่มีชื่อปรากฏใน

ประกาศของ สมศ.

- จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏ

อยูในประกาศของ สมศ.

นิติศาสตรมนุษยศาสตรและ

สังคมศาสตรศิลปศาสตร วิทยาลัยอิสลามศึกษา รัฐศาสตร วิทยาการสื่อสาร

ศิลปศาสตรและ

วิทยาการจัดการวิเทศศึกษา

- 0.00 - - - - - -

- 1.00 - - - - - -

- 0.00 - - - - - -

- 0.00 - - - - - -

- 0.00 - - - - - -

- 0.00 - - - - - -

- 0.00 - - - - - -

- 0.00 - - - - - -

- 0.00 - - - - - -

- - - - - - - -

- - - - - - - -

- - - - - - - -

- - - - - - - -

- - - - - - - -

19.00 136.50 76.50 28.50 16.00 24.00 46.00 34.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 0.00 1.00 0.00 1.00 0.00 0.00 0.00

1.00 0.00 11.00 1.00 0.00 1.00 5.00 2.00

0.00 11.00 2.00 2.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 0.00 5.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

140

Page 147: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.2 ภาคผนวก ข ขอมูลพื้นฐานระดับคณะ

ตัวบงชี้ ขอมูลพื้นฐาน มหาวิทยาลัย ทันตแพทยศาสตร พยาบาลศาสตร แพทยศาสตร เภสัชศาสตร การแพทยแผนไทย วิทยาศาสตรวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดลอม

เทคโนโลยีและ

สิ่งแวดลอม

- จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏ

อยูในฐานขอมูลสากล ISI375.00 14.00 3.00 64.00 0.00 1.00 158.00 42.00 1.00 0.00

- จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏ

อยูในฐานขอมูลสากล Scopus28.00 4.00 0.00 3.00 0.00 1.00 17.00 0.00 1.00 0.00

- จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับ

วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัด

อยูในควอไทลที่ 4 (Q4) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

3.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1.00 0.00

- จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับ

วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัด

อยูในควอไทลที่ 3 (Q3) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

3.00 0.00 0.00 0.00 1.00 0.00 0.00 0.00 1.00 0.00

- จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับ

วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัด

อยูในควอไทลที่ 2 (Q2) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

29.00 2.00 2.00 15.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1.00 3.00

- จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับ

วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัด

อยูในควอไทลที่ 1 (Q1) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

46.00 0.00 3.00 2.00 41.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับสถาบันหรือจังหวัด 1.00 - - - - - - - - -

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับชาติ 15.00 - - - - - - - - -

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ 7.00 - - - - - - - - -

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน 0.00 - - - - - - - - -

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ 0.00 - - - - - - - - -

6 จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ 2,042.00 85.00 114.00 295.50 72.00 14.00 270.00 137.00 13.50 43.00

จํานวนนักวิจัยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ 11.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 3.00 0.00 5.00 0.00

จํานวนรวมของผลงานวิจัยที่นําไปใชประโยชน 433.00 24.00 19.00 70.00 9.00 5.00 52.00 23.00 2.00 9.00

จํานวนรวมของผลงานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน 3.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

7 จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ 2,042.00 85.00 114.00 295.50 72.00 14.00 270.00 137.00 13.50 43.00

จํานวนนักวิจัยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ 11.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 3.00 0.00 5.00 0.00

บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับชาติ 65.00 3.00 8.00 3.00 0.00 0.00 3.00 0.00 2.00 0.00

บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ 18.00 0.00 1.00 4.00 3.00 0.00 1.00 2.00 0.00 0.00

ตําราหรือหนังสือที่มีการตรวจอานโดยผูทรงคุณวุฒิ 121.00 3.00 8.00 27.00 8.00 0.00 41.00 6.00 0.00 2.00

ตํารา หรือหนังสือที่ใชในการขอผลงานทางวิชาการและผานการพิจารณาตามเกณฑ

การขอ ตําแหนงทางวิชาการแลว หรือตําราหรือหนังสือที่มีคุณภาพสูงมีผูทรงคุณวุฒิ

ตรวจอานตามเกณฑขอ ตําแหนงทางวิชาการ

44.00 1.00 2.00 10.00 1.00 0.00 6.00 5.00 1.00 1.00

8 จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการทั้งหมด 446.00 11.00 23.00 34.00 10.00 3.00 37.00 27.00 8.00 13.00

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการเฉพาะกับการเรียนการสอน 141.00 9.00 3.00 15.00 5.00 0.00 11.00 3.00 4.00 3.00

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการเฉพาะกับการวิจัย 31.00 0.00 5.00 5.00 0.00 0.00 2.00 4.00 2.00 1.00

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

141

Page 148: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.2 ภาคผนวก ข ขอมูลพื้นฐานระดับคณะ

ตัวบงชี้ ขอมูลพื้นฐาน

- จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏ

อยูในฐานขอมูลสากล ISI

- จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏ

อยูในฐานขอมูลสากล Scopus

- จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับ

วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัด

อยูในควอไทลที่ 4 (Q4) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

- จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับ

วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัด

อยูในควอไทลที่ 3 (Q3) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

- จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับ

วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัด

อยูในควอไทลที่ 2 (Q2) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

- จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับ

วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัด

อยูในควอไทลที่ 1 (Q1) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับสถาบนัหรือจังหวัด

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับชาติ

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ

6 จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

จํานวนนักวิจัยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

จํานวนรวมของผลงานวิจัยที่นําไปใชประโยชน

จํานวนรวมของผลงานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน

7 จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

จํานวนนักวิจัยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับชาติ

บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ

ตําราหรือหนังสือที่มีการตรวจอานโดยผูทรงคุณวุฒิ

ตํารา หรือหนังสือที่ใชในการขอผลงานทางวิชาการและผานการพิจารณาตามเกณฑ

การขอ ตําแหนงทางวิชาการแลว หรือตําราหรือหนังสือที่มีคุณภาพสูงมีผูทรงคุณวุฒิ

ตรวจอานตามเกณฑขอ ตําแหนงทางวิชาการ

8 จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการทั้งหมด

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการเฉพาะกับการเรียนการสอน

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการเฉพาะกับการวิจัย

วิศวกรรมศาสตร อุตสาหกรรมเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติ

วิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี

อุตสาหกรรม

วิทยาการจัดการพาณิชยศาสตรและ

การจัดการเศรษฐศาสตร

การบริการและการ

ทองเที่ยวศึกษาศาสตร ศิลปกรรมศาสตร

21.00 63.00 2.00 0.00 0.00 2.00 0.00 0.00 1.00 -

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1.00 0.00 0.00 0.00 -

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1.00 0.00 0.00 0.00 -

0.00 0.00 0.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 -

0.00 0.00 0.00 3.00 2.00 0.00 0.00 0.00 0.00 -

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 -

- - - - - - - - 0.00 0.00

- - - - - - - - 0.00 12.00

- - - - - - - - 0.00 6.00

- - - - - - - - 0.00 0.00

- - - - - - - - 0.00 0.00

156.50 42.00 72.00 77.50 71.00 71.50 21.00 20.00 69.00 17.00

0.00 1.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

74.00 63.00 8.00 11.00 11.00 3.00 5.00 2.00 13.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1.00 1.00

156.50 42.00 72.00 77.50 71.00 71.50 21.00 20.00 69.00 17.00

0.00 1.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 6.00 0.00 0.00 2.00 7.00 2.00

6.00 0.00 0.00 0.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

6.00 2.00 0.00 8.00 3.00 1.00 2.00 0.00 0.00 0.00

3.00 2.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 3.00 3.00 1.00

35.00 8.00 15.00 8.00 8.00 13.00 6.00 12.00 51.00 10.00

9.00 1.00 6.00 3.00 4.00 7.00 3.00 3.00 21.00 2.00

2.00 1.00 0.00 1.00 1.00 1.00 1.00 0.00 3.00 1.00

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

142

Page 149: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.2 ภาคผนวก ข ขอมูลพื้นฐานระดับคณะ

ตัวบงชี้ ขอมูลพื้นฐาน

- จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏ

อยูในฐานขอมูลสากล ISI

- จํานวนบทความวิจัยที่มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่มีชื่อปรากฏ

อยูในฐานขอมูลสากล Scopus

- จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับ

วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัด

อยูในควอไทลที่ 4 (Q4) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

- จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับ

วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัด

อยูในควอไทลที่ 3 (Q3) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

- จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับ

วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัด

อยูในควอไทลที่ 2 (Q2) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

- จํานวนการตีพิมพในวารสารวิชาการที่มีชื่อปรากฏในฐานขอมูลการจัดอันดับ

วารสาร SJR (SCImago Journal Rank :www.scimagojr.com) โดยวารสารนั้นถูกจัด

อยูในควอไทลที่ 1 (Q1) ในปลาสุด ใน subject category ที่ตีพิมพ

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับสถาบนัหรือจังหวัด

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับชาติ

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน

- จํานวนผลงานสรางสรรคที่ไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาติ

6 จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

จํานวนนักวิจัยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

จํานวนรวมของผลงานวิจัยที่นําไปใชประโยชน

จํานวนรวมของผลงานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน

7 จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

จํานวนนักวิจัยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับชาติ

บทความวิชาการที่ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ

ตําราหรือหนังสือที่มีการตรวจอานโดยผูทรงคุณวุฒิ

ตํารา หรือหนังสือที่ใชในการขอผลงานทางวิชาการและผานการพิจารณาตามเกณฑ

การขอ ตําแหนงทางวิชาการแลว หรือตําราหรือหนังสือที่มีคุณภาพสูงมีผูทรงคุณวุฒิ

ตรวจอานตามเกณฑขอ ตําแหนงทางวิชาการ

8 จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการทั้งหมด

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการเฉพาะกับการเรียนการสอน

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการเฉพาะกับการวิจัย

นิติศาสตรมนุษยศาสตรและ

สังคมศาสตรศิลปศาสตร วิทยาลัยอิสลามศึกษา รัฐศาสตร วิทยาการสื่อสาร

ศิลปศาสตรและ

วิทยาการจัดการวิเทศศึกษา

0.00 1.00 1.00 0.00 0.00 1.00 0.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 0.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

- - - - - 1.00 - 0.00

- - - - - 1.00 - 2.00

- - - - - 1.00 - 0.00

- - - - - 0.00 - 0.00

- - - - - 0.00 - 0.00

19.00 136.50 76.50 28.50 16.00 24.00 46.00 34.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 5.00 3.00 5.00 6.00 2.00 6.00 3.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 1.00

19.00 136.50 76.50 28.50 16.00 24.00 46.00 34.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

1.00 11.00 5.00 0.00 1.00 2.00 0.00 9.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

3.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 0.00 0.00 4.00 0.00 0.00 0.00 0.00

5.00 18.00 35.00 26.00 8.00 12.00 4.00 6.00

0.00 4.00 13.00 0.00 3.00 6.00 3.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 1.00 0.00 0.00 0.00

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

143

Page 150: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.2 ภาคผนวก ข ขอมูลพื้นฐานระดับคณะ

ตัวบงชี้ ขอมูลพื้นฐาน มหาวิทยาลัย ทันตแพทยศาสตร พยาบาลศาสตร แพทยศาสตร เภสัชศาสตร การแพทยแผนไทย วิทยาศาสตรวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดลอม

เทคโนโลยีและ

สิ่งแวดลอม

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการกับทั้งการเรียนการสอน

และการวิจัย61.00 2.00 2.00 3.00 5.00 2.00 0.00 3.00 1.00 0.00

ผลรวมโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการกับการเรียนการสอนและ

การวิจัย233.00 11.00 10.00 23.00 10.00 2.00 13.00 10.00 7.00 4.00

13คะแนนการประเมินผลผูบริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแตงตั้ง (คะแนนเต็ม

5)4.09 3.30 4.73 4.30 4.20 4.35 4.57 4.07 4.25 4.45

14 จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ 2,042.00 85.00 114.00 295.50 72.00 14.00 270.00 137.00 13.50 43.00

จํานวนอาจารยประจํา (ที่ไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาตรี 87.50 0.00 0.00 1.00 6.00 5.00 17.00 0.00 0.00 0.00

จํานวนอาจารยประจํา (ที่ไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาโท 674.50 31.00 24.00 11.00 3.00 4.00 62.50 58.00 2.00 27.00

จํานวนอาจารยประจํา (ที่ไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาเอก 476.50 11.00 19.00 140.50 15.00 5.00 69.00 45.00 2.00 5.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาตรี 4.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 2.00 0.00 0.00 0.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาโท 182.50 5.00 23.00 1.00 3.00 0.00 26.00 11.00 1.00 3.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาเอก 327.00 25.00 32.00 76.00 25.00 0.00 43.50 16.00 7.50 5.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาตรี 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาโท 53.00 2.00 7.00 1.00 2.00 0.00 11.00 2.00 0.00 2.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาเอก 214.00 10.00 9.00 52.00 17.00 0.00 36.00 5.00 1.00 1.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาตรี 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาโท 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาเอก 23.00 1.00 0.00 13.00 1.00 0.00 3.00 0.00 0.00 0.00

15 ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด 4.54 4.62 4.57 4.81 4.50 4.34 4.34 4.39 4.07 4.03

16.2** จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําทั้งหมด** 3,457.00 42.00 131.00 152.00 116.00 39.00 299.00 72.00 - 82.00

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดงานทําทั้งหมด** 573.00 12.00 81.00 10.00 30.00 - 30.00 6.00 17.00 -

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดรับการประเมินคุณลักษณะ

ตามอัตลักษณ**1,178.00 19.00 64.00 75.00 38.00 21.00 90.00 22.00 - 26.00

คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ

(คะแนนเต็ม 5)**4.10 4.23 4.11 4.00 4.08 4.15 4.06 3.75 - 4.06

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดรับการประเมินคุณลักษณะ

ตามอัตลักษณ**249.00 5.00 38.00 5.00 10.00 - 9.00 2.00 7.00 -

คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ

(คะแนนเต็ม 5)**4.23 4.50 4.67 4.25 4.13 - 4.42 4.25 4.36 -

คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริญญาตรี โท เอกที่มีคุณลักษณะตามอัต

ลักษณ (คะแนนเต็ม 5)**4.12 4.28 4.21 4.02 4.09 4.15 4.10 3.79 4.36 4.06

หมายเหตุ

* ขอมูลบัณฑิตที่จบปการศึกษา 2552

** ขอมูลบัณฑิตที่จบปการศึกษา 2551

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

144

Page 151: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.2 ภาคผนวก ข ขอมูลพื้นฐานระดับคณะ

ตัวบงชี้ ขอมูลพื้นฐาน

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการกับทั้งการเรียนการสอน

และการวิจัย

ผลรวมโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการกับการเรียนการสอนและ

การวิจัย

13คะแนนการประเมินผลผูบริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแตงตั้ง (คะแนนเต็ม

5)

14 จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

จํานวนอาจารยประจํา (ที่ไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาตรี

จํานวนอาจารยประจํา (ที่ไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาโท

จํานวนอาจารยประจํา (ที่ไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาเอก

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาตรี

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ที่มวีุฒิปริญญาโท

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาเอก

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาตรี

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาโท

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาเอก

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาตรี

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาโท

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาเอก

15 ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด

16.2** จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําทั้งหมด**

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดงานทําทั้งหมด**

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดรับการประเมินคุณลักษณะ

ตามอัตลักษณ**

คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ

(คะแนนเต็ม 5)**

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดรับการประเมินคุณลักษณะ

ตามอัตลักษณ**

คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ

(คะแนนเต็ม 5)**

คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริญญาตรี โท เอกที่มีคุณลักษณะตามอัต

ลักษณ (คะแนนเต็ม 5)**

หมายเหตุ

* ขอมูลบัณฑิตที่จบปการศึกษา 2552

** ขอมูลบัณฑิตที่จบปการศึกษา 2551

วิศวกรรมศาสตร อุตสาหกรรมเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติ

วิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี

อุตสาหกรรม

วิทยาการจัดการพาณิชยศาสตรและ

การจัดการเศรษฐศาสตร

การบริการและการ

ทองเที่ยวศึกษาศาสตร ศิลปกรรมศาสตร

1.00 0.00 3.00 0.00 2.00 0.00 2.00 2.00 7.00 0.00

12.00 2.00 9.00 4.00 7.00 8.00 6.00 5.00 31.00 3.00

4.43 3.81 4.26 4.51 4.28 4.10 4.37 3.92 3.63 4.28

156.50 42.00 72.00 77.50 71.00 71.50 21.00 20.00 69.00 17.00

7.00 0.00 1.00 2.00 0.00 3.00 1.00 0.00 0.00 3.00

28.50 5.00 8.00 44.00 29.00 59.50 11.00 10.00 36.00 8.00

26.00 16.00 13.50 24.50 11.00 4.00 3.00 8.00 5.50 4.00

1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

24.00 0.00 6.00 1.00 19.00 4.00 4.00 1.00 8.00 1.00

36.00 13.00 11.00 5.00 6.00 0.00 0.00 1.00 11.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

9.00 0.00 3.00 0.00 4.00 0.00 0.00 0.00 2.00 0.00

24.00 6.00 28.50 1.00 2.00 1.00 2.00 0.00 6.50 1.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

1.00 2.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

4.36 4.46 4.74 3.80 4.07 4.24 3.85 4.34 3.84 3.98

204.00 65.00 132.00 78.00 587.00 371.00 33.00 83.00 321.00 17.00

72.00 10.00 22.00 - 112.00 - 25.00 2.00 123.00 -

62.00 23.00 41.00 24.00 179.00 114.00 10.00 25.00 137.00 11.00

4.05 4.00 4.03 4.04 4.08 4.10 3.94 4.32 4.23 3.89

38.00 3.00 12.00 - 56.00 - 8.00 2.00 46.00 -

4.08 4.17 4.15 - 4.20 - 4.19 3.63 4.29 -

4.07 4.02 4.06 4.04 4.11 4.10 4.06 4.27 4.24 3.89

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

145

Page 152: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.2 ภาคผนวก ข ขอมูลพื้นฐานระดับคณะ

ตัวบงชี้ ขอมูลพื้นฐาน

จํานวนโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการกับทั้งการเรียนการสอน

และการวิจัย

ผลรวมโครงการ/กิจกรรมบริการทางวิชาการ ที่บูรณาการกับการเรียนการสอนและ

การวิจัย

13คะแนนการประเมินผลผูบริหารโดยคณะกรรมการที่สภาสถาบันแตงตั้ง (คะแนนเต็ม

5)

14 จํานวนอาจารยประจําทั้งหมด รวมทั้งที่ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาตอ

จํานวนอาจารยประจํา (ที่ไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาตรี

จํานวนอาจารยประจํา (ที่ไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาโท

จํานวนอาจารยประจํา (ที่ไมมีตําแหนงทางวิชาการ) ที่มีวุฒิปริญญาเอก

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาตรี

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ที่มวีุฒิปริญญาโท

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงผูชวยศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาเอก

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาตรี

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาโท

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงรองศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาเอก

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาตรี

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาโท

จํานวนอาจารยประจําตําแหนงศาสตราจารย ที่มีวุฒิปริญญาเอก

15 ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยตนสังกัด

16.2** จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดงานทําทั้งหมด**

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดงานทําทั้งหมด**

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับปริญญาตรีที่ไดรับการประเมินคุณลักษณะ

ตามอัตลักษณ**

คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ

(คะแนนเต็ม 5)**

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดรับการประเมินคุณลักษณะ

ตามอัตลักษณ**

คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ

(คะแนนเต็ม 5)**

คาเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิตระดับปริญญาตรี โท เอกที่มีคุณลักษณะตามอัต

ลักษณ (คะแนนเต็ม 5)**

หมายเหตุ

* ขอมูลบัณฑิตที่จบปการศึกษา 2552

** ขอมูลบัณฑิตที่จบปการศึกษา 2551

นิติศาสตรมนุษยศาสตรและ

สังคมศาสตรศิลปศาสตร วิทยาลัยอิสลามศึกษา รัฐศาสตร วิทยาการสื่อสาร

ศิลปศาสตรและ

วิทยาการจัดการวิเทศศึกษา

3.00 2.00 2.00 10.00 0.00 6.00 1.00 2.00

3.00 6.00 15.00 10.00 4.00 12.00 4.00 2.00

4.42 4.45 4.55 3.83 4.45 4.25 4.16 4.09

19.00 136.50 76.50 28.50 16.00 24.00 46.00 34.00

5.00 18.50 5.00 0.00 0.00 2.00 4.00 7.00

13.00 79.50 24.00 13.50 12.00 15.00 33.00 23.00

1.00 14.50 14.00 8.00 1.00 3.00 5.00 3.00

0.00 0.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 14.00 16.50 2.00 2.00 4.00 3.00 0.00

0.00 3.00 7.00 3.00 1.00 0.00 0.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 2.00 4.00 1.00 0.00 0.00 1.00 0.00

0.00 4.00 5.00 1.00 0.00 0.00 0.00 1.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 1.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

4.44 3.97 4.12 3.67 4.20 4.31 3.82 3.77

58.00 239.00 66.00 93.00 - 69.00 54.00 54.00

- 1.00 18.00 2.00 - - - -

20.00 73.00 21.00 29.00 - 21.00 11.00 22.00

4.23 4.20 4.40 4.03 - 4.21 4.13 3.84

- 1.00 6.00 1.00 - - - -

- 4.50 4.22 4.50 - - - -

4.23 4.20 4.36 4.05 - 4.21 4.13 3.84

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

146

Page 153: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.3 ภาคผนวก ค ขอมลูคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินตนเองรายตัวบงชี้

แยกตามคณะ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

147

Page 154: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

148

Page 155: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตารางแสดงผลการดําเนินงาน และผลการประเมินคุณตามตัวบงชี้ สําหรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม

องคประกอบและตัวบงชี้ มหาวิทยาลัยทันต

แพทยศาสตรพยาบาลศาสตร แพทยศาสตร เภสัชศาสตร

การแพทยแผน

ไทยวิทยาศาสตร

วิทยาศาสตร

และเทคโนโลยี

การจัดการ

สิ่งแวดลอม

เทคโนโลยีและ

สิ่งแวดลอม

วิศวกรรมศาสต

อุตสาหกรรม

เกษตร

ทรัพยากรธรรม

ชาติ

วิทยาศาสตร

และเทคโนโลยี

อุตสาหกรรม

ตัวตั้ง 4,083.00 60.00 102.00 195.00 159.00 40.00 400.00 105.00 146.00 303.00 87.00 185.00 90.00

ตัวหาร 4,833.00 60.00 102.00 195.00 165.00 40.00 515.00 129.00 162.00 376.00 97.00 198.00 117.00

ผลลัพธ 84.48 100.00 100.00 100.00 96.36 100.00 77.67 81.40 90.12 80.59 89.69 93.43 76.92

คะแนนประเมิน 4.22 5.00 5.00 5.00 4.82 5.00 3.88 4.07 4.51 4.03 4.48 4.67 3.85

ผลลัพธ 3.96 4.20 3.95 3.92 3.92 3.97 3.94 3.72 4.18 3.74 3.90 3.85 3.91 3.83

คะแนนประเมิน 3.96 4.20 3.95 3.92 3.92 3.97 3.94 3.72 4.18 3.74 3.90 3.85 3.91 3.83

ตัวตั้ง 378.75 3.50 25.75 7.75 9.00 68.75 4.50 20.75 2.50 53.00 24.75 14.00

ตัวหาร 946.00 3.00 97.00 9.00 25.00 82.00 18.00 13.00 3.00 140.00 20.00 46.00

ผลลัพธ 40.04 116.67 26.55 86.11 36.00 83.84 25.00 159.62 83.33 37.86 123.75 30.43

คะแนนประเมิน 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

ตัวตั้ง 93.25 3.75 16.00 5.25 38.75 2.00 1.75 2.75 21.25 0.75

ตัวหาร 56.00 5.00 11.00 4.00 17.00 2.00 1.00 3.00 10.00 1.00

ผลลัพธ 166.52 75.00 145.45 131.25 227.94 100.00 175.00 91.67 212.50 75.00

คะแนนประเมิน 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

ตัวตั้ง 663.88 22.50 17.75 90.75 42.00 3.00 219.25 45.00 7.25 9.50 50.00 67.00 22.50 6.00

ตัวหาร 2,053.00 86.00 114.00 295.50 72.00 14.00 273.00 137.00 18.50 43.00 156.50 43.00 73.00 77.50

ผลลัพธ 32.34 26.16 15.57 30.71 58.33 21.43 80.31 32.85 39.19 22.09 31.95 155.81 30.82 7.74

คะแนนประเมิน 4.02 5.00 3.89 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 1.94

ตัวตั้ง 436.00 24.00 19.00 70.00 9.00 5.00 52.00 23.00 2.00 9.00 74.00 63.00 8.00 11.00

ตัวหาร 2,053.00 86.00 114.00 295.50 72.00 14.00 273.00 137.00 18.50 43.00 156.50 43.00 73.00 77.50

ผลลัพธ 21.24 27.91 16.67 23.69 12.50 35.71 19.05 16.79 10.81 20.93 47.28 146.51 10.96 14.19

คะแนนประเมิน 5.00 5.00 4.17 5.00 3.13 5.00 4.76 4.20 2.70 5.00 5.00 5.00 2.74 3.55

ตัวตั้ง 160.00 4.00 10.50 33.00 8.50 0.00 38.00 10.50 1.50 2.50 10.50 3.50 1.00 6.00

ตัวหาร 2,053.00 86.00 114.00 295.50 72.00 14.00 273.00 137.00 18.50 43.00 156.50 43.00 73.00 77.50

ผลลัพธ 7.79 4.65 9.21 11.17 11.81 0.00 13.92 7.66 8.11 5.81 6.71 8.14 1.37 7.74

คะแนนประเมิน 3.90 2.33 4.61 5.00 5.00 0.00 5.00 3.83 4.05 2.91 3.35 4.07 0.68 3.87

ตัวตั้ง 233.00 11.00 10.00 23.00 10.00 2.00 13.00 10.00 7.00 4.00 12.00 2.00 9.00 4.00

ตัวหาร 446.00 11.00 23.00 34.00 10.00 3.00 37.00 27.00 8.00 13.00 35.00 8.00 15.00 8.00

ผลลัพธ 52.24 100.00 43.48 67.65 100.00 66.67 35.14 37.04 87.50 30.77 34.29 25.00 60.00 50.00

คะแนนประเมิน 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 4.17 5.00 5.00

ผลลัพธ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5 5

คะแนนประเมิน 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 4.00 5.00 5.00

1. บัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทําหรือประกอบ

อาชีพอิสระภายใน 1 ป

2. คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก

ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแหงชาติ

9. การเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของ

ชุมชนหรือองคกรภายนอก

8. ผลการนําความรูและประสบการณจากการ

ใหบริการวิชาการมาใชในการพัฒนาการเรียนการ

สอนหรือการวิจัย

7. ผลงานวิชาการที่ไดรับการรับรองคุณภาพ

6. งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน

5. งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดรับการ

ตีพิมพหรือเผยแพร

4. ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

เอกที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

3. ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท

ที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

149

Page 156: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตารางแสดงผลการดําเนินงาน และผลการประเมินคุณตามตัวบงชี้ สําหรั

องคประกอบและตัวบงชี้

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

1. บัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทําหรือประกอบ

อาชีพอิสระภายใน 1 ป

2. คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โทและเอก

ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแหงชาติ

9. การเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งของ

ชุมชนหรือองคกรภายนอก

8. ผลการนําความรูและประสบการณจากการ

ใหบริการวิชาการมาใชในการพัฒนาการเรียนการ

สอนหรือการวิจัย

7. ผลงานวิชาการที่ไดรับการรับรองคุณภาพ

6. งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่นําไปใชประโยชน

5. งานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ไดรับการ

ตีพิมพหรือเผยแพร

4. ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญา

เอกที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

3. ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท

ที่ไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร

วิทยาการจัดการพาณิชยศาสตร

และการจัดการเศรษฐศาสตร

การบริการและ

การทองเที่ยวศึกษาศาสตร

ศิลปกรรม

ศาสตรนิติศาสตร

มนุษยศาสตร

และ

สังคมศาสตร

ศิลปศาสตรวิทยาลัย

อิสลามศึกษารัฐศาสตร วิทยาการสื่อสาร

ศิลปศาสตร

และวิทยาการ

จัดการ

วิเทศศึกษา

493.00 361.00 82.00 123.00 378.00 9.00 46.00 230.00 100.00 68.00 48.00 94.00 98.00 81.00

569.00 427.00 97.00 133.00 465.00 19.00 49.00 318.00 117.00 84.00 60.00 133.00 118.00 88.00

86.64 84.54 84.54 92.48 81.29 47.37 93.88 72.33 85.47 80.95 80.00 70.68 83.05 92.05

4.33 4.23 4.23 4.62 4.06 2.37 4.69 3.62 4.27 4.05 4.00 3.53 4.15 4.60

3.96 3.96 3.96 4.15 4.12 3.62 4.03 3.98 4.15 3.89 4.04 3.87 3.72

3.96 3.96 3.96 4.15 4.18 3.62 4.03 3.98 4.15 3.89 4.04 3.87 3.72

41.75 9.50 10.75 41.75 1.25 36.00 3.50

187.00 38.00 13.00 127.00 3.00 108.00 14.00

22.33 25.00 82.69 32.87 41.67 33.33 25.00

4.47 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

0.50 0.50

1.00 1.00

50.00 50.00

5.00 5.00

6.75 5.00 3.25 4.25 12.75 6.00 0.25 6.50 9.75 1.25 0.25 2.13 2.25 1.00

71.00 71.50 21.00 20.00 69.00 17.00 19.00 136.50 76.50 28.50 16.00 24.00 46.00 34.00

9.51 6.99 15.48 21.25 18.48 35.29 1.32 4.76 12.75 4.39 1.56 8.85 4.89 2.94

4.75 3.50 5.00 5.00 5.00 5.00 0.66 2.38 5.00 2.19 0.78 4.43 2.45 1.47

11.00 3.00 5.00 2.00 14.00 1.00 0.00 5.00 3.00 5.00 6.00 2.00 6.00 4.00

71.00 71.50 21.00 20.00 69.00 17.00 19.00 136.50 76.50 28.50 16.00 24.00 46.00 34.00

15.49 4.20 23.81 10.00 20.29 5.88 0.00 3.66 3.92 17.54 37.50 8.33 13.04 11.76

3.87 1.05 5.00 2.50 5.00 1.47 0.00 0.92 0.98 4.39 5.00 2.08 3.26 2.94

4.25 0.75 1.50 3.50 4.75 1.50 2.50 3.50 1.25 4.00 0.25 0.50 0.00 2.25

71.00 71.50 21.00 20.00 69.00 17.00 19.00 136.50 76.50 28.50 16.00 24.00 46.00 34.00

5.99 1.05 7.14 17.50 6.88 8.82 13.16 2.56 1.63 14.04 1.56 2.08 0.00 6.62

2.99 0.52 3.57 5.00 3.44 4.41 5.00 1.28 0.82 5.00 0.78 1.04 0.00 3.31

7.00 8.00 6.00 5.00 31.00 3.00 3.00 6.00 15.00 10.00 4.00 12.00 4.00 2.00

8.00 13.00 6.00 12.00 51.00 10.00 5.00 18.00 35.00 26.00 8.00 12.00 4.00 6.00

87.50 61.54 100.00 41.67 60.78 30.00 60.00 33.33 42.86 38.46 50.00 100.00 100.00 33.33

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

150

Page 157: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

องคประกอบและตัวบงชี้ มหาวิทยาลัยทันต

แพทยศาสตรพยาบาลศาสตร แพทยศาสตร เภสัชศาสตร

การแพทยแผน

ไทยวิทยาศาสตร

วิทยาศาสตร

และเทคโนโลยี

การจัดการ

สิ่งแวดลอม

เทคโนโลยีและ

สิ่งแวดลอม

วิศวกรรมศาสต

อุตสาหกรรม

เกษตร

ทรัพยากรธรรม

ชาติ

วิทยาศาสตร

และเทคโนโลยี

อุตสาหกรรม

ผลลัพธ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5

คะแนนประเมิน 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

ผลลัพธ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5

คะแนนประเมิน 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

ผลลัพธ 4.16

คะแนนประเมิน 4.16

ผลลัพธ 4.09 3.30 4.73 4.30 4.20 4.35 4.57 4.07 4.25 4.45 4.43 3.81 4.26 4.51

คะแนนประเมิน 4.09 3.30 4.73 4.30 4.20 4.35 4.57 4.07 4.25 4.45 4.43 3.81 4.26 4.51

ตัวตั้ง 8,452.00 382.00 511.00 1,734.50 396.00 33.00 1,184.00 520.00 70.00 136.00 723.00 236.00 420.50 251.50

ตัวหาร 2,042.00 85.00 114.00 295.50 72.00 14.00 270.00 137.00 13.50 43.00 156.50 42.00 72.00 77.50

ผลลัพธ 4.14 4.49 4.48 5.87 5.50 2.36 4.39 3.80 5.19 3.16 4.62 5.62 5.84 3.25

คะแนนประเมิน 3.45 3.75 3.74 4.89 4.58 1.96 3.65 3.16 4.32 2.64 3.85 4.68 4.87 2.70

ผลลัพธ 4.54 4.62 4.57 4.81 4.50 4.34 4.34 4.39 4.07 4.03 4.36 4.46 4.74 3.80

คะแนนประเมิน 4.54 4.62 4.57 4.81 4.50 4.34 4.34 4.39 4.07 4.03 4.36 4.46 4.74 3.80

ผลลัพธ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5

คะแนนประเมิน 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

ผลลัพธ 4.12 4.28 4.21 4.02 4.09 4.15 4.10 3.79 4.36 4.06 4.07 4.02 4.06 4.04

คะแนนประเมิน 4.12 4.28 4.21 4.02 4.09 4.15 4.10 3.79 4.36 4.06 4.07 4.02 4.06 4.04

ผลลัพธ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5

คะแนนประเมิน 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

ผลลัพธ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5

คะแนนประเมิน 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

ผลลัพธ 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 4 5

คะแนนประเมิน 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

14. การพัฒนาคณาจารย

13. การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของผูบริหาร

สถาบนั

12. การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของสภาสถาบัน

11. การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและ

วัฒนธรรม

10. การสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและ

วัฒนธรรม

18.2 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของ

สังคมในประเด็นที่ 2 ภายนอกสถาบัน

15. ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรอง

โดยตนสังกัด

18.1 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของ

สังคมในประเด็นที่ 1 ภายในสถาบัน

17. ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผล

สะทอนเปนเอกลักษณของสถาบัน

16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ

16.1 ผลการบริหารสถาบันใหเกิดอัตลักษณ

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

151

Page 158: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

องคประกอบและตัวบงชี้

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ตัวตั้ง

ตัวหาร

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

ผลลัพธ

คะแนนประเมิน

14. การพัฒนาคณาจารย

13. การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของผูบริหาร

สถาบัน

12. การปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของสภาสถาบัน

11. การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและ

วัฒนธรรม

10. การสงเสริมและสนับสนุนดานศิลปะและ

วัฒนธรรม

18.2 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของ

สังคมในประเด็นที่ 2 ภายนอกสถาบัน

15. ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรอง

โดยตนสังกัด

18.1 ผลการชี้นํา ปองกัน หรือแกปญหาของ

สังคมในประเด็นที่ 1 ภายในสถาบัน

17. ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผล

สะทอนเปนเอกลักษณของสถาบัน

16.2 ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ

16.1 ผลการบริหารสถาบันใหเกิดอัตลักษณ

วิทยาการจัดการพาณิชยศาสตร

และการจัดการเศรษฐศาสตร

การบริการและ

การทองเที่ยวศึกษาศาสตร

ศิลปกรรม

ศาสตรนิติศาสตร

มนุษยศาสตร

และ

สังคมศาสตร

ศิลปศาสตรวิทยาลัย

อิสลามศึกษารัฐศาสตร วิทยาการสื่อสาร

ศิลปศาสตร

และวิทยาการ

จัดการ

วิเทศศึกษา

5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

4.28 4.10 4.37 3.92 3.63 4.28 4.42 4.45 4.55 3.83 4.45 4.25 4.16 4.09

4.28 4.10 4.37 3.92 3.63 4.28 4.42 4.45 4.55 3.83 4.45 4.25 4.16 4.09

242.00 159.00 65.00 69.00 251.50 47.00 31.00 343.50 270.50 104.00 41.00 57.00 105.00 69.00

71.00 71.50 21.00 20.00 69.00 17.00 19.00 136.50 76.50 28.50 16.00 24.00 46.00 34.00

3.41 2.22 3.10 3.45 3.64 2.76 1.63 2.52 3.54 3.65 2.56 2.38 2.28 2.03

2.84 1.85 2.58 2.88 3.04 2.30 1.36 2.10 2.95 3.04 2.14 1.98 1.90 1.69

4.07 4.24 3.85 4.34 3.84 3.98 4.44 3.97 4.12 3.67 4.20 4.31 3.82 3.77

4.07 4.24 3.85 4.34 3.84 3.98 4.44 3.97 4.12 3.67 4.20 4.31 3.82 3.77

5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

4.11 4.10 4.06 4.27 4.24 3.89 4.23 4.20 4.36 4.05 4.21 4.13 3.84

4.11 4.10 4.06 4.27 4.18 3.89 4.23 4.20 4.36 4.05 4.21 4.13 3.84

5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

152

Page 159: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

องคประกอบและตัวบงชี้ มหาวิทยาลัยทันต

แพทยศาสตรพยาบาลศาสตร แพทยศาสตร เภสัชศาสตร

การแพทยแผน

ไทยวิทยาศาสตร

วิทยาศาสตร

และเทคโนโลยี

การจัดการ

สิ่งแวดลอม

เทคโนโลยีและ

สิ่งแวดลอม

วิศวกรรมศาสต

อุตสาหกรรม

เกษตร

ทรัพยากรธรรม

ชาติ

วิทยาศาสตร

และเทคโนโลยี

อุตสาหกรรม

4.65 4.65 4.69 4.90 4.71 4.33 4.78 4.62 4.59 4.62 4.66 4.60 4.27 4.11

ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดี ดี

4.49 4.48 4.62 4.85 4.65 4.14 4.65 4.46 4.51 4.41 4.57 4.54 4.35 4.00

ดี ดี ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก ดี ดีมาก ดี ดีมาก ดีมาก ดี ดี

4.57 4.58 4.68 4.84 4.70 4.34 4.70 4.54 4.61 4.52 4.63 4.61 4.47 4.24

ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดี ดีคาเฉลี่ยทุกตัวบงชี้ของ สมศ.

คาเฉลี่ยตัวบงชี้ที่ 1-15 ของ สมศ.

คาเฉลี่ยตัวบงชี้ที่ 1-11 ของ สมศ.

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

153

Page 160: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

องคประกอบและตัวบงชี้

คาเฉลี่ยทุกตัวบงชี้ของ สมศ.

คาเฉลี่ยตัวบงชี้ที่ 1-15 ของ สมศ.

คาเฉลี่ยตัวบงชี้ที่ 1-11 ของ สมศ.

วิทยาการจัดการพาณิชยศาสตร

และการจัดการเศรษฐศาสตร

การบริการและ

การทองเที่ยวศึกษาศาสตร

ศิลปกรรม

ศาสตรนิติศาสตร

มนุษยศาสตร

และ

สังคมศาสตร

ศิลปศาสตรวิทยาลัย

อิสลามศึกษารัฐศาสตร วิทยาการสื่อสาร

ศิลปศาสตร

และวิทยาการ

จัดการ

วิเทศศึกษา

4.44 3.70 4.68 4.63 4.70 4.10 3.82 3.83 4.02 4.45 3.82 3.90 3.75 4.00

ดี ดี ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี

4.27 3.62 4.43 4.42 4.44 3.95 3.72 3.76 3.99 4.24 3.76 3.81 3.63 3.80

ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี

4.43 3.97 4.53 4.54 4.55 4.20 4.05 4.05 4.23 4.39 4.09 4.11 3.98 4.08

ดี ดี ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี ดี

รายงานป

ระจำปีการป

ระเมินคุณ

ภาพภายน

อกรอบส

าม ปีการศึกษ

า 2553

มหาวิท

ยาลัยสงขลาน

ครินท

ร์

...............................................................................................................................

154

Page 161: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.4 ภาคผนวก ง คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการจดัทํารายงานประจําป

การประเมินคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2553

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

155

Page 162: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

156

Page 163: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.4 ภาคผนวก ง คําสัง่แตงตัง้คณะกรรมการจัดทํารายงานประจําปการประเมินคุณภาพ ประจําปการศึกษา 2553

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

157

Page 164: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

158

Page 165: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

159

Page 166: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

160

Page 167: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.5 ภาคผนวก จ สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอก

รอบแรก และรอบสอง

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

161

Page 168: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

162

Page 169: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

5.5 ภาคผนวก จ สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก และรอบสอง

สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก และรอบสอง

การประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก คณะกรรมการประเมินภายนอก ประกอบดวย

1. ศาสตราจารย นพ.วันชัย วัฒนศัพท ประธานกรรมการ 2. ศาสตราจารยธีระยุทธ กลิ่นสุคนธ กรรมการ 3. รองศาสตราจารยวิเชียร ชิวพิมาย กรรมการ 4. รองศาสตราจารยไพศาล หวังพานิช กรรมการ 5. อาจารยสายหยุด จําปาทอง กรรมการ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกในวันที่ 24-29 พฤศจิกายน 2545 โดยรายงานขอมูล 3 ป ไดแก ปการศึกษา 2542, 2543 และ 2544 ผลการประเมินทั้ง 8 มาตรฐาน ประกอบดวย มาตรฐานคุณภาพบัณฑิต มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐานการสนับสนุนการเรียนรู มาตรฐานการวิจัยและสรางสรรค มาตรฐานการบริการวิชาการ มาตรฐานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มาตรฐานการบริหารจัดการ และมาตรฐานระบบการประกันคุณภาพภายใน อยูในเกณฑดีถึงดีมาก การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง คณะกรรมการประเมินภายนอก ประกอบดวย

1. ศาสตราจารย ดร. ปราณี กุลละวณิชย ประธานกรรมการ 2. ศาสตราจารย นพ. วิจารณ พานิช กรรมการ 3. รองศาสตราจารย ดร. รัศมีดารา หุนสวัสดิ์ กรรมการ 4. รองศาสตราจารย ดร. บรรพต ณ ปอมเพชร กรรมการ 5. รองศาสตราจารย ดร.สมบูรณวัลย สัตยารักษวิทย กรรมการ 6. รองศาสตราจารย ดร.วิเชียร ชิวพิมาย กรรมการ 7. รองศาสตราจารยดํารงค ทวีแสงสกุลไทย กรรมการ 8. รองศาสตราจารยจันทนี เพชรานนท กรรมการและเลขานุการ 9. นางสาวจรรยารัตน คงพิบูลยกิจ ผูชวยเลขานุการ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรรับการประเมินคุณภาพภายนอกจากคณะกรรมการที่แตงตั้งโดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและ

ประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการมหาชน) (สมศ.) ประจําปการศึกษา 2548 ระหวางวันที่ 6-8 และ 20-24 พฤศจิกายน 2549 โดยมหาวิทยาลัยรายงานขอมูล 3 ป ไดแก ปการศึกษา 2544, 2547 และ 2548 มีการประเมินผลการดําเนินงานป 2548 เทียบเกณฑ เปาหมาย และพัฒนาการกับปที่ผานมา ทั้งนี้ สมศ. ไดสงสรุปรายงานผลการประเมินภายนอกมาใหมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2550 ผลการประเมินระดับสถาบัน คาเฉลี่ยถวงน้ําหนัก 7 มาตรฐาน เทากับ 4.65 อยูในระดับดีมาก มีมาตรฐานอยูในระดับดีมาก 5 มาตรฐาน และระดับดี 2 มาตรฐาน รายละเอียดดังตารางที่ 1

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

163

Page 170: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

ตารางที่ 1 สรุปผลการประเมินจําแนกรายมาตรฐานระดับสถาบัน

ลําดับท่ี ชื่อมาตรฐาน น้ําหนัก คะแนนที่ได ผลการประเมิน

1 มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต 35 4.75 ดีมาก

2 มาตรฐานดานงานวิจัยและงานสรางสรรค 35 4.60 ดีมาก

3 มาตรฐานดานการบริการวิชาการ 20 5.00 ดีมาก

4 มาตรฐานดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 10 4.50 ดี

คาเฉลี่ยถวงน้ําหนัก 4 มาตรฐานแรก 100 4.72 ดีมาก

5 มาตรฐานดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร 20 4.73 ดีมาก

6 มาตรฐานดานหลักสูตรและการเรียนการสอน 20 3.89 ดี

7 มาตรฐานดานระบบการประกันคุณภาพ 20 5.00 ดีมาก

คาเฉลี่ยถวงน้ําหนัก 7 มาตรฐาน 160 4.65 ดีมาก

ผลการประเมินระดับมหาวิทยาลัย รับรองมาตรฐาน

สําหรับผลการประเมินภายนอกระดับกลุมสาขา มหาวิทยาลัยรับการประเมินทั้งหมด 8 กลุมสาขา ผลการประเมินในระดับดีมากคือ วิทยาศาสตรสุขภาพ วิศวกรรมศาสตร วิทยาศาสตรกายภาพ และเกษตรศาสตร โดยผลประเมินเฉลี่ย 7 มาตรฐาน เทากับ 4.72, 4.65, 4.55 และ 4.53 ตามลําดับ สวนอีก 4 กลุมสาขาผลการประเมินอยูในระดับดี คือ ศิลปกรรมศาสตร ครุศาสตร / ศึกษาศาสตร มนุษยศาสตร / สังคมศาสตร และ บริการธุรกิจฯ โดยผลการประเมินเฉลี่ย 7 มาตรฐานเทากับ 4.05, 4.04, 3.99 และ 3.90 ตามลําดับ รายละเอียดดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 สรุปคะแนนและผลการประเมินรายมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร / กลุมสาขาวิชา

ลําดับที ่ ช่ือมาตรฐาน น้ํา หนัก

สถาบัน วิทย

สุขภาพ วิทย

กายภาพ วิศวะ เกษตร บริหาร

ครุ / ศึกษา

ศิลป กรรม

สังคม

1 มาตรฐานดานคุณภาพบัณฑิต 35 4.75 4.83 4.75 4.75 4.50 3.63 3.75 4.33 3.67

2 มาตรฐานดานงานวิจัยและงาน

สรางสรรค 35 4.60 4.70 4.15 4.30 4.90 2.90 2.90 3.00 2.90

3 มาตรฐ านด านก า รบริ ก า ร

วิชาการ 20 5.00 5.00 4.75 5.00 4.25 4.50 5.00 4.25 4.75

4 มาตรฐานดานการทํานุบํารุง

ศิลปะและวัฒนธรรม 10 4.50 4.50 4.50 4.50 4.50 4.50 5.00 5.00 5.00

คาเฉลี่ยถวงน้ําหนัก 4 มาตรฐานแรก 100 4.72 4.79 4.52 4.62 4.59 3.63 3.83 4.36 3.75

5 ม า ต รฐ านด า น ก า รพั ฒน า

สถาบันและบุคลากร 20 4.73 4.28 4.64 4.64 4.55 4.37 4.09 4.27 4.64

6 มาตรฐานดานหลักสูตรและ

การเรียนการสอน 20 3.89 4.56 4.22 4.45 3.89 3.67 4.11 3.56 3.56

7 มาตรฐานด านระบบการ

ประกันคุณภาพ 20 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

160 4.65 4.72 4.55 4.65 4.53 3.90 4.04 4.05 3.99 คาเฉลี่ยถวงน้ําหนัก 7 มาตรฐาน

ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดี ดี ดี ดี

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

164

Page 171: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ

แนวปฏิบัติท่ีดีของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 1. ความเอาใจใสและความมุงมั่นของผูบริหารทุกสมัยในการดําเนินงานตามวิสัยทัศนและพันธกิจอยางตอเนื่อง รวมทั้งการ

ใหมีการประเมินการบริหารงานของผูบริหารระดับอธิการบดี เปนแนวปฏิบัติที่มีผลดีตอการพัฒนาการที่รวดเร็วของมหาวิทยาลัย และเปนแนวปฏิบัติที่นาจะเปนแบบอยางที่ดีในการบริหารมหาวิทยาลัยที่มีวาระการดํารงตําแหนงของผูบริหารระดับสูง

2. การที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ซึ่งเปนมหาวิทยาลัยในภูมิภาคตอนใตของประเทศไดดําเนินการงานตอบสนองความตองการของสังคมภูมิภาค และตอบสนองพันธกิจในการเปนผูนําทางวิชาการโดยเลือกการเปนผูนําที่สอดคลองกับศักยภาพพื้นฐานของภาคใต ทําใหเกิดประโยชนตอบสนองไมเฉพาะแตภาคใตแตในระดับประเทศดวย เชน โครงการ Bio - Diesel โครงการยางพารา โครงการอิสลามศึกษา หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิตที่เช่ือมโยงกับวัฒนธรรมทองถิ่นประเทศเพื่อนบานในคาบสมุทรมลายูและกลุมประเทศตะวันออกกลางในคณะรัฐศาสตร และโครงการอาหารฮาลาล แนวปฏิบติัในการใชและเพิ่มศักยภาพทางภูมิภาคในที่ต้ังของมหาวิทยาลัยเปนแนวทางที่เปนแบบอยางที่ดี

3. เปาหมายการใชเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรในการบริหาร การวิจัย และในการจัดการเรียนการสอน มีกลวิธีในการดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายถึงระดับบุคคล กลวิธีตาง ๆที่ใชทําใหเกิดการตื่นตัวในทุกระดับ ทั้งระดับผูบริหารหนวยงาน คณาจารย ผูปฏิบัติงาน นักศึกษา อยางกวางขวาง ในชวงระยะปจจุบันมหาวิทยาลัยกําลังดําเนินการใชเพื่อการบริหาร ซึ่งมีความจําเปนสําหรับมหาวิทยาลัยที่มีวิทยาเขตมาก กลวิธีตาง ๆน้ีเปนกลยุทธที่นาสนใจและอาจใชเปนแบบอยางที่ดีของมหาวิทยาลัยอื่น

รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ปีการศึกษา 2553

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...............................................................................................................................

165

Page 172: Full page photo print - Psu-Qa · 1. ส วนนํา 1.1 บทสรุู ปผิหารบร มหาวิทยาลัยสงขลานคร ินทร มีผลประ