161
หลักพระพุทธศาสนา Fundamentals of Buddhism ดร.พิสิฏฐ โคตรสุโพธิและ ปรีชา บุญศรีตัน ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2543

Fundamentals of Buddhism

  • Upload
    grid-g

  • View
    510

  • Download
    0

Embed Size (px)

DESCRIPTION

หลักพระพุทธศาสนา

Citation preview

Page 1: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา Fundamentals of Buddhism ดร.พิสิฏฐ โคตรสุโพธิ์ และ ปรีชา บุญศรีตัน

ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2543

Page 2: Fundamentals of Buddhism

คํานํา หลักพระพุทธศาสนาเลมนี้ เปนเอกสารประกอบการเรียนการสอนกระบวนวิชา 012271 หลัก

พระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) ตามหลักสูตรของมหาวิทยาลัยเชียงใหม ในเบื้องตน อ.ดร. พิสิฏฐ โคตรสุโพธ์ิ ไดรวบรวมเรียบเรียงขึ้นและจัดพิมพแลวครั้งหนึ่ง

ในการจัดพิมพครั้งนี้ ไดปรับปรุงเนื้อหาและจัดหมวดหมูของเนื้อหาโดยแยกเปนบทสั้น ๆ เพื่องายตอการศึกษา สวนเนื้อหายังคงเดิมไวทั้งหมด แมจะมีการปรับปรุงในครั้งนี้ ก็ยังรูสึกวาไมเปนที่พอใจนัก

อยางไรก็ตาม เนื้อหาสวนใหญ ยังคงเปนหัวขอหลัก ๆ ซึ่งไดอธิบายไวโดยสังเขปพอเขาใจเทานั้น ยังไมไดใหรายละเอียดไวมากนักตามลักษณะของเอกสารการสอน ทั้งนี้ ผูที่ประสงคจะศึกษาในรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถสืบคนไดตามหนังสืออางอิงที่ทําเปนเชิงอรรถเอาไว และจากการฟงบรรยายในหองเรียน

หวังเปนอยางยิ่งวา จะเปนประโยชนตอนักศึกษาและผูสนใจทั่วไปที่จะศึกษาพระพุทธศาสนาในระดับหนึ่ง เพราะเนื้อหาในสวนใหญมุงเพื่อเปนการปูพื้นความรูทางพระพุทธศาสนาเทานั้น จึงไดนําหลักพุทธธรรมที่สําคัญ ๆ บางหมวดมานําเสนอไว และถาหากวาผูศึกษาไดพบความบกพรองที่จะพึงมีทั้งในดานเนื้อหาและการจัดพิมพอื่นใดก็ตาม ตองขออภัยไว ณ ที่นี้ดวย และจะเปนพระคุณอยางยิ่ง ถาหากจะกรุณาชี้แจงขอที่ผิดพลาดใหดวย เพื่อจะเปนแนวทางในการปรับปรุงแกไขใหถูกตองในโอกาสตอไป.

ปรีชา บุญศรีตัน 1 เมษายน 2543

ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2543 โทร. (053) 943263, 943280 E-mail : Preechar @ yahoo.com

Page 3: Fundamentals of Buddhism

กิตติกรรมประกาศ หนังสือหลักพระพุทธศาสนาเลมนี้ ไดรับทุน (กูยืม) สนับสนุนการจัดพิมพจาก “มูลนิธิของ

หลวงพอปาน” วัดบางนมโค อําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่อยูในการกํากับบริหารกองทุน โดยคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

จึงขอขอบพระคุณ มูลนิธิศิษยหลวงพอปาน คณะกรรมการกํากับมูลนิธิ ฯ และคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนอยางยิ่ง ที่เล็งเห็นประโยชนโดยใหทุนสนับสนุนการศึกษา คนควาและผลิตเอกสารตําราทางวิชาการไว ณ โอกาสนี้.

Page 4: Fundamentals of Buddhism

สารบัญ หนา

คํานํา กิตติกรรมประกาศ สารบัญ อักษรยอชื่อคัมภีร บทที่ 1 บทนํา : เหตุผลที่คนไทยควรเรียนพระพุทธศาสนา 1 บทที่ 2 ภูมิหลังกอนเกิดพระพุทธศาสนา 10 อินเดียแดนแหงศรัทธาและปญญา 10 ภูมิหลังทางประวัติศาสตร 10 ชาวอินโด-อารยัน 10 อารยธรรมลุมแมน้ําสิน 11 ระบบวรรณะ 12 แดนแหงความรูและสรรพศาสตร 13 สภาพสังคมอินเดียกอนพุทธกาล 14 นักบวชสมัยกอนพุทธกาล 14 บทที่ 3 คัมภีรพระเวท และอิทธิพลจากคําสอนในคัมภีรพระเวท 15 คัมภีรไตรเพทหรือจตุรเวท 16 องคประกอบในคัมภีรพระเวท 17 ภาคของพระเวท 17 อุดมคติแบบพระเวท 18 การศึกษาพระเวท 19 เปาหมายของมนุษย 19 ศาสนาแบบยุคพระเวท 20 บทที่ 4 โลกและทวีป 22 ความคิดเรื่องจุดกําเนิดโลก 22 เปรียบเทียบกับความคิดทางวิทยาศาสตร 22 ทวีปตามทฤษฎีจักรวาลวิทยาอินเดียโบราณ 22 บทที่ 5 การเกิดขึ้นของพระพุทธศาสนา 26 กอนลงมาประสูติ 26 คนจะเลือกที่เกิดไดไหม 27 ลําดับเหตุการณในชีวิตของพระพุทธเจาโดยยอ 28 ปญหาสาเหตุของการเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ 30 เทวทูตหรือนิมิต 4 32

Page 5: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 6 การเกิดขึ้นของพระพุทธศาสนา (ตอ) 34 การแสวงหาโมกขธรรม 34 ลําดับขั้นการตรัสรู 35 การบรรลุสัมโพธิญาณ 36 ความรูในระดับการตรัสรู เปนความรูอยูในระดับใด 36 เสวยวิมุตติสุข 37 คนเปรียบบัว 4 เหลา 37 ลักษณะของพระพุทธเจา 38บทที่ 7 พุทธกิจ 45 พรรษา 40 พรหมอาราธนา 40 จะโปรดใครเปนคนแรก 41 ธรรมจักกัปปวัตตนสูตร 42 เบญจวัคคียบรรลุอรหันต 44 อนัตตลักขณสูตร 44 อนุบุพพิกถา เทศนากัณฑที่ 3 46 บทที่ 8 พุทธกิจ 45 พรรษา (ตอ) 48 มอบอุดมการณแดพระธรรมฑูต 48 โปรดภัททวัคคีย 30 คน 48 โปรดนักบวชชฎิล 1,003 คน 48 โปรดพระเจาพิมพิสารและไดอัครสาวก 49 โอวาทปาติโมกข 51 พุทธกิจตามลําดับ 45 พรรษา 51 วิธีสอนของพระพุทธเจา 53 วิธีตอบปญหาของพระพุทธเจา 54 บทที่ 9 ผูแทนพระศาสดา 57 การปกครองสงฆ 57 พระเทวทัตยื่นขอเสนอเพื่อปกครองสงฆ 58 เงื่อนไข (วัตถุ) 5 ประการของพระเทวทัต 59 เทวทัตทําสังฆเภท 59 ผูแทนศาสดาคือ พระธรรมวินัย 59 พระมหากัสสปะทราบขาวการนิพพาน 60 อาการของพระสงฆเม่ือทราบขาว 60 ปรารภเหตุการทําสังคายนา 61 บทที่ 10 การสืบทอดพระธรรมวินัย 62 การทําสังคายนา : กระบวนการสืบทอดพระธรรมวินัย 62 สาเหตุการทําสังคายนา 62

Page 6: Fundamentals of Buddhism

การนับครั้งในการทําสังคายนา 62 บทที่ 11 คัมภีรทางพระพุทธศาสนาเถรวาท 69 พระไตรปฎก : คัมภีรทางพระพุทธศาสนา 69 ลักษณะการจัดหมวดหมูของแตละปฎก 69 ลักษณะสําคัญของแตละปฎก 71 การจารึกพระไตรปฎก 72 บทที่ 12 ศาสนาทายาท : ผูสืบทอดศาสนา 75 พระสงฆ 2 ระดับ 75 ตารางแสดงระดับอริยสงฆและกิเลสที่ละได 77 นิกายสงฆ 78 บทที่ 13 ที่มาของพุทธธรรม 80

ที่มาของคําสอนของศาสนาแบบเทวนิยม 80ที่มาของคําสอนของศาสนาแบบอเทวนิยม 83

บทที่ 14 พุทธธรรม : หลักความรู 85 ทฤษฎีความรู 85 พระพุทธเจาตรัสรูอะไร 86 สัจจะ ความจริง 87 บทที่ 15 พุทธธรรม : อริยสัจ 4 ความจริงและเปาหมายสูงสุดของชีวิตมนุษย 90 สิ่งที่ทรงตรัสรู 90 เปาหมายสูงสุดของชีวิตในทัศนะของพระพุทธศาสนา 96 บทที่ 16 พุทธธรรม : ขันธ 5 มนุษยในทัศนะของพระพุทธศาสนา 97 บทที่ 17 พุทธธรรม : ไตรลักษณ ลักษณะทั่วไปของชีวิตและสรรพสิ่ง 109 สาเหตุที่ไมเขาใจและมองไมเห็นถึงไตรลักษณ 117 บทที่ 18 พุทธธรรม : ปฏิจจสมุปบาท ความเปนไปแหงวงจรชีวิตและสรรพสิ่ง 118 ความหมายของปฏิจจสมุปบาท 118 กระบวนการเกิดขึ้นของอวิชชา 119 ปฏิจจสมุปบาทในฐานะเปนปจจยาการทางสังคม 121 นิยาม 5 122 บทที่ 19 พุทธธรรม : หลักความเชื่อ 128 ความหมายและระดับ 128 พุทธวิธีจัดการกับความเชื่อ (กาลามสูตร) 128 ความเชื่อพื้นฐานของชาวพุทธ 4 129 สิ่งที่ชาวพุทธควรเชื่อ 130 กฎแหงกรรม 130 ลักษณะของกฎแหงกรรม 130 ความเห็นผิดในหลักกรรม 131

Page 7: Fundamentals of Buddhism

องคประกอบของกรรม 131 องคประกอบที่ทําใหกรรมผลิผลสมบูรณหรือบกพรอง 133 หนาที่ของพลังกรรม 134 กรรม 3 ประเภท 134 เกณฑวัดคุณภาพกรรม 4 135 เรื่องที่ควรรูเกี่ยวกรรมและวิบากของกรรม 135 หลักกรรมกับคุณคาทางจริยธรรม 140 บทที่ 20 พุทธธรรม : หลักความเชื่อ (ตอ) : การเวียนวายตายเกิด 141 ความคิดเกี่ยวกับการตายการเกิด 141 พระเจาปายาสิ นักวิจัยเชิงวิทยาศาสตร ชีวิตหลังการตาย 141 หลักยืนยันการตายแลวเกิด 143 กระบวนการตายแลวเกิด 144 กําเนิด 4 145 กําเนิดมนุษยในครรภ 145 ภพหรือภูมิพรอมดวยสาเหตุที่พาไปเกิด 146 บทที่ 21 บทสรุป : ลักษณะสําคัญของพุทธธรรม 151 เอกสารอางอิง 152

Page 8: Fundamentals of Buddhism

อักษรยอชื่อคัมภีร เรียงตามอักขรวิธีแหงภาษามคธ

??? ?. อังคุตตร????? ?รรถกถา (??????????)

???.?????. อัง?????????? อั?????????

??.???. อัง???ต?????? ????????

???.เอกาทสก. อัง???ต?????? ???าทสกน????

???.??????. อัง???ต?????? ??????????

???.????. อัง???ต?????? ฉัก??????

???.???. อัง???ต?????? ????????

???.ทส?. อัง???ต?????? ท???????

???.ทุก. อัง???ต?????? ท???????

???.???. อัง???ต?????? ????????

???.?????. อัง???ต?????? ป????????

???.?????. อัง???ต?????? สั????????

??. ?. อปทา? อรรถกถา (????ท???????????)

???.?. อภิธัมมปฎก ???วัต??

???.??. อภิธัมมปฎก ??????? ???.?. อภิธัมมปฎก ปฏฐ?? ???.??. อภิธัมมปฎก ปุคคลบัญญัติ?

???.???. อภิธัมมปฎก ??? ???.??. อภิธัมมปฎก ??????

???.??. อภิธัมมปฎก ??????????

????.?. ????????? อรรถกถา (ปรมัตถทีปนี?)

??.?.,อุทาน.?. อุทานอรรถกถา

(ปรมัตถทีปนี?)

??.??. ขุททกนิกาย อปทาน

??.????. ขุททกนิกาย ??????????

??.??. ขุททกนิกาย อุทาน

??.??. ขุททกนิกาย ขุททกปาฐ

??.?????. ขุททกนิกาย ????????? ??.??. ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส

??.??. ขุททกนิกาย ชาดก ??.???. ขุททกนิกาย ??????? ??.????. ขุททกนิกาย ???????? ??.?. ขุททกนิกาย ธรรมบท ??.???. ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามัคค ??.เปต. ขุททกนิกาย เปตวัตถุ? ??.พุท?ธ. ขุททกนิกาย พุทธวังส

??.?.,??.???. ขุททกนิกาย มหานิทเทส

??.?????. ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ? ??.??. ขุททกนิกาย สุตตนิบาต

ขุท?ทก.?. ขุททกนิกาย อรรถกถา (ปรมัตถโชติกา) ?????.?. จริยปฎก อรรถกถา (ปรมัตถทีปนี) ??.?. ชาตกอรรถกถา ???.?. ??????? อรรถกถา (ปรมัตถทีปนี?)

????.?. ???????? อรรถกถา (ปรมัตถทีปนี?) ที.อ. ทีฆนิกาย อรรถกถา (สุมังคลวิลาสินี) ที.ปา. ทีฆนิกาย ปาฏิวรรค ที.ม. ทีฆนิกาย มหาวรรค ที.สี. ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค ธ.อ. ธรรมบทอรรถกถา นิท?.อ. นิทเทสอรรถกถา

Page 9: Fundamentals of Buddhism

(สัทธัมมปชโชติกา) ปญ?จ.อ. ปญจปกรณอรรถกถา (ปรมัตถทีปนี) ปฏิสํ.อ. ปฏิสัมภิทามัคค อรรถกถา (สัทธัมมปกาสินี) เปต.อ. เปตวัตถุ อรรถกถา (ปรมัตถทีปนี) พุท?ธ.อ. พุทธวังสอรรถกถา (มธุรัตถวิลาสินี) ม.อ. มัชฌิมนิกาย อรรถกถา (ปปญจสูทนี) ม.อุ. มัชฌิมนิกาย อุปริปณณาสก ม.ม. มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปณณาสก ม.มู. มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก มง?คล. มังคลัตถทีปนี มิลิน?ท. มิลินทปญหา วินย. วินยปฎก วินย.อ. วินยอรรถกถา (สมันตปาสาทิกา) วินย.ฎีกา. วินยัฏฐกถา ฎีกา (สารัตถทีปนี) วิภง?ค.อ. วิภังคอรรถกถา (สัมโมหวิโนทนี) วิมาน.อ. วิมานวัตถุอรรถกถา (ปรมัตถทีปนี) วิสุท?ธิ. วิสุทธิมัคค วิสุท?ธิ.ฎีกา. วิสุทธิมัคค มหาฎีกา (ปรมัตถมัญชุสา) สง?คณี.อ. สังคณีอรรถกถา (อัฏฐสาลินี) สง?คห. อภิธัมมัตถสังคห สง?คห.ฎีกา. อภิธัมมสังคหฎีกา

(อภิธัมมัตถวิภาวินี) สํ.อ. สังยุตตนิกายอรรถกถา (สารัตถปกาสินี) สํ.ข. สังยุตตนิกาย ขันธวารวัคค สํ.นิ. สังยุตตนิกาย นิทานวัคค สํ.ม. สังยุตตนิกาย มหาวารวัคค สํ.ส. สังยุตตนิกาย สคาถวัคค สํ.สฬ. สังยุตตนิกาย สฬายตนวัคค สุต?ต.อ. สุตตนิบาต อรรถกถา (ปรมัตถโชติกา) หมายเหตุ อักษรยอช่ือคัมภีรทั้งหมดนี้ ไมไดนํามาอางในหนังสือนี้ทั้งหมด แตที่นํามาลงไวเพื่อเปนประโยชนในการศึกษาทางพระพุทธศาสนาตอไป5

Page 10: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 1 บทนํา เหตุผลที่คนไทยควรเรียนพระพุทธศาสนา ศาสตราจารย นายแพทยประเวศ วะสี ไดเขียนไวในหนังสือพุทธธรรมกับสังคมวา “ประเทศไทย มีวัดกวา 25,000 วัด มีพระกวา 200,000 รูป เณรกวา 100,000 รูป มีอุบาสก อุบาสิกา และผูที่ถือวาเปนพุทธศาสนิกชนอีกเต็มประเทศ แตไฉน เรามีปญหาทางสังคมเพิ่มขึ้นมากมาย เชน อาชญากรรมตาง ๆ ลามกกรรมทางเพศ ยาเสพติด การฉอราษฎรบังหลวง หรือคอรัปชั่นนานาชนิด และปญหาอื่น ๆ อีกนานัปการ ซึ่งเพิ่มขึ้นถึงขั้นวิกฤติ” 1

แสดงใหเห็นวา มีความขัดแยงทางความคิดสองขั้วระหวางความนาจะเปนกับส่ิงที่เปนไป สิ่งที่นาจะเปนก็คือ การที่ประเทศมีวัดกวา 25,000 วัด ฯลฯ และประชาชนสวนใหญเปนพุทธศาสนิกนั้น ประกอบกับพระพุทธศาสนามุงสอนใหคนเปนคนที่มีความประพฤติดี เคารพกฎหมาย ระเบียบ และรักสันติ ดังนั้น ภาพลักษณที่นาจะเปน คือ การที่ประเทศไทยมีความสงบสุข ไมมีปญหาสังคมตาง ๆ ดังคํากลาวขางตน แตสิ่งที่เกิดขึ้นกับสังคมไทยเทาที่เปนมากลับตรงกันขามกับที่ควรจะเปน อาชญากรรมตาง ๆ ยังคงมีปรากฎใหไดรับรูรับทราบอยูเปนประจําตามที่สื่อมวลชนไดนําเสนอ ปญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไทย มีทั้งปญหาที่หยาบและละเอียด ทั้งที่แกไขไดยาก ทั้งปญหาทางกายภาพ และปญหาทางจิตภาพ นอกเหนือจากปญหาความขัดแยง ความกระทบกระทั่งทางกายที่แสดงออกเปนความรุนแรงแลว สิ่งหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นคือปญหาทางดานจิตใจ หรือความขัดแยงทางดานความคิด ลัทธิหรือทฤษฎีตาง ๆ ที่เห็นตางกันและถือปฏิบัติตางกัน นับต้ังแตสํานักสันติอโศก ลงมาถึงกรณีของวัดพระธรรมกาย ปญหาเหลานี้ปฏิเสธไมไดวา ไมไดเกิดในสังคมไทย หรือในสังคมพุทธเอง นับไดวา ตนเคาของปญหาตาง ๆ เริ่มปะทุในดานจิตใจกอนแลวกอตัวแสดงพลังทางกายภาพสูสังคมตามลําดับ จึงเปนที่มาของคําถามวา ทําไม ประเทศไทยเปนเมืองพุทธ จึงมีปญหาเชนนี้เกิดขึ้นไมหยุดหยอน เม่ือเปนเชนนี้ สิ่งที่ควรพิจารณาอันดับแรก คือ ความเปนเมืองพุทธคืออะไร ตามความหมายนี้ มีอะไรเปนเกณฑในการวัดความเปนเมืองพุทธ เปนเมืองพุทธเปน ณ จุดไหน

1) เพราะมีอัตราสวนการนับถือพระพุทธศาสนาของประชาชนมากกวาศาสนาอื่น ๆ

2) เพราะอัตราสวนของคนที่มีความรูความเขาใจในหลักการของพระพุทธศาสนาอยางถองแท 3) เพราะการนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจําวัน

ถาหากวา การเปนเมืองพุทธเพียงเพราะมีคนนับถือพระพุทธศาสนามากตามสํามะโนครัว เชนนั้น ก็ไมสามารถยืนยันไดวา สันติภาพจะเกิดขึ้นไดในสังคม เพราะคนไมมีความรูความเขาใจในพระพุทธศาสนาอยางถองแท เม่ือไมมีความรูความเขาใจตรงนี้ ก็ไมมีกระบวนการนําหลักคําสอนไปปฏิบัติ เม่ือไมมีการปฏิบัติตามหลักคําสอนโดยที่หลักคําสอนมุงสองสูสันติภาพ เชนนี้ ความสันติ ก็ไมสามารถจะเกิดขึ้นได

1 ประเวศ วะสี. พุทธธรรมกับสังคม 1. (กรุงเทพ ฯ : หมอชาวบาน. 2539) หนา 2.

Page 11: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 2

โดยเหตุที่มนุษยขาดความรูความเขาใจในหลักพุทธธรรม โดยเฉพาะในกลุมที่เปนพุทธศาสนิกเอง หรือในกลุมอื่น ๆ ก็ตามที ตรงนี้เองที่เปนตัวแปรของปญหาตาง ๆ ในสังคม เพราะมนุษยก็จะกระทําหรือปฏิบัติเทาที่คิดไดเทาที่ทําได นั่นหมายความวา เทาที่รูในขณะนั้น โดยไมมีหลักการที่ถูกตองในทิศทางเดียวกัน ความไมมีเอกภาพที่ดูเหมือนมีเอกภาพ ก็เกิดขึ้นในสังคม คนในสังคมจึงอยูในลักษณะตางคนตางทํา ซึ่งถูกบางผิดบาง และตางก็ยึดถือฐานความคิดของตนเปนหลัก เพราะฉะนั้น ถาจะใหเกิดสันติภาพขึ้น ก็ควรที่จะปรับความรูและความเขาใจใหตรงกันในแนวทางที่จะทําใหเกิดสันติภาพเปนเบื้องตน เพื่อนําไปสูการปฏิบัติในโอกาสตอไป การที่จะเกิดแนวทางไปสูที่ใดที่หนึ่ง โดยที่ไมรูวาจะเดินทางไปไหนดวยอะไร และสถานที่นั้นอยูไหนนั้น การเดินทางไมสามารถบรรลุถึงเปาหมาย ฉันใด การที่เราบอกตัวเองวา เปนพุทธศาสนิกชน โดยที่ไมรูวา การเปนพุทธศาสนิกชนตองทําอยางไร ตองรูและปฏิบัติตนอยางไรนั้น การเปนพุทธศาสนิกชน ก็นาจะเปนไปไมไดฉันนั้นเหมือนกัน การไมรูจักสถานภาพของตนเอง และเรื่องราวของตนเอง จึงเปนจุดออนของมนุษยเอง เพราะอาจตกเปนเครื่องมือของคนบางกลุม หรือถูกชักจูงไปในทิศทางที่ไมถูกตองได ซ้ํารายอาจตกไปเปนเหย่ือของสังคม ปรากฎการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม สวนใหญเปนเพราะจุดออนของมนุษยตรงนี้ จึงถูกชักจูงไปในทิศทางที่ตางกัน ความขัดแยงกันเองจึงเกิดขึ้น และนําไปสูประเด็นปญหาตาง ๆ เพราะตัวเองไมมีหลักเปนของตนหลัก หรือไมรูชัดในเรื่องที่เปนของตนเอง หรือเรื่องของตัวเองไมรู บางครั้ง ตกอยูในภาวะขัดแยงกันโดยที่ตนเองไมรูตัว บางคนก็ถอนตัวออกภาวะนั้นไดเม่ือทราบความจริง บางคนก็กลับตกอยูภาวะนั้นจนถอนตัวไมขึ้น เพราะฉะนั้น ประเทศไทย แมจะไดชื่อวาเปนเมืองพุทธศาสนา แตถาบุคคลของพระพุทธศาสนาไมไดศึกษา และปฏิบัติในหลักคําสอนทางการพุทธศาสนา ความเปนเมืองพุทธ จึงอยูในภาวะที่กลวงขางใน เปนพุทธที่ไมมีแกนแทของความเปนพุทธ เปนพุทธเฉพาะในระดับโครงสรางทางสังคม แตไมไดเปนพุทธในระดับปจเจกชน ซึ่งควรจะเอื้อกับระดับโครงสรางทางสังคมดวย

ปฏิเสธไมไดเชนกันวา คนไทยที่ปฎิญญาตนนับถือพระพุทธศาสนา จะไมมีจิตวิญญาณแหงความเปนพุทธ ความเปนพุทธชน ยังคงมีเต็มเปยมลนในใจ ขาดเพียงแตองคความรูแหงความเปนพุทธ และจิตใตสํานึกที่ตระหนักถึงองคความรู ตลอดถึงการนํามาปฏิบัติในองคความรูที่ไดรับมา ปจจัยหนึ่งที่ทําใหคนไทยขาดองคความรูแหงความเปนพุทธ ก็คือ การไมไดศึกษาอยางแทจริง ตลอดถึงการไมใสใจที่จะศึกษาและการไมมีโอกาสที่จะศึกษา เหลานี้รวมกัน ความไมรูไมเขาใจในพระพุทธศาสนาจึงเกิดขึ้น เม่ือเปนเชนนี้จึงนับถือพระพุทธศาสนาดวยจิตวิญญาณแหงความเปนพุทธ แตปฏิบัติไมสอดคลองกับความเปนพุทธ ปฏิบัติคนละทิศคนละทาง เพราะขาดองคความรูที่ถูกตอง และที่สําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ ในกลุมพุทธศาสนิกชนที่มีความรูความเขาใจในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเปนอยางดีแตไมไดนําไปปฏิบัติอยางแทจริง หรือปฏิบัติตนไมสอดคลองกับความเปนพุทธศาสนิกชน เชนนี้ก็ถือวา ความเปนเมืองพุทธก็ลมเหลวโดยไมมีคุณคาของความเปนพุทธอยู จากปรากฎการณทางสังคมที่ยกมากลาวขางตน พอเปนแนวทางใหตระหนักถึงเหตุผล ที่จะสนับสนุนใหคนไทยควรเรียนพระพุทธศาสนา ซึ่ง พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต) ไดใหทัศนะเกี่ยวกับเหตุผลที่คนไทยควรเรียนพระพุทธศาสนาไวพอสรุปเปนประเด็น ดังนี้ คือ

Page 12: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 3

1. พระพุทธศาสนาในฐานะที่เปนสถาบันทางสังคม เปนบริบททางสังคมไทย การศึกษาพระพุทธศาสนาในฐานะเชนนี้ จึงเทากับ การเรียนรูสิ่งที่คนที่อยูในสังคมไทยควรจะตองรู ในฐานะเปนการรูจักเรื่องราวของประเทศของตนหรือสิ่งที่มีอยูทั่วไปในสังคมของตน เพราะพระพุทธศาสนา เปนสิ่งที่พลเมืองสวนใหญ ถึงประมาณรอยละ 95 นับถือกันอยู มีขนบธรรมเนียมประเพณี มีศาสนสถาน คือ วัด แมกระทั่งถอยคําพูด เชน ชื่อของคนไทยเอง ภาษาที่ใชก็ลวนมาจากภาษาทางพระพุทธศาสนา คือ บาลี ดังนั้น ถาไมรูเรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา หรือไมรูวิธีการปฏิบัติตอใหถูกตอง กับพระพุทธศาสนาแลว การอยูรวมกันในสังคมไทยก็ไมคลองตัว การนับถือพระพุทธศาสนา ก็ไมสมบูรณ 2. พระพุทธศาสนา ในฐานะที่เปนสถาบันสังคมที่เกาแกมาก กลาวไดวา พระพุทธศาสนานั้น ไดอยูเคียงคูกับชนชาติไทย เรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา จึงแทรกอยูตลอดในประวัติศาสตรของชาติไทยอยางแยกกันไมออก และใชพุทธธรรมเปนปรัชญาในการดํารงชีวิตของชนชาติไทยมากวา 800 ป ถาตองการรูประวัติศาสตรไทยใหชัดเจน ก็ตองรูประวัติพระพุทธศาสนาไปคูกัน 3. พระพุทธศาสนา ในฐานะเปนรากฐานของวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมไทยสวนใหญจะไดรับอิทธิพลมาจากคําสอนทั้งที่เปนความเชื่อ และการปฏิบัติตัวเนื่องดวยพระพุทธศาสนา ซึ่งฝงลึกเปนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เปนแรงบันดาลใจใหสรางสรรคทางศิลปวัฒนธรรทุกดาน เชน ดานประติมากรรม มีพระพุทธรูป ดานสถาปตยกรรม มี อุโบสถ วิหาร เจดีย ที่เปนศาสนวัตถุตามศาสนสถานตาง ๆ ดานจิตรกรรม มี ภาพเขียน ลวดลาย ดานหัตถกรรม มี สิ่งประดิษฐดวยฝมือคนไทยที่สวยงาม เชน โตะหมูบูชา ธรรมาสน พัดยศ ดานนาฎคีตกรรม มี รายรํา ขับรอง สวดมนต ดานวรรณกรรม มี กวีนิพนธตาง ๆ เชน ไตรภูมิพระรวง มหาชาติคําหลวง ดานภาษา มี การใชภาษาทางศาสนา คือ บาลี-สันสกฤต มาใชในภาษาไทยทั้งที่เปนชื่อบุคคล สถานที่ ศัพทบัญญัติตาง ๆ หรือศัพทเฉพาะในศาสตรสาขาตาง ๆ 4. พระพุทธศาสนาในฐานะที่เปนมรดกและเอกลักษณของชนชาติไทย สืบเนื่องจากพระพุทธศาสนามีความสําคัญในทางประวัติศาสตร และวัฒนธรรม จึงกลายเปนเนื้อหาสาระที่สําคัญของภูมิธรรมภูมิปญญาที่สืบทอดตอ ๆ กันมาเปนสมบัติของชนชาติไทย เปนหลักอางที่ทําใหเกิดความภูมิใจในความเปนไทย และเปนเอกลักษณเฉพาะของคนไทย การศึกษาพระพุทธศาสนา จึงเปนหนาที่รวมกันของคนไทยแตละคนในการที่จะชวยกันสืบทอดมรดกของชาติ และดํารงเอกลักษณของไทยสืบตอไป 5. พระพุทธศาสนาในฐานะที่เปนสภาพแวดลอมทางสังคม

Page 13: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 4

ในฐานะนี้ถือเปนเรื่องใหญและมีความสําคัญ การที่จะรูจักและเขาใจสังคมไทยหรืออุปนิสัยของคนไทย ตองศึกษาใหเขาใจแกนของพระพุทธศาสนา ไมเฉพาะแตคนไทยเทานั้นที่ควรศึกษา แมคนตางชาติที่เขามาในสังคมไทย หรือจะติดตอเกี่ยวของกับสังคมไทย จะตองศึกษาใหเขาใจถึงความเปนไปในสังคมไทย ซึ่งจะมีสวนในการอยูรวมกับคนไทย และกิจการงานของเขาดวย ดังนั้น การศึกษาพระพุทธศาสนา จึงไมใชเพราะความเชื่อ แมจะมีความเชื่อที่ตางกัน แตศึกษาพระพุทธศาสนา เพื่อเปนการเสริมความเขาใจเกี่ยวกับสังคมไทย และเพื่อการดําเนินชีวิตอยูอยางประสานกลมกลืน และทํากิจการตาง ๆ ใหไดผลในสังคมไทย สวนคนไทยดวยกันเอง แมจะนับถือตางศาสนา หรือคนที่ไมนับถือศาสนา หรือไมมีความรูสึกในเรื่องศาสนาก็ตาม ก็จะเห็นความสําคัญของการที่จะศึกษาใหรูจักพระพุทธศาสนา เพราะอยางนอยที่สุด ก็ในฐานะที่เปนสภาพแวดลอมทางสังคมนี้ เพื่อที่จะไดอยูรวมกัน ทํางานรวมกันกับคนไทยสวนใหญ และทํางานเพื่อประโยชนแกสังคมไทยภายใตสภาพแวดลอมทางสังคมอยางนี้ได โดยนัยดังกลาวมานี้ จะเห็นวา สําหรับคนไทยสวนใหญที่นับถือพระพุทธศาสนาอยูแลว จึงไมจําเปนตองพรรณนาวา การศึกษาพระพุทธศาสนาเปนสิ่งจําเปนสักเพียงไร 1. ในการที่เขาจะรูจักประเทศชาติและสังคมของตน 2. ในการที่เขาจะมีสวนรวมสืบทอดมรดก และรักษาเอกลักษณของชาติตน 3. ในการที่เขาจะรูจักสังคมและชุมชนที่เขาจะไปอยูรวมทํางาน และที่จะทํางานให และ 4. ในการที่จะปฏิบัติตัวและปฏิบัติตอสังคมไทยอยางถูกตองโดยภาพรวม 6. พระพุทธศาสนา ในฐานะที่เปนการเตรียมคนรุนใหมใหพรอมที่จะอยูรวมในสังคมไทย การศึกษาพระพุทธศาสนา จึงเทากับเปนการเตรียมตัวใหพรอมที่จะอยูรวมในสังคมไทย และมาชวยพัฒนาสังคมไทย ถาศึกษาไมถูกตองหรือละเลยสิ่งที่คนไทยควรจะตองรู ทําใหไมรูจักและปฏิบัติไมถูกตอพระพุทธศาสนาที่แจงวาตนนับถือ ก็จะกลายเปนการจัดเตรียมตัวสําหรับใหไปอยูในสังคมอื่น แลวฝนมาอยูในสังคมไทย ความแปลกแยกระหวางกันก็จะเกิดขึ้น ความแปลกแยกที่เกิดขึ้นในสังคม ทําใหเราเห็นแลววาไมเปนผลดีทั้งแกชีวิตของตัวบุคคลเอง และแกสังคมไทย ถาเปนคนไทยแลว ไมไดศึกษาใหรูใหเขาใจในหลักการ หรือหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ก็เกิดความผิดพลาด และเกิดความขัดแยงในพฤติกรรมโดยสวนตัวและในสังคม ความเปนจริงที่ปรากฎก็คือวา คนไทยสวนหนึ่งมีความรูความสามารถเกงกวาชาวบานในดานวิชาการและระบบแบบสมัยใหม ทําใหเรามีความพรอมดานหนึ่งในการพัฒนาสังคม ในขณะเดียวกัน คนกลุมดังกลาว พูดจาสื่อสารกับชาวบานไมคอยจะรูเรื่อง และเริ่มมีความรูสึกแปลกแยก และแยกออกจากสังคมสวนหนึ่ง แมกระทั่งความรูสึกแปลกแยกภายในครอบครัวระหวางพอแม และลูก การศึกษาที่ขาดเรื่องราวของพระพุทธศาสนา จึงทําใหคนหางเหินแปลกแยกจากสังคมไทยไปทุกขณะ ไมรูจักสังคมไทย ไมรูเรื่องราวของไทย ไมรูไมเขาใจความคิดจิตใจของชาวบานที่เปนประชาชนสวนใหญของ

Page 14: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 5

ไทย สิ่งที่เขารูเปนระบบความคิดอีกระบบหนึ่ง ซึ่งไมใชของคนไทย ทายที่สุด ก็ตองสงวนทาทีและแยกตัวอยางตางหาก ดําเนินชีวิตและสื่อสารดวยภาษาที่พิเศษออกไปอยางเปนคนตางชั้นตางระดับกัน 2

7. พระพุทธศาสนาในฐานะพระมหากษัตริยทรงเปนพุทธมามกะตามรัฐธรรมนูญ ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 9 ที่วา “พระมหากษัตริยทรงเปนพุทธมามกะ และทรงเปนอัครศาสนูปถัมภก” 3 หมายความวา ถาจะเปรียบประเทศไทยเปนครอบครัวหนึ่ง ซึ่งมีพระมหากษัตริย ทรงเปนพระบิดา และหัวหนาครอบครัว พระองคทรงมีสถานภาพตามรัฐธรรมนูญมาตราดังกลาววา ทรงเปนพุทธมามกะ คือ ทรงนับถือพระพุทธศาสนาเปนสรณะ และกฎรัฐธรรมนูญถือวาเปนกฎของครอบครัวนี้ ดังนั้น ผูที่อยูในครอบครัวนี้ หรือในประเทศนี้ จึงควรที่จะนับถือพระพุทธศาสนาตามในหลวงแหงตน และควรอยางยิ่งที่พสกนิกรจะศึกษาและปฏิบัติตามเยี่ยงอยางของในหลวงพระองคทาน โดยเฉพาะอยางยิ่ง สถาบันพระมหากษัตริย คือ สถาบันสูงสุด และทรงเปนประมุขของชาติ โดยมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายใชในการปกครองประเทศไทย พสกนิกรที่อยูภายใตพระบารมีของพระองคทาน จึงควรที่จะใหความเคารพและนับถือในพระองคทาน และในสิ่งที่พระองคนับถือ ดังนั้น เม่ือตาม รัฐธรรมนูญกําหนดใหพระมหากษัตริยทรงเปนพุทธมามกะ พระมหากษัตริยทรงอยูในฐานะเปนประมุข เปนผูนําของชาติ ประชาชนที่อยูภายใตพระบารมีของพระองคตองเปนพุทธมามกะตามเยี่ยงอยางผูนํา มิบังควรที่จะแยกเกิดการแปลกแยกทางความคิดและการกระทํา 8. พระพุทธศาสนาในฐานะที่เปนระบบจริยธรรมที่สามารถปฏิบัติและใหผลไดจริง หลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา ถาศึกษาใหรูจริงแจงชัด และนําไปประพฤติปฏิบัติจริงในชีวิตประจําวัน ในการทํางานตาง ๆ สามารถใหผลไดจริงและผลจากการปฏิบัติพุทธธรรมนั้นคือ ความสุข สงบเย็นทั้งกายและจิตใจที่เรียกวา สันติสุข ซึ่งเปนยอมแหงความสุข เพราะความสุขอื่นที่ยิ่งกวาความสงบไมมี 4 ดังพระบาลีที่ยืนยันผลการปฏิบัติตามธรรมที่วา ผูประพฤติธรรมเปนปกติ ยอมอยูเปนสุข 5 พระธรรมยอมรักษาผูประพฤติธรรมเปนปกติ6

พระธรรมที่ประพฤติดีแลว ยอมนําความสุขมาให 7 ผูประพฤติธรรมยอมไมไปสูทุคติ8

2 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). ทําไมคนไทยจึงเรียนพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม, 2533 หนา 16- 21. 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรมการศาสนา. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพศาสนา,

2540 น. 4. 4 ขุ.ธ. 25/42 : นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ. 5 ขุ.ธ. 25/37, 38, ขุ. อุ. 25/366. : ธมฺมจารี สุขํ เสติ. 6 ขุ.ชา.ทสก. 27/290, ขุ.เถร.26/314 : ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารึ. 7 สํ.ส. 15/58, ขุ.สุ.25/360, ขุ.ชา.ทสก.27/290. : ธมฺโม สุจิณฺโณ สุขมาวหาติ. 8 ขุ.ชา.ทสก.27/290, ขุ.เถร.26/314 : น ทุคฺคตึ คจฺฉติ ธมฺมจารี.

Page 15: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 6

1. สุขกับตน ผูปฏิบัติตามพุทธธรรมได ยอมสามารถมีความสุขดวยตนเอง และสามารถอยูกับตัวเองได มีความสุขดวยตนเอง ก็คือ สามารถสรางความสุขใหกับตัวเองหรือมีความสุขไดโดยไมตองหวังพึ่งใครหรืออํานาจใด ๆ มาสรางใหหรือดลบันดาล แตความสุขเกิดขึ้นเอง เพราะการปฏิบัติธรรมที่เหมาะสมกับธรรม และที่สําคัญคือสามารถอยูกับตัวเองไดอยางมีความสุข เพราะหลายคนที่ไมสามารถอยูเพียงลําพังผูเดียวได มีทั้งความกลัว ความเหงา ความวาเหว แมกระทั่งจะไปในที่ใด ๆ ก็ไมสามารถที่จะไปผูเดียวได ตองคอยหาเพื่อนไปดวย บางครั้งชวนเพื่อนแลว แตเพื่อนไมไปก็ไมพอใจ โกรธเพื่อนอีก เหลานี้ลวนเปนความทุกขที่เกิดขึ้นแกชีวิต ผูเขาใจและรูจริงในพุทธธรรมจะไมเกิดปญหาเหลานี้ เพราะการละเหตุแหงทุกขได ยอมเปนสุขในที่ทั้งปวง9

2. สุขกับคน ในการเขาสังคมหรือการอยูรวมกันเปนกลุมจะดวยเหตุผลใดก็ตาม แตความจริงก็คือเราจะตองดํารงชีวิตอยูในสังคมไมสังคมใดก็สังคมหนึ่ง ไมสามารถที่จะปฏิเสธไดเพราะเราไมไดอยูเพียงคนเดียวในโลกหรือในโลกนี้ไมไดมีเราเพียงผูเดียว ดังนั้น การมีปฏิสัมพันธระหวางกันของคนในสังคมจึงตองมี เพราะมนุษยเปนสัตวสังคมโดยธรรมชาติดังที่อริสโตเติลกลาวไว 10

ในสังคมหนึ่ง ๆ ยอมจะมีกฎระเบียบ ขนบธรรมเนียมประเพณีสําหรับถือปฏิบัติเพื่อความเปนระเบียบเรียบรอย และความสงบสุขในสังคมนั้น ไมไดมีไวเพื่ออื่นใด ดังนั้นถาหากเราไมสามารถยอมรับหรือนํามาปฏิบัติตามคตินิยมของสังคมนั้นได เราก็ไมสามารถอยูรวมในสังคมนั้นได หรืออยูไดก็ไมมีความสุข จะมีความรูสึกขัดแยงและความแปลกแยกอยูตลอดเวลา อีกทั้งยังเปนตัวปญหา กอความไมผาสุก ความไมเรียบรอยเกิดขึ้นในสังคมนั้น ๆ ดวย แตสําหรับผูที่รูจริง และปฏิบัติจริงตามพุทธธรรม จะไมประสบปญหาดังกลาว และจะไมเปนตัวสรางปญหาใหแกคนในสังคม หากแตจะสามารถอยูรวมกับคนในสังคมนั้นอยางมีความสุขได เพราะจะสามารถรูจักปรับตัว ปรับความคิด ใหเหมาะสมกับสังคมอยูบนความถูกตอง ดังพุทธพจนที่วา “ความพรอมเพรียงของหมูคณะใหเกิดสุขได”11 หรือดังที่สมเด็จพระสังฆราช (สา) นิพนธไววา “ความพรอมเพรียงของปวงชนผูเปนหมู ยังความเจริญใหสําเร็จ” 12

3. สุขกับงาน ในชีวิตการทํางานของมนุษยจะมีความเชื่อมโยงความสัมพันธระหวาง (1) ตัวงาน (2) คนทํางาน (3) ผลของงาน (4) คาตอบแทนการทํางาน (5) จิตวิญญาณของคนทํางาน (6) นายจาง คนที่จะมีความสุขกับการทํางาน ตองมีทาทีหรือทัศนะที่ถูกตองกับสวนประกอบหรือกระบวนการในการทํางานขางตนคือ

9 ขุ.ธ.25/59. : สพฺพตฺถ ทุกฺขสฺส สุขํ ปหานํ. 10 จํานงค ทองประเสริฐ. ปรัชญาตะวันตกสมัยโบราณ. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2533 น. 262. 11 ขุ.ธ.25/51, ขุ.อิติ.25/238 : สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี. 12 ส.ส. ในพุทธศาสนาสุภาษิต เลม 1. คณาจารยแหงโรงพิมพเลี่ยงเชียง, 2535 : สพฺเพสํ สงฺฆภูตานํ สามคฺคี วุฑฺฒิสาธิกา.

Page 16: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 7

1) ตัวงาน หมายถึง งานที่กระทําอยู โดยมากจะมีความประสงคมุงหวังที่จะทํางานในดานตาง ๆ ซึ่งแตละคนก็มีเกณฑในการเลือกงานตางกัน บางคนเลือกทํางานตามที่ตนถนัด บางคนเลือกงานตามที่ตนชอบ บางคนเลือกทํางานเทาที่มีโอกาสจะทําอาจเปนงานที่ชอบแตไมถนัด หรืองานที่ถนัดแตไมชอบ เปนตน 2) คนทํางาน ไดแก มนุษยเองที่เปนตัวขับเคลื่อนกระบวนการในการทํางานใหบรรลุผลสําเร็จของงาน หรือเปนตัวแปรในการทํางานใหบรรลุตามเปาหมายของงานแตละอยาง จะบรรลุตามเปาหมายหรือขึ้นอยูกับคนทํางาน วาจะมีความรูความสามารถในตัวงานมากนอยเพียงไร และที่สําคัญมีคุณธรรมในการทํางาน เชน ความขยัน ความอดทน ตางระดับกันเพียงไร 3) ผลของงาน คือ ผมสัมฤทธิ์ที่เกิดจากการกระทําของมนุษยที่ขับเคลื่อนใหเปนผลงานออกมาตามเปาหมายนั้น ๆ ซึ่งผลของงานในระดับนี้ถือวาเปนผลโดยตรงของการกระทํางานนั้น ๆ ผลที่ไดจากการทํางานจริง ๆ ก็คือ ผลของงานตรงนี้ 4) คาตอบแทนในการทํางาน ในสวนนี้ หมายถึง คาจาง แรงงาน ที่เปนคาตอบแทนในการทํางาน ซึ่งอาจจะมากหรือนอยนั้น ขึ้นอยูกับคุณสมบัติหลายประการที่ทางผูจางงานจะพิจารณาให ถือวาผลโดยรวมในการทํางาน ไมใชเปนผลโดยตรง เพราะผลโดยตรงนั้นเปนผลของงานที่ทํานั้น ๆ ซึ่งเมื่อเทียบกับผลงานกับคาตอบแทนอาจจะเทียบกันไมได เพราะผลของงานจริง ๆ อาจจะมีคามากกวาคาจางที่ไดรับมากหลายเทา ถาหากวาเราไมไดเปนเจาของงานเอง กลาวไดวา คนที่เปนเจาของงานยอมจะไดรับผลงานตรงนั้นไป แตถาเปนเจาของงานเอง ก็จะไดผลของงานนั้น 5) จิตวิญญาณของการทํางาน หมายถึง ทัศนคติที่มีตองาน การกระทํางาน ผลงาน คาตอบแทน และนายจาง วาเปนอยางไร มีความคิดมีความรูสึกตอกระบวนการตาง ๆ ดังกลาว เปนความรูสึกที่ดีหรือไมดี มากนอยขนาดไหน ทัศนคติที่มีตอปจจัยตาง ๆ ในการทํางาน จะเปนตัวแปรสําคัญในการสรางสรรคงานใหบรรลุเปาหมายไดขนาดไหน 6) นายจางหรือคนจางงาน อาจจะเปนตัวแปรหนึ่งในการทํางาน ในกรณีที่ไมไดทํางานในกิจการของตัวเอง อาจจะออกมาในรูปของนิติบุคคล องคกร บริษัท รานคา โรงงานตาง ๆ ที่มุงผลิตงาน คนที่จะมีความสุขกับงาน ตองเขาใจในตัวแปรหรือปจจัยตาง ๆ ในการทํางาน คือ ตนเองอยูในฐานะไหน และมีบทบาทหนาที่ ณ จุดนั้นอยางไร ตัวอยางอาจทําใหเห็นชัดเจนถึงการไมมีความสุขกับการทํางาน คือ ความเขาใจที่ไมถูกตองเกี่ยวกับผลโดยตรงกับผลโดยออมของการทํางาน บางคนมองเห็นคาจางแรงงานที่ตนไดรับนั้นคือ ผลงาน ซึ่งความจริงแลวมันไมใชผลงาน แตเปนผลตอบแทนที่ทํางาน หลายคนที่ตัดสินผลการทํางานที่คาตอบแทน ในลักษณะเปนเงินทอง สิ่งของ ซึ่งตรงนั้นเปนผลพลอยได เปนผลโดยออมจากการทํางาน จึงเกิดความสับสนและมีความรูสึกที่ไมดีในการทํางาน เม่ือไมตระหนักถึงผลของงานจริง ๆ มีผลกระทบมากมาย จะไมมุงถึงผลเลิศของงาน การทํางานก็พอใหเสร็จ ๆ ไป หรือพอใหเห็นวาเสร็จ ตลอดจนการที่จะไดผลประโยชน โดยทางลัดที่ไมตองทํางาน, เปนทางมาของการทุจริตและอาชญากรรมตาง ๆ 13เพื่อผลประโยชนตอบแทนก็ดี การคอยเพงมองแตแยงผลประโยชนกันก็ดี มักนําไปสูความผิดหวัง ความหวาดระแวง ความคับแคน และคับของใจชนิดที่แหงแลง ทําลายสุขภาพจิตเปนอยางมาก เม่ือตกอยูใน

13 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธธรรม. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2532 น. 562.

Page 17: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 8

สภาพเชนนี้ แมจะมีสิ่งเสพเสวยอยางคอนขางบริบูรณ คนยอมไมมีความสุขแทจริง ยังมีความทุกขมาก และเปนความทุกขชนิดแหงแลง ยอมเปนทุกขแท ๆ ที่เหี้ยมโหดมาก ถึงจะเพียบพรอมดวยสิ่งเสพเสวย แตชีวิตก็เปราะบางและเหมือนไรความหมาย 14 หากคนมองเห็นและเขาใจ ความสัมพันธของปจจัยตางอยางถูกตองและเขาใจ ยอมจะมีความสุขไดงายและสามารถมีความสุขกับการทํางาน โดยมองเห็นงานเปนเหมือนหนาที่ที่ควรทํา ไมมุงถึงผลประโยชนหรือคาตอบแทนเปนหลัก และการทําตามหนาที่ ถือวาเปนการปฏิบัติธรรมอยางหนึ่ง 4. สุขกับโลก คําวา “โลก” มีความหมายกวางดังที่เรามักไดยินกันเสมอวา เปนเรื่องของโลกหรือเปนเรื่องของชาวโลกเขา เปนตน ซึ่งตรงนี้เราจะมองเห็นภาพที่ซอนกันอยูที่ทําใหเกิดความเปนโลก พอสรุปไดตามแบบพุทธศาสนาเปน 3 โลก 15 คือ 1. สังขารโลก โลกคือสังขาร หมายถึงตัวเรา รางกายที่กวางศอก ยาววา หนาคืบ นี้แหละถือวาเปนโลกอยางหนึ่ง ที่ตองเรียนรูศึกษาใหเขาใจ เพื่อที่จะอยูกันเปนอยางปกติสุข 2. สัตวโลก หมายถึง โลกคือหมูสัตวที่อยูบนโลก รวมทั้งเพื่อนมนุษยและสัตวอื่น ๆ 3. โอกาสโลก เม่ือโลกคือแผนดิน ที่อยู อากาศ เปนลักษณะภูมิศาสตร ซึ่งลักษณะแตกตางกันออกไป โลกทั้งสาม ถือเปนโลกแหงรูปธรรมที่ตองเกี่ยวของสัมพันธ พุทธธรรม มีแนวทางเพื่อดํารงชีพอยูรวมกับโลกทั้งสามนี้อยางเปนสุขได 5. สุขกับธรรมชาติ ธรรมชาติมีความหมายเฉพาะลงมาอีกขั้นหนึ่ง ซึ่งความจริงก็อยูในโลกแหงแผนดินนั้นเอง แตเพื่อตระหนักถึงความสําคัญของธรรมชาติที่เปนสภาพแวดลอมตัวเราทั้ง ดิน น้ํา ปา อากาศ พุทธธรรมเสนอแนวทางเพื่ออยูรวมกับธรรมชาติอยางประสานกลมกลืนเพื่อพัฒนาดวยทาทีเปนมิตร มิใชศรัตรูที่คอยทําลายลางธรรมชาติใหหมดไป หากมีจิตสํานึก เห็นถึงความสําคัญของธรรมชาติแวดลอม หรืออีกนัยหนึ่ง ในแงของการเรียนรูเพื่ออยูรวมกับธรรมชาติ คือ การยอมรับและทนตอสภาพนั้นได แตถาทนไมไดหรือรับสภาพนั้นไมไดดี ก็เปนความทุกข พุทธธรรมจะชี้ใหเห็นถึงความจริงและตระหนักยอมรับความเปนไปของธรรมชาติ เพื่อใหมีความเขาใจที่ถูกตองตามเปนจริง เปนการเรียนรูเพื่ออยูใหสอดคลองกับธรรมชาติ ไมใชเรียนรูเพื่ออยากอยู 9. พระพุทธศาสนาในฐานะเปนที่สนใจของชาวตางชาติหรือตางศาสนา ชาวตางชาติโดยเฉพาะชาวตะวันตกที่นับถือศาสนาคริสต แมจะมีความเจริญรุงเรืองมากในทางดานวัตถุ มีพัฒนาการดานตาง ๆ เชน ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม โฆษณากรรม และบริโภคกรรม สิ่งเหลานี้ สามารถอํานวยความสะดวกสบายและความสนุกใหแกชีวิต เปนระดับความจําเปนของชีวิตในระดับหนึ่ง แตในบุคคลหลายบุคคลที่เพียบพรอมดวยสิ่งเหลานี้ เขาก็ยังบอกวาไมมีความสุข ใน

14 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). อางแลว. เร่ืองเดียวกัน. หนา 563. 15 สมันตปาสาทิกา ภาค 1. มหามกุฎราชวิทยาลัย. 2525. หนา 124.

Page 18: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 9

ความรูสึกยังบอกวา ไมเพียงพอ ตองหาเพิ่มขึ้นอีกเรื่อย ๆ เหมือนทะเลที่ถมไมเต็มดวยน้ํา หรือเหมือนไฟที่ถมไมเต็มดวยฟน ดังนั้น ชาวตะวันตก จึงขาดความสงบสุขทางดานจิตใจ โดยจะอาศัยวัตถุภายนอกหรือไมก็ตาม และหันมาใหความสนใจที่จะมาศึกษาคนควาพุทธธรรม ดวยเล็งเห็นวา พุทธธรรมจะสามารถใหความสุขสงบภายในใจได ในสวนของพุทธธรรมเอง พระพุทธเจาตรัสไวเสมอวา สามารถใหผูปฏิบัติมีความสุขไดจริง บนเงื่อนไขของการปฏิบัติที่ถูกตอง ดวยที่พระพุทธศาสนา เจริญรุงเรืองเปนปกแผนในประเทศไทย ชาวตางชาติ ผูที่ตองการศึกษาพระพุทธศาสนา จึงพากันมาสูประเทศไทย การศึกษาพระพุทธศาสนา จึงมีความจําเปนสําหรับคนไทย มิใชเพื่อประโยชนสําหรับตนเองเทานั้น หากแตจะเปนประโยชนกับชาวตางชาติจะมาถามและศึกษาพระพุทธศาสนา ดังนั้น ประชาชนไทย ไมจําเปนวาจะตองเปนผูนับถือพระพุทธศาสนาเทานั้น แมจะนับถือศาสนาอื่น ก็ควรที่จะศึกษาเรียนรูดวย เพื่อเปนการเตรียมพรอมที่จะใหความรูดานพระพุทธศาสนาใหแกชาวตางชาติในโอกาสอันเหมาะสมตอไป

Page 19: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 2 ภูมิหลังกอนเกิดพระพุทธศาสนา อินเดียแดนแหงศรัทธาและปญญา ภูมิหลังทางประวัติศาสตร เมื่อประมาณ 4,500 ปที่ผานมา นอกจากบรรดาแหลงอารยธรรมที่ยิ่งใหญและสําคัญของโลก เชน อียิปตโบราณ อารยธรรมจีน อารยธรรมกรีกโรมัน เปนตนแลว อารยธรรมลุมแมน้ําสินธู เปนอารยธรรมโบราณอีกแหงหนึ่ง ที่มีอายุไลหลังกับอาณาจักรอียีปตโบราณ และมีอายุกอนกวาอารยธรรมจีน กรีก อัสสีเรีย

อารยธรรมลุมแมน้ําสินธู มีอิทธิพลตอวิถีชีวิตและสังคมของชุมชนในดินแดนแถบคาบมหาสมุทรอินเดียไมยิ่งหยอนกวาอารยธรรมอื่นเลย กลาวไดวา อารยธรรมลุมแมน้ําสินธู เปนแหลงเกิดศาสนา ปรัชญา ภาษาและวัฒนธรรมที่โลกควรยกยองไวมากมาย ถาจะขนานนามอินเดียโบราณวาเปน “แม ” ผูใหกําเนิดอารยธรรมในดินแดนแถบนี้ ก็คงจะเปนการกลาวอางที่ไมไรเหตุผลนัก และชื่อของแมน้ําสินธูนั่นเองเปนที่มาของคําวาอินเดีย กลาวคือ คําวา “อินเดีย (India)” นั้นไดมาจากคําวา “สินธู (Sindhu)” หรือ “อินดูส (Indus)” ที่เปนแมน้ําสําคัญ เปนสายเลือดที่หลอเล้ียงสังคมอินเดียมานาน

กอนประวัติศาสตร อินเดียเคยเปนดินแดนที่เจริญดวยอารยธรรมและเทคโนโลยีมากอน สรางความแปลกใจใหกับมนุษยในยุคขาวสารขอมูลเปนอยางมาก หลังจากที่ไดขุดพบซากเมืองโบราณ คือ เมืองหะรัปปา (Harappa) ในรัฐปนจาบ และ เมืองโมเหนโจดาโร (Mohenjodaro) ในรัฐสินธุ ที่มีการจัดระเบียบ การวางผังเมืองเอาไวเปนอยางดีเย่ียม คาดกาลวา มีอายุกอนกวาคริสตกาลหลายพันป 1

แมสมัยยุคประวัติศาสตร อินเดียก็เปนแหลงวิชาการ ศาสนาปรัชญา ภาษาและวัฒนธรรมไมนอยกวาแตกอน ชาวอินเดียไดออกไปเผยแพรวิชาการดานตาง ๆ แกชาวโลก ดังที่เราพบเห็นหลักฐานในประทศตาง ๆ แถบทวีปเอเชียมากมาย ชาวอินโด - อารยัน (The Indo - Aryans) สังคมอินเดียนั้น เกิดจากเผาชน 2 เชื้อชาติมารวมกัน คือ 2

1) เผาพื้นเมืองเดิมที่เรียกวา “ดราวิเดียน (Dravidian)” เปนกลุมชนที่มีผิวดํา ผมหยิกรางกายสันทัด เปนบรรพบุรุษของเผาชนที่อยูในแถบคาบสมุทรทางใต เรียกวา มิลักขะ บาง เปนคนละเชื้อชาติกับเผาอะบอริจิน (Aborigin) ที่เปนชาวพื้นเมืองของทวีปออสเตรเลีย ชาวถิ่นอินเดียเดิม เปนเผาที่มีความเจริญทางดานอารยธรรมอยางสูงมาแลว ไดรวมตัวเปนสังคมเมือง เชนที่ หะรัปปา และโมเหนโจดาโร จากหลักฐานทางประวัติจะเห็นวา ชาวเผาพื้นเมืองเดิมนั้น ไมใชชาวปาเถื่อนที่ไร

1 The Ramakrishna Mission of Cultute. The Cultural Heritage of India , Vol . I. (Calcutta : The

Ramakrishna Mission , Institute of Calture , 1982 ) หนา 110 . 2 Ruth Reyna. Introduction to Indian Philosophy. ( New Delhi : Tata McGraw - Hill Publisshing

Co. Ltd., 1971) หนา 11.

Page 20: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 11

อารยธรรม ซึ่งประวัติศาสตรชวงหนึ่งกลาวถึงคนชาวเผานี้วา เปนคนเผาเถื่อนไรอารยธรรมและปาเถื่อน

2) เผาอารยัน (Aryan) เปนกลุมชนที่มีเชื้อชาติผสม อยูในกลุมอินโดยูโรเปยน รูปรางสูง ผิวขาว มีอาชีพเลี้ยงสัตว ลาสัตว เปนนักรบที่ชํานาญบนหลังมา เรียกตัวเองวา “อารยัน” ถิ่นฐานเดิมอยูทางตอนเหนือของแมน้ําสินธู เม่ือประมาณ 4,500 ป ไดอพยพยายถิ่น ขามภูเขาฮินดูกูฏลงมาทางใต รบชนะเผาพื้นเมืองเดิมต้ังตนเปนผูปกครอง จึงถือวาเปนชนชั้นหรือวรรณะที่สูงกวาเผาพื้นเมืองเดิม ชนเผาอารยันมีความเชื่อเดิมในเรื่องกฎแหงกรรม และการอวตารของมหาเทพ หากจะกลาวโดยไมเกรงใจ เผาอารยัน ตองดอยอารยธรรมกวา และเปนคนปาเถื่อนกวาดราวิเดียนชาวพื้นเมืองเดิมแนนอน3

เม่ือชน 2 เผามารวมกัน จึงไดถายทอดและแลกเปลี่ยนอารยธรรมใหแกกันและกัน รวมกันสรางสรรคอารยธรรมและสังคมเมืองใหมที่เปนแบบ “อินเดีย ” เชน ศาสนา ภาษา ปรัชญาเปนตน อันหาคามิไดแกชาวโลก อารยธรรมลุมแมน้ําสินธู ( The Indus Valley Civilization ) หากจะพิจารณาอารยธรรมอันเกาแกในดินแดนลุมแมน้ําสินธู ในอินเดียภาคเหนือ เราจะพบอารยธรรมถึง 2 สาย ที่แตกตางกัน คือ 4

1) อารยธรรมทางตอนใตแมน้ําสินธู ( The Lower Indus Valley ) นักประวัติศาสตรบางทานกลาววา แหลงกําเนิดอารยธรรมสายนี้ ไมสามารถกําหนดได

แนนอน และไมใชแบบของชาวอารยัน อาจจะเปนของเผาดราวิเดียนดวยซ้ําไป นักปราชญทางศาสนาเชน ที่ปฏิเสธคัมภีรพระเวท กลาววา คําสอนศาสนาเชนเปนของ

เกาแก สืบทอดมาจากอารยธรรมสายสินธูใตที่มีอายุกอนกวาที่ชาวอารยันอพยพเขามาเสียอีก อารยธรรมสายสินธูใตเปนลักษณะสังคมเมือง และมีอิทธิพลตออารยธรรมสายสินธูเหนือเนื่องจากระยะหลังอารยธรรมสายนี้ สอนศาสนาที่เปนแบบมีรูปเคารพ นับถือเทพเจาเพศหญิง (The Mother Goddess) และเทพเจาเพศชายที่ตอมาเปนตนแบบของพระอิศวร นับถือศิวลึงค และบูชาวัวเพศผู ( แตชาวอารยันเคารพวัวเพศเมีย ) นอกจากนี้ยังเคารพเทพเจาที่เปนลูกหลานของเจาแมเจาพอดวย

2) อารยธรรมทางตอนเหนือแมน้ําสินธู (The Upper Indus Valley) อารยธรรมกลุมนี้เปนของกลุมอารยัน แตเดิมมาชนกลุมนี้นับถือศาสนาที่เปนแบบไมนิยม

สรางเทวรูป ไมใหความสําคัญเทพเจาเพศหญิง แตยกยองนับถือเทพเจาเพศชายใหสูงกวาเทพเจาเพศหญิง ไดสรางแทนเปนที่แสดงความเคารพตอเทพเจาตาง ๆ เชน พระอินทร พระวรุณ พระมิตร พระอาทิตย (สูรยเทพ) พระอัคนี และสัตวพิเศษอื่น ๆ ที่ไมมีอยูในอารยธรรมทางตอนใตแมน้ําสินธู

3 ดร. พิสิฏฐ โคตรสุโพธิ์. เอกสารประกอบการสอนวิชา หลักพระพุทธศาสนา. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะ

มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2541. 4Ruth Reyna. Ibid ., หนา 15 - 16.

Page 21: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 12

ชาวอารยัน ไดมีแนวคิดเรื่องพระเวทมาตั้งแตยังไมอพยพลงยึดครองถิ่นดราวิเดียน บางทานกลาววา ชาวอารยันไดรวบรวมคัมภีรพระเวทเอาไวแลว ระบบวรรณะ (Claste - System) การจัดระเบียบของสังคมอินเดียนับแตยุคโบราณมาแมประทั่งปจจุบัน ยังยึดติดรูปแบบเดิมที่สั่งสอนเอาไวในคัมภีรพระเวทอยางเหนียวแนน ตามคําสอนในพระมนูธรรมศาสตร ไดแบงคนเปน ระบบวรรณะ มีการถือชั้นวรรณะ และเชื้อชาติตระกูล จะระคนกัน หรือ แตงงานกันขามวรรณะไมได เพราะวรรณะเปนสถานะภาพตายตัวจะเปลี่ยนแปลงไมได เกิดมาเปนคนในสังกัดวรรณะอะไร ตระกูลไหนตองรักษาเอาไวอยางนั้นจนกวาจะตายไป เพราะนั่น คือ ชะตากรรมที่ถูกกําหนด โดยอํานาจของ “ปุรุษะ (Purusha)” ตอนหลังหมายเอา “พระพรหม” การแบงคนในสังคมอินเดียออกเปนวรรณะ มาจากสาเหตุตอไปนี้ คือ (1) แบงตามที่เกิดจากรางของ “ปุรุษะ” (พระพรหม) ในฤคเวท ตอนตน การแบงคนออกเปนวรรณะไมชัดเจนนัก เพียงแตยกวรรณะพราหมณสูงกวาวรรณะอื่น ๆ โดยอางวา พระพรหมไดสรางมนุษยจากสวนประกอบในรางกายของทาน รางกายสวนใดที่ถือวาสูงและสําคัญ ผูที่ถูกสรางจากสิ่งนั้น ก็จะเปนคนสังกัดวรรณะสูงกวา สวนผูที่ถูกสรางจากสวนที่สําคัญนอยกวา ก็จะเปนคนในวรรณะต่ํา ซึ่งแบงออกเปน 4 วรรณะ ดังใน ไตตติรียะ สัญหิตา ของฤคเวท บทสวด ปุรุษะ สุกตา (Purusha Sukta Hymn) กลาววา

“ เม่ือเขาแบงสวนรางกายของ “ปุรุษะ” ( พรหม ) เขาแบงออกเปนกี่สวน ? เขาเรียกสวนไหนเปนโอษฐของทาน ? สวนไหนเปนแขนของทาน ? และสวนไหนเปนขาและเทาของทาน ?

พราหมณ เกิดจากสวนโอษฐ กษัตริย เกิดจากสวนแขน

แพทย เกิดจากสวนขา (บางแหงบอกวาเกิดจากทอง) ศูทร เกิดจากสวนเทา” 5

(2) แบงตามหนาที่ของแตละวรรณะ 6

ในคัมภีรพระธรรมศาสตร บท “มนูสัมฤติ” กลาวถึงพระพรหม ไดแบงหรือจัดสรรหนาที่เพื่อแตละวรรณะจะตองปฏิบัติ อยางชัดเจน ดังตอไปนี้ 1. พราหมณ (Brhamins) มีหนาที่สอนสั่งและศึกษาความรูในพระเวท ตองประกอบพิธีกรรมบูชายัญเพื่อประโยชนตนและบุคคลอื่น ๆ ใหและรับเครื่องไทยทานได 2. กษัตริย (Kshatriyas) มีหนาที่ปองกัน และปกครองประชาชน ใหทาน บูชายัญ ศึกษาพระเวท และตองสํารวมตนเองจากการติดในความสุขทางกาม

5 Ruth Reyna. Ibid. หนา 24. 6 K. R. Sumdarrajan. Hinduism. หนา 48.

Page 22: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 13

3. แพศย (Vaishyas) มีหนาที่เล้ียงปศุสัตว ใหทาน บูชายัญ ประกอบอาชีพคาขาย ออกเงินกู ศึกษาพระเวท และการเพาะปลูก 4. ศูทร (Shudras) มีหนาที่รับใชใหบริการวรรณะทั้ง 3 ที่สูงกวาตน และทํางานต่ํา ๆ ทุกชนิดที่คนวรรณะสูงรังเกียจ

(3) แบงตามสีผิวทางรางกาย 7

1. พราหมณ มีผิวกายสีขาว (White) 2. กษัตริย มีผิวกายสีแดง (Red) 3. แพศย ผิวกายสีเหลือง (Yellow) 4. ศูทร มีผิวกายสีดํา (Black) ในสังคมเดิมเราพบวา เผาดราวิเดียนมีผิวสีดําหรือคล้ํา สวนเผาอารยันมีผิวสีขาว การแบง

ชนชั้นตามสีผิวและการเหยียดผิวเราก็พบเห็นอยูในประเทศตาง ๆ ทั่วโลก แตก็มีหลายเผาชนที่มีผิวกายสีผสม ในเรื่องของการประกอบอาชีพ แมแตในยุคโบราณก็ไมลงตัว คนเราสามารถเปลี่ยนอาชีพที่จัดสรรไวใหตัวเองได ถาตัวเองไรสมรรถภาพ เชน คนวรรณะพราหมณ ถาไมอาจประกอบพิธีกรรม หรือไปแตงงานกับคนนอกวรรณะ สถานะภาพที่เปนวรรณะพราหมณ ก็ถูกลดลงมาเปนสมาชิกของคนในวรรณะอื่นได แดนแหงความรูและสรรพศาสตร

ในประเทศอินเดียแตโบราณ มีการศึกษาศิลปศาสตรถึง 18 ชนิด คือ 8

1. สุติ ความรอบรูตัว 2. สมมุติ สังคมศาสตรธรรมชาติ 3. สังขยา คํานวณ (คณิตศาสตร) 4. โยคะ ยนตกรรม (วิศวกรรมศาสตร) 5. นีติ นิติศาสตร 6. วิเสสกา พยากรณศาสตร 7. คันธัพพา นาฎศาสตร 8. คณิกะ พลานามัย (สาธารณสุขศาสตร) 9. ธนุพเพธา แมนธนู 10. ปูรณา โบราณคดี 11. ติกิจฉา แพทยศาสตร 12. อิติหาสะ ประวัติศาสตร 13. โชติ ดาราศาสตร 14. มายา พิชัยสงคราม (ยุทธศาสตร)

7 Ibid., หนา 49. 8 ทอง หงศลดารมภ. ธรรมนีติ (แปล). ( กรุงเทพฯ : มปท, 2533), หนา 22.

Page 23: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 14

15. ฉันทติ การประพันธ (อักษรศาสตร) 16. เกตุ การกลาวสุนทรพจน (วาทศาสตร) 17. มันตา เวทมนต ( ไสยศาสตร ) 18. สัททา ไวยากรณ ( ภาษาศาสตร )

สภาพสังคมอินเดียกอนพุทธกาล 1. สังคมที่ถือชั้นวรรณะอยางยิ่ง

2. สังคมที่กดขี่ขมเหงกีดกันเอาเปรียบทางเพศ 3. สังคมที่เชื่ออํานาจที่มองไมเห็น เชื่อชะตากรรมที่ถูกลิขิตมากอนเกิด - เชื่ออํานาจกรรมเกา - เชื่ออํานาจมีผูมีอํานาจบงการกําหนด

4. สังคมที่หลักลัทธิศาสนา - เชื่อเรื่องตายแลวเกิด - เชื่อเรื่องตายแลวไมเกิด

- เชื่อเรื่องการบูชายัญวาเปนวิธีการใหไดสงที่ตนปรารถนา นักบวชสมัยกอนพุทธกาล - ประเภทพราหมณ (ผูแทนเทพเจา)

- ประเภทสมณะ และ อาชีวก

Page 24: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 3

คัมภีรพระเวท (The Vedas) และอิทธิพลจากคําสอนในคัมภีรพระเวท ชาวอารยัน มีหลักความเชื่อเดิมที่เกาแกมานาน คือความเชื่อในคัมภีรพระเวท พระเวทเปนสิ่งที่สูงสงและศักดิ์สิทธิ์ เปนสิ่งที่เทพโองการเปดเผยแกมนุษย เปนผลงานรวบรวมชิ้นเอกของมวลมนุษย เพราะพระเวทเปนที่รวมสรรพวิชาตาง ๆ ทั้งศาสนา ปรัชญา วิถีชีวิต รวมทั้งรูปแบบองคกรทางสังคมของชาวฮินดู นอกจากนี้ เรายังคนพบวา แนวคิดแบบพระเวทบางอยางมีปรากฏอยูในอารยธรรมสายอื่น ๆ ดวย แสดงถึงอิทธิพลและความยิ่งใหญของอารยธรรมสายพระเวทในอดีต คัมภีรพระเวทเปนแหลงความรูที่สําคัญของปรัชญาอินเดีย เปนสิ่งที่บันทึกความรูของมนุษยอันถือไดวาเกาแกโบราณที่สุดในโลก มีอายุนานกวา 4,000 ป มีมากอนการเริ่มตนอารยธรรมกรีก เกาแกกวาการคนพบอาณาจักรอัสสิเรียน รวมยุคกับจารึกของชาวฮิบรูโบราณ แตอาจหลังอาณาจักรอียิปต 1 ชาวอินเดียเรียกพระเวทวา “สนันตนะธรรม”

ปรัชญาอินเดียอาศัยคัมภีรพระเวทเปนฐานแหงความคิดแทบทั้งนั้น การถายทอดคําสอนในพระเวทนั้น ชาวอินเดียโบราณ ไมนิยมบันทึกเปนลายลักษณอักษรแตใหถายทอดกันเปนแบบ “มุขปาฐะ” จากปากสูปาก แบบทองจําจากครูสูศิษย สืบตอ ๆ กันมาตามประเพณี

สาเหตุที่ไมใหบันทึกดวยอักษร เพราะถือวา พระเวทเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เทพเจาโองการ (วิวรณ) มาใหแกมนุษย ไมใชเปนของมนุษย (อเปารุเษยะ) เปนสิ่งที่ไดยินมาเรียกวา “ศรุติ” เปนของสูงจึงไมควรใชวัสดุของมนุษยธรรมดามารองรับพระเวท สิ่งรองรับที่เหมาะสมแกพระเวทคือ “ มันสมอง หรือ ความทรงจํา” ของมนุษยเทานั้น พระเวท หมายถึง ความรู เปนความรูที่เกี่ยวกับอาตมัน (Atman) คําวา “เวท” มาจากรากศัพทวา “วิท (Vid)” ที่แปลวา รู หรือปญญาที่เกิดจาการไดฟงจากเทพเบื้องบน เปนแหลงความรูอันประเสริฐเพ่ือเปนเครื่องมือใหบรรลุถึงจุดหมายสูงสุด 4 ประการของชีวิต ตอมา คัมภีรพระเวทไดรับการบันทึกจดลงเปนลายลักษณอักษร จัดเปนหมวดหมู โดยทานพระฤาษีกฤษณะ ไทวปายนะ วยาสะ (Vyasa) เม่ือประมาณป คริสตศักราช 500 หรือ พุทธศักราช 1,043 ป 2 แตหลักฐานบางที่ กลาววา “พระเวทไดถูกจัดลงเปนหมวดหมูและจารึกโดย ทานวยาสะ (ชื่อคลายกัน) เม่ือกอนค.ศ. 1414” 3 ซึ่งมีชีวิตในชวงสงคราม 2 พ่ีนอง คือ ปาณฑพ กับ เการพ ที่ทุงกุรุเกษตร ในมหาภารตยุทธ

1 S. Radhakrishnan. Indian Philosophy, Vol. One. (London : George Allen & Unwin, 1989), หนา

63. 2 กีรติ บุญเจือ. สารานุกรมปรัชญา. ( กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2522), หนา 235. 3 Ruth Reyna. Ibid., หนา 16.

Page 25: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 16

ในคัมภีรปุราณะ ทานวยาสะนี้ เปนผูแตงมหากาพย “มหาภารตะ” และคัมภีร “ภควัดคีตา” ก็เปนสวนหนึ่งในมหาภารตะ แตหากจะถือวาเปนคน ๆ เดียวกัน เพราะชื่อพองกันแตไฉนกาลเวลาที่ระบุ หางกันเกือบ 2,000 ป สิ่งที่สอนสั่งในพระเวท นักปราชญ เชน ราธกฤษนันท เชื่อวา ไมไดเปนคัมภีรทางปรัชญาลวน ๆ เพราะคําสอนบางสวนยังประกอบไปดวยคําแนะนํา คําสั่งสอนทางศาสนา รวมทั้งหลักประพฤติทางศีลธรรมอีกดวย คัมภีรไตรเพท หรือ จตุรเวท 4 4

แตเดิม คัมภีรพระเวท มี 3 หมวด ที่เรียกวา “เวทัตตโย หรือ ไตรเพท” ถือวาเปนคัมภีรหลักดั้งเดิม ระยะหลังตอเติมมาอีก 1 คัมภีร (อาถรรพเวท) จึงรวมเปน 4 คัมภีร คือ 1. ฤคเวท (Rga Veda) ประกอบดวยบทสวดรอยแกว (Hymns) สรรเสริญเทพเจา พระผูประกอบพิธี คือโหตริ (Hotri)

2. ยชุรเวท (Yajur Veda) ประกอบดวยบทเพลงสวดในขณะประกอบบูชายัญ พระผูประกอบพิธี คือ อัธวรยุ (Adhvaryu)

3. สามเวท (Sama veda) ประกอบดวยเพลงสวดตาง ๆ มีดนตรีกํากับสําหรับประชาชนทั่วไป พระผูประกอบพิธี คือ อุทคาตริ (Udgatri)

“ สามะ” (Sama) หมายถึง เพลง (Tune) หรือการขับรอง (Melodies) และหมายถึง การปลอบประโลมใจ (Propitiation) 5

4. อาถรรพเวท (Atharva Veda) ประกอบดวย มันตระ คาถาอาคม เพ่ือปองกันและกําจัดศัตรู และเพื่อรักษาโรคภัยไขเจ็บ ไมจําเปนตองมีพระประกอบพิธี ใครก็ได

เน้ือหาในพระเวททั้ง 4 คัมภีร มีความเกี่ยวเนื่องกัน แตที่เห็นวาตางกันเพราะการใชคําสวดในโอกาสเฉพาะ ๆ เชน บทสวดในฤคเวท เปนแตเพียงคําสวดสรรเสริญ ในสามเวท เปนเพลงสวดในพิธีบูชายัญของชาวบาน แมแตคําสวดสวนมากก็จะนํามาจากฤคเวทเปนหลัก องคประกอบในคัมภีรพระเวท 6

พระเวทแตละอยางจะมีเน้ือหา แบงเปนลําดับชั้นของคัมภีรได 3 หรือ 4 สวนดังนี้ 7

(1) มันตระ (Mantras) หรือ สัญหิตา (Samhitas) เปนบทกวีหรือเปนหนังสือหลักของแตละเวท

4 Rarm Nath Sharma. Indian Philosophy. หนา 17. 5 S.N.Sharma. A History of Vedic Literature. (Varanasi : Chowhamba Sanskrit Series Office,

1973 ) หนา 4. 6 สุชีพ ปุญญานุภาพ. ประวัติศาสตรศาสนา. ( กรุงเทพฯ : รวมสาสน, 2511) หนา 392-96. 7 Radhakrishnan. Ibid. หนา 64.

Page 26: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 17

(2) พราหมณะ (Brahmanas) เปนสวนที่เปนความรูอธิบายกฎเกณฑ การประกอบพิธีกรรมคําวา “พราหมณะ” หมายถึงความรูอันศักดิ์สิทธิ์

(*) อารัณยกะ (Aranyakas) เปนทฤษฎีทางปรัชญาที่เขียนจากการนั่งสมาธิในปา เปนสวนที่อยูคาบเกี่ยวระหวางพิธีกรรมของพราหมณะ และ ปรัชญาของอุปนิษัท บางที่ไมนับ อารัณยกะ เปนสวนหนึ่งพิเศษตางหากในพระเวท

(3) อุปนิษัท (Upanishads) เปนหลักปรัชญาของพระเวทแตละเวท อุปนิษัทมีจํานวนมากมายนับไดเกิน 200 คัมภีร ดังนั้น “ คัมภีรพระเวท” จึงหมายเอา 3 หรือ 4 ชั้นของคัมภีรทั้งหมดที่แสดงมาแลว ภาคของพระเวท (Divisions of the Vedas)

ในคัมภีรพระเวท ไดแสดงทฤษฎีมากมาย เกี่ยวกับการสรางโลก ทฤษฎีหน่ึงที่อยูในพระเวทกลาวถึงการมีอยูของมหาเทพ ผูมีพลังอันทรงมหิทธานุภาพ เปนสัพพัญญผูสรางโลกดวย

ในพระเวท ไดสอนเรื่องบทบัญญัติทางศีลธรรม เรื่องบาป บุญ และคุณงามความดี กลาวถึงทฤษฎีกฎแหงกรรม ทฤษฎีทางปรัชญาและจริยธรรม แสดงถึงวิธีการบรรเทาความเจ็บปวด ทางรางกายที่สามารถบรรเทาไดดวยการสวดมนตและบูชา

ประการสําคัญที่สุด เน้ือหาทางปรัชญาแนวอุปนิษัท ก็เปนสิ่งที่ไดรับการเพาะบมมาจากพระเวทดั้งเดิมที่เปนรากฐานนั่นเอง เหมือนคัมภีรอภิธรรมปฎกในพระพุทธศาสนา หากตรวจสอบเนื้อหาธรรมแลว ก็พบวาเปนสวนที่ไดสรรเอามาเฉพาะ “ตัวองคธรรม” มาจากพระสุตตันตปฎกเปนสวนใหญนั่นเอง เน้ือหาในคัมภีรพระเวททั้ง 4 ที่กลาวมาโดยยอน้ี หากจะจัดตามลักษณะที่เปนหลักปฏิบัติและหลักความคิดแลว แบงออกเปน 2 ภาค คือ 8

1) ภาควิธีกรรม [Ritualistic (Karma Kanda) or Exoteric] ภาษาพระเวทเรียกวา “กรรมกัณฑ” คือภาคที่วาดวยขอปฏิบัติ วาดวยรูปแบบของการสวดออนวอน การประกอบพิธีกรรม และการบูชายัญ ตามขั้นตอนตาง ๆ ที่กลาวไวโดยละเอียด

ในภาคนี้ ประกอบไปดวยพระเวท 2 เวท คือ ฤคเวท และ ยชุรเวท 2) ภาคความรู [Speculative (Jyana Kanda) or Esoteric] ภาษาพระเวทเรียกวา “ชญาณกัณฑ” ภาคที่วาดวยความรู เหตุผล หรือทฤษฎี สอนวิธีการทําจิตใหเปนสมาธิเพ่ือใหเกิดความรูแจงขึ้นมา เม่ือเกิดความรูแจงแลว ถือวา ถึงจุดที่สามารถถอนตัวเองออกจากความทุกขและสังสารวัฏ บรรลุความเปนอมตะ เสวยสุขอยูตลอดนิรันดรกาลในสวรรค

8 S. N. Sharma. Ibid . หนา 1.

Page 27: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 18

ในภาคนี้ ประกอบไปดวย ความรูทางปรัชญาของ คัมภีรพราหมณะ คัมภีรอารัณยกะ และคัมภีรอุปนิษัท อุดมคติแบบพระเวท (The Vedic Ideals) 9

แนวคิดทางปรัชญาในพระเวทยุคแรก สามารถแบงออกเปนประเด็นตาง ๆ ไดตอไปน้ี

อาศรม 4 (Four Asharmas) คําสอนในปรัชญาพระเวท เนนคุณคาที่การดําเนินชีวิตทั้งสวนตัว และสังคมอยางมีจุดมุงหมายที่ชัดเจนและแนนอน โดยสอนเรื่องแผนการดําเนินชีวิตตลอดชวงระยะของแตละคนที่เกิดมา ซึ่งสมควรที่จะดําเนินบทบาทไปตามลําดับ เพ่ือบรรลุจุดมุงหมายสําคัญที่สุดในชีวิต โดยอาศัย “ชวงระยะแหงวัย ” เปนตัวกําหนด ที่เรียกวา “อาศรม” (Ashrama means the Four Stages of Life.) มี 4 ระยะ คือ 1) พรหมจารี หรือ พรหมจรรย (Brahmacarya) เปนชีวิตแหงการศึกษา ฝกหัดฝกปรือแสวงหาความรู โดยอยูในสํานักครู หรือคอยปรนนิบัติรับใชครูอาจารย เปนชวงแหงศึกษากาล 2) คฤหัสถ (Grihastha) เปนชวงชีวิตแหงการครองเรือน ในฐานะสามี/ภรรยา (House - holder) ประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองและครอบครัว ประกอบยัญพิธี 5 ประการ คือ

1. การสอนและศึกษา (พรหมยัญ) 2. การใหน้ําอาหารเพื่อบูชาบรรพบุรุษ (ปตุยัญ) 3. กระทําการบูชาไฟ (เทวยัญ) 4. การใหเศษอาหารแกแมลง (ภูตยัญ) และ 5. การตอนรับผูมาเยือน (อติถิยัญ) เปนชวงแหงบริวารกาล

3) วานปรัสถ (Vanaprastha) การออกไปอยูปา (Forest Dweller) พรอมภรรยา หรือใหภรรยาคอยดูแลบุตรที่บาน เปนชวงแหงการเกษียณอายุ (Retirement) เม่ือเห็นผมที่ศีรษะตนเปลี่ยนสี เห็นผิวหนังเห่ียวยน และเม่ือบุตรธิดาเจริญเต็มวัยแลว เพ่ือศึกษา บําเพ็ญตบะและปฏิบัติสมาธิอยางเครงครัดเพื่อพัฒนาจิตใจ เปนชวงแหงสังคมกาล 4) สันยาสี (Sanyasi) เปนชวงชีวิตแบบนักพรต นักบวช (Ascetic) สละจากโลกียวิสัย ศึกษาปรัชญาและปฏิบัติตามหลักปรัชญาในศาสนา มุงตอการเขาถึง “พรหมัน” เปนชวงแหงวิศวกาล แตตองเปลื้องหน้ี 3 ประการกอน คือ 1. หนี้ตอพระมหาฤษี ดวยการศึกษาพระเวทจนจบ 2 . หนี้ตอบรรพบุรุษ ดวยการใหกําเนิดบุตรชาย และ 3 . หนี้ตอเทพเจา ดวยการบูชายัญ

9 Ruth Reyna. Introduction to Indian Philosophy. หนา 22 - 23.

Page 28: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 19 ถาไมปลดเปลื้องหน้ีใหหมดกอนชีวิตจะตกต่ําไมเจริญ

สันยาสีตองปฏิบัติถือหลักอหิงสาธรรมอยางเครงครัด ตองมีความอดทนอยางยิ่ง การศึกษาพระเวท การศึกษาพระเวท ในทรรศนะของนักปรัชญาอินเดียแสดงแนวไววา ผูศึกษาตองเรียนใหสอดคลองตามหลักอาศรม เพราะพระเวทแตละอยางจะเหมาะแกชวงของวัยนั้น ๆ คือ 1. พรหมจารี ใหศึกษาคัมภีรพระเวทหรือสัญหิตาจนจบไตรเพท และอุปนิษัท 2. คฤหัสถ ใหศึกษาคัมภีรพราหมณะ เพ่ือเรียนรูการครองเรือน มีครอบครัว 3. วานปรัสถ ใหศึกษาคัมภีรอารัณยกะ เพ่ือปฏิบัติธรรมดวยการบูชาไฟในปา 4. สันยาสี ใหศึกษาคัมภีรอุปนิษัท ปรัชญาชีวิต เพ่ือตองการความหลุดพน เปาหมายของมนุษย (Purusharthas) 10

ในปรัชญาพระเวทกลาวไววา สิ่งที่มนุษยในโลกนี้แสวงหาเพื่อเปนเจาของและเขายึดครอง โดยยอมี 2 อยาง คือ ความรู (Knowledge) และ ความสุข (Happiness) ทุกคนโดยธรรมดายอมตองการความรูและความสุขเปนเบื้องตน หากจะขยายออกไป เปาหมายที่มนุษยพึงประสงคมีถึง 4 ประการ คือ 1. ธรรมะ (Dharma; Righteousness) หมายถึง ความถูกตอง หนาที่ตองปฏิบัติตามศีลธรรม กฎ ระเบียบ ตามที่บัญญัติไวในพระธรรมศาสตร หรือธรรมสูตร การตั้งตนไวในธรรม ตองฝกอบรมมาตั้งแตอาศรมที่ 1 คือ พรหมจารี จะไดรูผิดรูถูก การควรไมควร ปลูกฝงเสียแตยังเล็ก 2. อรรถะ (Artha; Wealth) หมายถึง ความมั่งมีทั้งเงินทองและอํานาจ เพื่อการตอสูใหมีชีวิตที่สามารถดํารงอยูไดในสังคม แตการแสวงหาอรรถะ ควรแสวงหาโดยชอบธรรมเพื่อจะไดไมขัดขวางตอการพัฒนาชีวิตที่สูงขึ้นไป กลาวไวใน อรรถศาสตร ; คูมือวาดวยศาสตรแหงความมั่งมี ของทาน เกาฑิลยะ เปาหมายที่เรียกวา “ อรรถะ” นี้ เปนของอาศรมคฤหัสถ 3. กามะ (Kama; Sense-Pleasure) หมายถึง ความพอใจที่เต็มเปยมทั้งดานกามารมณ และความงาม (สุนทรีย) ทานวาสยายนะแตงตํารา “กามสูตร” ไว เพ่ือเปนหลักประกันความสําเร็จของชีวิตคูทางครอบครัว การที่จะบรรลุถึงกามะนั้น สวนสําคัญมักจะอาศัยความเชื่อทางโหราศาสตร และพิจารณาถึงเศรษฐกิจ และสังคมประกอบ ชีวิตแบบคฤหัสถ กอนจะออกไปเปนวานปรัสถไดกําหนดเปาหมายนี้เอาไว 4. โมกษะ (Moksha ; Final Liberation) หมายถึง ความเปนอิสระจากความทุกข ถือเปนเปาหมายอันสูงสุด เปนความสุขที่สุด เปนความสุขที่เปนอมตะยอดปรารถนาของนักพรตอินเดีย ในชวงวานปรัสถอาศรม และสันยาสีอาศรม

10 K. R. Sundararajan and Freinds. Hinduism. (Patiala : Punjabi University, 1969) หนา 45.

Page 29: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 20 ขอสังเกต ปุรุษารถะ 3 ประเภทตน เปนเปาหมายที่มนุษยทุกคนประสงค เปนความสุขทางกายหรือภายนอก และความสุขที่ไดจากทั้ง 3 สิ่งนี้เปนของที่ไมจีรังยั่งยืน จึงตองมีเปาหมายที่สูงสงกวายั่งยืนกวาเอาไว ไดแก โมกษะ เปนความสุขทางใจ แตการจะมีความสุขทางใจ ตองการความรูที่แทเพราะความรูจริงนี้เทานั้น จะสงใหถึงความสุขที่เปนอมตะ พระฤาษีในสมัยพระเวทมองเห็นชีวิตแบบโลก ๆ วาเต็มไปดวยความทุกข แมจะมีความสุขบางก็เปนความสุขเล็กนอย ไมจีรังยั่งยืน ปรากฏการณของชีวิตที่เต็มไปดวยทุกขดังกลาว กระตุนใหฤาษีแสวงหาหนทางที่จะบรรเทาความทุกข และหลีกหนีออกจากความทุกขแบบโลก ๆ จึงตองการความสุขที่เปนอมตะกวา ดวยการแสวงหาความรูอันสูงสงเพ่ือเอาชนะความตาย ความรูนี้เรียกวา “ อภยะ ชโยติ (Abhaya Jyoti)”

แตวิธีการแสวงหาความรูดังกลาวจะสําเร็จไดดวยการสวดออนวอน การบําเพ็ญตบะ เชน อดอาหาร การบูชาไฟ การเขาใจ การชําระจิตใจใหบริสุทธิ์สะอาด ตองขจัดความโลภ มิจฉาทิฐิ ความหยิ่งจองหอง เปนตน เพ่ือใหเทพเจาประทานชีวิตที่เปนอมตะให และตองขึ้นอยูกับความกรุณาและการประทานจากเทพเจาเทานั้น ดวยการรวมวิญญาณของมนุษยกับวิญญาณของเทพเจาเขาดวยกันเทานั้น จึงจําพาไปถึงความรูและความสุข การหยั่งรู อภยะ ชโยติ เปนทางใหหลบหนีจากความทุกขและบาป บรรลุจุดหมายสูงสุดได ดังนั้น โมกษะ คือความพนจากทุกขจึงเปนเปาหมายอยางสูงสุดของมนุษยในปรัชญาพระเวท ศาสนาแบบยุคพระเวท ศาสนาแบบพระเวท เปนความเชื่อที่สามารถแบงออกได 3 ลักษณะ คือ

1) แบบพหุเทวนิยม (Polytheism) ในพระเวทนับถือเทพเจามากมาย มีเทพตามธรรมชาติ ทองฟา พ้ืนดิน ภูเขา เปนตน

2) แบบอติเทวนิยม (Henotheism) หมายถึง ในแตสวนจะมีเทพผูยิ่งใหญทําหนาที่เฉพาะ ๆ หรือใครนับถือเทพทานใด ทานเกงในทางใด ก็บูชาออนวอนเทพทานนั้นเปนการเฉพาะ

3) แบบเอกเทวนิยม (Monotheism) หมายถึง ในเทพเจาทั้งหลาย จะมีมหาเทพที่เปนอภิภูเพียงทานเดียวที่เปนเจาจักรวาล แตที่มีเทพอื่น ๆ ดวยเปนเพียงองคประกอบของวิญญาณจักรวาลสารัตถะที่แทของเทพเจามีเพียงหนึ่ง “สรรพสิ่งคือปุรุษะ”

Page 30: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 4 โลกและทวีป

ความคิดเรื่องจุดกําเนิดโลก การเกิดของโลกและจักรวาล ในพระเวทกลาววา สิ่งที่มีอยูกอนจักรวาล เรียกวา สัต (ความจริง) บาง อันตริกษะ บาง วโยม ( โพยม) หรืออวกาศบาง เบ้ืองแรก โลกมีแตความมืดมิด มีน้ํา แตไมมีแสงสวาง มีสิ่งหนึ่งที่ในตัวของมันเองนั้นมีความรูสึก เกิดจากความมืด เปนสิ่งที่มีพลังมหาศาล เปนที่ไหลพุงออกของกระบวนการ 3 อยาง คือ ความรู ความตองการ และ การกระทํา

“ตมัส” นี้แหละ คือ ปุรุษะ เปนอภิภูผูยิ่งใหญที่สุด ความรูของอภิภู ไดทําลายโซตรวนแหงความทุกขในโลกเพื่อความดี ในที่บางแหงกลาววา โลกเกิดจากไฟ (อัคนีเทพ) จากนั้นจึงมี ดิน สวรรค กลางวัน กลางคืน มหาเทพในพระเวทตอนตน เรียกวา อินทระ (Indra) สรางโลกและสวรรค ปกครองสามโลก และสรรพสิ่ง บางแหงกลาววา วิศวกรรมัน และ วรุณเทพ เปนผูสรางจักรวาล เปรียบเทียบกับความคิดทางวิทยาศาสตร

ความรูทางจุดกําเนิดแกแลคซี่ของวิทยาศาสตรปจจุบัน กลาววา หลุมดํา (Black Hole) ที่มีแตความมืด เม่ืออัดตัวมากมีมวลสารควบแนนถึงจุดหนึ่งจะระเบิดออกมาเปนลูกไฟมากมายกลายเปนสุริยจักรวาลจํานวนแสน ๆ และในสุริยจักรวาลหนึ่ง มีดวงไฟใหญ (ดวงอาทิตย) เปนศูนยกลางพลังงานจากดวงอาทิตยกอใหเกิดสรรพสิ่งรวมทั้งชีวิต เม่ืออาทิตยแกหมดพลัง จะขยายตัวเปนดาวแดงและหดตัวลงจนเปนหลุมดําอีกครั้งหนึ่ง วนเวียนเปนวัฏจักรไมมีที่สิ้นสุด ผูเขียนมองเห็น ความสอดคลองทฤษฎีกําเนิดจักรวาลของมนุษยอินเดียโบราณ กับศาสตรสมัยใหมจึงนํามากลาวไว ที่วาโลกเกิดจากพระอัคนี ก็คงเปนการระเบิดของแกแลคซี่ และที่วา เดิมโลกมีแตความมืด ก็หมายถึงหลุมดําดังที่กลาวแลว หลุมดํานี้แหละมีพลังมหาศาล เหนือกวาดวงอาทิตยที่สองสวางเสียอีก ก็เห็นสมกับ “ตมัส” (ความมืด) ที่ทรงพลังเปนแหลงเกิดจักรวาลของแนวคิดในพระเวทเพียงแตพระเวทยกขึ้นเปนเทพเจา แตศาสตรสมัยใหม เปนเรื่องของกฎทางฟสิกสและพลังงาน ซึ่งไมมีตัวตนที่เปนคนหรือเทพมารองรับเทานั้น ทวีปตามทฤษฎีจักรวาลวิทยาอินเดียโบราณ ตามทฤษฎีจักรวาลวิทยาของชาวอินเดียโบราณ เชื่อวา

โลกที่มนุษยอาศัยอยูนี้ เปนแผนดินลอยอยูเหนือน้ํา มีภูเขาพระสุเมรุเปนศูนยกลาง มีภูเขาสัตต บริภัณฑ 7 1 ลูก แวดลอม ระหวางภูเขาทั้ง 8 มหาสมุทรสีทันดรลอมรอบ ใตพื้นดินและใตเขาพระสุเมรุ มีปลาอานนทรองรับ ใตพื้นน้ํา ลมรองรับ ใตลมมีอากาศรองรับ 2

ในทิศทั้ง 4 มีทวีปลอมรอบ 4 ดาน มีชื่อเรียก ดังนี้ 3

1 สัตตบริภัณฑ มี 1. ยุคันธร 2. อิสินธร 3. กรวิก 4. สุทัศนะ 5. เนมินธร 6. วินันตกะ และ 7. อัสสกัณณะ 2 อุดม รุงเรืองศรี. เทวดาพุทธ. (เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 2523), หนา 11 ; พญาลิไทย , ไตรภูมิ

กกถาหรือไตรภูมิพระรวง , ฉบับตรวจสอบชําระใหม ของ กรมศิลปากร. (กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร , 2526) หนา 42 – 45.

Page 31: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 23

1. ทิศตะวันออก บุพพวิเทหะทวีป ขนาดเนื้อที่ 7,000 โยชน (บางแหงวา 2,000 โยชน) โดยรอบ 21,000 โยชน แผนดินมี

ลักษณะสูง ๆ ตํ่า ๆ มีภูเขา มีหวยน้ําลําธาร มีบานและเมืองตาง ๆ มนุษยมีใบหนากลมดั่งเดือนเพ็ญ รูปรางสูงโปรง

อายุขัย 100 ป รายละเอียดเกี่ยวกับทวีปนี้มีไมมาก ตนสีเสียด เปนตนไมประจําทวีป

2. ทิศใต ชมพูทวีป -ขนาดเนื้อที่ 10,000 โยชน โดยรอบ 300,000 โยชน พื้นดินไมสม่ําเสมอสูง ๆ

ตํ่า ๆ ตามสภาพทางภูมิศาสตร -มนุษยมีใบหนารูปไข เปนคนสํารวม ขยัน อดทน ขนาดรางกายสันทัดพองาม -อายุขัยไมแนนอน ขึ้นอยูกับการประพฤติตามศีลธรรม ตํ่าสุด 10 ป สูงสุดอสงไขยป -ตนหวา (ชมพูทวีป) เปนไมประจําทวีป สูงและกวาง ประมาณ 100 โยชน รอบลําตน 15 โยชน ลําตนและกิ่งยาว ประมาณ 50 โยชน -พระโพธิสัตว พระพุทธเจา พระเจาจักรพรรดิ เลือกมาเกิดที่ชมพูทวีปนี้

3. ทิศตะวันตก อมรโคยานทวีป หรือ อปรโคยานทวีป -ขนาดเนื้อที่ 7,000 โยชน โดยรอบ 22,000 โยชน -มนุษยมีใบหนารูปเดือนครึ่งเสี้ยว อยูตามธรรมชาติ ไมมีการสรางบานเรือน

-อายุขัย 400 ป -ไมมีหลักฐานบอกมากนัก ทราบแตวาเปนที่อยูของมนุษย 4. ทิศเหนือ อุตตรกุรุทวีป 4

-มีเนื้อที่ 8,000 โยชน โดยรอบ 32,000 โยชน แผนดินราบเรียบเสมอดังหนากลอง -มนุษยมีใบหนารูปสี่เหลี่ยม รูปรางงดงามสมสวน ไมอวนไมผอม พอดี ผิวพรรณไมขาวไม

ดํา ขาวอมเหลือง รูปรางปรากฎเหมือนอยูในวัยเปนหนุมสาวเสมอ ไมแกเฒา -อายุขัย 1,000 ป

-มีขาวสาลีเกิดเอง ไมตองลําบากทํามาหากิน ยกหมอขาวตั้งไฟก็หุงสุกเองดับเอง มีตนกัลปพฤกษ สูง 100 แผกวาง 300 โยชน สอยเอาไดทุกอยางจากตนไม

-ความตางแหงอายุ ของมนุษยในชมพูทวีปและตางทวีป เปนเพราะการประพฤติอยูในเบญจศีล ชมพูทวีป ชาวอินเดียถือวา ไดแกประเทศอินเดีย

ในปจจุบัน อินเดีย มีสภาพภูมิประเทศ และภูมิอากาศ รวมถึงประชากร ภาษาที่ใช เปนตนพอสรุปไดดังนี้

ดินแดน มีเนื้อที่ 3,287,263 ตารางกิโลเมตร อันดับ 7 ของโลก สหภาพโซเวียต คานาดา จีน ออสเตรเลีย บราซิล อินเดีย

3พญาลิไทย. ไตรภูมิกถา. ฉบับวรรณกรรมเอเชีย เลม 1 พากยไทย อังกฤษ พิมพ 1985, หนา 36 -156, 392. 4พญาลิไทย. ไตรภูมิกถา. หนา 45 - 47.

Page 32: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 24

(สหภาพรัสเซียไดลมสลายแลว) ภูมิประเทศ เหนือสุด มีภูเขาหิมาลัย

ภาคกลาง มีทะเลทราย ทิศตะวันออก เปนปาไมและลุมแมน้ํา ตะวันตกและทิศใต มหาสมุทรอินเดีย

อากาศ รอนที่สุด 50 องศาเซลเซียส หนาวที่สุด 20 องศาเซลเซียส ประชากร 967,612,804 คน ป 2541 อัตราสวน ตอ ประชากรโลก 5,500 ลานคน

ชาวจีน 1 : 4 ชาวอินเดีย 1 : 6 ชาวไทย 1 : 80

เกิด 33.8 เปอรเซ็นต ตอประชาชน 1,000 คน ตาย 12.5 เปอรเซ็นต ตอประชาชน 1,000 คน ในทารก 1,000 คน เสียชีวิต 114 คน ตอป ชาย 1.000 คน ตอ หญิง 934 คน เกิน 66 คน (หญิงนอยกวาชาย เกือบ 6 ลานคน)

ภาษา

ภาษาทองถิ่น 33 ภาษา ที่ใชพูดมากกวา 1 ลานคน (ภาษายอยอีกกวา 1,000 ภาษา ) เชนภาษาฮินดู ปญจานี กัชชมีรี อุรดู ปาหรี วิหารี มุลตานี มิถิลี เบงกาลี กุจราตี โอริยา ทมิล มาลายัน กานาดา มารถี มนีปุรี เปอรเซีย สันสกฤต ปรากฤต บาลี เตลูกู เนปาลี ทิเบเตียน อังกฤษ เปนตน

ภาษาราชการ 16 ภาษา เชน ฮินดี ปญจาบี กัชชมีรี อุรดู ปาหรี วิหารี มิถิลี เบงกาลี กุจราตี โอริยา ทมิล มาลายัม กานาดา มารถี เตเลกู อังกฤษ ศาสนาหลักที่คนนับถือมี 6 ศาสนา คือ

ฮินดู 760 ลานคน ( ถือกําหนดที่อินเดียเม่ือ 5,000 ป) อิสลาม 120 ลานคน ซิกซ 25 ลานคน (ถือกําเนิดที่อินเดีย เม่ือ พ.ศ. 2048) คริสต 20 ลานคน พุทธ 6 ลานคน (ถือกําเนิดที่อินเดียเม่ือ 45 ปกอน พ.ศ.) เชน 5 ลานคน (ถือกําเนิดที่อินเดียเม่ือ 57 ปกอน พ.ศ ) อื่น 31 ลานคน ปรัชญาประเทศ “สตฺยเมว ชยเต แปลวา ความจริงเทานั้นที่ชนะ”

Page 33: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 25

มาจากคําสอนพุทธศาสนา ที่ถือหลักวา “สจฺจํ เว อมตา วาจา : คําพูดจริงเปนสิ่งไมตาย” 5

การคมนาคม รถไฟ 13,000 ขบวนตอวัน มี 8,000 สถานี ระยะทาง 70.000 กิโลเมตร ขนสงผูโดยสารไดวันละ 12 ลานคน การส่ือสาร หนังสือพิมพรายวัน 1.608 รายฉบับ หนังสือรายสัปดาห 6,469 รายฉบับ โทรทัศน วิทยุ ดาวเทียม

แดนมหัศจรรย ความมหัศจรรยจากปรากฎการณธรรมชาติ ความมหัศจรรยโดยสิ่งที่มนุษยประดิษฐ ความมหัศจรรยจากอํานาจพลังจิตพิเศษ

5 ขุ.ธ. 25/412/357.

Page 34: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 5 การเกิดขึ้นของพระพุทธศาสนา

ในบทที่ผานมา เราไดพูดถึงภูมิหลังกอนที่พระพุทธศาสนาจะเกิดขึ้นในดินแดนที่เรียกวาชมพูทวีป ทั้งในดานประชากรและความคิดความเชื่อที่มีอิทธิพลตอการเดินชีวิตของชนดังกลาวที่คลั่งไคลอยูกับเรื่องของเทพเจา เทพนิยาย ผีสาง เทวดา ถูกกําลังแรงแหงลัทธิศาสนา บั่นทอนใหแตกแยกออกจากกัน ความเปนอยูของชนหมูนั้น เปนชั้นวรรณะ เหล่ือมล้ําต่ําสูงกวากัน1 ซึ่งพอทําใหเห็นวาความเปนไปในดินแดนที่จะเปนแดนเกิดขึ้นของพระพุทธศาสนา ในบทนี้จะไดพูดถึงการกําเนิดขึ้นของพระพุทธศาสนา กอนลงมาประสูติ หลังจากที่พระโพธิสัตว2 ไดบําเพ็ญทานบารมีเม่ือครั้งเสวยพระชาติเปนพระเวสสันดรแลว จุติไปเกิดในสวรรรคชั้นดุสิต มีพระนามวา สันดุสิตเทวบุตร3 บางแหงกลาววา มีพระนามวา “สาเกตุ” บาง และไดรับอัญเชิญใหมาเกิดในโลกมนุษยเพื่อปลดเปลื้องความทุกขใหแกสรรพสัตว กอนลงมาเกิดไดขอเลือกของ 5 อยาง (ปญจมหาวิโลกนะ) คือ 1. กาล เวลาที่จะเกิด เหมาะสม คนรูทุกขไดงาย คนอายุเฉลี่ย พอดี ๆ มากไปก็ไมดี นอยไปก็ไมดี เชน อายุ 10 ปก็จะเปนหนุมสาวเมื่ออายุเพียง 3-4 ป เปนตน ในยุคพุทธกาล คนมีอายุขัย 100 ป 2. ทวีป ถิ่นที่อยูของคนในแตละทวีป บางทวีป ขยันมาก บางทวีปเกียจครานมาก 3. ประเทศ ทองถิ่นเหมาะสม ประเทศที่อุดมสมบูรณเปนอิสระ มั่นคงทางเศรษฐกิจ ไมเปนเมืองขึ้นเขา ถิ่นที่มีนักคิด มีคนฉลาด เรียกวา มัธยมประเทศ 4 จะไมเลือกปจจันตประเทศ

4. สกุล ในยุคใดสมัยใด คนใหเกียรติ ยกยองสกุลวาเปนใหญ มีอํานาจ ก็เลือกเกิดในสังกัดนั้น (วรรณะพราหมณ วรรณะกษัตริย ตางชิงความเปนใหญ) ทานเลือกวรรณะกษัตริย

1 เสฐียร พันธรังษี. ศาสนาเปรียบเทียบ. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2534. น. 23 2 สัตวผูที่จะตรัสรูเปนพระพุทธเจาในโอกาสตอไป แตอยูในขณะบําเพ็ญบารมีอยู เรียกวา พระโพธิสัตว 3 ปฐมสมโพธิ (ภาษบาลี) . ฉบับคัดลอกจากคัมภีรใบลานอักษรขอม. สหธรรมิก. 2537. น. 29. 4 ในจัมมักขันธกะไดกําหนดขอบเขตของมัชฌิมชนบทในสมัยน้ันไวดังน้ี (วิ. 5/23/35) “ในทิศบูรพา มีนิคมชื่อกชังคละ ตอจากนั้น มีนครชื่อมหาสาล ตอจากมหาสาลนครนั้นไปเปนปจจันตชนบท รวมใน

เปนมัชฌิมชนบท ในทิศอาคเนย มีแมนํ้าชื่อสัลลวดี ตอจากแมนํ้าสัลลวดีน้ันไป เปนปจจันตชนบท รวมในเปนมัชฌิมชนบท ในทิศทักษิณ มีนิคมชื่อเสตกัณณิกะ ตอจากเสตกัณณิกนิคมน้ันไป เปนปจจันตชนบท รวมในเปนมัชฌิมชนบท ในทิศปจฉิม มีบานพราหมณชื่อ ถูนะ ตอจากบานพราหมณน้ันไป เปนปจจันตชนบท รวมในเปนมัชฌิมชนบท

ในทิศอุดร มีภูเขาชื่อ อุสีรธชะ ตอจากภูเขาน้ันไป เปนปจจันตชนบท รวมในเปนมัชฌิมชนบท” และในอรรถกถาเอกนิบาต อังคุตตรนิกาย ทานไดแสดงลักษณะสัณฐานและอาณาเขตของมัชฌิมประเทศไวดังน้ี (มโน.ปู. 1/532.) “ก็ชนบทนี้ มีสัณฐานดังตะโพน (วัด) โดยตรง บางแหงได 80 โยชน (800 ไมล) บางแหงได 100 โยชน (1,000 ไมล) บางแหงได 200 โยชน (2,000 ไมล) แตศูนยกลาง 300 โยชน (3,000 ไมล) (วัด) โดยรอบได 900 โยชน (9,000 ไมล)”

Page 35: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 27

5. มารดา แมที่จะอุมทองมีความสําคัญ เปนแมพิมพ ถาแมสุขภาพกายดี ลูกเกิดมาก็สมบูรณ ถาแมสุขภาพจิตดีในชวงต้ังครรภ ลูกเกิดมาราเริง ฉลาด และหลังเกิด แมจะเปนผูหลอหลอมกลอมเกลากิริยามารยาทลูกได คนจะเลือกที่เกิดไดไหม มนุษยมักจะปรารภกับตัวเองเสมอวา ตนเลือกเกิดไมได จึงเกิดมาในฐานะยากจนบาง ตํ่าตอยบาง ตางก็ยอมรับในชะตาชีวิตของตน ที่จริงแลวถาจะถามคนเราสามารถที่เลือกเกิดไดไหม โดยนัยนี้ ตอบไดวา มนุษยเราสามารถที่เลือกเกิดได ถามีความตั้งใจทําดีมาตลอดและมีความดี ไดบําเพ็ญบารมีมามากพอ ก็สามารถที่จะเลือกสถานที่เกิดได การที่ไดบําเพ็ญบารมีนั้น ก็เปรียบเสมือนกับการสรางเหตุอยางหนึ่ง ที่จะเปนเงื่อนไขปจจัยสนับสนุนใหความปรารถนาเปนความจริง เหมือนคนที่มีเงินมากพอ ก็สามารถที่จะเลือกซื้อหรือไมซื้อสิ่งตาง ๆ ที่ตองการได บารมี 10 ประการ คือ เงื่อนไขที่จะใหความตั้งใจในการจํานงที่จะไปเกิดเปนจริง ซึ่งตองทําหรือบําเพ็ญใหครบทั้ง 3 ระดับ คือ ขั้นตน เรียกวา บารมี ขั้นที่สองเรียกวา อุปบารมี ขั้นที่สาม เรียกวา ปรมัตถบารมี รวมเรียกวาบารมี 30 ทัศ ถาหากวาสามารถบําเพ็ญเพียรครบทั้ง 30 ทัศโดยไมบกพรอง ก็จะเปนปจจัยสนับสนุนสงผลใหความปรารถนาเปนความจริงได 1. ทานบารมี ใหปนเสียสละ5

2. ศีลบารมี รักษาความบริสุทธิ์ 3. เนกขัมมะบารมี สละชีวิตแบบโลก เพื่อหาความสงบสุขสันติแกสวนรวม 4. ปญญาบารมี สรางสติปญญาใหเกิดการรูแจง 5. วิริยะบารมี สั่งสมความพากเพียรพยายามสรางความดีไมทอถอย 6. ขันติบารมี อดทน ไมโกรธ ไมถอดใจ 7. สัจจะบารมี จริงใจตอการกระทํา พูด คิด 8. อธิษฐานบารมี มีปณิธานอยางแนวแน มีโครงการเปนระยะ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว 9. เมตตาบารมี มีความปรารถนาดีตอเพื่อนมนุษย ไมมุงรายหมายชีวิต 10. อุเบกขาบารมี คงความยุติธรรมเปนกลาง ปราศจากอคติ พระโพธิสัตว นามวา สาเกตุหรือสันดุสิตเทพบุตร ไดบําเพ็ญบารมี 30 ทัศ ครบถวน ดังนั้นจึงสามารถเลือกเกิดได ทั้งเวลา ทวีป ประเทศ ตระกูล และมารดา ตระกูลบิดามารดา พระองคประสูติในตระกูลกษัตริย โคตมโคตร ในเหลามนุษยชาวอริยกชน พนมิลักขชาติ ณ มัธยมชนบท6 พระบิดาชื่อ “สุทโธทนะ” แหง ศากยวงศ ครองเมืองกบิลพัสดุ พระมารดาเชื่อ “มหา

5 การบําเพ็ญทานบารมี 3 ระดับข้ันน้ัน ทานแสดงไวเปนอุทาหรณในปฐมสมโพธิ ดังน้ี คือ (น.26)

1. การเสียสละบริจาคลูก เมีย ทรัพยและขาวปลาอาหารเปนตนเชนน้ี จัดเปนทานบารมี

2. การเสียสละบริจาคอวัยวะ เชน นัยนตา เปนตน จัดเปนทานอุปบารมี

3. การเสียสละบริจาคชีวิตของตนเอง จัดเปนทานปรมัตถบารมี

Page 36: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 28 มายาเทวี” แหงโกลิยวงศ จากเมืองเทวทหะ หรือ รามนคร เม่ือพระมารดาทิวงคต ไดนาสาวชื่อ “มหาปชาบดีโคตมี” เปนพระมารดาเลี้ยง เล้ียงดูตอ มีนองตางมารดา 2 คน คือ นองชายชื่อ “นันทะ” สวนนองสาวชื่อ “รูปนันทา” ลําดับเหตุการณในชีวิตของพระพุทธเจาโดยยอ 1. ประสูติ วันศุกร ขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 ( เพ็ญเดือนวิสาขะ ) ปจอ เวลาเชา กอนพุทธศักราช 80 ป ที่สวนลุมพินี ระหวางเมืองกบิลพัสดุกับเมืองเทวทหะ ปจจุบันอยูในเขตประเทศเนปาล หลังจากประสูติเดินไปทิศเหนือ 7 กาว ยืนกลาวอาสภิวาจา วา “อคฺโคหมสฺมิ โลกสฺส เชฏโฐหมสฺมิ โลกสฺส เสฏโฐหมสฺมิ โลกสฺส อยมนฺติมา ชาติ นตฺถิทานิ ปุนพฺภโว” 7

แปลวา “เราเปนผูเลิศแหงโลก เราเปนผูเจริญที่สุดแหงโลก เราเปนผูประเสริฐสุดแหงโลก ชาตินี้เปนชาติสุดทาย บัดนี้ ภพใหม ( การเกิด ) ยอมไมมี” และอสิตดาบส เขาเฝาเยี่ยมทารกนอย ไดรับคําทํานายครั้งแรก 2. ประสูติได 5 วัน ไดรับการขนานนาม วา “สิทธัตถะ” แปลวา “สมปรารถนา” หมายความวา “ผูสรางความสมปรารถนาแกชาวโลก” พราหมณ 108 มาทํานายลักษณะตามมหาปุริสลักษณะ 32 ประการ8 คําทํานาย 2 แบบ

6 สมเด็จพระสังฆราช (ปุสฺสเทว). ปฐมสมโพธิ ธรรมสมบัติ หมวดที่ 1. มหามกุฏราชวิทยาลัย, 21/2531. หนา 12. 7 ม. อุปริ. 14/251/372-7 : พุทธทาส ภิกขุ. พุทธประวัติจากพระโอษฐ, (กรุงเทพ ฯ : ธรรมทานมูลนิธิ 2523)

หนา 29. 8 ที.มหา. 10/29/19. มหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ คือ (1) พระราชกุมารนี้มีพระบาท เรียบเสมอ การที่พระราชกุมารนี้มีพระบาทเชนน้ี เปนมหาปุริสลักษณะของมหาบุรุษ

น้ัน (2) พื้นภายใตฝาพระบาททั้ง ๒ มีจักรเกิดข้ึน มีซ่ีกําขางละพัน มีกง มีดุม บริบูรณทั้งหมด (3) สนพระบาทยาว (4) พระองคุลียาว

(5) ฝาพระหัตถและฝาพระบาทออนนุม (6) ฝาพระหัตถและฝาพระบาทมีลายดุจตาขาย (7) พระบาทเหมือนสังขคว่ํา (8) พระชงฆรีเรียวดุจแขงเน้ือทราย (9) เสด็จสถิตยืนอยูมิไดนอมลง เอาฝาพระหัตถทั้งสองลูบคลําไดถึงพระชานุทั้งสอง (10) พระคุยหะเรนอยูในฝก (11) พระฉวีวรรณดุจวรรณแหงทองคํา คือ ผิวหนังประดุจหุมดวยทอง (12) พระฉวีละเอียด เพราะพระฉวีละเอียด ธุลีละอองจึงมิติดอยูในพระกายได (13) พระโลมชาติเสนหน่ึงๆ เกิดในขุมละเสนๆ (14) พระโลมชาติที่มีปลายชอยข้ึนขางบน มีสีเขียว มีสีเหมือนดอกอัญชัน ขดเปนกุณฑลทักษิณาวัฏ (15) พระกายตรงเหมือนกายพรหม (16) พระมังสะเต็มในที่ ๗ สถาน คือ หลังพระหัตถ 2 หลังพระบาท 2 จะงอยพระอังสะ 2 พระศอฟูบริบุรณ (17) กึ่งพระกายทอนบนเหมือนกึ่งกายทอนหนาของสีหะ (18) ระหวางพระปฤษฎางคเต็มมเปนรอง (19) มีปริมณฑลดุจไมนิโครธ วาของพระองคเทากับพระกายของพระองค พระกายของพระองคเทากับวาของ

พระองค

Page 37: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 29 3. ประสูติได 7 วัน มารดาทิวงคต ได นองสาวมารดา ชื่อ มหาปชาบดีโคตมีเปนแมเล้ียงตอ อายุพอสมควร เขารับการศึกษา ศิลปศาสตร 18 ประการ 4. อายุ 16 ป มีพิธีอาวาหมงคล กับ เจาหญิงยโสธรา จนอายุ 29 ปมีโอรส 1 คน ชื่อ “ราหุล” ตามคําอุทานวา “ ราหุโล ชาโต พนฺธนํ ชาตํ” 9 บวงเกิดแลว เครื่องพันนาการเกิดแลว 5. อายุ 29 ป ออกผนวชเพื่อแสวงหาโมกขธรรม ที่แมน้ําอโนมา และบําเพ็ญทุกกรกิริยาเปนเวลา 6 ป 6. อายุ 35 ป ตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา ที่โคนตนอัสสัตถะ หรือตนโพธ์ิ ริมฝงแมน้ําเนรัญชรา ตําบลอุรุเวลาเสนานิคม เมืองพุทธคยา แควนมคธ ในวันพุธ ขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 ประกา กอนพุทธศักราช 45 ป 7. อายุ 35 ป แสดงพระธรรมจักร โปรดเบญจวัคคีย ที่ปาอิสิปตนะมฤคทายวัน เมืองพาราณสี วันขึ้น 15 ค่ํา เดือนอาสาฬหะ ( เดือน 8 ) 8. อายุ 80 ป ปรินิพพาน ที่สาลวโนทยาน เมืองกุสินารา วันอังคาร ขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 ปมะเส็ง ในแควนมัลละ ในอริยาบถนอน ผินพักตรไปทางทิศตะวันตก ตรัสปจฉิมวาจา วา “หนฺททานิ ภิกฺขเว อามนฺตยามิ โว วยธมฺมา สงฺขารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ”10

แปลวา “ภิกษุทั้งหลาย เราขอเตือนพวกเธอวา สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปเปนธรรมดา พวกเธอจงยังประโยชนใหถึงพรอม ดวยความไมประมาทเถิด” ปญหาสาเหตุของการเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ มีคําถามวา พระสิทธัตถะออกผนวชดวยสาเหตุอะไร ? เปนที่ทราบกันดีตามพุทธประวัติวา พระสิทธัตถะออกผนวช เพราะพบเทวทูตทั้ง 4 เนื่องจาก พระองคเปนพระกุมารไมเคยพบ หรือถึงจะพบแตไมเคยคิดอยางลึกซึ้ง จนเกิดการเปลี่ยนใจ หันออกจากชีวิตแบบฆราวาสวิสัย ถือเพศเปนนักบวช ใชชีวิตแบบสมถะ สงบ แตเสียสละตัวเองทํางานเพื่อสังคม หากเหตุการณเปนอยางที่กลาวมาคงหมดปญหาเรื่องสาเหตุออกผนวช

(20) ลําพระศอกลมเทากัน (21) ปลายเสนประสาทสําหรับนํารสอาหารอันดี (700 เสน) (22) พระหนุดุจคางราชสีห (23) พระทนต ๔๐ ซ่ี (24) พระทนตเรียบเสมอกัน (25) พระทนตไมหาง (26) พระทาฐะขาวงาม (27) พระชิวหาใหญ (28) พระสุรเสียงดุจเสียงแหงพรหม ตรัสมีสําเนียงดังนกการวิก (29) พระเนตรดําสนิท (ดําคม) (30) ดวงพระเนตรดุจตาแหงโค (31) พระอุณาโลมบังเกิดระหวางแหงขนง มีสีขาวออนควรเปรียบดวยนุน ฯ (32) พระเศียรดุจประดับดวยกรอบพระพักตร 9 มธุรตฺถวิลาสินี. หนา 404. 10 มหาปรินิพฺพานสูตร. ที. ม. 10/143/180. พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมฺมจิตโต). พุทธประวัติ. พิมพใน

ชื่อ วันวิสาขบูชาและแนวทางในการปฏิบัติ. (กรุงเทพ ฯ : สนง. คณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ, 2536) หนา 34.

Page 38: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 30 มีคําสันนิษฐานเปนอยางอื่นวา พระสิทธัตถะมิไดออกบวชเพราะสมัครใจ แตเปนการถูกเนรเทศหรือจําใจตองผนวช นี่คือสาเหตุหนึ่ง ดังขอเขียนของเสฐียรพงศ วรรณปก ราชบัณฑิต ในคอลัมน รื่นรมรมเยศ เรื่อง บางเรื่องเกี่ยวกับพระพุทธองค (2 ) 11 ดังนี้ “กอนอื่นขอใหทานผูอานทําใจเย็น ๆ นึกวาผมนําขอมูลที่ตางจากเคยไดยินไดฟงมาเลาสูกันฟงนะครับ อยาคิดวาผมบังอาจเขียนขอความเหลานี้ขึ้นมาใหมหรือพูดใหแรงคือ “บิดเบือนความจริง” เด๋ียวจะพาลไมอานมติชนเอาเลย ที่เกริ่นไวอยางนี้ก็เพราะเรื่องเคยมี เม่ือครั้งศาสตราจารยเสฐียร พันธรังษี เขียนพุทธประวัติฉบับคนพบใหม นําขอความตอนนี้ (ตอนที่ผมกําลังจะพูดถึงนี้แหละ) ลงอางไวดิบดีวา เปนขอเขียนของทาน ดร.อัมเบดการ ทานหญิงพูน (หมอมเจาหญิงพูนพิศมัย ดิศกุล) ไมรับส่ังดวยหลายเดือนหาวา อาจารย เสฐียรเขียนบิดเบือนความจริง เรื่องดังกลาวคือสาเหตุการเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ (ออกผนวช) ของเจาชายสิทธัตถะ ในคัมภีรทั้งระดับพระไตรปฎกและอรรถกถา กลาวไวตรงกัน คือทอดพระเนตร เห็น “เทวทูต” ทั้ง 4 ทรงเห็นวาโลกเปนทุกข และการถือเพศบรรพชาเปนแนวทางเดียว ที่จะพนทุกขได ความตรงนี้ตรงกัน แมพลความหรือรายละเอียดปลีกยอยจะตางกันไปบาง แตก็ถือวา “สาระ” ตรงกันคือ ทรงเบ่ือหนายในเพศผูครองเรือน สวนที่ตางกันคือ การเสด็จออกผนวช เสด็จออกโดยวิธีใดแน คัมภีรอรรถกถา ซึ่งเปนที่มาของพุทธประวัติฉบับตาง ๆ บอกวา เสด็จออกกลางดึก หลังจากทรงทราบวาพระโอรสประสูติแลว ทรงเปลงอุทานวา “บวงเกิดขึ้นแลว พันธนาการเกิดขึ้นแลว (ราหุลํ ชาตํ พนฺธนํ ชาตํ)” อันที่มาแหงพระนามพระโอรสนอยวา “ราหุลกุมาร” นายฉันนะ มหาดเล็กคนสนิทเปนผูตามเสด็จทรงมาขาวนามวา “กัณฐกะ” ออกจากพระนครกลางดึก โดยไมมีใครรูเห็น ยังจําภาพจิตรกรรมฝาผนังเกี่ยวกับตอนนี้ไดดี บางรูปก็เขียนมาเหาะลิ่ว ๆ มีนายฉันนะเกาะหางมาดวย บางรูปก็ “ อนุญาต” ใหนายฉันนะนั่งเบื้องพระปฤษฎางค เอาเปนวา “หนีออกไปบวชตอนกลางคืน” วาอยางนั้นเถอะ ขอความตรงนี้ขัดแยงกับพระไตรปฎก ที่อยูในรูปพระพุทธพจน คือพระพุทธองคตรัสเลาใหโพธิราชกุมารฟงเอง พระองคตรัสวา “เม่ือบิดามารดารองไห น้ําตานองหนาอยู ไมปรารถนา (ใหเราบวช) เราไดปลงผมโกนหนวด นุงหมผายอมน้ําฝาด ออกบวชจากเรือนเปนผูไมมีเรือนแลว” 12 สรุปตามนี้ เจาชายสิทธัตถะมิไดเสด็จหนีออกบวชในตอนกลางคืนแตประการใด หากแตออกไปทั้ง ๆ ที่พระราชบิดาและพระราชมารดา (พระราชมารดาเลี้ยง) ไมปรารถนาจะใหทรงผนวช ทรงคร่ําครวญพระอัสสุชลนองพระพักตร เจาชายสิทธัตถะ ก็ทรงถือเพศบรรพชิตเสด็จออกจากพระนคร ขอความไมตรงกันดังนี้ ผูศึกษาพระพุทธศาสนาควรจะเชื่อขางไหน ก็เห็นจะตองเตือนใหรําลึกถึง “สูตร” ของนักการศึกษาพระพุทธศาสนา (ที่เคยพูดไวแลว) คัมภีรชั้นตน คือ พระไตรปฎกพึงมากอนอรรถกถา ถาพระไตรปฎกมิไดอธิบายความขอใดไว แตมีคําอธิบายในอรรถกถา ก็ใหถือ

11 หนังสือพิมพมติชน. ฉบับวันอาทิตยที่ 31 พฤษภาคม 2541 ปที่ 21 ฉบับที่ 4388 หนา 8. 12ม.ม. 13/738/669 .

Page 39: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 31 วาอรรถกถาชวยใหเราเขาใจพระไตรปฎกมากขึ้น แตถาอรรถกถาพูดขัดแยงกับพระไตรปฎกก็ใหวาง “น้ําหนัก” ลงที่พระไตรปฎก ในกรณีนี้ก็ใหถือวา พระพุทธเจาเด็จออกผนวชตอพระพักตรพระพุทธบิดาและพระพุทธมารดาสวนเรื่องราวนอกนี้ก็ใหเชื่อตามตําราทั้งสองระดับ เพราะขอมูลเสริมกันมิไดแตกตางในสาระสําคัญ มีนักปราชญดังทานหนึ่งเสนอแนวคิดวา ทําไมพระราชบิดา พระราชมารดา จึงไมอยูในฐานะที่หามหรือรั้งมิใหเจาชายสิทธัตถะออกผนวช ไดแตกรรแสงอยางนาสงสาร มันนาจะมีเหตุผลอื่น ก็ไมทราบวาหลังจากทานตั้งขอสงสัยแลว ทานไปไดขอมูลมาจากไหน เอามาเขียนเปนเรื่องเปนราววาเจาชายสิทธัตถะออกผนวชเพราะเหตุผลการเมือง สาเหตุที่ทานใหไวก็นาฟงยิ่ง และสอดรับกับขอความในพระไตรปฎกในเรื่องเกี่ยวกับระบอบการปกครองของเผาศากยะ ลืมบอกไปวา นักปราชญทานนี้คือ ดร.อัมเบดการ อดีตนักการเมืองคูแขงคานธี อดีตรัฐมนตรียุติธรรมของอินเดีย ทานผูนี้เปนคนวรรณะต่ํา แตฟาบันดาลใหกลายเปนวรรณะพราหมณ เรื่องราวละเอียดเปนอยางไร ไปหาประวัติทานดร.อัมเบดการ อานเอาครับ ไมมีเนื้อที่จะพูดถึงในที่นี้ ดูเหมือน อาจารยวิรัช ถิรพันธุเมธี ก็เขียนไวเลมหนึ่ง จําชื่อจริง ๆ ไมได ดร.อัมเบดการ อางไวในหนังสือ The Buddha and His Dhamma วาพวกศากยะปกครองกันโดยระบอบสามัคคีธรรรม เปนระบอบประชาธิปไตยระดับหนึ่ง ศากยะวงศและโกลิยวงศ ต้ังเมืองอยูคนละฟากฝงของแมน้ําโรหิณี ทั้งสองเมืองทะเลาะกันแยงน้ําไปทําการเกษตรเสมอ กอนเจาชายสิทธัตถะเสด็จออกผนวช มีเหตุการณรุนแรงถึงขั้นพวกศากยะเรียกประชุมสภา พิจารณาปญหาการแยงน้ํา เสียงสวนมากในสภามีมติใหรบกับโกลิยวงศ เสียงสวนนอยไมตองการรบ เจาชายสิทธัตถะเปนสมาชิกรัฐสภาพระองคหนึ่งอยูขางฝายเสียงขางนอยที่คัดคาน เม่ือมติสวนใหญออกมา เจาชายไมยอมรับยังคงคัดคานอยู เพราะไมอยากเห็นญาติพี่นองตองฆาฟนกัน ที่ประชุมถือวา ผิดกฎสภาอยางแรง มีความผิดถึงขั้นเนรเทศวาอยางนั้น เจาชายสิทธัตถะจึงตองถูกเนรเทศ และเพื่อการออกไปของเจาชายไมเปนพิษเปนภัยในกาลขางหนา จึงยื่นเงื่อนไขให

1. หามไปทางแควนโกศลดวยเกรงวาพระเจาปเสนทิโกศลจะรูความจริง แลวอาจ “ยื่นมือ” มายุงเกี่ยวกับเรื่องภายในของพวกตน และ

2. ใหออกไปในเพศบรรพชิตเพื่อความปลอดภัย เพราะเหตุนี้แล พระราชบิดาและพระราชมารดาจึงไมอยูในฐานะจะทัดทานมิใหเสด็จออกผนวช ขอความที่วาพวกศากยะปกครองระบอบรัฐสภา สอดคลองกับพระไตรปฎก นาเชื่อวาเปนจริงและเรื่องพระญาติวงศทั้งสองฝายแยงน้ํากัน ก็ปรากฏในคัมภีร จนกระทั่งมีการสรางพระพุทธรูปปาง “หามพระญาติ” ขึ้นเปนอนุสรณดังทราบกันดีแลว แตที่วาเจาชายถูกเนรเทศ เพราะขัดมติของสภานั้นไมทราบวาทานเอามาจากไหน หรือวาอนุมานเอาจากขอความแวดลอมขางตน อนุมานตางจากเดา เดานั้นฟนธงไปเลยโดยไมมีขอมูลอะไรใหพิจารณา แตอนุมานนั้นดีกวาหนอยตรงที่มีขอมูลหรือหลักฐานบางอยาง แลวก็หาคําตอบที่ยังไมมีใครตอบไว แตก็ “เดา” เหมือนกันแหละครับ ไมควรเชื่อและไมควรปฏิเสธ”

Page 40: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 32 เทวทูต หรือ นิมิต 4 เทวทูตที่ 1 คนแกชรา เทวทูตที่ 2 คนเจ็บปวย เทวทูตที่ 3 คนตาย เทวทูตที่ 4 นักบวช ( สมณะ ) คําวา “เทวทูต” ตามศัพทแปลวา ผูแทนของเทพเจา คัมภีรรุนหลังอธิบายวา ปรากฏการณทั้ง 4 อยางนั้น ไมใช คนแก คนเจ็บ คนตาย และสมณะจริง ๆ เปนเพียงภาพนิมิตที่เทพเจาจงใจสรางขึ้น เพื่อชวยกระตุนจิตสํานึกทางศาสนาของเจาชายสิทธัตถะเทานั้น แตบางแหงก็อธิบายวา เทพในที่นี้ หมายถึง “วิสุทธิเทพ” หรือเทพโดยความบริสุทธิ์ หมายถึง พระอรหันต เนื่องจากภาพทั้ง 4 สามารถนําเจาชายไปสูความเปนวิสุทธิเทพไดจริง13

เทวทูต อันที่จริงก็คือ สภาพชีวิตจริง เปนไปตามธรรมดาที่ทุกคนตองแก เจ็บ ตายในที่สุด ทานตองเคยพบเห็นและเคยคิดสะเทือนใจ แตเม่ือพบของจริงที่นาอเนจอนาถ คนอินเดียชั้นตํ่าและยากจน เม่ือแก เจ็บ และตาย จะถูกทอดทิ้งที่สาธารณะนาอนาถใจที่สุด จึงคิดหนัก อีกประการหนึ่งทานเลาเปนโวหารทํานองเปรียบเทียบวา อุทยานคือโลกทั้งโลก เทวทูต คือสัจธรรมของชีวิตที่เปนทุกข นั่นเอง การไดพบเทวทูต คือ ความทุกข 4 มิติของชีวิต ทําใหพระเนตรสวางพอที่จะหย่ังถึงความไมเที่ยงแทความไรแกนสารของชีวิต ครุนคิด ทําใหลดความเมาในความหนุม ความมีสุขภาพดี และความมัวเมาในชีวิตและเตือนตัวเองวา จะหนีความแก ความเจ็บ ความตายไปไมพน เม่ือเห็นสมณะ จึงคิดวาทางออกมีสายเดียว คือ บวชเพื่อแสวงหาโมกขธรรม ชีวิตนักบวชไมมีเครื่องปลิโพธกังวลเหมือนคฤหัสถ จึงไดตัดสินใจออกผนวช ดังพระดําริวา “ชีวิตการครองเรือนคับแคบเปนที่มาของสิ่งไมสะอาด การบวชเปนทางที่สะดวกปลอดโปรง เปนฆราวาส ปฏิบัติธรรมใหสมบูรณไดยาก ควรที่ปลงผม โกนหนวด นุงผากาสาวะพัสตร สละบานเรือนออกบวชเปนบรรพชิต” 14

เทวทูตทั้ง 4 นี้เอง เปนเครื่องกระตุนใหเจาชายสิทธัตถะเกิดความคิดทางศาสนา กลาวไดวา เทวทูตทั้ง 4 นั้น เปนทั้งเครื่องชี้ใหเห็นถึงปญหาของชีวิตและแนวทางออกของปญหาชีวิตไดดังไดปรากฏแกเจาชายสิทธัตถะในครั้งนั้น

13 แสง จันทรงาม. วิธีสอนของพระพุทธเจา. (กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2540 ). หนา 115. 14 ม.ม. 13/738/699.

Page 41: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 6 การเกิดขึ้นของพระพุทธศาสนา (ตอ)

การแสวงหาโมกขธรรม เจาชายสิทธัตถะเมื่อเสด็จออกผนวช ก็เดินทางมุงหนาสูแดนนักปราชญ เมืองครูสอนลัทธิศาสนา ในสมัยนั้นเจาลัทธิและเจาสํานักมีมากที่สุดที่แควนมคธ เมืองราชคฤห ทานเดินทางมาถึงราชคฤห ออกบิณฑบาต ชาวเมืองแปลกประหลาดใจ ตามประวัติไดพบพระเจาพิมพิสาร ที่เปนสหายไมเคยพบหนา พระเจาพิมพิสารกษัตริยแหงราชคฤห ชวนใหสึก จะมอบใหครองนครครึ่งหนึ่ง แตทานไมรับ พระเจาพิมพิสารจึงขอรองวา ถาบรรลุเปนพุทธะ ขอใหกลับมาแสดงธรรมโปรด (ภายหลังตรัสรูก็ไดมาโปรดพระเจาพิมพิสารจริง ๆ) ทรงเลือกสํานักปฏิบัติ ครั้งแรกไปฝากตัวศึกษาอยูกับอาฬารดาบส เห็นวาเรียนจบลัทธิอาจารย ก็อําลาไปหาอาจารยใหม ไปอยูกับอุททกดาบส เรียนและปฏิบัติตามคําสอนอาจารยจนรูและบรรลุภูมิธรรมเทาอาจารย จนอาจารยยกยองวา “เปนลาภของพวกเราแลว เราไดดีแลว มิเสียแรงที่ไดพบเพื่อนผูปฏิบัติพรหมจรรยเชนทาน เรารูแจงธรรมะใด ทานก็ไดรูแจงธรรมนั้น ทานไดรูแจงธรรมะใด เราก็ไดรูแจงธรรมะนั้น เราเปนเชนใด ทานก็เปนเชนนั้น ทานเปนเชนใด เราก็เปนเชนนั้น ขอใหเราทั้งสองคนชวยกันปกครองคณะ (สํานัก) นี้รวมกันแตบัดนี้เถิด” 1

แตพระสิทธัตถะ กลับเห็นวา แมอาจารยจะยกยองใหเกียรติและมีฐานะเสมอเทากับอาจารย และการออกผนวชก็มิใชเพื่อตองการมีอํานาจปกครองหมูคณะ แตมุงเพื่อหลุดพน ธรรมที่เรียนและปฏิบัติในสํานักอาจารยทั้ง 2 ไมเอื้อตอการรูแจง ไมเอื้อตอการหลุดพน ไมใชสัจธรรมแท สูงสุดเพียงแคขั้น “เนวสัญญานาสัญญายตนะ” เทานั้น ทานจึงขอลาอาจารยหลีกไปแสวงหาโมกธรรมดวยตัวเอง จากสํานักอาจารยทั้งสอง เดินทางมาถึง ตําบลอุรุเวลาเสนานิคม เห็นวาเปนที่สัปปายะเพื่อการทดลองปฏิบัติบําเพ็ญเพียร ในชวงนี้ ที่ทานไดเริ่มปฏิบัติตามความเชื่อของอินเดีย คือ การทรมานตน และนักบวช 5 ทาน ที่เรียกวา “ปญจวัคคีย” ก็มาปรนนิบัติพระสิทธัตถะ หัวหนาเบญจวัคคีย ชื่อโกณฑัญญะ เปนพราหมณหนุมที่เคยทํานายอนาคตพระสิทธัตถะครั้งเปนพระกุมารแรกเกิด ทานเชื่อมั่นคําทํานายตนมากเมื่อทราบวากุมารออกผนวช จึงชวนลูก ๆ ของโหราจารยไดอีก 4 คน มาบวช และติดตามมาอุปฏฐากดวยเชื่อวา ถาบรรลุคงไดแบงอมตธรรมใหพวกตน การบําเพ็ญทุกกรกิริยา 2

1 โพธิราชกุมารสูตร. ม.ม. 13/495/452. 2 ม.ม. 13/495-504/452-458.

Page 42: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา Fundamentals of Buddhism 35 ทุกกรกิริยา คือ การทรมานตน ซึ่งเปนที่นิยมปฏิบัติกันในสมัยนั้นโดยถือวาจะเปนหนทางในการที่จะทําใหหลุดพนจากความทุกข หรือบรรลุโมกษะ เจาชายสิทธัตถะ ลงมือปฏิบัติอยางเครงครัด 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 กัดพระทนต เอาลิ้นดันที่เพดานปากจนแนน จนเหงื่อไหลออกจากวรกาย ระยะที่ 2 ผอนกลั้นลมหายใจเขาออก (กลั้นหายใจ) เม่ือลมออกไมสะดวก จะเกิดเสียงลมดันที่ชองหู ทําใหปวดหัวอยางรุนแรง เสียดที่ทอง รอนทั่วกาย แตไมบรรลุ ระยะที่ 3 อดอาหาร โดยการทยอยลดปริมาณอาหารลงทีละนอย ๆ จนไมเสวยอาหารเลย พระวรกายเหี่ยวแหง ฉวีวรรณเศราหมอง เสนเอ็นปูดโปน มีแตรางกระดูกปรากฏทั่วตัว เอามือลูบรางกายปรากฏวาขนหลุดรวงติดมือมาดวยเพราะขาดอาหาร มองที่ดวงตาก็เปนหลุมลึกเหมือนบอน้ํา เดินไปทางใด ก็เซซวนลมลุกคลุกคลาน สลบไปก็มี ผอมถึงขนาดที่วา “เวลาเอามือลูบทอง มีความรูสึกเหมือนลูบกระดูกสันหลัง เอามือลูบหลัง รูสึกเหมือนลูบหนาทอง” บําเพ็ญทุกกรกิริยาถึงเพียงนี้ ก็ยังไมบรรลุโพธิญาณ จึงคิดวา ทานไดทดลองปฏิบัติทุกอยาง เครงครัดยิ่งกวาทุกคนแตไมสามารถบรรลุ ขืนบําเพ็ญตอไปอีก ความตายเทานั้นจะเปนรางวัล และคงเปนการตายเปลา จึงคิดวา ตองมีวิธีอื่น นึกไดถึงตอนที่บิดาทําการแรกนาขวัญ ทานนั่งสมาธิองคเดียว เพราะสนมมัวแตดูงานพระราชพิธี เม่ือสงบจิตทานก็ไดหยั่งลงสูฌาน นั่นนาจะเปนทางที่ถูกตองเพื่อการตรัสรู 3

จึงไดละทุกกรกิริยา หันมาบริโภคอาหาร บํารุงมีพละกําลังพอจะปฏิบัติทางสายอื่นได เบญจวัคคียเม่ือเห็นวาเจาชายเลิกทุกกรกิริยาแลวมาเสวยอาหารเชนนี้ ก็เห็นพองกันวา ลมเหลวแลวอมตธรรม ความพยายามและการเฝาปรนนิบัติดวยความหวังถึงอมตธรรมของพวกเราเปนหมันเสียแลว เม่ือหวังมาก และผิดหวังไมไดสมใจ ก็เสียใจมาก กลาววา “สิทธัตถะเปนคนเหยาะแหยะ คลายความพยายาม เอาดีไมไดแลว หมดทางบรรลุอมตธรรมแลว” จึงไดชวนกันหลีกหนี จากพระสิทธัตถะ ไปอยูปาอิสิปตนมฤคทายวัน พาราณสี ลําดับขั้นการตรัสรู 4

เม่ือเบญจวัคคียหลีกหนีไป ถือวาเปนชวงที่เหมาะ เพราะจะไดความสงัด ทําความเพียรปฏิบัติกรรมฐานแตผูเดียวไดเต็มที่ เปนสัปปายะ เม่ือเดินถูกทางที่เลือกทางสายกลาง ไมทรมานตนอีก ไมสนองตัณหาตนมากอีก จึงต้ังใจที่จะควบคุมจิตใจ กําหนดรูปนาม เพื่อใหเห็นสภาพธรรมดาของ กฎอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จิตของทานก็จะโนมไปเพื่อการรูแจงนั้นเอง ดวยปณิธานอันแนวแน พระสิทธัตถะ จึงทําอะไรทําจริง ทรมานตนก็ไมมีใครยิ่งกวา เม่ือหันมาปฏิบัติทางสายกลาง ในค่ําวันเพ็ญเดือน 6 เม่ือนั่งที่โคนตนโพธ์ิ จึงไดต้ังใจอธิษฐาน แบบคนใจเพชร วา “กามํ ตโจ นหารู จ อฏฐิ จ อวสิสฺสตุ สรีเร อุปสุสฺสตุ มํสโลหิตํ ยนฺตํ ปุริสถาเมน ปุริสวิริเยน ปุริสปรกฺกเมน ปตฺตพฺพํ” 5

3 ม.ม. 13/420/335. 4 โพธิราชกุมารสูตร. ม.ม. 13/505/459 ; พุทธทาส ภิกขุ, พุทธประวัติจากพระโอษฐ, หนา 115-117.

Page 43: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา Fundamentals of Buddhism 36 แปลวา “แมเนื้อและเลือดในสรีระจักเหือดแหงไป เหลือแตหนังเอ็นกระดูกก็ตามที เม่ือยังไมบรรลุประโยชนที่ควรบรรลุดวยเรี่ยวแรง ความพยายามและความบากบั่นของคน จักไมหยุดความเพียรเสีย” การบรรลุสัมโพธิญาณ ในวันที่ตรัสรู เม่ือปฏิบัติยึดทางสายกลาง ไมเครงไมหยอนเกินไปไดพิจารณาปฏิจจสมุปบาทธรรมไตรลักษณะ จึงไดบรรลุญาณ ตามลําดับชวงเวลา ดังนี้ 1. ปฐมยาม ไดบรรลุ บุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือการระลึกชาติตาง ๆ ได เปลงอุทานวา เม่ือไดเพงพิจารณาอยูอยางตอเนื่อง ก็หมดสงสัยเพราะมาทราบสาเหตุของสรรพสิ่ง 2. มัชฌิมยาม ไดบรรลุ จุตูปปาตญาณ คือการเห็นสรรพสัตวจุติและเกิดตามกฎแหงกรรมของตน ไดเปลงอุทานวา ทานหมดสงสัยเพราะทราบความสิ้นปจจัยตาง ๆ ของสรรพสิ่ง 3. ปจฉิมยาม ไดบรรลุอาสวักขยญาณ คือการทําลายกิเลสที่นอนอยูในสันดานไดเด็ดขาดเพราะรูชัดวา นี้ทุกข นี้เหตุเกิดทุกข นี้ความดับไมเหลือแหงทุกข นี้ทางความดับไมเหลือแหงทุกข เม่ือรูอยางนี้ จิตก็พนจากอาสวะ ตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา จึงเปลงอุทานวา ทานไดขจัดมารและเสนามารหมด เกิดแสงสวางขึ้นเหมือนดวงอาทิตยขจัดความมืดปราศไป ความรูในระดับการตรัสรู เปนความรูอยูในระดับใด ในทางพระพุทธศาสนาแบงความรูออกเปน 6 ระดับ 6 คือ

1. วิญญาณ ขั้นรูจัก 2. สัญญา ขั้นจําได หมายรู 3. อภิญญา รูเหนือประสาทสัมผัสธรรมดา 4. ทิฐิ ขั้นความคิดรวบยอด หรือคิดสรุป

5. วิชชุญาณ ขั้นหยั่งรูฉับพลันทันที 6. สัมโพธิญาณ ขั้นรูแจง ทําลายกิเลสไดหมด จากความรูทั้ง 6 ระดับที่กลาวมา ความรูขั้นพุทธ เปนความรูขั้นสูงสุด ที่เรียกวา สัมโพธิญาณ รูแลวหมดกิเลส จบส้ินการเวียนเกิดเวียนตาย จบกิจทุกอยางที่ตองพยายามเพื่อความหลุดพนจากทุกขอีกนั่นเอง เสวยวิมุตติสุข 7

เม่ือตรัสรูแลว พระพุทธเจาประทับเสวยวิมุตติสุขอยูใตตนโพธิ์และบริเวณขางเคียงเปนเวลา 7 สัปดาห คือ

5 อํ ทุกฺก. 20/251/64. เปนคาถาวา “ กามํ ตโจ นหารู จ อฏฐิ จ อวสิสฺสตุ

อุปสุสฺสตุ เม สรีเร สพฺพนฺตํ มํสโลหิตํ ” 6 แสงจันทรงาม. ศาสนศาสตร. ( กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพาณิชย, 2534 ), หนา 79-80. 7 พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมมจิตโต). พระพุทธประวัติ. ( พิมพในชื่อ วันวิสาขบูชาและแนวทางในการ

ปฏิบัติ โดยคณะกรรมการสํานักวัฒนธรรมแหงชาติ, 2536 ). หนา 3.

Page 44: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา Fundamentals of Buddhism 37 สัปดาหที่ 1 ประทับนั่งใตตนโพธ์ิตออีก 7 วัน ใชเวลาทบทวนปฏิจจสมุปบาทที่พระองคเพิ่งตรัสรู สัปดาหที่ 2 เสด็จออกจากตนโพธ์ิไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประทับยืนเพงตนโพธ์ิโดยมิไดกระพริบพระเนตรตลอด 7 วัน สถานที่นั้นมีชื่อในสมัยตอมาวา “อนิมิสเจดีย” สัปดาหที่ 3 เสด็จกลับมาประทับอยูในที่กึ่งกลางระหวางอนิมิสเจดียและตนโพธ์ิ ทรงจงกรมอยูที่นั่นตลอด 7 วัน ที่จงกรมนั้นมีชื่อเรียกตอมาวา “รัตนจงกรมเจดีย” สัปดาหที่ 4 เสด็จไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตนโพธ์ิ ประทับนั่งขัดสมาธิ พิจารณาอภิธรรมปฎกตลอด 7 วัน สถานที่นั้นมีชื่อเรียกตอมาวา “รัตนฆรเจดีย” สัปดาหที่ 5 เสด็จไปทางทิศตะวันออกของตนโพธ์ิประทับอยูใตตนไทรซึ่งเปนที่พักของคนเล้ียงแพะอันไดชื่อวา อชปาลนิโครธ ทรงเสวยวิมุตติสุขตลอด 7 วัน ทรงผจญกับธิดาทั้งสาม คือ นางตัณหา นางราคา นางอรดี ซึ่งเปนลูกสาวพญาวัสดีมาร ทรงแสดงธรรมที่ทําใหเปนพราหมณแกพราหมณที่มักตวาดผูอื่น หึหึ สัปดาหที่ 6 เสด็จไปทางทิศตะวันออกเฉียงใตของตนโพธ์ิ ประทับนั่งที่ควงไมจิก หรือ มุจลินท เสวยวิมุตติสุขที่นั่นอีก 7 วัน ในระหวางมีฝนตกพรําตลอด ๆ พยานาคชื่อมุจลินท มาขดขนดกายลอมรอบพระพุทธเจา 7 รอบแลว แผพังพานเบื้องบนพระเศียรเพื่อปองกันลมและฝน เปนตน8

สัปดาหที่ 7 เสด็จไปยังตนเกดหรือราชายตนะ ซึ่งอยูทางทิศใตของตนโพธ์ิ ทรงเสวยวิมุตติสุขอยูที่นั่นเปนสัปดาหสุดทาย ในสัปดาหนี้ มีพอคา 2 พี่นองชื่อ ตปุสสะและภัลลิกะ เดินทางผานมาพบจึงนําเสบียงกรังเขาไปถวายแลว ประกาศตนเปนอุบาสกคูแรกที่เขาถึงพระรัตนะสอง คือ พระพุทธและพระธรรมเปนสรณะ ลักษณะของพระพุทธเจา ศาสตราจารยแสง จันทรงาม ไดวิเคราะหลักษณะของพระพุทธเจาตามทัศนะของทานโดยยึดแนวตามพุทธประวัติไวดังนี้คือ 9

1.เปนนักสังเกตที่ดี 2.เปนนักคิดหาเหตุผล 3.เปนนักเสียสละ

3.1 อํานาจที่จะเปนกษัตริยตอจากบิดา 3.2 คนรัก ครอบครัว

8 สมันตปาสาทิกา ภาค 3. หนา 10. 9 แสง จันทรงาม. วิธีสอนของพระพุทธเจา. (กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย 2540 ). หนา 114-147.

Page 45: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา Fundamentals of Buddhism 38 3.3 โลกิยะสุข ( ปราสาท 3 หลัง ) 3.4 เสียสละแมชีวิต ( ดูคนใจเพชร ) 3.5 สละความสุขสวนตน เผยแผศาสนา 45 ป ปฏิบัติพุทธกิจ 5 ประการ 3.5.1 เชามืด ตรวจดูอุปนิสัยคนที่ควรจะโปรดและใหการชวยเหลือ 3.5.2 เชาตรู ออกบิณฑบาต โปรดสรรพสัตว ใหโอกาสคนไดทําความดี 3.5.3 บายคลอย แสดงธรรมโปรดผูที่เขามายังที่พํานัก 3.5.4 ค่ํา แสดงธรรมโปรดและใหโอวาทพระภิกษุสงฆ หลักธรรมขั้นสูง 3.5.5 ตอนดึกเปดโอกาสใหอิสรชนและเทวดาเขาพบเพื่อฟงธรรม (ขอสังเกต เวลา ตอนสาย - เที่ยง - บาย เสด็จไปโปรดผูที่ปรากฏในขายที่ควรสงเคราะห ไมไดปรากฏในคําประพันธพุทธกิจ แตพระพุทธเจาทรงมีกิจเชนนี้อยู)

4. เปนนักพิสูจนทดลอง ( เรียนและปฏิบัติทุกสํานัก แตสุดทายเปนผูคนพบเอง ) 5. เปนบรมครู ชั้นยอด สอนใหคนบรรลุตามได ผูฝกคนที่ฝกยากที่สุด 6. เปนผูมีมนุษยสัมพันธเปนเลิศ ไมกาวราว เขาหาเพื่อนสมณะอื่น ๆ เพื่อสนทนา

7. เปนนักปฏิบัติตนและปฏิรูป 8. เปนนักบริหารที่ดี เพียงแค 9 เดือนแรก ไดเพื่อนรวมงานถึง 1,250 รูป ประกาศอุดมการณพุทธเมื่อเปนปกแผนแลว ก็สละอํานาจของตน ลดบทบาทการบริหารลง มอบใหเปนภาระของสงฆตัดสินเอาเอง

Page 46: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 7 พุทธกิจ 45 พรรษา พรหมอาราธนา ครั้นสิ้นสุดสัปดาหที่ 7 พระไดเสด็จจากรมไมราชายตนะ กลับมาประทับที่ อชปาลนิโครธอีก ที่โคนตนไมอชบาลนิโครธ พระองคเกิดปริวิตกวา “ธรรมที่พระองคไดตรัสรูนั้น เปนสิ่งที่ลึกซึ้ง ยากที่จะเขาใจ รูตามไดยาก เปนธรรมที่สงบ ประณีต ไมอาจรูไดดวยการใชเหตุผลอนุมานอันละเอียดออน คนที่ฉลาดเทานั้นจึงจะสามารถได เปนการยากนักที่คนผูยังหมกมุนอยูดวยความอาลัย ยินดีในความอาลัย จะรูตามได ธรรมนี้คือ “อิทัปปจจยตา ปฏิจจสมุปบาท” เปนธรรมที่สงบ ระงับสังขาร สลัดอุปธิ สิ้นตัณหา เปนความหนาย และดับสนิท ถาเรายังจะแสดงธรรม และคนเหลาอื่นก็ไมเขาใจ ยอมเปนการลําบาก เปนความเหนื่อยเปลาแกเรา” 1 จึงทอแทที่จะประกาศธรรม

ครั้งนั้น พรหมชื่อ “สหัมบดี” ทราบวาระจิตของพระพุทธเจา จึงเขามาทูลวา “ขอพระผูมีพระภาคเจา จงแสดงธรรมเถิด ขอพระสุคตเจา จงแสดงธรรมเถิด สัตวทั้งหลายผูที่มีธุลีในดวงตาเบาบางมีอยู หากไมไดฟงธรรมอันเปนอมตะเขาจะสูญเสียโอกาส คนที่จะรูธรรมก็ยังพอมีอยู” 2 เปนอันวา พระพรหมสหัมบดีมาใหความมั่นใจวา ในโลกนี้ ยังมีคนฉลาดพอที่จะฟงธรรมแลวจะบรรลุตามได การที่พรหมมาอาราธนาใหแสดงธรรมนี้ มีคําประพันธผูกไวดังนี้

“ พฺรหฺมา จ โลกาธิปตี สหมฺปติ กตฺชลี อนฺธิวรํ อยาจถ สนฺตีธ สตฺตา อปฺปรชกฺขชาติกา เทเสหิ ธมฺมํ อนุกมฺปมํ ปชํ ” 3

แปลวา “พระพรหมจอมโลกนามวา สหัมบดี ประคองอัญชลีไวแลว ทูลขอพรอันประเสริฐวา ในโลกนี้ ก็ยังมีบุคคลที่มีกิเลสเหลือนอย ขอจงแสดงธรรมเพื่ออนุเคราะหบุคคลเหลานั้นเถิด”

วินิจฉัยเรื่องพระพรหม ตามตํานานวา มีพรหมมาอาราธนาใหแสดงธรรม นั่นคงเปนการแสดงในรูปบุคลาธิษฐาน หากกลาวในแงธรรมาธิษฐาน หมายเอา ความกรุณาสงสารที่เกิดในพระทัยของพระพุทธเจาเอง

1 วินย. มหา. 4/7/8; ม.ม. 13/509/461-462. 2 วินย. มหา. 4/8/9-10; ม.ม. 13/501/462 . “ เทเสตุ เม ภนฺเต ภควา ธมฺมํ เทเสตุ สุคโต ธมฺมํ สนฺติ

สตฺตา อปฺปรชกฺขชาติกา อสฺสวนฺตา ธมฺมสฺส ปริหายนฺติ ภวิสฺสนฺติ ธมฺมสฺส อฺ?าตาโร ” 3 ขุ. พุทธวํส . 33 / 1 / 403 ; มธุรตฺถวิลาสินี ขอ 1 หนา 8. และในบางที่คําอาราธนาธรรมปรากฏแปลกไปเชน

“ พฺรหฺมา จ โลกาธิปตี สหมฺปติ กตฺอ?ชลี อนฺธิวรํ อยาจถ สนฺตีธ สตฺตาปฺปรชกฺขชาติกา เทเสตุ ธมฺมํ อนุกมฺปมํ ปชํ ”

Page 47: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 40 เพราะพระองคออกผนวชก็เพื่อภารกิจนี้เปนหลัก ควรหรือที่จะมาทอพระทัยวา สิ่งทีตนรูยากเกินที่คนอื่นจะรูตาม นาที่แมจะยากแสนยากก็ควรอาศัยเมตตา กรุณาและขันติธรรมเปนเบื้องตน อนุเคราะหแสดงธรรมโปรดสัตว ไมเกินกําลังคงตองสอนจนมีคนรูตามไดแน ดังนั้น “พรหม” ควรหมายถึง พรหมวิหารธรรม 4 ประการ มี เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา ซึ่งมีในสวนลึกในพระทัยมาเตือนนั่นเอง คนเปรียบบัว 4 เหลา พระพุทธเจาทรงอาศัยที่ความกรุณาในหมูสัตว ประกอบกับพิจารณาทราบชัดถึงความแตกตางระหวางบุคคล 4 ประเภท อันเปรียบไดกับบัว 4 เหลา ( ประเภท ) คือ

1. อุคฆฏิตัญู ผูมีปญญาดีและมีกิเลสนอย สามารถเขาใจฉับพลันเพียงเพราะไดยินหัวขอธรรมที่ยกขึ้นแสดง เหมือนดอกบัวที่พนน้ําพอตองแสงอาทิตยก็บานทันที

2. วิปจิตัญู ผูมีปญญาปานกลางและมีกิเลสปานกลาง สามารถเขาใจธรรมไดถามีการอธิบายความใหพิสดารออกมา บุคคลประเภทนี้เปรียบไดกับดอกบัวที่อยูเสมอน้ําพรอมจะบานในวันรุงขึ้น

3. เนยยะ ผูมีปญญานอย มีกิเลสหนา จะสามารถเขาใจธรรมไดก็ตอเมื่อมีการพร่ําสอนย้ําแลวย้ําอีกเหมือนดอกบัวที่อยูใตน้ํารอโอกาสบานในวันตอ ๆ ไป

4. ปทปรมะ บุคคลไรปญญา เรียนหัวขอธรรมไดบางแตไมอาจเขาใจความหมายของคํา เปรียบไดกับดอกบัวที่เพิ่งงอกขึ้นใหม ยังอยูในโคลนตม มักจะตกเปนอาหารของปลาและเตา

ในจํานวนบุคคล 4 ประเภทนี้ สามประเภทขางตนยังเปนผูที่พระองคพอจะสอนใหตรัสรูตามได (เวไนยสัตว) ทรงพิจารณาเห็นดังนี้แลวจึงตัดสินพระทัยแสดงธรรม จะโปรดใครเปนคนแรก เม่ือตัดสินพระทัยที่จะแสดงธรรม จึงเลือกวาจะโปรดใครกอนที่พอจะพูดกันก็เปนที่เขาใจไดงาย ๆ อันดับแรก พระพุทธเจา คิดถึงอาจารยสองทานคือ อาฬาระ และ อุททกะ ที่เคยไปฝากตัวเปนศิษย ก็ทราบดวยญาณวา สองอาจารยไดสิ้นชีวิตแลว จากนั้น คิดถึงเบญจวัคคีย หรือ บาลีเรียกวา ปญจวัคคีย (นักบวช 5 ทาน มี โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ) ที่เคยเฝาถวายปรนนิบัติ ทราบวา เบญจวัคคีย หลีกหนีไปอยูปาอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี จึงไดเริ่มออกเดินทาง จากพุทธคยา มุงสูพาราณสี (ระยะทางรถยนต 250 กิโลเมตร) หลังการตรัสรูได 7 สัปดาห (หลังตรัสรูได 1 เดือน 19 วัน จะตกอยูในราวขึ้น 4 ค่ํา เดือน 8) สาเหตุที่ตองโปรดเบญจวัคคียกอน เพราะนึกถึงคุณูปการที่นักบวชเหลานั้นอุตสาหปรนนิบัติไมเห็นแกความเหน็ดเหนื่อย เปนกําลังใจเคียงบาเคียงไหลตลอดมา แมภายหลังจะหลีกไปเพราะเขาใจผิด อีกประการหนึ่ง เบญจวัคคีย มีพื้นความรูเดิมที่ไดเห็นหลักการที่พระพุทธเจาเคยปฏิบัติ เม่ือยอนเหตุการณตองเขาใจแนนอน แตก็มีบางทานคิดลึกไปอีกแบบหนึ่งทํานองนี้วา สาเหตุที่พระพุทธเจาจําเปนตองรีบไปโปรดปญจวัคคียกอน ก็เพื่อจะไมใหเปนหอกขางแครคอยทิ่มแทง เพราะถาไปโปรดคนอื่นกอน เหลาเบญจวัคคียนี่แหละ จะคอยโจมตีวา

Page 48: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 41 “สมณะโคดม เปนคนโลเล สละทุกกรกิริยามาปฏิบัติสายหยอน ขนาดที่วาเครง ๆ ยังไมบรรลุแลว เม่ือละความพยายาม ยังจะมีหนามาบอกวาตนบรรลุธรรมหรือ อยาไปเชื่อ”

นี่แหละความจําเปนเรงดวนอยางยิ่งที่จําเปนตองไปปดปากเบญจวัคคีย ในระหวางทางไปพาราณสีไดพบ “อุปกาชีวก” เขาเห็นทาทางพระพุทธเจานาเลื่อมใส สอบถามหลายเรื่อง และอุปกาชีวกเองก็มีสติปญญาพรอมที่รูธรรมได แตพระพุทธเจาไมแสดงธรรมอะไรโปรด คงมุงมาที่เบญจวัคคียตามพระประสงคแรกอยางมุงมั่นกอนก็ไดถึงปาอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี ในวันเพ็ญเดือน 8 พอดี รวมเวลาเดินทาง 11 วัน

ฝายเบญจวัคคีย ครั้นเห็นพระพุทธเจามาแตไกล ตางชี้ใหกันดูพรอมกลาววา “ทานทั้งหลาย สมณโคดมกําลังมาอยู เธอเปนผูมักมาก สละความเพียร เวียนมาเพื่อเปนคนต่ํา พวกเราอยาไหว อยาลุกตอนรับ อยารับบาตรและจีวรเปนอันขาด แตจักลาดอาสนะไวถาเธอตองการก็จักนั่งได”

และเมื่อพระพุทธเจามาถึง ตางก็ยังเรียกพระพุทธเจา ดวยคําวา “อาวุโส” (หมายถึงคนที่แกพรรษากวา เรียกคนที่ออนพรรษากวา) พระพุทธเจาจึงบอกวา “ทานบรรลุธรรมแลวนะ จะมาแสดงใหทราบ ถาตั้งใจปฏิบัติตามจริง ๆ ไมนานหรอกตองบรรลุตามแนนอน” เบญจวัคคียคัดคานเปนพัลวันวา “พอเถอะ อาวุโส ขนาดที่ทานปฏิบัติทุกกรกิริยาเครงเจียนตาย ยังไมบรรลุเลย สํามะหาอะไร กับการที่เด๋ียวนี้ ทานเปนคนโลเล ละความเพียรเวียนมาเปนคนมักมาก จะไดบรรลุธรรมหรืออยาพูด” 4 และเบญจวัคคียไดคัดคานถึง 3 ครั้ง ครั้งสุดทายพระพุทธเจา เอานิสัยสวนพระองค ที่เปนคนตรง คนจริง มาเปนเดิมพันใหเบญจวัคคียชั่งดูวา ต้ังแตคบหากันมาวา “ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจําไดหรือวาถอยคําเชนนี้เราไดเคยพูดแลวในกาลกอนแตกาลนี้” 5 ฝายเบญจวัคคียนึกดูแลวก็เห็นวา พระสิทธัตถะเปนคนที่มีคําพูดเชื่อถือไดมากที่สุด จึงยอมที่จะรับฟงธรรมเทศนา พระพุทธเจาจึงแสดงธรรมกัณฑแรก ที่เรียกวา “ธรรมจักกัปวัตตนสูตร”6

4 วินย. มหา. 4/12 /16; ม. ม. 13/514/468–469. 5 วินย. มหา. 4/17/23; แสง จันทรงาม. วิธีสอนของพระพุทธเจา. หนา 36.

6 วินย. มหา. 4/13-17/17-23 : - “ลําดับน้ัน พระผูมีพระภาคมีรับส่ังกับพระปญจวัคคียวา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ที่สุดสองอยางนี้อันบรรพชิตไมควรเสพ คือ การประกอบตนใหพัวพันดวยกามสุขในกามทั้งหลาย เปนธรรมอันเลว เปนของชาวบานเปนของปุถุชน ไมใชของพระอริยะ ไมประกอบดวยประโยชน 1

ประกอบความเหน็ดเหน่ือยแกตน เปนความลําบาก ไมใชของพระอริยะ ไมประกอบดวยประโยชน 1 ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปฏิปทาสายกลาง ไมเขาไปใกลที่สุดสองอยางนั้น น่ันตถาคตไดตรัสรูแลวดวยปญญาอันยิ่ง ทําดวงตาใหเกิด ทําญาณใหเกิด ยอมเปนไปเพื่อความสงบเพื่อความรูยิ่ง เพื่อความตรัสรู เพื่อนิพพาน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ปฏิปทาสายกลางที่ตถาคตไดตรัสรูแลวดวยปญญาอันยิ่ง ทําดวงตาใหเกิด ทําญาณใหเกิด ยอมเปนไปเพื่อความสงบเพื่อความรูยิ่ง เพื่อความตรัสรู เพื่อนิพพานนั้น เปนไฉน ? ปฏิปทาสายกลางนั้น ไดแกอริยมรรค มีองค 8 น้ีแหละ คือปญญาอันเห็นชอบ 1 ความดําริชอบ 1 เจรจาชอบ 1 การงานชอบ 1 เลี้ยงชีวิตชอบ 1 พยายามชอบ 1 ระลึกชอบ 1 ตั้งจิตชอบ 1 ดูกรภิกษุทั้งหลาย น้ีแลคือปฏิปทาสายกลางนั้น ที่ตถาคตไดตรัสรูแลวดวยปญญาอันยิ่งทําดวงตาใหเกิด ทําญาณใหเกิด ยอมเปนไปเพื่อความสงบ เพื่อความรูยิ่ง เพื่อความตรัสรู เพื่อนิพพาน

Page 49: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 42

( อริยสัจ 4 ) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ขอน้ีแลเปนทุกขอริยสัจ คือ ความเกิดเปนทุกข ความแกเปนทุกข ความเจ็บไขก็เปนทุกข ความตายเปนทุกข ความประจวบดวยส่ิงที่ไมเปนที่รักก็เปนทุกข ความพลัดพรากจากสิ่งอันเปนที่รักก็เปนทุกข โดยยนยอ อุปทานขันธ 5 เปนทุกข ดูกรภิกษุทั้งหลาย ขอน้ีแลเปนทุกขสมุทัยอริยสัจ คือตัณหาอันทําใหเกิดอีก ประกอบดวยความกําหนัดดวยอํานาจความเพลิน มีปกติเพลิดเพลินในอารมณน้ัน ๆ คือ กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ขอน้ีแลเปนทุกขนิโรธอริยสัจ คือ ตัณหานั่นแลดับ โดยไมเหลือดวยมรรคคือวิราคะ สละ สละคืน ปลอยไป ไมพัวพัน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ขอน้ีแลเปนทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ คือ อริยมรรคมีองค 8 น้ีแหละ คือ ปญญาอันเห็นชอบ 1 ความดําริชอบ 1 เจรจาชอบ 1 การงานชอบ 1 เลี้ยงชีวิตชอบ 1 พยายามชอบ 1 ระลึกชอบ 1 ตั้งจิตชอบ 1 ( ญาณทัสสนะ ( ความรูแจง ) มีรอบ 3 มีอาการ 12 ) ดูกรภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดข้ึนแลวแกเรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไมเคยฟงมากอนวา น้ีทุกขอริยสัจ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดข้ึนแลวแกเรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไมเคยฟงมากอนวา ทุกขอริยสัจน้ีน้ันแล ควรกําหนดรู ดูกรภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดข้ึนแลวแกเรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไมเคยฟงมากอนวา ทุกขอริยสัจน้ีน้ันแล เราก็ไดกําหนดรูแลว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดข้ึนแลวแกเรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไมเคยฟงมากอนวา น้ีทุกขสมุทัยอริยสัจ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดข้ึนแลวแกเรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไมเคยฟงมากอนวา ทุกขสมุทัยอริยสัจน้ีน้ันแล ควรละเสีย

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดข้ึนแลวแกเรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไมเคยฟงมากอนวา ทุกขสมุทัยอริยสัจน้ีน้ันแล เราละไดแลว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดข้ึนแลวแกเรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไมเคยฟงมากอนวา น้ีทุกขนิโรธอริยสัจ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดข้ึนแลวแกเรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไมเคยฟงมากอนวา ทุกขนิโรธอริยสัจน้ีน้ันแล ควรทําใหแจง ดูกรภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดข้ึนแลวแกเรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไมเคยฟงมากอนวา ทุกขนิโรธอริยสัจน้ีน้ันแล เราทําใหแจงแลว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดข้ึนแลวแกเรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไมเคยฟงมากอนวา น้ีทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดข้ึนแลวแกเรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไมเคยฟงมากอนวา ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจน้ีน้ันแล ควรใหเจริญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ดวงตา ญาณ ปญญา วิชชา แสงสวาง ไดเกิดข้ึนแลวแกเรา ในธรรมทั้งหลายที่เราไมเคยฟงมากอนวา ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจน้ันแลเราใหใหเจริญ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปญญาอันรูเห็นตามความเปนจริงของเราในอริยสัจ 4 น้ี มีรอบ 3 มีอาการ 12 อยางนี้ ยังไมหมดจดดีแลว เพียงใด ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรายังยืนยันไมไดวาเปนผูตรัสรูสัมมาสัมโพธิญาณ อันยอดเยี่ยมในโลก พรอมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมูสัตว พรอมทั้งสมณะ พราหมณ เทวดาและมนุษย เพียงน้ัน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เม่ือใดแล ปญญาอันรูเห็นตามความเปนจริงของเรา ในอริยสัจ 4 น้ีมีรอบ 3 มีอาการ 12 อยางนี้ หมดจดดีแลว ดูกรภิกษุทั้งหลาย เม่ือน้ัน เราจึงยืนยันวาเปนผูตรัสรูสัมมาสัมโพธิญาณ อันยอดเยี่ยมในโลก พรอมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมูสัตว พรอมทั้งสมณะ พราหมณ เทวดาและมนุษย อน่ึง ปญญาอันรูเห็นไดเกิดข้ึนแลวแกเราวา ความพนวิเศษ ( วิมุตติ ) ของเราไมกลับกําเริบ ชาติน้ีเปนที่สุด ภพอื่นไมมีตอไป

Page 50: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 43 เบญจวัคคียบรรลุอรหันต เม่ือพระองคแสดงธรรมจักรโปรดปญจวัคคีย ทานโกณฑัญญะ ไดรูธรรมเปนคนแรก เรียกวาไดดวงเห็นธรรม (ธรรมจักษู) และทรงแสดงปกิณณธรรมโปรดปญจวัคคยที่เหลือจนอัสสชิคนสุดทายไดดวงตาเห็นธรรม ในวันที่ 5 จึงไดแสดงหลักธรรมสูงสุดของพระพุทธศาสนา คือ หลักอนัตตา สูตรที่พระองคทรงแสดงแกปญจวัคคียเปนที่รูจักกันคือ “อนัตตลักขณสูตร” 7 ซึ่งเปนบทสนทนาโตตอบ ซักไซไลเลียงอยางละเอียดออน เพื่อเปนการปรับทัศนะใหเห็นตรงกัน

ก็แลเม่ือพระผูมีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตน้ีอยู ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ไดเกิดข้ึนแกโกณฑัญญะวา “ ส่ิงใดสิ่งหน่ึงมีความเกิดข้ึนเปนธรรมดา ส่ิงน้ันทั้งมวล มีความดับเปนธรรมดา” คร้ันพระผูมีพระภาคทรงประกาศธรรมจักรใหเปนไปแลว เหลาภุมมเทวดาไดบันลือเสียงวา น่ันพระธรรมจักรอันยอดเยี่ยม พระผูมีพระภาคทรงประกาศใหเปนไปแลว ณ ปาอิสิปตนมฤคทายวัน เขตพระนครพาราณสี อันสมณะ พราหมณ เทวดา มาร พรหม หรือใคร ในโลก จะปฏิวัติไมได

เทวดาชั้นจาตุมหาราช ไดยินเสียงของพวกภุมมเทวดาแลว ก็บันลือเสียงตอไป เทวดาชั้นดาวดึงส ไดยินเสียงของพวกเทวดาชั้นจาตุมหาราชแลว ก็บันลือเสียงตอไป เทวดาชั้นยามา ไดยินเสียงของพวกเทวดาชั้นดาวดึงสแลว ก็บันลือเสียงตอไป เทวดาชั้นดุสิต ไดยินเสียงของพวกเทวดาชั้นยามาแลว ก็บันลือเสียงตอไป เทวดาชั้นนิมมานรดี ไดยินเสียงของพวกเทวดาชั้นดุสิตแลว ก็บันลือเสียงตอไป

เทวดาชั้นปรนิมมิตวสวดี ไดยินเสียงของพวกเทวดาชั้นนิมมานรดีแลว ก็บันลือเสียงตอไปวา น้ันพระธรรมจักรอันยอดเยี่ยม พระผูมีพระภาคไดทรงประกาศใหเปนไปแลว ณ ปาอิสิปตนมฤคทายวัน เขตพระนครพาราณสี อันสมณะ พราหมณ เทวดา มาร พรหม หรือใคร ในโลก จะปฏิวัติไมได

ชั่วขณะการครูหน่ึงน้ัน เสียงกระฉอนข้ึนไปจนถึงพรหมโลก ดวยประการฉะนี้แล ทั้งหม่ืนโลกธาตุน้ีไดหวั่นไหวสะเทือนสะทาน ทั้งแสงสวางอันยิ่งใหญหาประมาณมิได ไดปรากฏแลวในโลก ลวงเทวานุภาพของเทวดาทั้งหลาย

ลําดับน้ัน พระผูมีพระภาคทรงเปลงพระอุทานวา “ทานผูเจริญ โกณฑัญญะ ไดรูแลวหนอ ทานผูเจริญ โกณฑัญญะ ไดรูแลวหนอ“ เพราะเหตุน้ัน คําวา “อัญญา

โกณฑัญญะ” น้ี จึงไดเปนชื่อของพระโกณฑัญญะ ดวยประการฉะนี้” 7 วินย. มหา. 4/20-24/24-28: เน้ือความของอนัตตลักขณสูตร มีดังน้ี “คร้ังน้ัน พระผูมีพระภาครับส่ังกะพระปญจวัคคียวา ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปเปนอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถารูปน้ี

จักไดเปนอัตตาแลว รูปน้ีจะไมถึงความเปนไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงไดในรูปวา รูปของเราจงเปนอยางนี้เถิด รูปของเราอยาไดเปนอยางนั้นเลย ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะรูปเปนอนัตตา ฉะน้ัน รูปจึงเปนไปเพื่ออาพาธ และบุคคลยอมไมไดในรูปวา รูปของเราจงเปนอยางนี้เถิด รูปของเราอยาไดเปนอยางนั้นเลย” เวทนาเปนอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถาเวทนานี้จักไดเปนอัตตาแลว เวทนานี้จะไมถึงความเปนไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงไดในเวทนาวา เวทนาของเราจงเปนอยางนี้เถิด เวทนาของเราจงอยาไดเปนอยางนั้นเลย ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะเวทนาเปนอนัตตา ฉะน้ัน เวทนาจึงเปนไปเพื่ออาพาธ และบุคคลยอมไมไดในเวทนาวา เวทนาของเราจงเปนอยางนั้นเถิด เวทนาของเราอยาไดเปนอยางนั้นเลย สัญญาเปนอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถาสัญญานี้จักไดเปนอัตตาแลว สัญญานี้จะไมถึงความเปนไปเพื่ออาพาธ และบุคคลถึงไดในสัญญาวา สัญญาของเราจงเปนอยางนี้เถิด สัญญาเราอยาไดเปนอยางนั้นเลย ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะสัญญาเปนอนัตตา ฉะน้ัน สัญญาจึงเปนไปเพื่ออาพาธ และบุคคลยอมไมไดในสัญญาวา สัญญาของเราจงเปนอยางนั้นเถิด สัญญาของเราจงอยาไดเปนอยางนั้นเลย สังขารทั้งหลายเปนอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถาสังขารเหลานี้จักไดเปนอัตตาแลวสังขารเหลานี้จะไมถึงความเปนไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงไดในสังขารทั้งหลายวา สังขารทั้งหลายของเราจงเปนอยางนี้เถิด สังขารทั้งหลายของเราอยาไดเปนอยางนั้นเลย ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็เพราะสังขารทั้งหลายเปนอนัตตา ฉะน้ัน สังขารจึงเปนไปเพื่ออาพาธ และบุคคลยอมไมไดในสังขารวา สังขารของเราจงเปนอยางนั้นเถิด สังขารของเราจง อยางไดเปนอยางนั้นเลย

วิญญาณเปนอนัตตา ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถาวิญญาณ จักไดเปนอัตตาแลว วิญญาณจะไมถึงความเปนไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงไดในวิญญาณวา วิญญาณของเราจงเปนอยางนี้เถิด วิญญาณของเราอยาไดเปนอยางนั้นเลย ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็

Page 51: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 44

เพราะวิญญาณเปนอนัตตา ฉะน้ัน วิญญาณจึงเปนไปเพื่ออาพาธ และบุคคลยอมไมไดในวิญญาณวา วิญญาณของเราจงเปนอยางนี้เถิด วิญญาณของเราอยาไดเปนอยางนี้เลย ( ตรัสถามความเห็นของพระปญจวัคคีย ) พระผูมีพระภาคตรัสถามวา ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอสําคัญความนั้นเปนไฉน รูปเที่ยงหรือไมเที่ยง ? พระปญจวัคคียทูลวา ไมเที่ยง พระพุทธเจาขา ภ. ก็ส่ิงใดไมเที่ยง ส่ิงนั้นเปนทุกขหรือเปนสุขเลา ป. เปนทุกข พระพุทธเจาขา ภ. ก็ส่ิงใดไมเที่ยง เปนทุกข มีความแปรปรวนเปนธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นส่ิงน้ันวา น่ันของเรา น่ันเปนเรา น่ันเปนตนของเรา ? ป. ขอน้ัน ไมควรเลย พระพุทธเจาขา ภ. เวทนาเที่ยงหรือไมเที่ยง ? ป. ไมเที่ยง พระพุทธเจาขา ภ. ก็ส่ิงใดไมเที่ยง ส่ิงนั้นเปนทุกขหรือเปนสุขเลา ? ป. เปนทุกข พระพุทธเจาขา ภ. ก็ส่ิงใดไมเที่ยง เปนทุกข มีความแปรปรวนเปนธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นส่ิงน้ันวา น่ันของเรา น่ันเปนเรา น่ันเปนตนของเรา ? ป. ขอน้ันไมควรเลย พระพุทธเจาขา ภ. สัญญาเที่ยงหรือไมเที่ยง ? ป. ไมเที่ยง พระพุทธเจาขา ภ. ก็ส่ิงใดไมเที่ยง ส่ิงนั้นเปนทุกขหรือเปนสุขเลา ? ป. เปนทุกข พระพุทธเจาขา ภ. ก็ส่ิงใดไมเที่ยง เปนทุกข มีความแปรปรวนเปนธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นส่ิงน้ันวา น่ันของเรา น่ันเปนเรา น่ันเปนตนของเรา ? ป. ขอน้ันไมควรเลย พระพุทธเจาขา ภ. สังขารเที่ยงหรือไมเที่ยง ? ป. ไมเที่ยง พระพุทธเจาขา ภ. ก็ส่ิงใดไมเที่ยง ส่ิงนั้นเปนทุกขหรือเปนสุขเลา ? ป. เปนทุกข พระพุทธเจาขา ภ. ก็ส่ิงใดไมเที่ยง เปนทุกข มีความแปรปรวนเปนธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นส่ิงน้ันวา น่ันของเรา น่ันเปนเรา น่ันเปนตนของเรา ? ป. ขอน้ัน ไมควรเลย พระพุทธเจาขา ภ. วิญญาณเที่ยงหรือไมเที่ยง ? ป. ไมเที่ยง พระพุทธเจาขา ภ. ก็ส่ิงใดไมเที่ยง ส่ิงนั้นเปนทุกขหรือเปนสุขเลา ? ป. เปนทุกข พระพุทธเจาขา ภ. ก็ส่ิงใดไมเที่ยง เปนทุกข มีความแปรปรวนเปนธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นส่ิงน้ันวา น่ันของเรา น่ันเปนเรา น่ันเปนตนของเรา ? ป. ขอน้ัน ไมควรเลย พระพุทธเจาขา ( ตรัสใหพิจารณาโดยยถาภูตญาณทัสสนะ ) พระผูมีพระภาคตรัสวา ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุน้ันแล รูปอยางใดอยางหน่ึงที่เปนอดีต อนาคต และปจจุบัน ภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล ทั้งหมดก็เปนแตสักแตวารูป เธอทั้งหลายถึงเห็นรูปน้ันดวยปญญาอันชอบตามเปนจริงอยางนี้วา น่ันไมใชของเรา น่ันไมใชเปนของเรา น่ันไมใชตนของเรา เวทนาอยางใดอยางหน่ึงที่เปนอดีต อนาคต และปจจุบัน ภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล ทั้งหมดก็เปนแตสักแตวารูป เธอทั้งหลายถึงเห็นเวทนานั้นดวยปญญาอันชอบตามเปนจริงอยางนี้วา น่ันไมใชของเรา น่ันไมใชเปนของเรา น่ันไมใชตนของเรา

Page 52: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 45 ขอพิจารณาจากอนัตตลักขณสูตร 1. เพื่อเปลื้องความยึดติดในสิ่งที่เรียกวา ตัวตนที่เที่ยงแท ถาวร ตามทฤษฎี “สัสสตวาท” 2. แจงใหเห็นวา ที่เรียกตัวตน คือการรวมตัวของเบญจขันธ เม่ือจําแนกออกเปนแตละขันธ จะไมพบ สิ่งที่เรียกวา เปนตัวตน เปนเรา เปนตัวของเรา 3. ประกาศหลัก “อนัตตา” ที่ทาทาย ทฤษฎี “อัตตา” ของพราหมณ เพื่อเปนหลักพุทธศาสนา 4. สอนใหพิจารณาความหลงผิด อันที่จริง สรรพสิ่งไมมีสาระที่ควรยึดถือมาเปนของตน คนที่ยังหลงยึดมั่น เขายอมเปนทุกข เพราะเขาฝนกฎธรรมชาติที่ทุกอยางตองแปรเปลี่ยนไป อนุบุพพิกถา เทศนากัณฑที่ 3 ในทามกลางพรรษานั้นเอง มีบุตรเศรษฐีชื่อ “ยสะ” เปนผูที่มีความสุขในฐานะลูกเศรษฐีอยางยิ่ง มีภรรยาและนางบําเรอใหความสนุกสนานเพลิดเพลินตลอด ในกลางดึกราตรีนั้น ยสะ ต่ืนขึ้นมา ในขณะที่เหลานางบําเรอกําลังนอนหลับสนิทเพราะความเหน็ดเหนื่อย จึงเห็นอาการที่ไมนาอภิรมยตาง ๆ ที่เขาไมเคยพบมากอน เชน บางนางนอนกรน บางนางนอนเพอน้ําลายไหล บางนางผาผอนหลุดลุย เขาจึงเกิดความสังเวชและเกิดความเบื่อหนายกระทันหัน จึงไดเดินออกจากบานในราตรีนั้นโดยไมมีสมบัติอะไร พลางบนวา “ที่นี่วุนวาย ที่นี่ขัดของ” เดินจนถึงปาอิสิปตนะ ในเวลานั้น พระพุทธเจากําลังเดินจงกรมไดยินเสียงบนของหนุมยสะ จึงตรัสเรียกเขาวา “ที่นี่ไมวุนวาย ที่นี่ไมขัดของ” เขาจึงเขามาหาและพระพุทธเจาจึงทรงแสดง อนุบุพพิกถา แกยสะบุตรเศรษฐี อนุบุพพกถา 8 คือ คําสอนที่แสดงเรื่องไปตามลําดับจากงายไปหายาก มี 5 ลําดับ ที่ ใต ตาม ทาง เขียนเลา โดยยอพอเปนที่เขาใจงาย ๆ ขาพเจาเห็นวา จะเปนประโยชนแกนักศึกษา ในการเก็บใจความธรรมะ จึงไดปรับเนื้อหาใหเหมาะสมโดยคัดมาจากคอลัมน “ธรรมใตธรรมาสน” 9 คือ

สัญญาอยางใดอยางหน่ึงที่เปนอดีต อนาคต และปจจุบัน ภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล ทั้งหมดก็เปนแตสักแตวาสัญญา เธอทั้งหลายถึงเห็นสัญญานั้นดวยปญญาอันชอบตามเปนจริงอยางนี้วา น่ันไมใชของเรา น่ันไมใชเปนของเรา น่ันไมใชตนของเรา สังขารอยางใดอยางหน่ึงที่เปนอดีต อนาคต และปจจุบัน ภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล ทั้งหมดก็เปนแตสักแตวาสังขาร เธอทั้งหลายถึงเห็นสังขารนั้นดวยปญญาอันชอบตามเปนจริงอยางนี้วา น่ันไมใชของเรา น่ันไมใชเปนของเรา น่ันไมใชตนของเรา วิญญาณอยางใดอยางหน่ึงที่เปนอดีต อนาคต และปจจุบัน ภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล ทั้งหมดก็เปนแตสักแตวาวิญญาณ เธอทั้งหลายถึงเห็นวิญญาณน้ันดวยปญญาอันชอบตามเปนจริงอยางน้ีวา น่ันไมใชของเรา น่ันไมใชเปนของเรา น่ันไมใชตนของเรา ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผูไดฟงแลว เห็นอยูอยางนี้ ยอมเบ่ือหนายแมในรูป ยอมเบ่ือหนายแมในเวทนา ยอมเบ่ือหนายแมในสัญญา ยอมเบ่ือหนายแมในสังขารทั้งหลาย ยอมเบ่ือหนายแมในวิญญาณ เม่ือเบ่ือหนาย ยอมส้ินกําหนัด จิตก็พน เม่ือจิตพนแลว ก็รูวาพนแลว อริยสาวกนั้นทราบชัดวา ชาติส้ินแลว พรหมจรรยไดอยูจบแลว กิจที่ควรทําไดทําเสร็จแลว กิจอื่นเพื่อความเปนอยางนี้มิไดมี

พระผูมีพระภาคไดตรัสพระสูตรน้ีแลว พระปญจวัคคียมีใจยินดี เพลิดเพลินภาษิตของผูมีพระภาค ก็แลเม่ือ พระผูมีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตน้ีอยู จิตของพระปญจวัคคียพนแลวจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไมถือม่ัน”

8 วิ. นย. 4/27/32 ; ที. สี. 9/237/189. 9 ไต ตามทาง. “ธรรมะใตธรรมาสน”. หนังสือพิมพขาวสด ปที่ 8 ฉบับที่ 2796 วันที่ 27 กรกฎาคม 2541.

Page 53: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 46 1. ทานกถา หมายถึง เรื่องการให หรือการแบงปนสิ่งที่เรามีแกคนอื่น ไมวาจะเปนการใหเพื่ออนุเคราะหสงเคราะหเชนใหแกยาจกวณิพก หรือใหเพื่อบูชาคุณความดี เชนใหแกผูมีพระคุณและสมณะชี พราหมณผูทรงศีล ทานนี้ทําคอนขางงาย ถารูจักทําหรือทําเปน เม่ือมีทรัพยมีศรัทธาก็ทําทานได แตถาทําไมเปน ทานก็ไมเปนทาน เชนใหดวยเจตนาไมบริสุทธิ์ ใหเพื่อหวังผลตอบแทน ใหโดยทรัพยที่หามาไดโดยไมสุจริต หรือใหแกผูรับที่ไมมีศีลหรือไมสมควรให อยางไรก็ตาม ทานก็ยังทําไดงายอยู 2. ศีลกถา หมายถึง การรักษา กาย วาจา ใจ ใหอยูในกรอบ ทํายากกวาทาน เพราะเปนเรื่องของการควบคุมใจ ศีลนี้เนนกายสุจริต ( กระทําดีทางกายสามคือ ไมฆาและเบียดเบียน ไมลักของคนอื่น ไมผิดในกาม) และวจีสุจริต (กระทําดีทางวาจาสี่คือ ไมพูดเท็จ ไมพูดคําหยาบ ไมพูดสอเสียด ไมพูดเพอเจอไรสาระ) เนนการกระทําดีทางกายวาจาก็จริงอยู แตการจะทําเชนนี้ได จิตใจตองแนวแนมั่นคง มีความอดทนสูง จึงเทากับการควบคุมใจดวย รักษาศีลจึงยากกวาการทําทาน 3. สัคคกถา หมายถึง เรื่องการไปเกิดในสวรรค เปนรางวัลหรือผลตอบแทนของการทําทานและรักษาศีล ถาทานไมบริสุทธิ์ ศีลไมบริสุทธิ์ก็ไมมีโอกาสไปเกิดในสวรรค และเมื่อเกิดในสรวงสวรรคแลว ทานวาโอกาสบําเพ็ญคุณงามความดีก็มีนอย เพราะชีวิตไดแตเพลิดเพลินในกามคุณ เทียบกับชีวิตคนธรรมดาก็ได คนเราถามีความพรั่งพรอมดวยวัตถุมาก ๆ มักจะลืมตัว หลงติดอยูในความสุข ความสบายนั้น ไมคอยนึกถึงการทําบุญทํากุศลนัก ทําบุญตักบาตร หรือเขาวัดฟงธรรมนับวันไดเลยเชื่อเถอะ อีกอยางหนึ่ง เทวดานั้นมีความยับย้ังชั่งใจนอย เผลอ ๆ อาจจุติปจจุบันทันดวน ดุจขาราชการถูกปลดออกกลางอากาศก็ได การเกิดในสวรรคจึงเปนเรื่องยาก 4. กามาทีนวกถา หมายถึง เรื่องโทษของกาม นี่ยิ่งยากใหญ เพราะคนที่ตกอยูในความสนุกสนานเพลิดเพลินทางกามคุณ ยอมตองหูหนวก ตาบอด ยอมไมเห็นโทษของกาม ดุจหนอนอยูในหลุมคูถ ดําผุดดําวายอยูในบออาจม ยอมไมรูสึกวาคูถมันเหม็นและสกปรก ตรงกันขามกลับเห็นวามันหอม กินเขาไปแลวรสหวานอรอย ฉันใด ฉันนั้นแล 5. เนกขัมมานิสังสกถา หมายถึงเรื่องการออกจากกาม เม่ือไมรูไมเห็นวากามมีโทษ แลวการออกจากกามยิ่งทําไดยาก ดุจหนอนในหลุมคูถขางตน ถาหนอนมันพูดไดและรูภาษา ถามีใครสักคนไปบอกมันวา อาจมนั้นเหม็นและสกปรกเหลือเกิน เจาจงออกจากหลุมอาจมเถิด หนอนมันก็จะตอบวาไมเห็นเหม็นเลย ไมเห็นสกปรกเลย หอมหวานและสะอาดออกจะตายไป ที่ทานพูดอยางนี้ ทานอยากกินเองใชไหม จึงมาพูดหลอกขา ขาไมหลงกลทานดอก อะไรไปโนน ดีไมดีผูชักชวนอาจเสียผูเสียคนเพราะความปรารถนาดีก็ได พระพุทธองคตรัสสอนเรื่อง ทาน ศีล สวรรค โทษของกาม และการออกจากกาม เปนการ “ปูพื้น” จากนั้นก็แสดงอริยสัจส่ีประการโดยพิสดาร ขอสังเกต พระพุทธเจาทรงแสดงอนุบุพพิกถาเปนครั้งแรกแกยสะบุตรเศรษฐี เพราะหนุมยสะ ไมเคยมีความรูหรือเคยครุนคิดในทางหลักธรรมที่ลึกซึ้งมากอน เขามีแตความสนุกสนานเพลิดเพลินในฐานะของลูกเศรษฐี เม่ือประสบสิ่งที่ทําใหเขาเบื่อ ก็จึงไดแสวงหาทางออกดวยการหลีกหนี พระพุทธเจาจึงไดแสดงอนุบุพพกถาแกเขา เปนการเตรียมจิตใจเขาใหพรอมที่จะรับฟงสิ่งที่ลึกซึ้ง คือ อริยสัจส่ี

Page 54: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 47 อันเปนหลักความจริงสูงสุดตอไป อุปมาเหมือนการซักฟอกผาใหสะอาดกอนที่จะนําลงยอมดวยสีตางๆ ก็เปนการงายที่จะยอมฉันนั้น

Page 55: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 8 พุทธกิจ 45 พรรษา (ตอ) มอบอุดมการณแดพระธรรมทูต ในพรรษานั้น เม่ือโปรดเบญจวัคคีย และสาวกอีก 55 คน (กลุมยสะและสหาย 54 คน) ดวยอนุปุพพิกถา จนเปนพระอรหันตแลว ออกพรรษาจึงไดเรียกสาวก 60 รูปมาเพื่อมอบอุดมการณและภาระการประกาศศาสนาให ถือวาเปนอุดมการณคณะสมณทูตครั้งแรก ดังที่พระพุทธเจาตรัสวา “ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราพนแลวจากบวงทั้งปวง ทั้งที่เปนของทิพย ทั้งที่เปนของมนุษย แมพวกเธอก็พนแลวจากสิ่งทั้งปวง ทั้งที่เปนของทิพย ทั้งที่เปนของมนุษย พวกเธอจงเที่ยวจาริก เพื่อประโยชนและความสุขแกชนหมูมาก เพื่ออนุเคราะหโลก เพื่อประโยชนเกื้อกูลและความสุขแกทวยเทพและมนุษย พวกเธออยาไดไปรวมทางเดียวกันสองรูป จงแสดงธรรมงามในเบื้องตน งามในทามกลาง งามในที่สุด จงประกาศพรหมจรรยพรอมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะครบบริบูรณ บริสุทธิ์ สัตวทั้งหลายจําพวกที่มีธุลีคือกิเลสในจักษุนอย มีอยู เพราะไมไดฟงธรรมยอมเสื่อม ผูรูทั่วถึงธรรม จักมี ดูกรภิกษุทั้งหลาย แมเราก็จักไปยังตําบลอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อแสดงธรรม” 1 โปรดภัททวัคคีย 30 คน ในขณะที่พระพุทธเจา เสด็จไปยังตําบลอุรุเวลาเสนานิคมนั้น ระหวางทางพบภัททวัคคีย 30 คนที่ไรฝาย กําลังเที่ยวตามหาหญิงแพศยาหรือหญิงโสเภณีที่พวกตนหามาใหเพื่อนคนหนึ่งในกลุมที่ยังไมมีภรรยา แตวาหญิงคนนั้น อาศัยตอนที่พวกเขาเผลอจึงขโมยทรัพยสินของมีคาไป เม่ือภัททวัคคีย 30 คน พบกับพระพุทธเจา ก็สอบถามวาเห็นผูหญิงผานมาทางนี้หรือไม แตแทนที่พระพุทธเจาจะตอบคําถาม กลับยอนถามเปนเชิงใหฉุกคิดวา พวกเธอจะแสวงหาผูหญิงหรือตัวเองดี จึงไดคิดและไดรับฟงพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจา คือ อนุปุพพิกถาและอริยสัจ 4 อุทิศตนบวชในพระพุทธศาสนา และพระพุทธเจาทรงสงทานเหลานั้นไปยังเมืองปาวา แควนโกศลเพื่อประกาศพระศาสนาตอไป โปรดนักบวชชฎิล 1,003 คน ตอจากนั้น พระพุทธเจามุงหนากลับไปยังแควนมคธเพื่อประกาศศาสนา ณ ที่แควนมคธ นั้นนักบวชมีมากและคนใหความนับถือมาก จุดประสงคแรกตองการประกาศในหมูนักบวชกอน หากสอนนักบวชดวยกันไดยอมเปนการงายที่จะขยายฐานไดเร็ว ที่คยาสีสะ มีนักบวชบูชาไฟ (ชฎิล) 3 พี่นอง มีบริวาร ถึง 1,000 คน พระพุทธเจาจึงไปโปรดชฎิลกลุมนี้ โดยแสดงธรรมสอบสวนกับส่ิงที่เขาคุนเคยคือไฟ ธรรมเทศนากัณฑนี้ เรียกวา อาทิตตปริยายสูตร 2

1 วินย. มหา. 4/32/39-40. 2 วินย. มหา. 4/55/62-64 :-

“คร้ังน้ัน พระผูมีพระภาคประทับอยู ณ ตําบลอุรุเวลา ตามพระพุทธาภิรมยแลว เสด็จจาริกไปโดยมรรคาอันจะไปสูตําบลคยาสีสะ พรอมดวยภิกษุสงฆหมูใหญ 1,000 รูป ลวนเปนปุราณชฎิล ไดยินวา พระองคประทับอยูที่ตําบลคยาสีสะ ใกลแมนํ้าคยานั้น พรอมดวยภิกษุ 1,000 รูป ณ ที่น้ัน พระผูมีพระภาครับส่ังกับกะภิกษุทั้งหลาย วาดังน้ี : ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่ิงทั้งปวงเปนของรอน ก็อะไรเลาชื่อวาสิ่งทั้งปวงเปนของรอน ? ดูกรภิกษุทั้งหลาย จักษุเปนของรอน รูปทั้งหลายเปนของรอน วิญญาณอาศัยจักษุเปนของรอน สัมผัสอาศัยจักษุเปนของรอน ความเสวยอารมณ เปน

Page 56: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism)

49

ขอสังเกต อาทิตตปริยายสูตร 1. สิ่งที่ทําใหเรารอน คือกิเลสในใจของตนเอง มีราคะ โทสะ โมหะ และความทุกข 2. การรับรูทางอายตนะถามีกิเลสเปนตัวบงการ ยอมเรารอน ถาไมมีกิเลส ยอมสงบเย็น

โปรดพระเจาพิมพิสาร และไดอัครสาวก เม่ือไดชฎิล 1,003 รูป เปนสาวก จึงมาโปรดพระเจาพิมพิสารตามที่ไดใหคําปฏิญญาแกกันไว และไดรับการถวายสวนไผเปนวัดแหงแรกในพระพุทธศาสนา นามวา “เวฬุวัน” ในตําบลนาลันทา รอบเขตเมืองราชคฤห มีสหายรักกัน 2 คน นามวา อุปติสสะ อีกคนนามวา โกลิตะ ทั้งคูเปนบุตรพราหมณเจาตําบล เที่ยวสนุกสนานเฮฮาตามประสาคนหนุม ทั้งคูมีบริวาร 500 คน วันหนึ่งไปชมงานแสดงมรสพที่ภูเขา (เมืองราชคฤหมีเขาลอมรอบ 5 ลูก เรียกเบญจคีรีนคร) แตกอนเคยสนุก แตวันนั้น ทั้งคูมองการแสดงไปพลางคิดไป คนเหลานี้ไมเกินรอยปตองตาย เราจะมัวสนุกอยูทําไม เม่ือทั้งคูเห็นพองกันจึงพากันไปบวชเปนปริพาชก ฝากตัวเปนศิษยอาจารยสัญชัยปริพาชก เพราะเปนคนฉลาดจึงเรียนคําสอนในสํานักสัญชัยจบในเวลาไมนาน และคิดวา สํานักนี้ไมสอนเรื่องความหลุดพนไดจริง จึงลาอาจารยไปหาโมกขธรรม สหายทั้งสองทําการตกลงกติกาวา ถาใครไดโมกขธรรมกอนตองมาบอกกัน วันแลววันเลา พบหนากันแตละวัน มองตาก็รู ควาน้ําเหลวเหมือนทุกครา

สุขเปนทุกข หรือมิใชสุขมิใชทุกข ที่เกิดข้ึนเพราะจักษุสัมผัสเปนปจจัย แมน้ันก็เปนของรอน รอนเพราะอะไร ? เรากลาววา รอนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ รอนเพราะความเกิดเพราะความแกและความตาย รอนเพราะความโศก เพราะความรําพัน เพราะทุกขกาย เพราะทุกขใจ เพราะความคับแคน โสตเปนของรอน เสียงทั้งหลายเปนของรอน….. ฆานะเปนของรอน กลิ่นทั้งหลายเปนของรอน….. ชิวหาเปนของรอน รสทั้งหลายเปนของรอน….. กายเปนของรอน โผฎฐัพพะทั้งหลายเปนของรอน….. มนะเปนของรอน ธรรมทั้งหลายเปนของรอน วิญญาณอาศัยมนะเปนของรอน สัมผัสอาศัยมนะเปนของรอน ความเสวยอารมณเปนสุข เปนทุกขหรือมิใชทุกขมิใชสุข ที่เกิดข้ึนเพราะมโนสัมผัสเปนปจจัยแมน้ันก็เปนของรอน รอนเพราะอะไร ? เรากลาววา รอนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ รอนเพราะความเกิด เพราะความแกและความตาย รอนเพราะความโศก เพราะความรําพัน เพราะทุกขกาย เพราะทุกขใจ เพราะความคับแคน ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผูใดฟงแลวเห็นอยูอยางนี้ ยอมเบ่ือหนายแมในจักษุ ยอมเบ่ือหนายแมในรูปทั้งหลาย ยอมเบ่ือหนายแมในวัญญาณจักษุ ยอมเบ่ือหนายแมในสัมผัสอาศัยจักษุ ยอมเบ่ือหนายแมในความเสวยอารมณ ที่เปนสุข เปนทุกข หรือมิใชทุกข มิใชสุข ที่เกิดข้ึนเพราะสัมผัสจักษุเปนปจจัย ยอมเบ่ือหนายแมในโสต ยอมเบ่ือหนายแมในเสียงทั้งหลาย ยอมเบ่ือหนายแมในฆานะ ยอมเบ่ือหนายแมในกลิ่นทั้งหลาย ยอมเบ่ือหนายแมในชิวหา ยอมเบ่ือหนายแมในรสทั้งหลาย

ยอมเบ่ือหนายแมในกาย ยอมเบ่ือหนายแมในโผฏฐัพพะทั้งหลาย ยอมเบ่ือหนายแมในมนะ ยอมเบ่ือหนายแมในธรรมทั้งหลาย ยอมเบ่ือหนายแมในวิญญาณอาศัยมนะ ยอมเบ่ือหนายแมในสัมผัสอาศัยมนะ ยอมเบ่ือหนายแมในความเสวยอารมณที่เปนสุข เปนทุกข หรือมิใชทุกขมิใชสุข ที่เกิดข้ึนเพราะมโนสัมผัสเปนปจจัย

เม่ือเบ่ือหนาย ยอมส้ินกําหนัด เพราะสิ้นกําหนัด จิตก็พน เม่ือจิตพนแลว ก็รูวาพนแลว อริยสาวกนั้นทราบชัดวา ชาติส้ินแลว พรหมจรรยไดอยูจบแลว กิจที่ควรทําไดทําสําเร็จแลว กิจอื่นอีกเพื่อความเปนอยางนี้ไมมีก็แล เม่ือพระผูมีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตน้ีอยูจิตของภิกษุ 1,000 รูปน้ัน พนแลวจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไมถือม่ัน”

Page 57: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism)

50

จนเชาวันหนึ่ง พระอัสสชิ องคอรหันตนองนอยที่สุดในเบญจวัคคีย เดินทางมาสอนศาสนาและเพื่อเฝาพระพุทธเจาดวย กําลังบิณฑบาตอยู พลันสายตาของ “อุปติสสะ” ผูกระหายตอโมกขธรรม แลเห็นสมณะที่มีทาทางแปลกกวาสมณะที่เขาเคยพบในเมืองนี้ ทานเดินอยางสํารวม กาวเดินขางหนา เล้ียวขวาซาย มองเหลียวดูงามนาเลื่อมใสไปหมด ในใจบอกตนวา พบแลวคนที่เราตองการ ดีใจจนอยากจะกรากเขาไปจับมือถามเอาเดี๋ยวนั้นเลย แตเพราะคาที่คนเปนคนรูกาลอันเหมาะและควร จึงคิดวา เวลานี้ สมณะทานกําลังบิณฑบาต ไมใชเวลาควรรบกวน จึงเดินตามทานไปเรื่อย ๆ เม่ือพระอัสสชิรับอาหารพออิ่มแลวก็เดินออกจากหมูบานเขาไปในปาเพื่อฉันอาหาร อุปติสสะจึงไปจัดแจงที่นั่งให รอจนทานอิ่มแลวก็ถวายน้ํา เม่ือทุกอยางเรียบรอย เห็นวาเวลาสมควรจึงไดเรียนถามสมณะวา “ทานครับ อินทรีย (รางกาย) ของทานผองใสจริง ๆ ผิวพรรณทานบริสุทธิ์ ผุดผองงดงาม ทานบวชเพราะผูใด ใครเปนศาสดาของทาน ทานพอใจคําสอนของผูใดหนอ” 3

อัสสชิ “เราบวชอุทิศตนตอพระมหาสมณะศากยบุตร ทานเปนศาสดาของเรา เราชอบใจธรรมของทาน ” อุปติสสะ “ศาสดาของทานมีหลักแสดงแบบใด และกลาวในเรื่องอะไรทาน” อัสสชิ “เราเปนพระบวชใหม พึ่งบวชในพระธรรมวินัยนี้ เราไมสามารถแสดงธรรมโดยพิสดารแตอาจแสดงเนื้อหาโดยยอ ๆ ได” อุปติสสะ “จะพูดนอย หรือพูดมาก แตขอใหพูดเฉพาะสาระเนื้อหาแกขาพเจาก็พอ เพราะขาพเจาเพียงตองการเนื้อหาสาระ ไมตองการคําพูดที่มากดวยตัวอักษร” 4

อัสสชิ “เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต เตสญจ โย นิโรโธ จ เอวํวาที มหาสมโณ” 5

แปลวา “พระตถาคตกลาววา ธรรมดาเหลาใดเกิดแตเหตุ ทรงบอกสาเหตุแหงธรรมเหลานั้น และยังไดบอกการดับของธรรมเหลานั้น มหาสมณะมีวาทะกลาวอยางนี่แหละ” เพียงเทานี้ อุปติสสะก็ไดดวงตาเห็นธรรม บรรลุโสดาบัน ไดกลับมาบอกแกสหายโกลิตะ ๆ ก็ไดดวงตาเห็นธรรมเชนกัน ทั้งสองไปแจงขาวแกอาจารยสัญชัย ชวนอาจารยไปหาพระพุทธเจาดวยกัน แตอาจารยปฏิเสธ จึงแบงบริวารครึ่งหนึ่งใหอาจารย ครึ่งหนึ่งติดตามพวกตนไปเฝาและขอบวชกับพระพุทธเจาที่ วัดเวฬุวัน

เม่ือบวชแลวทั้งคูไดบรรลุอรหันต เปนอัครสาวกที่สําคัญ อุปติสสะ รูจักกันในนามวา “พระสารีบุตร” (ลูกนางสารี) เปนอัครสาวกฝายขวา เลิศทางมีปญญา โกลิตะ รูจักกันในนามวา “พระโมคคัลลานะ” (ลูกนางโมคคัลลี) เปนอัครสาวกฝายซาย เลิศทางมีฤทธิ์ โอวาทปาติโมกข ในวันเพ็ญเดือน 3 เกิดมีการประชุมโดยมิไดนัดหมายในค่ําคืนนั้น (ธรรมเนียมพราหมณมีพิธีประชุมเม่ือพระจันทรเพ็ญเดือน 3 เขาทํานองศิวาราตรี ) ที่เรียกวา จาตุรงคสันนิบาต

3 วินย. มหา. 4/64/73. 4 วินย. มหา. 4/64/74. “อปฺป วา พหุ วา ภาสสฺสุ อตฺถํเยว เม พฺรูหิ

อตฺเถเนว เม อตฺโถ กึ กาหสิ พฺยญชนํ พหุนฺติ” 5 วินย. มหา. 4/65/74.

Page 58: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism)

51

พระพุทธเจาจึงไดแสดงหลักการพระพุทธศาสนา ที่เรียกวา โอวาทปาติโมกข ( คําสอนหลัก ) 6 ดังนี้ 1. หลักการสําคัญ 1.1 ละเวนบาป ( ความชั่ว ) ทุกประการ 1.2 บําเพ็ญกุศล ( ความดี ) ใหสมบูรณ 1.3 ชําระจิตใจใหใสกวากิเลส 2. หลักทั่วไปและคุณสมบัติของนักบวช 2.1 ขันติ ความอดกลั้น เปนเครื่องเผากิเลสอยางดีที่สุด 2.2 ทานผูรูทั้งหลายยกยองนิพพานวาเปนเปาหมายสูงสุด 2.3 ผูที่ยังเขนฆาผูอื่น ไมเรียกวาเปนบรรพชิต ( นักบวช ) 2.4 ผูที่ยังเบียดเบียนผูอื่น ไมเรียกวาสมณะ ( ผูสงบ ) 3. หลักในการทําหนาที่ธรรมทูตที่ดี 3.1 ไมกลาวใหรายผูอื่น 3.2 ไมทํารายผูอื่น 3.3 สํารวมในคําสั่งสอนหลัก 3.4 การรูจักประมาณในการบริโภคอาหาร 3.5 การพอใจอยูในที่เสนาสนะอันสงัดวิเวก 3.6 การไมละความเพียรในการฝกจิตอยางยิ่ง ลําดับตอนี้ไปเปนการกลาวถึงพุทธกิจโดยยอตามลําดับปที่จําพรรษา รวมทั้งสถานที่เขาอยูจําพรรษาของพระพุทธเจา แตจะไมใหรายละเอียดในเหตุการณในที่นี้ จะกลาวในบทอื่นหากมีสวนที่เกี่ยวของถึงเหตุการณนั้น ๆ พุทธกิจตามลําดับ 45 พรรษา 7

พรรษาที่ 1 -จําพรรษาที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี พรอมเบญจวัคคีย -โปรด ยสะมาณพ พรอมดวยบิดา มารดา ภรรยาเกา และเพื่อน 54 คน

-ออกพรรษาแลวเสด็จไปแควนมคธ โปรดภัททวัคคีย 30 คน โปรดชฎิล 1,003 โปรดพระเจาพิมพิสาร และบริวาร

-ไดอัครสาวก (สารีบุตร-โมคคัลลานะ) - เกิดเหตุการณจาตุรงคสันนิบาต แสดงโอวาทปาฏิโมกข เพ็ญเดือน 3 พรรษาที่ 2-3-4 -จําพรรษาอยูที่วัดเวฬุวัน ที่พิมพิสารราชาถวายเปนวัดแรกในพุทธศาสนา

-เสด็จไปโปรดพุทธบิดาและพระญาติที่กบิลพัสดุ พระญาติทั้งสองฝายสราง นิโครธมหาวิหารเปนที่รับรอง -นันทกุมารออกบวช

6 ขุ. ธ. 25 / 24 39 - 40 จาตุรงคสันนิบาต คือ 1. วันเพ็ญเดือนมาฆะ 2. พระอรหันตลวน ๆ 1,250 รูป 3.

เปนพระภิกษุที่พระพุทธเจาทรงบวชใหเอง ( เอหิภิกขุ ) และ 4. ตางมากันโดยมิไดนัดหมายลวงหนา 7 มธุรตฺถวิลาสินี. หนา 5; พระปฐมสมโพธิกถา. หนา 282-283; พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต).

พุทธประวัติ. พิมพในชื่อ วันวิสาขบูชาและแนวทางในการปฏิบัติ. หนา 23-35.

Page 59: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism)

52

-พระโอรสราหุลบรรพชาเปนสามเณร -อนาถบิณฑิกเศรษฐีชาวเมืองสาวัตถีเล่ือมใสสรางวัดพระเชตวันถวาย -ประทับอยูอนุปยมัลลนิคม แขวงเมืองพาราณสี พระญาติทั้ง 6 คือ พระภัททิยะ 1 พระอนุรุทธะ 1 พระอานนท 1 พระภัคคุ 1 พระกิมพิละ 1 พระเทวทัต 1 พรอมอํามาตยชางกัลบก ชื่อ อุบาลี ออกบวชตาม

พรรษาที่ 5 จําพรรษาที่กูฎาคาร ปามหาวัน นครเวสาลี แควนวัชชี ทราบขาวการ ประชวรของพระบิดา เสด็จไปพยาบาลที่กบิลพัสดุ แสดงธรรมโปรดจน บรรลุอรหันต พระเจาสุทโธทนะสิ้นพระชนม

-พระนางมหาปชาบดีโคตมีขอบวชเปนภิกษุณี ถูกหาม 3 ครั้ง สุดทายจึงยอมโดยมีขอแมใหรับครุธรรม 8 ประการ 8 จึงจะใหบวช มีภิกษุณีครั้งแรก

พรรษาที่ 6 จําพรรษาที่มกุฏบรรพต พรรษาที่ 7 จําพรรษาที่ดาวดึงสหลังการแสดงยมปาฏิหาริย ออกพรรษาเสด็จลงจาก ดาวดึงสจึงไดเกิดประเพณีตักบาตรเทโวโรหนะวันออกพรรษา พรรษาที่ 8 จําพรรษาที่เภสกฬามิคทายวัน ปาไมสีเสียด นครสุงสุมารคิระ แควนภัคคะ

สนทนากับโพธิราชกุมาร เลาประวัติพระองคต้ังแตประสูติ จนแสดง ปฐมเทศนาใหกุมารฟง

พรรษาที่ 9 จําพรรษาที่โฆสิตาราม ที่เมืองโกสัมพี แควนอังวะ เกิดโศกนาฏกรรม มาคันทิยา มเหสีพระเจาอุเทนทํารายมเหสีสามาวดีถึงวางเพลิงครอกจนตาย -เทวทัตเริ่มคิดแผนการปกครองสงฆ แยกตัวออกไปคบคิดกับอชาตศัตรูกุมาร

ที่ราชคฤห พรรษาที่ 10 จําพรรษาที่ปารักขิตวัน เขตบานปาลิไลยกะ เพราะพระภิกษุทะเลาะกัน แตกเปนฝกฝาย 2 กลุม ตลอดพรรษาชาวบานไมใสบาตร ลงโทษพระสงฆ พรรษาที่ 11 จําพรรษาที่ หมูบานพราหมณ เอกนาลา ในทักขิณาคิรีชนบท พรรษาที่ 12 จําพรรษาที่ ปุจิมัณฑพฤกษ (ไมสะเดา) ในเขตเมืองเวรัญชา

8 วินย. 7/256/516 :- ครุธรรม 8 ประการ ไดแก 1. ภิกษุณีอุปสมบทแลว 100 ป ตองกราบไหว ลุกรับ ทําอัญชลีกรรม สามีจิกรรม แกภิกษุที่อุปสมบทในวันน้ัน

ธรรมแมน้ี ภิกษุณีตองสักการะ เคารพ นับถือ บูชา ไมละเมิดตลอดชีวิต 2. ภิกษุณีไมพึงอยูจําพรรษาในอาวาสที่ไมมีภิกษุ ธรรมแมน้ี ภิกษุณีตองสักการะ เคารพ นับถือ บูชา ไมละเมิดตลอดชีวิต 3. ภิกษุณีตองหวังธรรม 2 ประการ คือ ถามวันอุโบสถ 1 เขาไปฟงคําสั่งสอน 1 จากภิกษุสงฆทุกกึ่งเดือน ธรรมแมน้ี ภิกษุณีตองสักการะ เคารพ นับถือ บูชา ไมละเมิดตลอดชีวิต 4. ภิกษุณีอยูจําพรรษาแลว ตองปวารณาในสงฆสองฝาย โดยสถานทั้ง 3 คือ โดยไดเห็น โดยไดยิน หรือโดยรังเกียจ ธรรมแมน้ี ภิกษุณีตองสักการะ เคารพ นับถือ บูชา ไมละเมิดตลอดชีวิต

5. ภิกษุณีตองธรรมที่หนักแลว ตองประพฤติปกขมานัตในสงฆ 2 ฝาย ธรรมแมน้ี ภิกษุณีตองสักการะ เคารพ นับถือ บูชา ไมละเมิดตลอดชีวิต

6. ภิกษุณีตองแสวงหาอุปสัมปทาในสงฆ 2 ฝาย เพื่อสิกขมานาผูมีสิกขา อันศึกษาแลวในธรรม 6 ประการครบ 2 ปแลว ธรรมแมน้ี ภิกษุณีตองสักการะ เคารพ นับถือ บูชา ไมละเมิดตลอดชีวิต 7. ภิกษุณีไมพึงดา บริภาษภิกษุ โดยปริยายอยางใดอยางหน่ึง ธรรมแมน้ี ภิกษุณีตองสักการะ เคารพ นับถือ บูชา ไมละเมิดตลอดชีวิต 8. ตั้งแตวันน้ีเปนตนไป ปดทางไมใหภิกษุณีทั้งหลายสอนภิกษุ เปดทางใหภิกษุทั้งหลายสอนภิกษุณี ธรรมแมน้ี ภิกษุณีตองสักการะ เคารพ นับถือ บูชา ไมละเมิดตลอดชีวิต

Page 60: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism)

53

บัญญัติวินัยปาราชิกครั้งแรก พรรษาที่ 13 จําพรรษาที่ จาลิยะบรรพต เมฆิยะเปนอุปฏฐาก พรรษาที่ 14 จําพรรษาที่ วัดพระเชตวัน เมืองสาวัตถี ราหุลสามเณร อุปสมบทเปนภิกษุ พรรษาที่ 15 จําพรรษาที่ นิโครธาราม เมืองกบิลพัสดุ ทรงอนุเคราะหระงับการวิวาทระหวาง

พระประยูรญาติทั้งสองพระนคร -สุปปพุทธะพอตาปดทาง บิณฑบาต ถูกธรณีสูบทั้งเปน

พรรษาที่ 16 จําพรรษาที่ อัคคารฬวเจดีย เมืองอาฬวี ทรงฝกอาฬวกยักษใหต้ังอยูในศีล พรรษาที่ 17 จําพรรษาที่ เวฬุวัน กรุงราชคฤห พรรษาที่ 18-19 จําพรรษาที่ จาลิยะบรรพต โปรดธิดาของนายชางหูก พรรษาที่ 20 จําพรรษาที่ เวฬุวัน กรุงราชคฤห ต้ังพระอานนทเปนพุทธอุปฏฐาก ปราบโจร

องคุลีมาล เทวทัตทําสังฆเภท และถูกพระโกกาลิกทํารายจนอาพาธ พรรษาที่ 21-44 จําพรรษาที่เชตวันมหาวิหาร สาวัตถี เทวทัตถูกแผนดินริมสระโปกขรณีในพระ

เชตวัน นับจากวันที่ถูกพระโกกาลิกทํารายประมาณ 9 เดือน รวมจําพรรษาที่วัดเชตวัน 18 พรรษา (รวมกับพรรษากอนหนานี้อีก 1 พรรษา

เปน 19 พรรษา) และวัดบุพพารามของนางวิสาขา 6 พรรษา โดยสลับกับบุพพาราม รวมจําพรรษาที่ สาวัตถี 25 พรรษา

พรรษาที่ 45 จําพรรษาที่ เวฬุวคาม ใกลเมืองเวสาลี อัครสาวกทั้ง 2 นิพพานกอน -จากการเมืองเวสาลี “นาคาวโลกเจดียสถาน” -ถึงกูฏาคารศาลา พักที่ปาวาลเจดีย ทรงปลงอายุสังขาร -ตรัสถึงนิมิตโอภาสใหพระอานนททูลอาราธนาใหอยูตอ 16 ตําบล 9

-เสด็จดับขันธปรินิพพาน หลังจําพรรษาสุดทายได 6 เดือน ระหวางไมสาละ ทั้งคู ณ สาลวัน ของมัลลกษัตริย ใกลเมืองกุสินารา

วิธีสอนของพระพุทธเจา พระพุทธเจาเลือกใชวิธีสอน 3 แบบ สุดแตจริตของผูที่จะสอน วิธีสอนเรียกวา ปาฏิหาริย หมายความวา การสอนมีผลสําเร็จอยางนาอัศจรรย สามารถทําใหคนเกิดความรูถึงขั้นวิชชุญาณไดสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและวิถีชีวิต จนถึงขั้นเปนอริยบุคคลได ปาฏิหาริย 3 ไดแก 10

1. แบบอิทธิปาฏิหาริย ใชความสามารถพิเศษ เพื่อปราบคนราย ๆ ที่ไมยอมรับคําสอนงายๆ ใหสิ้นพยศ เปนประโยชนสําหรับผูที่เล่ือมใส สวนผูที่ไมเล่ือมใสและไมเชื่อ ยอมกลาววา มีวิชาที่ชื่อ “คันธารี” ทานคงแสดงดวยมนตคันธารีจึงไมนาอัศจรรย

9 พระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารีมหาเถระ ร.บ.). พุทธประวัติทัศนศึกษา. กรุงเทพฯ : กองทุนบุญนิธิหอไตร., 2539

น.174 นิมิตโอภาส 16 ตําบล คือ ที่เมืองราชคฤห 10 ตําบล คือ 1. ที่เขาคิชกูฏ 2. ที่โคตมนิโครธ 3. ที่เหวสําหรับทิ้ง

โจร 4. ที่ถํ้าสัตตบรรณคูหา ขางภูเขาเวภารบรรพต 5. ที่กาฬศิลา ขางภูเขาอิสิคิลิบรรพต 6. ที่สัปปโสณฑิกา ณ สีตวัน 7. ที่ตโปทาราม 8. ที่เวฬุวนาราม 9. ที่ชีวกัมพวนาราม 10. ที่มัททกุจฉิวัน กับที่เมืองเวลาลีอีก 6 ตําบล คือ 11. ที่อุเทนเจดีย 12. ที่โคตมเจดีย 13. ที่สัตตัมพเจดีย 14. ที่พหุปุตตเจดีย 15. ที่สารันทเจดีย 16. ที่ปาวาลเจดีย

10 ที สี. 9/273/339 อางใน พุทธทาสภิกขุ, พุทธประวัติจากพระโอษฐ ภาค 3, หนา 197-198.

Page 61: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism)

54

2. แบบอาเทสนาปาฏิหาริย ใชวิธีดักใจ ทายใจ ทายความรูสึก ของผูฟง สวนมากจะใชเพื่อกระตุกความคิดของคนที่คอนขางฉลาดแตหลงผิด อาจมีผูไมเชื่อ เพราะวิชาที่ชื่อ “มณิกา” มนตทายใจ ก็มีเลนกันอยู จึงไมนาอัศจรรย 3. แบบอนุสาสนีปาฏิหาริย สั่งสอนตามลําดับเชน ลงปฏิบัติตามนี้ ละสิ่งนี้ คิดอยางนี้ และจะบรรลุสิ่งนี้ ๆ ตามลําดับเปนตน อาจเปนการบรรยาย สนทนา โตตอบ อนุสาสนีปาฏิหาริย พระพุทธเจาใชมากที่สุด และไดผลดีที่สุด มีนักการศึกษาชาวลังกานามวา ดุรุเก ยกยองวา “พระพุทธเจาเชื่อมั่นในคําพูดที่เปลงออกมา สามารถทําใหคนเกิดความเชื่อมั่นถึงขั้นเปลี่ยนวิถีชีวิตได ยอมรับคานิยมใหมได แสวงหาเปาหมายใหมได ในยุคที่ศาสดาเจาลัทธิทั้งหลายหันไปใชฤทธิ์เดชปาฏิหาริยดึงดูดคนมาเปนสาวก พระพุทธเจาทรงยึดปาฏิหาริยอยางเดียว นั่นก็คือ ปาฏิหาริยแหงการสั่งสอน (อนุสาสนีปาฏิหาริย)” 11

วิธีตอบปญหาของพระพุทธเจา พระพุทธเจา เม่ือถูกถามปญหา จะเลือกตอบใน 4 แบบ คือ

1. ปญหาที่พึงตอบทันที เปนปญหาที่งาย ๆ ผูถามถามดวยความบริสุทธิ์ใจ อยากรูจริง ฟงแลวก็ไดประโยชน

พระพุทธเจาทรงตอบทันทีอยางตรงไปตรง เชน ปญหาวาดวยเบญจขันธ ตามที่ปรากฏในอนัตตลักขณสูตร12 เปนตน หรืออยางเชนที่ เทวดาองคหนึ่งถามวา “อะไรเปนทางแหงความเสื่อม” พระพุทธเจาตรัสตอบวา “ผูรูดีเปนเจริญ ผูรูชั่วเปนผูเส่ือม ผูใครธรรมเปนผูเจริญ ผูเกลียดธรรมเปนผูเส่ือม….” 13

2. ปญหาที่พึงตอบอยางมีเงื่อนไข ปญหาชนิดนี้ มักเปนปญหาคลุมเครือ มีสองแงสองมุม ถาตอบอยางตรงไปตรงมา อาจจะผิด

ได จึงตองตอบอยางมีเงื่อนไข บางทีคนถามเอง ก็มีเจตนาไมบริสุทธิ์ ประสงคจะเลนเลหเหล่ียมกับผูตอบ หรือเพื่อมุงจับผิด จึงตองตอบอยางมีเงื่อนไข หรือเปนการตอบอยางวิเคราะห

3. ปญหาที่พึงยอนถามกอนแลวจึงตอบ ปญหาชนิดนี้ ผูถามมักจะมีความเขาใจผิดเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ อยูแลวเปนเบื้องตน

เพื่อที่จะใหผูถามเขาใจประเด็นหรือเงื่อนไขที่เปนปญหาไดถูกตอง พระพุทธเจาจึงทรงยอนถามในเรื่องอุปมางาย ๆ เสียกอน เพื่อใหผูฟงเขาใจปญหาที่สลับซับซอนได

4. ปญหาที่ควรงดไว (ไมตอบ) ปญหาชนิดนี้ เปนปญหาทางอภิปรัชญา หรือปรมัตถสัจจะอันลึกซึ้ง ซึ่งไมเกี่ยวของกับ

ปญหาเฉพาะหนา คือ การแกทุกข และผูถาม ก็มุงที่จะมาชวนทะเลาะถกเถียงอวดภูมิปญญาของตนมากกวา ที่จะแสวงหาความรูความเขาใจอยางจริงใจ เพราะฉะนั้น พระพุทธองคจึงไมทรงตอบ โดยนัยนี้ อาจกลาวไดวา ไมมีปญหาใดที่พระพุทธเจาไมทรงตอบไมพยากรณ แตบางปญหาที่ไมทรงตอบนั้น เพียงแตไมตอบในสถานการณที่ไมควรตอบมากกวา เพราะสังเกตไดวา ปญหาตาง ๆ ที่วา

11 Anand, W. P. Gurung. Buddhism and Education. The Mahabudhi Society of India, หนา 9

อางใน วิธีสอนของพระพุทธเจา, หนา 49 ของแสง จันทรงาม. 12 วินัย. 4/20-21/25-26. 13 ขุ.สุ. 25/346/304.

Page 62: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism)

55

พระองคไมทรงตอบในเมื่อมีผูทูลถามแลว แตทรงแสดงตอบไวในที่อื่น ๆ เพียงแตวา ถามาถามเคนใหตอบ ไมทรงตอบเทานั้น ปญหาที่วาไมทรงตอบนั้น มี 10 เรื่อง คือ

1. โลกเที่ยง 2. โลกไมเที่ยง 3. โลกมีที่สุด

4. โลกไมมีที่สุด

5. ชีพก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น

6. ชีพอยางหนึ่ง สรีระอยางหนึ่ง 7. สัตวเบ้ืองหนาแตตายไปมีอยู 8. สัตวเบ้ืองหนาแตตายไปไมมีอยู 9. สัตวเบ้ืองหนา แตตายไปมีอยูก็มี ไมมีอยูก็มี 10. สัตวเบ้ืองหนาแตตายไปมีอยูก็มิใช ไมมีอยูก็มิใช 14

คําถามที่ไมทรงตอบในบาลี มี 10 เรื่องเทานั้น ปญหาที่นาวิเคราะหในที่นี้ ก็คือ เพราะเหตุใดจึงไมทรงตอบ ทั้ง ๆ ที่ตอบได แตไมทรงตอบหรือถึงรูคําตอบก็ไมทรงตอบ เพราะคําถามนั้นไมเกี่ยวกับกับพรหมจรรยหรือทางปฏิบัติ อีกประการหนึ่ง ปญหานั้น โดยหลักแลวไมควรตอบ ถาใช…คําถามนั้นมีคําตอบที่อยูเหนือความเขาใจ หรือสติปญญาของมนุษยหรือเปนคําถามที่ไรความหมาย ที่สําคัญพระพุทธองค ทรงศึกษาระบบความคิดที่มีอยูในยุคนั้นจนแตกฉานแลว ไมทรงพอพระทัยในความคิดเหลานั้น ที่พระองคไมทรงตอบปญหา 10 ประการ มิใชเพราะความไมรู หรือมิใชเพราะเรื่องไมเปนเพื่อพระิพพาน ยมน แตนิ่งเพราะทรงเห็นวา “มนุษ ีความเห็นเรื่องนั้นแตกตางกันอยู”

จึงนําไปสูบทสรุปที่ชัดเจนวา การไมตอบเพราะไมใชความเปนสิ่งที่มีความจํากัดเทาที่เปนปรากฏการณทางวัตถุ (Agnosticism) แตเพราะพื้นฐาน 2 ประการ คือ

1. พระพุทธองคเองมีบทสรุปที่ชัดเจนดานความจริงในเรื่องเหลานั้น แตทรงมีความเชื่อวา ิพพาน การทะเลาะกันดวยเรื่องนั้นไมทําใหจิตใจสงบอันเปนสิ่งจําเปนตอการบรรลุพระน

2. พระพุทธองค ก็ไมทรงทราบคําตอบเกี่ยวกับคําถาม 10 ประการที่กลาวนั้น ดังนั้น จึงจําเปนที่จะตองชี้ใหชัดวา พระพุทธองคมีเหตุผลในเชิงปฏิบัติที่ไมทรงตอบคําถาม

เหลานั้น (ทั้ง ๆ ที่ทรงทราบ) เรื่องนี้มี หลักฐานชัดเจนทั้งในคัมภีรทีฆนิกายและมัชฌิมนิกาย ในจูฬมาลุงกโยวาทสูตร พระพุทธองคตรัสวา พระองคมิไดทรงชักชวนผูใดมาบวชเพื่อตอบ

ปญหา 10 ประการ แลวตรัสปญหาที่ทรงตอบและไมทรงตอบ ปญหาวาโลกเที่ยงหรือไมเที่ยงเปนตน ไมทรงตอบเพราะไมมีประโยชน ไมเปนไปเพื่อตรัสรู ไมเปนไปเพื่อพระนิพพาน สวนปญหาที่ทรงอบ คื 15ต อ ปญหาเรื่องอริยสัจ 4

ในปาสาทิกสูตร ทีฆนิกาย พระพุทธองคตรัสแนะนําขอโตตอบกับเจาลัทธิตาง ๆวา ถาเจาลัทธิอื่น ๆ ถามวา สัตวตายแลวเกิดหรือไม….ใหตอบวา ขอนั้น พระผูมีพระภาคเจาไมทรงพยากรณ เพราะไมประกอบดวยประโยชน ไมประกอบดวยธรรม และไมเปนเพื่อดับทุกข 16

14 ม.ม. 13/143/146. 15 ม.ม. 13/143/146. 16 ที.ปา. 11/129/126.

Page 63: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 9 ผูแทนพระศาสดา

การปกครองคณะสงฆ การปกครองคณะสงฆ คือ การจัดทําขอบังคับ กฎเกณฑ การบังคับใชขอบังคับและกฎเกณฑนั้น รวมถึงการตัดสินกรณีที่ขัดแยงเกี่ยวกับการตีความหมายและการใชขอบังคับ กฎเกณฑ ในพระพุทธศาสนาเรียกวา วินัย หรือสิกขาบท1 ซึ่งทุกคนที่อยูในสังคมเดียวกันตองยอมรับและปฏิบัติตาม หากฝาฝนตองมีโทษตามสมควรแกกรณี เพื่อปองปรามไมใหผูใดมาทําความเดือดรอนแกสังคม และเพื่อคุมครองคนที่ปฏิบัติตามขอบังคับและกฎเกณฑ การปกครอง เปนเรื่องของการใชอํานาจเด็ดขาดและสูงสุดที่เรียกวา อํานาจอธิปไตย 2 ในการปกครองทั่งไป พบรูปแบบการใชอํานาจถึง 3 แบบ คือ 1. แบบราชาธิปไตย (Monarchy) คือการปกครองโดยบุคคลคนเดียวมีอํานาจสูงสุด ถาไมดีก็เปน แบบเผด็จการ (Dictatorship) 2. แบบอภิชนาธิปไตย (Aristocracy) คือ การปกครองโดยคณะบุคคล ที่มีเพียงบางกลุมทําหนาที่บริหารจัดการ ถาปกครองไมดีเพื่อพรรคพวกตนก็เปนแบบคณาธิปไตย (Oligarchy) 3. แบบประชาธิปไตย (Democracy) คือ การปกครองโดยประชาชน (สมาชิก) ในสังคมทั้งหมด แตถาไมสามารถควบคุมสมาชิกเอาไวได ทําใหการปกครองลมเหลว ไมสามารถจัดการกับสมาชิก จนเกิดการระส่ําระสาย ก็จะเปนแบบ อนาธิปไตย (Anarchy) หรือใชฝูงชนเปนใหญ (Mob-rule) จากรูปแบบการปกครองที่กลาวมา เม่ือพิจารณาการบริหารของพระพุทธเจา ทําใหทราบถึงลําดับการใชอํานาจสูงสุดครบ 3 แบบ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับจํานวนสมาชิก (พระสงฆ) เปนตัวแปรของรูปแบบการปกครอง ซึ่งแบงเปน 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 พระพุทธเจาปกครอง (แบบราชาธิปไตย)

1วินย. 1/26/20. “เพราะเหตุน้ันแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแกภิกษุทั้งหลาย อาศัยอํานาจประโยชน 10 ประการ คือ

1. เพื่อความรับวาดีแหงสงฆ 2. เพื่อความสําราญแหงสงฆ 3. เพื่อขมบุคคลผูเกอยาก

4. เพื่ออยูสําราญแหงภิกษุผูมีศีลเปนที่รัก

5. เพื่อปองกันอาสวะอันจะบังเกิดในปจจุบัน

6. เพื่อกําจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต

7. เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไมเลื่อมใส

8. เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแลว 9. เพื่อความตั้งม่ันแหงพระสัทธรรม

10. เพื่อถือตามพระวินัย ” 2 แสวง อุดมศรี. การปกครองคณะสงฆไทย. (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, มปป ). หนา 3.

Page 64: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 58 ในสมัยแรกยุคตน ๆ เม่ือจํานวนพระสงฆยังมีนอย ผูที่เขามาเปนสมาชิกยังเขาใจอุดมการณการบวช การปกครองก็งาย พระพุทธเจาทรงปกครองเอง การใชอํานาจปกครองแมวาอํานาจจะสิทธิ์ขาดที่พระพุทธเจา แตทานจะทําหนาที่อํานวยการเทานั้น ไมมีการบังคับโดยปราศจากการตกลงหรือชี้แจงเหตุผลใหเปนที่เขาใจกัน การใชอํานาจก็เปนแบบเสรีนิยม ระยะที่ 2 พระอุปชฌายอาจารยปกครอง (แบบอภิชนาธิไตย) เม่ือมีคนมาบวชมากขึ้น สังคมสงฆขยายตัวออกไปหลายพื้นที่ แตยังไมขยายกวางมากนัก เพื่อเปนการกระจายอํานาจการดูแลกันและกันอยางใกลชิด พระพุทธเจาทรงมอบอํานาจการดูแลวากลาว ตักเตือนผูอยูใตอํานาจการปกครอง เชน สิทธิวิหาริกใหพระอุปชฌาย หรืออันเตวาสิกใหแกพระอาจารยที่ตนรับเขามาบวชหรือดูแล แสดงวาพระพุทธเจาเริ่มวางแผนปลอยการปกครองใหสงฆเปนใหญบางแลว ระยะที่ 3 คณะสงฆปกครอง (แบบประชาธิปไตย) เม่ือสมาชิกมากขึ้นขยายออกไปสูวงกวางมากขึ้น พระพุทธเจาทานจะมอบใหสงฆปกครองกันเอง มติของที่ประชุมสงฆ ถือวาเปนเด็ดขาด พระพุทธเจาเองก็ยังตองเคารพมติของสงฆ เห็นไดชัด เชน การบวช การทําหนาที่เผยแผ การบริหารในวัด ทานจะใหสงฆแตงต้ังเจาหนาที่ที่เหมาะสมเอาเอง พระพุทธเจาไมกาวกายการบริหาร แตจะบอกถึงคุณสมบัติอันจะเหมาะสมแกหนาที่นั้น ๆ เอาไว ประเด็นนี้ อาจถือไดวา เปนประชาธิปไตยที่เรียกวา สังฆาธิปไตย ก็ได สรุปความวา พระพุทธเจายึดหลักประชาธิปไตยในการปกครอง ไมใชอํานาจนิยม แตเปนระบบเสรีนิยมที่กลาวมาแลว พระพุทธเจาทําหนาที่เพียงเปนประมุข ที่ไมยุงเกี่ยวอีก เม่ือไดมอบภาระใหพระสงฆแลว พระเทวทัตย่ืนขอเสนอเพื่อปกครองสงฆ แมวาพระพุทธเจาจะมอบอํานาจใหพระสงฆปกครองกันเอง แตก็มีพระสงฆบางทานตองการเปนใหญสูงสุด ทานนั้นคือ พระเทวทัต ที่เปนพระญาติของพระพุทธเจา เม่ือบวชมาแลว เปนคนที่มักใหญใฝสูง ตองการอํานาจ จึงวางแผนใหตัวเองเปนคูแขงของพระพุทธเจา โดยการนําขอเสนอ 5 เรื่องไปขอกับพระพุทธเจา ดวยมีแผนในใจ 2 ประการวา 1. ถาไดรับการอนุมัติ คนทั่วไปจะสรรเสริญวา พระเทวทัตมีหลักการที่ดีมาก เปนคุณประโยชนพระสงฆ ทานจะไดรับการยกยองมีหนามีตามากขึ้น 2. ถาไดรับการปฏิเสธ ทานจะถือเปนขออางวา หลักการของทานเครงกวาของพระพุทธเจา ถาใครเห็นดวยก็ขอใหทําตามขอที่ตนแนะนํา และแยกวงไปอยูกับตน เทากับวา พระเทวทัต ไดแบงแยกสมาชิกออกมาปกครองไดสวนหนึ่งแลว แผนที่แยบยลนี้ เปนการอุดขอบกพรองไดหมด ไมมีเสีย มีแตได เงื่อนไข (วัตถุ) 5 ประการของพระเทวทัต 3 คือ 1. พระภิกษุทุกรูปควรอยูปาตลอดชีวิต 2. พระภิกษุทุกรูปควรบิณฑบาตฉันตลอดชีวิต

3 วินย. มหา. 1/409/308-309 ( ฉบับมหาจุฬา เตปฎกํ )

Page 65: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 59 3. พระภิกษุทุกรูปควรครองผาบังสุกุลตลอดชีวิต 4. พระภิกษุทุกรูปควรอาศัยอยูโคนตนไมตลอดชีวิต 5. พระภิกษุทุกรูป ไมควรฉันปลาและเนื้อตลอดชีวิต เทวทัตทําสังฆเภท (ทําลายสามัคคีของหมูคณะ) เม่ือพระพุทธเจาไมยอมรับขอเสนอของพระเทวทัต ใหอิสรภาพในการถือของพระสงฆ โดยกลาววา พระสงฆรูปใดประสงคจะอยูปา ก็ใหอยูไดเพียง 8 เดือน (นอกฤดูฝน)…..ใหเปนไปตามความสมัครใจ ไมมีการบังคับ สวนการฉันปลาและเนื้อ ใหถือเงื่อนไข 3 อยางคือ ไมเห็น ไมไดยิน และไมไดสงสัยวาเขาทํามาเฉพาะเพื่อตนเอง 4 ก็ฉันไดเพราะชีวิตภิกษุอยูไดดวยการสงเคราะหจากคนอื่น จึงไมสมควรทําตนเปนคนเลี้ยงยากหรือสรางเงื่อนไขทําใหลําบากทั้งแกตนเองและแกผูอื่น เม่ือพระพุทธเจาไมทรงยอมรับตามเงื่อนไขดวยเหตุผลดังกลาว จึงเขาแผนพระเทวทัตพอดี พระเทวทัตจึงประกาศแยกตนออกจากคณะสงฆเดิมวา ผูใดประสงคจะปฏิบัติใหเครงครัด เพื่อความพนจากทุกข และตามวัตถุประสงค 5 ขอ ขอใหมากับขาพเจา เทากับเปนการทําลายใหแตกแยกกันเม่ือไดภิกษุบวชใหมจํานวน 500 รูป ที่ยังไมเขาใจหลักศาสนาดีพอ เห็นดวยกับพระเทวทัต ติดตามพระเทวทัตไป การทําเชนนี้ถือวาเปนการทําสังฆเภท คือการทําใหหมูคณะแตกสามัคคี ถือเปนอนันตริยกรรม 5(กรรมหนัก) อยางหนึ่งในทางพระพุทธศาสนา ผูแทนศาสดา คือ พระธรรมวินัย ในคืนสุดทายที่พระพุทธเจาจะนิพพาน และเนื่องจากไมไดแตงต้ังผูใดเปนทายาทเพื่อปกครองตอ พระอานนทจึงหวงในเรื่องนี้ จึงถามวา จะต้ังใครปกครองสงฆแทนในกาลตอไป พระพุทธเจาตรัสวา “อานนท ธรรมวินัยอันใดที่เราไดแสดงและบัญญัติไว เม่ือเราลวงลับไปแลว ธรรมวินัย นั้นแหละจะเปนศาสดาของเธอทั้งหลาย” 6

แสดงวา พระพุทธเจามีวิสัยทัศนไกลในเรื่องต้ังทายาท ถาตั้งเปนบุคคล คงยุงยากและตอไปตองมีการแยงชิงอํานาจกันแน แตเม่ือยึดหลักการแทนตัวบุคคล เปนอันแกปญหาในอนาคตไดอยางดีที่สุด นับวาเปนตนแบบของระบอบประชาธิปไตย อยางที่เราเห็นกันในปจจุบัน

4 ม.ม. 13/52/34. 5 อภิ.วิ. 35/558/983. อนันตริยกรรม 5 คือ

1. มาตุฆาต ฆามารดา

2. ปตุฆาต ฆาบิดา

3. อรหันตฆาต ฆาพระอรหันต

4. โลหิตุปบาท ทํารายพระพุทธเจาจนถึงยังพระโลหิตใหหอข้ึน

5. สังฆเภท ยังสงฆใหแตกจากกัน 6 ที.ม. 10/216-134

Page 66: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 60 แตสิ่งที่ควรต้ังไวเปนขอสังเกตอยางหนึ่งตอประเด็นนี้ก็คือ ระหวางรูปแบบการปกครองกับคณะบุคคลหรือบุคคลที่ถือปฏิบัตินั้นอยางไหนที่ควรตระหนักมากกวา หรือวาเปนสิ่งจําเปนทั้งสองอยาง ซึ่งมีความสําคัญทั้งสองอยาง เพราะแตต้ังอดีตถึงปจจุบัน ไมวาสังคมไหน ๆ ตางก็แสวงหารูปแบบการปกครองที่ดีที่สุดใหกับสังคมของตนเอง มีการวิวัฒนาการทั้งเลียนแบบทั้งคิดคนขึ้นมาเอง มาเปนกรอบเปนกลวิธีในการปกครองประชาชนในสังคมในประเทศของตน ๆ หลายครั้งที่เกิดความผิดพลาด ในลักษณะที่เปนปญหาทางสังคม มักจะมองถึงระบบการปกครอง หรือเครื่องมือในการปกครองวาไมดีไมเหมาะสม ไมรัดกุม ตองมีการแกไขเปลี่ยนแปลงใหกับยุคสมัย หรือถาใหเขากับความตองการของประชาชน เพื่อปกครองกันเอง แตปญหาทางสังคมตาง ๆ ก็ยังคงมีอยูเชนเดิม เพราะไมมองถึงปจจัยสําคัญคือ ตัวมนุษยเอง ที่มีความตองการไมมีที่สิ้นสุด มีความเห็นแกตัวเกินไปจนทําลายสภาพที่ดีงามของสังคมของตนเอง เพราะไมมีการควบคุมภายในใจของแตละคน ถาเปนอยางนั้น ตอใหมีระบบการปกครอง มีกฎหมายที่สมบูรณขนาดไหน แตคนยังบกพรองอยู ความบกพรองก็ยังคงมีอยูตอไป พระมหากัสสปะทราบขาวการนิพพาน พระมหากัสสปะ สาวกผูใหญของพระพุทธเจารูปหนึ่ง เม่ือจะถึงชวงเวลาหนึ่งก็จะนําลูกศิษยไปเฝาพระพุทธเจา ทานยังไมทราบขาวการนิพพานของพระพุทธเจา จึงเดินทางตามทางที่พระพุทธเจาเสด็จไป มาถึงสถานที่หนึ่ง เห็นคนเดินสวนทางมา จึงสอบถามขาว เขานั้นก็ตอบวา พระพุทธเจาที่ทานถามหานั่น ไดนิพพานไป 7 วันแลว และสิ่งที่กลายสัญลักษณ คือ ดอกมณฑารพ เพราะดอกชนิดนี้ ไมมีในมนุษยโลก มีแตในเทวโลก จึงทําใหทานไดทราบวาพระพุทธเจาปรินิพพานแลว อาการของพระสงฆเมื่อทราบขาว พระภิกษุบางกลุม เม่ือทราบก็สลดใจและเสียใจวา ตนตั้งใจมาเฝา ไมทันไดเฝาก็ดวนนิพพานแลว ตางแสดงอาการสลดใจ และในกลุมพระภิกษุที่ยังเปนปุถุชนก็เศราเสียใจ ในที่นั้น มีภิกษุบวชเม่ือแกชื่อสุภัททะ แทนที่จะเสียใจ กลับแสดงอาการลิงโลดดีใจ และหามวา “พอเถิดทานทั้งหลาย อยาโศกเศราร่ําไรไปเลย พวกเราเปนอิสระแลวจากพระพุทธเจา เพราะพวกเราถูกพระองคคอยเบียดเบียนวา สิ่งนี้ไมควร สิ่งนี้ควรแกพวกเธอ ก็บัดนี้ (ทานนิพพานแลว) พวกเราปรารถนาทําสิ่งใดก็ทําสิ่งนั้นได ไมปรารถนาทําสิ่งใดก็ไมตองทําสิ่งเหลานั้น (อีกตอไป)” ปรารภเหตุการณทําสังคายนา พระมหากัสสปะทานเก็บความคิดไวในใจวา เพียงแคพระพุทธเจานิพพานได 7 วัน ยังมีคนที่คิดอยางนี้ ตอไปนานเขาคงมีคนที่จะคิดเกินไปกวานี้ ดังนั้น เม่ือหลังพุทธนิพพานได 3 เดือน จึงเลาความคิดทานใหสงฆฟง และเพื่อใหศาสนาเปนปกแผนตอไป เปนการสมควรใหสังคายนาพระธรรมวินัยเสีย จะไดถือเปนหลักตอไป

Page 67: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 10 การสืบทอดพระธรรมวินัย

การทําสังคายนา : กระบวนการสืบทอดพระธรรมวินัย คําสั่งสอนของพระพุทธเจา รวมเรียกวา พระธรรมวินัย และถือเปนผูแทนพระพุทธเจา ดังในสมัยเมื่อใกลจะปรินิพพาน พระพุทธเจาตรัสกับพระอานนทวา “ธรรมและวินัยที่เราแสดงแลวบัญญัติแลวแกทานทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้น จะเปนศาสดาของทานทั้งหลาย เม่ือเราลวงลับไป”1

เม่ือมีคนมาแสดงอาการที่จะไมเอื้อเฟอพระธรรมวินัย พระสงฆที่มีใจรับผิดชอบตองทําการสังคายนาเอาไว การทําสังคายนา ไมไดกําหนดแนนอนวาจะทําเมื่อใด สุดแตเหตุการณที่จะเกิด และปรารภแตละครั้งก็ไมเหมือนกัน ดังที่จะสรุปเหตุการณสังคายนาหลายครั้งมาใหพิจารณา ตอไป สังคายนา แปลวา รอยกรอง คือ ประชุมจัดระเบียบหมวดหมูคําสั่งสอนแลวประกาศใหรับทราบทั่วกันในที่ประชุมนั้นวาตกลงกันอยางนี้ แลวก็มีการทองจํานําสืบตอ ๆ มา สังคายนา หมายถึง การจัดระเบียบชําระขอถือผิดและเขาใจผิด ตรวจสอบชําระคําสอนในพระไตรปฎก ขอความที่วิปลาสคลาดเคลื่อน ใหถูกตองและกําหนดประกาศใช ตอไป สาเหตุการทําสังคายนา หากพิจารณาการทําสังคายนาแตละครั้งที่ผานมา พอประมวลสาเหตุใหญไดดังนี้

1. ปรารภเหตุความมั่นคงแหงพระพุทธศาสนา จึงจัดระเบียบหมวดหมูพระพุทธวจนะไว 2. ถาปรากฏมีการถือผิด ตีความหมายผิดจากหลักเดิม ก็มีการชําระ วินิจฉัยขอที่ถือผิด

ที่ตีความหมายผิดและชี้ขาดวา สิ่งที่ถูกควรเปนอยางไร

3. เพื่อจดจารึกเปนหนังสือ โดยการจารึกลงในใบลานบาง แผนศิลาบาง แผนทองเหลืองบาง

การนับครั้งในการทําสังคายนา การนับครั้งในการทําสังคายนา ไมคอยเปนที่ลงรอยกัน เพราะประวัติศาสตรที่ยาวนาน เพราะพระพุทธศาสนาแตกเปนหลายนิกาย และอีกประการหนึ่งหลักฐานกระจัดกระจายไมมีการเชื่อมโยงกัน และยอมรับของกันและกัน อยางไรก็ตาม สุชีพ ปุญญานุภาพไดสรุปมติของประเทศตาง ๆ เกี่ยวกับการทําสังคายนา และปญหาเรื่องการนับครั้งมาแสดงใน 4 หัวขอ 2 คือ

1. การนับครั้งสังคายนาที่รูกันทั่วไป (ทําที่อินเดีย)

2. การนับครั้งสังคายนาของลังกา 3. การนับครั้งสังคายนาของพมา

1 ที.มหา. 10/178/141. 2 สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปฎกฉบับสําหรับประชาชน, ( กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2535 ),

หนา 7-15

Page 68: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 63

4. การนับครั้งสังคายนาของไทย 1. การนับครั้งสังคายนาที่รูกันทั่วไป การนับครั้งสังคายนาที่รูกันทั่วไปก็คือ สังคายนาครั้งที่ 1 ที่ 2 และ 3 ซึ่งทําในอินเดียกันเปนของฝายเถรวาท กับอีกครั้งหนึ่งในอินเดียภาคเหนือ ซึ่งพระเจากนิษกะทรงอุปถัมภ อันเปนสังคายนาผสม รวมเปน 4 ครั้ง แตฝายเถรวาทมิไดรับรูในการสังคายนาครั้งที่ 4 นั้น ตอไปนี้คือสาระสังเขปการสงคายนาแตละครั้ง สังคายนาครั้งที่ 1 ปที่ทํา หลังพุทธนิพพานได 3 เดือน สถานที่ ถ้ําสัตตบรรณคูหา ขางเขาเวภารบรรพต ใกลกรุงราชคฤห ประเทศอินเดีย ประธาน พระมหากัสสปะเถระเปนผูสอบถาม พระอุบาลีเปนผูตอบขอซักถามทาง วินัย พระอานนทเปนผูตอบขอซักถามทางธรรม ผูเขาประชุม พระอรหันตจํานวน 500 รูป ใชเวลาทํา 7 เดือนจึงสําเร็จ ผูอุปถัมภ พระเจาอชาตศัตรู สาเหตุ พระมหากัสสปะปรารภถอยคําของภิกษุชื่อสุภัททะผูบวชเม่ือแก เม่ือรู

ขาวปรินิพพานของพระพุทธเจา ภิกษุทั้งหลายรองไหเศราโศก สุภัททะ ภิกษุก็หามภิกษุเหลานั้นมิใหเสียใจรองไห พระมหากัสสปะสลดใจใน ถอยคําของสุภัททภิกษุ จึงนําเรื่องเสนอที่ประชุมสงฆแลวเสนอชวนให ทําสังคายนา จัดระเบียบพระธรรมวินัย ซึ่งก็ไดรับความเห็นชอบ

มติที่ประชุม ไมถอนสิกขาบทที่บัญญัติไวแลว ไมบัญญัติใหมสิ่งที่ไมเคยบัญญัติ ใหปฏิบัติตามนี้เทานั้น จึงถือวาเปนแบบเถรวาท หรืออนุรักษนิยม ผลกระทบ มีพระปุราณะจากทักขิณาคิรีชนบท เม่ือทราบขาว เชนนี้ ก็ไมเห็นดวย เพราะมีสิกขาบท3 บางขอที่ทานไดฟงมาจากพระพุทธเจา ทานจะถือเอาตามที่เคยฟงมา จึงตกลงกันไมได สงฆเริ่มมีความเห็นแยงและแตกกันในเรื่องวินัยแลว พระปุราณะก็แยกพวกไปทําสังคายนาอีกแหงหนึ่งใหม

3 วินย. 5/274-278/42-47. :- สิกขาบทเหลานั้น คือ 1. เก็บส่ิงของเชนเกลือ นํ้ามัน ขาวสารเปนตนไวภายในที่อยู 2. ปรุงอาหารภายในที่อยู

3. ปรุงอาหารเองได 4. ของท่ียังไมประเคนก็หยิบตองได 5. ส่ิงของที่นํามาจากที่นิมนต 6. ส่ิงของที่รับประเคนไวกอนถึงเวลาฉัน 7. ส่ิงของที่เกิดในปาฉันได และ 8. ส่ิงของที่เกิดในสระฉันได

Page 69: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 64 สังคายนาครั้งที่ 2 ปที่ทํา หลังที่พระพุทธเจาปรินิพพานแลวได 100 ป สถานที่ทํา วาลิการาม เมืองเวสาลี แควนวัชชี ประเทศอินเดีย ประธาน พระสัพพกามี โดยพระยสะ กากัณฑกบุตร เปนผูชักชวน ผูเขาประชุม พระสงฆ 700 รูป ใชเวลาทํา 8 เดือน พระอุปถัมภ พระเจากาลาโศกราช สาเหตุ พระยสะ กากัณฑกบุตร ปรารภขอปฏิบัติยอหยอนทางวินัย 10 ประการ 4 ของพระภิกษุวัชชีบุตร เชน

1. เก็บเกลือไวในกระบอกที่ทําดวยเขาสัตว 2. เวลาบายเงาตะวันคลอยไปได 2 นิ้วยังฉันอาหารได 3. เขาไปบานฉันอาหารที่ไมเปนเดนได 4. วัดที่มีสีมาเดียวกัน แยกทําอุโบสถได 5. สมาชิกยังมาไมครบใหทําสังฆกรรมไปกอนไดแลวขออนุมัติภายหลัง 6. ใหประพฤติตามที่อุปชฌายอาจารยเคยทํามา 7. ดื่มนมสดที่แปรสภาพแลวแตยังไมเปนนมสมได 8. ดื่มสุราออน ๆ ได 9. ใชผาปูนั่งที่ไมมีชายผาได และ 10. รับเงินและทองได

มติที่ประชุม พระที่ทําสังคายนาวินิจฉัยวาผิดวินัย แตกลุมที่เคยปฏิบัติบอกวาไมผิด ผลกระทบ เกิดการแตกแยกเปนฝายเปน 2 นิกายชัดเจน นิกายเดิม เรียก สถิรวาทะ หรือคณะเถรวาท สวนกลุมวัชชีบุตรที่มีจําวน 10,000 รูป ไดแยกไปทําสังคายนาเองเรียกวา มหาสังคีติ และเรียกพวกตนวา คณะ มหาสังฆิกะ พระสงฆทั้ง 2 ฝายไมสามารถหันหนาสามัคคีกลมเกลียวกันไดอีกตอไป สังคายนาครั้งที่ 3 ปที่ทํา หลังพุทธนิพพานได 234 หรือ 235 ป สถานที่ อโศการาม กรุงปาตลีบุตร ประเทศอินเดีย ประธาน พระโมคคัลลีบุตร ติสสเถระ ผูเขาประชุม พระสงฆ 1,000 รูป ใชเวลาทํา 9 เดือน พระอุปถัมภ พระเจาอโศกมหาราช

4 วินย. 7/446/286.

Page 70: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 65 สาเหตุ พวกเดียรถีย นักบวชศาสนาอื่นมาปลอมบวช แสดงคําสอนที่ผิดหลัก มากมติที่ประชุมใหมีการสอบความรูภิกษุทั้งหมด ใครตอบผิดหลักคํา สอนแนววิภัชชวาท ถูกจับสึกหมด ผลที่เกิด พระโมคคัลลีบุตรติสสะ ไดแตงคัมภีรกถาวัตถุ 219 คําถาม ทําให อภิธรรม มีครบ 7 คัมภีร เม่ือชําระพระศาสนาใหหมดจดแลว พระจาอโศกมหาราช ตองการเผยแผศาสนาไปทั้งในและตางประเทศ จึง สงสมณทูตไปถึง 9 สาย ดังนี้ 5

1.พระมัชฌันติกเถระและคณะ ไปแควนแคชเมียรและคันธาระ ทางตะวัน ตกเฉียงเหนือ แถบอาฟกานิสถาน 2. พระมหาเทวเถระและคณะ ไปมหิสสกมณฑล ลุมน้ําโคธาวารี ทางภาคใต 3. พระรักขิตตเถระและคณะ ไปวนวาสีประเทศ ทางตะวันตกเฉียงใต 4. พระมหารักขิตตเถระและคณะ ไปโยนกประเทศ - กรีก 5. พระธรรมรักขิตตเถระและคณะ ไปอปรันตชนบท - บอมเบย 6. พระมหาธรรมรักขิตตเถระและคณะ ไปมหารัฏฐประเทศ ทางตะวันออก เฉียงเหนือจากบอมเบย 7. พระมัชฌิมเถระและคณะ ไปหิมวันตประเทศ - ภูเขาหิมาลัย 8. พระโสณะและพระอุตตระพรอมคณะ ไปสุวรรณภูมิ – แถบลุมแมน้ํา เจาพระยาตอนใต 9. พระมหินทเถระและคณะ ไปประเทศลังกา

ขอสังเกตุ สังคายนาครั้งที่ 3 นี้ มหายานทางฝายจีนและธิเบตก็ไมมีบันทึกรับรอง การสังคายนาครั้งที่ 4 ปที่ทํา เม่ือ พ.ศ. 643 สถานที่ เมืองชาลันธร แตบางหลักฐานก็วาทําที่แคชเมียร ในอินเดีย ภาคเหนือ ผูอุปถัมภ พระจากนิษกะ สาเหตุ เปนการสังคายนาที่เถรวาทผสมกับฝายมหายาน ผลกระทบ สังคายนาครั้งนี้ ทางฝายเถรวาท คือ ฝายที่ถือพระพุทธศาสนาแบบที่ ไทย ลาว เขมร พมา ลังกานับถือ มิไดรับรองเขาอันดับเปนครั้งที่ 4 เพราะเปนการสังคายนาของนิกายสัพพัตถิกวาทซึ่งแยกออกไปจาก เถรวาททําผสมกับฝายมหายาน 2. การนับสังคายนาของลังกา สังคายนาครั้งที่ 1 เม่ือป พ.ศ. 238

5 แสวง อุดมศรี. การปกครองคณะสงฆไทย. หนา 3.

Page 71: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 66 ลังการับรองการสังคายนาทั้ง 3 ครั้งในอินเดีย เม่ือทําสังคายนาครั้งที่ 3 เสร็จแลว พระมหินทเถระผูเปนโอรสของพระเจาอโศก พรอมดวยคณะครบ 5 รูป ไดเดินทางไปลังกา ไดพบกับพระเจาเทวนัมปยติสสะ แสดงธรรมใหพระราชาเลื่อมในและประดิษฐานพระพุทธศาสนาไดแลว ก็มีการประชุมสงฆ ใหพระอริฎฐะผูเปนศิษยของพระมหินทเถระ สวดพระวินัยเปนการสังคายนาวินัยปฎก สวนหนังสืออื่น ๆ เชน สังคีติยวงศ กลาววามีการสังคายนาทั้ง 3 ปฎก สังคายนาครั้งนี้กระทําที่ถูปาราม เมืองอนุราธปุระ มีพระมหินทเถระเปนประธาน เหตุผลที่อางในการทําสังคายนาครั้งนี้ก็คือเพื่อใหพระศาสนาตั้งมั่น เพราะเหตุที่สังคายนาครั้งนี้หางจากครั้งแรกประมาณ 3 - 4 ป บางมติ เชน พมา ไมยอมรับเปนสังคายนา สังคายนาครั้งที่ 2 ในลังกา เม่ือประมาณ พ.ศ. 433 ในรัชสมัยของพระเจาวัฏฏคามณีอภัย สาเหตุทําสังคายนาครั้งนี้ คือ ถาจะใชวิธีทองจําพระพุทธวจนะตอไปดวนมุขปาฐะ ก็อาจมีขอวิปริตผิดพลาดไดงาย เพราะปญญาในการทองจําของกุลบุตรเสื่อมถอยลงไปเรื่อย มีการจารึกพระพุทธวจนะลงในใบลาน สังคายนาครั้งนี้กระทําที่อาโลกเลณสถาน ณ มตเลชนบท ซึ่งไทยเราเรียกวา มลัยชนบทประเทศลังกา มีพระรักขิตมหาเถระเปนประธาน สังคายนาครั้งที่ 3 ในลังกา กระทําเมื่อ พ.ศ. 2408 ( ค.ศ. 1865 ) ที่รัตนปุระในลังกา พระเถระชื่อหิกขทุเว สิริสุมังคละ เปนหัวหนา กระทําอยู 5 เดือน การสังคายนาครั้งนี้นาจะไมมีใครรูกันมากนัก นอกจากเปนบันทึกของชาวลังกาเอง 3. การนับสังคายนาของพมา สังคายนาครั้งที่ 1 ในพมา เม่ือ พ.ศ. 2414 (ค.ศ. 1871) สังคายนาครั้งแรกในพมา นับวาเปนครั้งที่ 5 ตอจากครั้งจารึกลงในใบลานของลังกา มีการจารึกพระไตรปฎกลงในแผนหินออน 729 แผน ณ เมืองมันดะเล พระเจามินดง ใหการอุปถัมภ มีพระสงฆผูแตกฉานในพระปริยัติธรรมรวมประชุม 2,400 รูป กระทําอยู 5 เดือน สังคายนาครั้งที่ 2 ในพมา ที่เรียกวาฉัฏฐสังคายนา (ครั้งที่ 6) 6

เริ่มวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 จนถึงวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2499 เพื่อเปนการฉลอง 25 พุทธศตวรรษ (การนับปของพมาเร็วกวาไทย 1 ป) มีวัตถุประสงคเพื่อพิมพพระไตรปฎก แลวจะจัดพิมพอรรถกถาและคําแปลเปนภาษาพมาโดยลําดับ มีการเชิญชวนผูแทนชาวพุทธศาสนิกชนสายเถรวาทหลายประเทศไปรวมพิธีดวย มี ลังกา ไทย ลาว เขมร 4. การนับสังคายนาของไทย สังคายนาครั้งที่ 1 - 2 - 3 ทําในประเทศอินเดียตรงกับที่กลาวไวในเบื้องตน

6 http://www.mcu.ac.th/mcu10a.html.

Page 72: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 67 สังคายนาครั้งที่ 4 - 5 ทําในลังกา คือ ครั้งที่ 1 ที่ 2 ที่ทําในลังกา สังคายนาครั้งที่ 6 ทําในลังกา เม่ือ พ.ศ. 956 พระพุทธโฆสะ ไดแปลและเรียบเรียงอรรถกถา คือคําอธิบายพระไตรปฎก จากภาษาลังกาเปนภาษาบาลี ในสมัยของพระเจามหานาม สังคายนาครั้งที่ 7 ทําในลังกา เม่ือ พ.ศ. 1587 พระกัสสปะเถระไดเปนประธาน มีพระเถระรวมกวา 1,000 รูป ไดรจนาคําอธิบายอรรถกถาพระไตรปฎก เปนภาษาบาลี สังคายนาครั้งที่ 8 ในประเทศไทย ประมาณ พ.ศ. 2020 พระเจาติโลกราช แหงเชียงใหมไดอาราธนาพระภิกษุผูทรงไตรปฎกหลายรอยรูป มีพระมหาธรรมทินเถระเปนประธานใหชําระอักษรพระไตรปฎกลงในใบลานภาษาบาลี อักษรลานนา สถานที่วัดมหาโพธาราม หรือ วัดเจ็ดยอด นครเชียงใหม ใชเวลา 1 ป นับเปนสังคายนาครั้งที่ 1 ที่ทําในประเทศไทย สังคายนาครั้งที่ 9 ในประเทศไทย เม่ือ พ.ศ. 2331 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ปฐมกษัตริยแหงราชจักรีวงศ กรุงรัตนโกสินทร ไดทรงอาราธนาพระสงฆและราชบัณฑิตใหชําระพระไตรปฎกและอรรถกถาภาษาบาลี อักษรขอม ปรารภเหตุที่ไทยเสียกรุงแกพมาวัดวาอารามถูกไฟเผา ในสมัยพรเจาตากสินเมื่อกูบานเมืองต้ังกรุงธนบุรีแลว ต้ังใจจะอุปถัมภพระพุทธศาสนา แตคัมภีรพระไตรปฎกถูกทําลายและสูญหายมาก จึงรับส่ังใหเสาะหาพระไตรปฎกที่ยังหลงเหลืออยูตามหัวเมืองนอยใหญ ตลอดจนถึงกรุงกัมพูชา 7 มารวบรวมและคัดลอกไวในพระนคร แตลงมือไดไมเทาไร ก็สิ้นรัชกาลกอน พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา ฯ ใหสานงานตอ แตเห็นวาคลาดเคลื่อนไมสมบูรณมาก จึงรับส่ังใหตรวจชําระเปนการใหญ ในครั้งนี้มีพระสงฆ 218 รูป กับราชบัณฑิต 32 คน รวม 250 รูป/คน ชวยกันชําระพระไตรปฎก แลวจารึกลงในใบลานได 3,686 ผูก รวมทั้งสิ้น 354 คัมภีร เรียกพระไตรปฎกฉบับหลวง ( ฉบับทองใหญหรือทองทึบ ) สถานที่ วัดนิพพานาราม (เดิม) และไดรับพระราชทานนามพระอารามใหมในโอกาสนี้วา “วัดพระศรีสรรเพชญดาราม” (ปจจุบันคือ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ ที่พระจันทร กรุงเทพ ฯ) สังคายนาครั้งนี้สําเร็จภายใน 5 เดือน เปนสังคายนาครั้งที่ 2 ในประเทศไทย สังคายนาครั้งที่ 10 ในประเทศไทย เม่ือ พ.ศ. 2528 - 2530 8

ปรารภเหตุ เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคงเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ ในวันที่ 5 ธันวาคม 2530 ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 และเพื่อตรวจชําระแกไขขอที่อาจผิดพลาด ทั้งภาษาบาลี และคําแปลเปนภาษาไทย (เริ่มแปลต้ังแต พ.ศ. 2483 เพิ่งแปลจบบริบูรณและจัดพิมพ พ.ศ. 2500) เริ่มจัดทําตั้งแตวันที่ 29 ตุลาคม 2528 และสิ้นสุด พ.ศ. 2530 ที่ ตําหนักสมเด็จ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ มีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน วาสโน) เปนประธานประกอบดวยพระราชาคณะ พระเปรียญ ทั่วประเทศ 188 รูป เรียกวา คณะกรรมการปาลี

7 มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกประวัติและความสําคัญ. (กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลัย, 2535) หนา 71. 8 เพิ่งอาง, หนา 80-90.

Page 73: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 68 วิโสธกะ แบงเปน 3 กองตามปฎก และมีคณะศาสนบัณฑิตทั้งฝายบรรพชิตและคฤหัสถอีกจํานวนหนึ่งชวยเหลือทางวิชาการ ใชเวลา ประมาณ 2 ป ตรวจชําระและพิมพสําเร็จ

สังคายนาครั้งที่ 11 ในประเทศไทย เม่ือ พ.ศ. 2537-25429

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไดดําเนินการแปลและจัดพิมพพระไตรปฎกเปนภาษาไทย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ เริ่มประชุมดําเนินการเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2537

โดยรัฐบาลในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดถวายความอุปถัมภโดยจัดสรรงบประมาณแผนดินเพื่อการดําเนินการมาโดยตลอด

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จึงกําหนดประกอบพิธีสมโภชพระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยขึ้นใหปรากฏเปนกุศลมหกรรมเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในมหามงคลวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจายูหัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงเจริญพระชนมพรรษา 6 รอบเมื่อวันที่ 6-7 พฤศจิกายน 2542

ใชเวลา ประมาณ 5 ป ในการแปลและจัดพิมพ ซึ่งถือวาเปนพระไตรปฎกฉบับภาษาไทยที่ใชภาษารวมสมัยที่งายตอการศึกษาคนควา

9 http://www.mcu.ac.th/mcu10p.html

Page 74: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 11 คัมภีรทางพระพุทธศาสนาเถรวาท

พระไตรปฎก : คัมภีรทางพระพุทธศาสนา ในสมัยของพระพุทธเจายังไมมีคําวา “พระไตรปฎก” มีแตคําวา “ธรรมวินัย” คําวา “พระไตรปฎก” หรือ “ติปฎก” ในภาษาบาลีนั้น มาเกิดขึ้นภายหลังที่ทําสังคายนาแลว อยางไรก็ตาม แมคําวาพระไตรปฎก จะเกิดขึ้นในสมัยหลังพุทธปรินิพพาน ก็ไมไดทําใหสิ่งที่บรรจุอยูในพระไตรปฎกนั้น คลายความสําคัญลงเลย ปฎกเปนเพียงการจัดหมวดหมูเทานั้น ปฎก แปลวา ภาชนะ หรือหมวด ไตร แปลวา 3 ดังนั้น ไตรปฎก แปลวา หมวด 3 แหงคําสั่งสอน ลักษณะการจัดหมวดหมูของแตละปฎก พระไตรปฎกแบงออกเปน วินัยปฎก สุตตันตปฎก และอภิธรรมปฎก ซึ่งแตละปฎก มีขอสังเกตดังนี้ 1. วินัยปฎก นักปราชญกําหนดขอสั้น ๆ เพื่องายตอการจําชื่อคัมภีร ที่เรียกวา หัวใจยอ และหัวใจยอวินัย คือ อา ปา มะ จุ ปะ แตไมตรงกับชื่อนัก เชน อา = อาทิกัมม (การกระทําที่เปนตนบัญญัติ) หมายเฉพาะรายการพระวินัย ต้ังแตอาบัติปาราชิกลงมาถึงสังฆาทิเสส ปา = ปาจิตตีย เปนชื่อของอาบัติในปาฏิโมกข เฉพาะตั้งแตถึงสังฆาทิเสสลงมา ทั้ง 2 หัวขอนี้เปนการยออยางจึงความมากกวายอตามชื่อหมวดหมู ไมตรงกับชื่อที่ใชเปนทางการในวินัยปฎก สวนอีก 3 ขอทายตรงตามชื่อหมวดหมูถาจะจัดตามชื่อจึงควรเปนดังนี้ 1

1. มหาวิภังค หรือ ภิกขุวิภังค วาดวยศีลของภิกษุที่มาในปาฏิโมกข

2. ภิกขุนีวิภังค วาดวยศีลของนางภิกษุณี

3. มะ = มหาวัคค แปลวาวรรคใหญ แบงออกเปนขันธกะ คือ หมวดตาง ๆ 10 หมวด

4. จุ = จุลลวัคค แปลวาวรรคเล็ก แบงออกเปนขันธกะ คือ หมวดตาง ๆ 12 หมวด

5. ปะ = ปริวาร หมายถึง หัวขอเบ็ดเตล็ดตาง ๆ เปนการยอหัวขอสรุปเนื้อความ วินิจฉัยปญหา ใน 4 เรื่องขางตน

2. สุตตันตปฎก หัวขอยอแหงสุตตันตปฎกมี 5 คําคือ ที มะ สัง อัง ขุ ดังตอไปนี้

1. ที = ทีฆนิกาย แปลวา หมวดยาว หมายถึงหมวดที่รวบรวมพระสูตรขนาดยาวไวสวนหนึ่งไมปนกับพระสูตรประเภทอื่น ในหมวดนี้มีพระสูตรรวมทั้งสิ้น 34 สูตร

2. มะ = มัชฌิมนิกาย แปลวา หมวดปานกลาง หมายถึงหมวดที่รวบรวมพระสูตรขนาดกลางไมสั้นเกินไป ไมยาวเกินไปไวสวนหนึ่ง ในหมวดนี้มีพระสูตรรวมทั้งสิ้น 152 สูตร

1 สุชีพ ปุญญานุภาพ. เร่ืองเดียวกัน. หนา 20-21.

Page 75: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 70

3. สัง = สังยุตตนิกาย แปลวา หมวดประมวล คือ ประมวลเรื่องประเภทเดียวกันไวเปนหมวดหมู เชน เรื่องพระมหากัสสปะ เรียกกัสสปสังยุตต เรื่องอินทรีย ( ธรรมะที่เปนใหญในหนาที่ของตน ) เรียนอินทริยสังยุตต เรื่องมรรค ( ขอปฏิบัติ ) เรียกมัคคสังยุตต ในหมวดนี้มีพระสูตรรวมทั้งสิ้น 7,762 สูตร

4. อัง = อังคุตตรนิกาย แปลวาหมวดยิ่งดวยองค คือ จัดลําดับธรรมะไวเปนหมวด ๆ ตามลําดับตัวเลข เชน หมวดธรรมะขอเดียวเรียกเอกนิบาต หมวดธรรมะ 2 ขอเรียกทุกนิบาต หมวดธรรมะ 3 ขอ เรียกติกนิบาต เปนตน จนถึงหมวดธรรมะ 10 ขอ เรียกทสกนิบาต หมวดธรรมะเกิน 10 ขอ เรียกอติเรกทสกนิบาต ในหมวดนี้มีพระสูตรรวมทั้งสิ้น 9,557

5. ขุ = ขุททกนิกาย แปลวาหมวดเล็กนอย รวบรวมขอธรรมที่ไมจัดเขาใน 4 หมวดขางตนมารวมไวในหมวดนี้ทั้งหมด เม่ือจะแบงโดยหัวขอใหญก็มี 15 เรื่อง คือ ขุททกปาฐะ แปลวา บทสวดเล็ก ๆ นอย ๆ โดยมากเปนบทสวดสั้น ๆ เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ธรรมบท แปลวา บทแหงธรรม คือ ธรรมภาษิตสั้น ๆ ประมาณ 300 หัวขอ อุทาน แปลวา คําที่เปลงออกมา หมายถึงคําอุทานที่เปนธรรมภาษิต มีทองเรื่องประกอบเปนเหตุปรารภในการเปลงอุทานของพระพุทธเจา อิติวุตตกะ แปลวา “ ขอความที่ทานกลาวไวอยางนี้ ” เปนการอางอิงวาพระพุทธเจาไดตรัสขอความไวอยางนี้ ไมมีเรื่องประกอบมีแตที่ขึ้นตนวา ขาพเจาไดยินมาวา พระผูมีพระภาคเจาผูเปนพระอรหันตตรัสไวอยางนี้ สุตตนิบาต แปลวา รวมพระสูตรเบ็ดเตล็ดตาง ๆ ไวดวยกัน มีชื่อบอกกํากับไว วิมานวัตถุ แปลวา เรื่องของผูไดวิมาน แสดงเหตุดีที่ใหไดผลดีตามคําบอกเลา เปตวัตถุ แปลวา เรื่องของเปรตหรือผูลวงลับไป ที่ทํากรรมชั่วไว เถรคาถา ภาษิตตาง ๆ ของพระเถระผูเปนอรหันตสาวก เถรีคาถา ภาษิตตาง ๆ ของพระเถรีผูเปนอรหันตสาวิกา ชาดก แสดงภาษิตตาง ๆ เกี่ยวโยงกับคําสอนประเภทเลานิทาน นิทเทศ แบงออกเปนมหานิทเทสกับจูฬนิทเทส ปฏิสัมภิทามัคค แปลวา ทางแหงปญญาอันแตกฉาน เปนคําอธิบายหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา ซึ่งกลาวกันวาพระสารีบุตรไดกลาวไว อปทาน แปลวา คําอางอิง เปนประวัติสวนตัวที่แตละทานเลาไว ซึ่งอาจแบงได คือ เปนอดีตประวัติของพระพุทธเจา ของพระเถระอรหันตสาวก ของพระเถรีอรหันตสาวิกา สวนที่เปนประวัติการทําความดีของพระปจเจกพุทธเจานั้นมีคําอธิบายวา เปนพระพุทธภาษิตตรัสเลาใหพระอานนทฟง พุทธวังสะ แปลวา วงศของพระพุทธเจา หลักการใหญเปนการแสดงประวัติของพระพุทธเจาในอดีต 24 องค รวมทั้งของพระโคตมพุทธเจาดวยจึงเปน 25 องค นอกนั้นมีเรื่องเบ็ดเตล็ดแทรกเล็กนอย จริยาปฎก แปลวา คัมภีรแสดงจริยา คือการบําเพ็ญบารมีตาง ๆ ของพระพุทธเจา ซึ่งแบงหลักใหญออกเปน ทาน ศีล เนกขัมมะ เปนตน

Page 76: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 71 3. อภิธรรมปฎก หัวขอยอแหงอภิธรรมปฎก มี 7 คํา คือ สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ ดังตอไปนี้ 1. สัง = สังคณี วาดวยการรวมหมูธรรมะ คือ ธรรมะแมจะมีมากเทาไร ก็อาจรวมหรือจัดประเภท ๆ ไดเพียงไมเกิน 3 อยาง 2. วิ = วิภังค วาดวยการแยกธรรมะออกเปนขอ ๆ เชน เปนขันธ 5 เปนตน ทั้งสังคณีและวิภังคนี้เทียบดวยคําวา สงเคราะห (Synthesis) และวิเคราะห (Analysis) ในวิทยาศาสตร เปนแตเนื้อหาในทางศาสนากับทางวิทยาศาสตร มุงไปคนละทาง คงลงกันไดในหลักการวา ควรเรียนรูทั้งในทางรวมกลุมและแยกกลุม เชนรถคันหนึ่งควรรูทั้งการประกอบเขาเปนคันรถ และการแยกสวนตาง ๆ ออกฉะนั้น 3. ธา = ธาตุกถา วาดวย ธาตุ คือ ธรรมะทุกอยางอาจจัดเปนประเภทไดโดยธาตุอยางไร 4. ปุ = ปุคคลบัญญัติ วาดวยบัญญัติ 6 ประการ เชน บัญญัติขันธ บัญญัติอายตนะ จนถึงบัญญัติเรื่องบุคคล พรอมทั้งแจกรายละเอียดเรื่องบัญญัติบุคคลตาง ๆ ออกไป 5. กะ = กถาวัตถุ วาดวยคําถาม คําตอบ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา (พระอรรถกถาจารยกลาววา เปนคําถาม 500 คําตอบ 500 แตตัวเลข 500 นี้ อาจหมายเพียงวาหลายรอย เพราะเทาที่นับกันดูแลว ไดคําถาม คําตอบ อยางละ 219 ขอ )

6. ยะ = ยมก วาดวยธรรมเปนคู ๆ บางทีการจัดคูก็มีลักษณะเปนตรรกวิทยา 7. ปะ = ปฏฐาน วาดวยปจจัย คือสิ่งสนับสนุน 24 ประการ

พระอรรถกถาจารย ไดอธิบายพระไตรปฎกอยางยอ ๆ มีนัยที่ควรพิจารณาดังนี้ ลักษณะที่ 1 เทศนา

1.1 วินัยปฎกเปนอาณาเทศนา คือการแสดงธรรมในลักษณะตั้งเปนขอบังคับ โดยสวนใหญ 1.2 สุตตันตปฎกเปนโวหารเทศนา คือการแสดงธรรม ใหเหมาะสมแกจริตอัธยาศัยของผูฟง

1.3 อภิธรรมปฎกเปนปรมัตถเทศนา คือการแสดงธรรมะชั้นสูงไมเกี่ยวดวยโวหาร ลักษณะที่ 2 สาสนะ

2.1 วินัยปฎก เปนยถาปราธสาสนะ คือ การสอนตามความผิดหรือโทษตางๆ ที่พึงเวน

2.2 สุตตันตปฎก เปนยถานุโลมสาสนะ คือ การสอนโดยอนุโลมแกจริตอัธยาศัยของผูฟง

2.3 อภิธรรมปฎก เปน ยถาธัมมสาสนะ คือ การสอนตามเนื้อหาแท ๆ ของธรรมะ ลักษณะที่ 3 กถา

3.1 วินัยปฎก เปนสังวราสังวรกถา คือ ถอยคําที่วาดวยความสํารวมและไมสํารวม 3.2 สุตตันตปฎก เปนทิฎฐิวินิเวฐนกถา คือ ถอยคําที่สอนใหผอนคลายความเห็นผิด

3.3 อภิธรรมปฎก เปน นามรูปปริจเฉทกถา ลักษณะที่ 4 สิกขา

4.1 วินัยปฎก เปนอธิศีลสิกขา คือ ขอศึกษาเกี่ยวกับศีลชั้นสูง 4.2 สุตตันตปฎก เปนอธิจิตตสิกขา คือ ขอศึกษาเกี่ยวกับสมาธิชั้นสูง

4.3 อภิธรรมปฎก เปน อธิปญญาสิกขา คือ ขอศึกษาเกี่ยวกับปญญาชั้นสูง ลักษณะที่ 5 ปหาน

Page 77: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 72

5.1 วินัยปฎก เปนวีติกกมปหาน คือ เครื่องละกิเลสอยางหยาบ ที่เปนเหตุใหลวงละเมิด ศีล 5.2 สุตตันตปฎก เปนปริยุฏฐานปหาน คือ เครื่องละกิเลสอยางกลางอันรัดรึงจิต ไดแก

นิวรณ คือกิเลส อันกั้นจิตมิใหเปนสมาธิ 5.3 อภิธรรมปฎก เปนอนุสยปหาน คือ เครื่องละกิเลสอยางละเอียด อันไดแกกิเลสที่ นอน

อยูในสันดาน เหมือนตะกอนนอนกนตุม ไมมีอะไรมากวนก็ไมแสดงตัวออกมา ภาษาที่ใชในพระไตรปฎก ภาษาที่รองรับคัมภีรทางศาสนา แตกตางกันตามนิกาย คือ

1. ภาษาบาลี ( มาคธี หรือ มคธ ) นิกายเถรวาท หรือ ศาสนาพุทธแบบที่ไทย พมา ลังกา เขมร ลาว นับถือ ใชภาษาบาลีจารึกพระไตรปฎก

2. ภาษาสันสกฤต นิกายมหายาน หรือศาสนาพุทธแบบที่ญี่ปุน จีน ธิเบต เวียตนามและเกาหลีนับถือ ใชภาษาสันสกฤตจารึก หากในสมัยใดที่ตําราภาษาสันสกฤตหายสาบสูญ ก็มีคัมภีรที่แปลเปนภาษาจีนและภาษาธิเบตเปนหลัก แลวสูภาษาอื่น ๆ เชน ภาษาญี่ปุนอีกตอหนึ่ง การจารึกพระไตรปฎก ครั้งที่ 1 พระไตรปฎกแตกอนนิยมถายทอดดวยปากเปลาที่เรียกวา มุขปาฐะ และยึดวิธีนี้ตลอดมาจนเมื่อ ปพุทธศักราช 433 จึงไดมีการจารึกลงในใบลานเปนครั้งแรกที่ประเทศลังกา ครั้งที่ 2 พุทธศักราช 643 ไดสลักพระไตรปฎกลงในแผนทองแดง เก็บไวในหีบศิลา และบรรจุไวในเจดียเฉพาะ ที่เมืองชาลันธร อินเดียเหนือ สมัยพระเจากนิษกะ ครั้งที่ 3 พุทธศักราช 2414 จารึกลงในแผนหินออน 729 แผน โดยคําสั่งพระเจามินดง เมืองมันดะเล ประเทศพมา ครั้งที่ 4 พุทธศักราช 2478 พิมพเปนเลมหนังสือสมัยใหม รัชกาลที่ 7 จํานวน 45 เลม 1,500 ชุด ที่ประเทศไทย ครั้งที่ 5 พุทธศักราช 2422 - 2465 สมาคมปาลีปกรณ ( Pail Text Society ) แหงนครลอนดอนอังกฤษ จัดพิมพพระไตรปฎกและอรรถกถาเปนภาษาบาลี อักษรโรมัน และแปลเปนอังกฤษ ต้ังแต พ.ศ. 2424 - 2512 2

คัมภีรทางพระพุทธศาสนา คัมภีรทางพระพุทธศาสนามี หลายลําดับขั้น เพราะความยาวนานของประวัติศาสตรพระพุทธศาสนานั่นเองหากจะใหแบงออกมา คงมีลําดับชั้นคัมภีรตอไปนี้ หลักฐานชั้น 1 พระไตรปฎก หรือพระบาลี อายุ พ.ศ. 1 - 956 หลักฐานชั้น 2 อรรถกถา หรือ วัณณนา คําอธิบายพระไตรปฎก พ.ศ. 500 บางแหงนับแต พ.ศ. 956 ลงมา หลักฐานชั้น 3 ฎีกา คําอธิบายอรรถกถา พ.ศ. 1587 หลักฐานชั้น 4 อนุฎีกา คําอธิบายฎีกา ไมทราบแนนอน

2 มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกประวัติและความสําคัญ. หนา 92-99.

Page 78: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 73 หลักฐานชั้นที่ 5 สัททาวิเสส หมายถึง คัมภีรที่แตงขึ้น วาดวยไวยากรณภาษาบาลีฉบับตาง ๆ และอธิบายศัพทตาง ๆ เรียกรวมกันวา สัททาวิเสส บางทีเรียกวา ปกรณวิเสส การชําระและจารึกกับการพิมพพระไตรปฎกในประเทศไทย การจารึกและการพิมพพระไตรปฎกในประเทศไทย มีความเปนมาแบงเปน 6 สมัย ดังนี้ สมัยที่ 1 ชําระและจารลงในใบลาน สมัยพระเจาติโลกราช ประมาณ พ.ศ. 2020 ตรงกับสมัยพระบรมไตรโลกนาถ กรุงศรีอยุธยา กระทําที่วัดมหาโพธารามหรือ วัดเจ็ดยอด เมืองเขียงใหม ( อักษรเมืองลานนา บาลี ) สมัยที่ 2 ชําระและจารลงในใบลาน สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 เม่ือ พ.ศ. 2331 กระทําที่วัดพระศรีสรรเพชญดาราม (วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์) กรุงเทพมหานคร (อักษรขอม บาลี) สมัยที่ 3 ชําระและพิมพเปนเลมหนังสือสมัยใหม สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 เม่ือ พ.ศ. 2436 กระทําที่กรุงเทพฯ พิมพได 39 เลม (อักษรไทย บาลี) สมัยที่ 4 ชําระและพิมพเปนเลมเปนเลมหนังสือ สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 เม่ือ พ.ศ. 2468 ถึง พ.ศ. 2473 กระทําที่กรุงเทพฯ พิมพไดครบ 45 เลม จํานวน 1,500 ชุด (อักษรไทยบาลี) เรียกวา “พระไตรปฎกฉบับสยามรัฐ“ สงไปเผยแพรตางประเทศ 450 ชุด สมัยที่ 5 ชําระและพิมพเปนเลมเปนเลมหนังสือ สมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เม่ือ พ.ศ. 2500 (ฉบับแปลไทย) และเมื่อ พ.ศ. 2530 กระทําที่กรุงเทพฯ พิมพไดครบ 45 เลม จํานวน 1,500 ชุด (บาลี อักษรไทย) เรียกวา “พระไตรปฎกฉบับสังคีติ”

สมัยที่ 6 แปลเปนภาษาไทยรวมสมัยและพิมพเปนรูปเลม สมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เม่ือ พ.ศ. 2537-2542 เรียกวา พระไตรปฎกฉบับมหาจุฬาฯ พระไตรปฎกฉบับคอมพิวเตอร นอกจากการจารึกและจัดพิมพตามวาระตาง ๆ ดังกลาวแลวขางตนแลว สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยมหิดล ไดจัดทําพระไตรปฎกฉบับคอมพิวเตอรและอรรถกถา ลงบนแผนซีดีรอม (CD-ROM) ใชชื่อโปรแกรมวา Budsir (BUDdhist Scri[tures Information Retrieval) ของโครงการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรเพื่อการศึกษาพระไตรปฎกและอรรถกถา ตามพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เริ่มตนแต พ.ศ. 2530 ซึ่งเปนปแหงมงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 5 รอบแหงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภูมิพลอดุลยเดช 3 เปนการพัฒนาและเผยแพรคําสอนของพระพุทธเจาใหเขากับยุคขาวสารขอมูล สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยไดมีการจัดทําและปรับปรุงขึ้นตามลําดับ คือ 4

3 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พระไตรปฎกและอรรถกถาฉบับคอมพิวเตอร. โครงการพัฒนาระบบ

คอมพิวเตอรเพื่อการศึกษาพระไตรปฎกและอรรถกถา ตามพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัย มหิดล. (กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2535). หนา 36.

4 http://www.mahidol.ac.th/budsir/ ; http://www.mahidol.ac.th/budsir/history.html.

Page 79: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 74 1. BUDSIR I เปนพระไตรปฎกภาษาบาลีอักษรไทย ที่สามารถสืบคนโดยคําและวลีโดยใช Binary Search Tree เม่ือวันที่ 30 พฤษภาคม 2531 2. BUDSIR II เปนพระไตรปฎกภาษาบาลีอักษรโรมัน เม่ือวันที่ 13 ธันวาคม 2531 3. BUDSIR III เปนพระไตรปฎกภาษาบาลี ทั้งอักษรไทยและโรมัน สามารถสืบคนโดยคําและวลี โดยใช Boolean operators เม่ือวันที่ 15 เมษายน 2533 4. BUDSIR IV เปนพระไตรปฎกและอรรถกถา ภาษาบาลีอักษรไทยและโรมัน สามารถสืบคนคําและวลี สองหนาตางพรอมกัน โดยใช B-Tree database creation เม่ือวันที่ 20 พฤศจิกายน 2534 5. BUDSIR II on CD-ROM เปนการปรับปรุงโปรแกรม BUDSIR IV จากเก็บขอมูลในฮารดดิสคลงบนแผน CD-ROM แทน เม่ือวันที่ 22 กรกฎาคม 2537 6. BUDSIR IV for Windows พัฒนาโปรแกรมจากระบบ DOS มาเปน Windows สามารถเปดอานได 8 หนาตางในขณะเดียวกัน พรอมเสียง บรรจุคัมภีรไวทั้งหมด 115 เลม หรือ 50,189 หนา คือ พระไตรปฎกภาษาบาลี 45 เลน และอรรถกถาและคัมภีรที่สําคัญ ๆ อื่น อีก 70 กวาเลม เม่ือวันที่ 29 กรกฎาคม 2539 7. BUDSIR for Thai Translation ไดเพิ่มพระไตรปฎกภาษาไทยเขาไป บรรจุคัมภีรทั้งหมด 160 เลม คือ ที่เปนภาษาบาลีเดิม 115 เลม และพระไตรปฎกภาษาไทยอีก 45 เลม โดยใชระบบการสืบคนใหม คือ BUDSIR/TT for Windows เม่ือ พ.ศ. 2540 8. BUDSIR in Multi-scripts พัฒนาจากพระไตรปฎกภาษาบาลีอักษรไทยและโรมัน ที่สามารถแสดงผลเปนภาษาอื่น ๆ คือ เทวนาครี สิงหล พมา เขมร พ.ศ. 2540

9. BUDSIR with Pali Dictionary เปนการจักทําพจนานุกรมบาลี-ไทย โดยเชื่อมโยงกับพระไตรปฎกภาษาบาลีอักษรไทย และกําลังจัดทําพจนานุกรมบาลี-อังกฤษ พ.ศ.2540

Page 80: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 12 ศาสนทายาท : ผูสืบทอดศาสนา ศาสนาทายาท คือ ผูสืบทอดพระศาสนา หรือมรดกธรรมของพระพุทธเจา เปนหนึ่งในองคแหงพระรัตนตรัย คือ พระพุทธเจา พระธรรม และพระสงฆ ทั้งสามถือวาเปนแกวสามดวง ตามคติความเชื่อของมนุษยโดยเฉพาะคนไทย ถาสิ่งไหนก็ตาม เปนสิ่งที่ดีที่สุด จะเรียกสิ่งนั้นวา แกว เชน ลูกที่บวชเปนสามเณร ก็เรียกวา ลูกแกว เพราะถือวา เปนลูกที่ดี เปนอภิชาตบุตร ลูกดีก็เรียกลูกแกว เมียดีก็เรียกวา เมียแกว ชางดี ก็เรียกชางแกว เปนตน ดังนั้น พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ ก็เปนสิ่งที่ดี เปนสิ่งที่ประเสริฐ จึงเรียกวา แกว หรือรัตนะ คือ รัตนตรัย หรืออีกประการหนึ่ง จะเรียกวา พระไตรสรณะ ก็ได แปลวา ที่พึ่ง 3 ประการ ก็ไดแก พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆเชนเดียวกัน เพียงแตเรียกเปนอีกชื่อหนึ่งตามลักษณะแหงการนับถือหรือสถานภาพของทั้งสามนั้นเปนหลัก กลาวคือ นับถือพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ เปนที่พึ่ง หรือเปนสรณะ เปนที่ระลึกถึง หมายถึง ระลึกนึกถึงพระพุทธเจาเพื่อเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิต ปฏิปทา ความดีงาม ตลอดนอมรําลึกถึงพระคุณของพระพุทธองคที่มีตอมวลมนุษย ระลึกถึงสิ่งที่พระองคไดทรงสั่งสอนเอาไวไดแก พระธรรม เพื่อนําเปนแนวทางการเปนอยูอยางสันติสุข โดยศึกษาพระธรรมผานทางพระสงฆหรือศึกษาปฏิบัติดวยตนเอง พระสงฆจึงมีสถานภาพเปนสาวกของพระพุทธเจา เปนผูศึกษาและปฏิบัติตามพระธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจา และเปนผูนําเอาพระธรรมมาสั่งสอนแกผูอื่น ดังนั้น พระสงฆ จึงเปนเสมือนพลังขับเคลื่อนอยางหนึ่งที่จะใหธรรมจักรของพระพุทธเจาไดหมุนตอไป พระสงฆจึงเปนที่คาดหวังจากสังคมวา จะเปนกอกําเนิดสิ่งที่ดีงามในแกสังคม และเปนแบบอยางที่ดีใหแกสังคม พระสงฆ 2 ระดับ คําวา “สงฆ” โดยความหมายทั่วไปแลว หมายถึง “หมู” ไดแก การรวมกลุมกันต้ัง 4 คนขึ้นไปเราเรียกวา สงฆ ได เชนในคําวา สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี 1 ความพรอมเพรียงของหมูคณะ นําความสุขมาให เปนตน จึงเปนคําที่มีความหมายเปนกลาง ๆ ยังไมไดจํากัดหมายถึง สงฆที่เปนพระภิกษุในทางพระพุทธศาสนาแตประการใด ดังนั้น คําวา สงฆ จึงมีความหมายวา หมู ยังไมไดหมายถึงพระสงฆในทางพระพุทธศาสนากอน เราอาจใชคํานี้กับบุคคลธรรมดาในความหมายที่วาเปนหมูชนที่เปนสมาคมซึ่งรวมตัวกันก็ได อยางไรก็ตาม ในความเขาใจของคนทั่วไปนั้น คําวา สงฆ นั้น หมายถึง พระสงฆในพระพุทธศาสนาอยางเดียว ที่เปนความเชื่อและการรับรูน้ําสืบทอดกันตอ ๆ มา ก็ไมใชเปนความรูที่ผิดแตประการใด เพียงรูและเขาใจในความหมายที่ใชเปนการจําเพาะเจาะจงลงไปเทานั้น ก็เปนความรูที่ถูกตองครึ่งหนึ่ง ในที่นี้ ขอกลาวถึงความหมายที่เขาใจกันดีอยูแลว คือที่หมายถึงพระสงฆในพระพุทธศาสนา มีคําถามที่นาสนใจ ก็คือวา คนธรรมดาที่ไมไดบวชเปนภิกษุในพระพุทธศาสนาจะเปนพระสงฆไดหรือไม ในพระพุทธศาสนาทานแบงพระสงฆออกเปน 2 ระดับคือ

1 ขุ.ธ. 25/41/24.

Page 81: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 76

1. สมมติสงฆ 2. อริยสงฆ

1. สมมติสงฆ หมายถึง พระสงฆโดยการสมมติกันวาพระสงฆ ไดแก ผูที่บวชในพระพุทธศาสนา ต้ังแต 4 รูปขึ้นไป เรียกวา สงฆ ถา 3 รูปเรียกวา คณะ หนึ่งรูปเรียกวา บุคคล ดังนั้น ผูที่จะไดชื่อวา เปนสงฆระดับนี้ จะตองเขามาบวชในพระพุทธศาสนากอนเทานั้น จึงจะสามารถเปนสงฆหรือนับเนื่องในหมูสงฆได แมบางทีเราก็เรียกวา ภิกษุเพียงรูปเดียววาพระสงฆ แตใชในความหมายที่เปนตัวแทนพระสงฆทั้งหมด ในฐานะเปนผูที่นับเนื่องในหมูสงฆ เปนตน 2. อริยสงฆ หมายถึง พระสงฆที่บรรลุมรรค และผล ในระดับขั้นตาง ๆ คือ คนที่บรรลุมรรค 4 และผล 4 คือ 2

2.1 บรรลุโสดาปตติมรรค /โสดาปตติผล เรียกวา พระโสดาบัน แปลวา ผูเขากระแสแหงพระนิพพาน เปนผูไมมีความตกต่ําไปสูอบายอีก จะเวียนวายอยูวัฏสงสารนี้อีก 7 ชาติเปนอยางมาก หรือถาญาณแกกลา ก็อาจเพียงชาติเดียว หรือสองชาติก็ได และจะบรรลุพระอรหัตตผลในที่สุด

2.2 บรรลุสกทาคามิมรรค /สกทาคามิผล เรียกวา พระสกทาคามี แปลวา ผูจะกลับเกิดในโลกนี้อีกเพียงชาติเดียว ก็จะบรรลุอรหัตตผล

2.3 บรรลุอนาคามิมรรค /อนาคามิผล เรียกวา พระอนาคามี แปลวา ผูไมกลับมาเกิดอีก แตจะไปปฏิสนธิในพรหมโลกสุทธาวาส 5 ชั้น และจะบรรลุพระอรหัตตผลในพรหมโลกนั้น

2.4 บรรลุอรหัตตมรรค / อรหัตตผล เรียกวา พระอรหันต แปลวา ผูหมดกิเลสที่เปนเหตุใหเวียนวายตายเกิดอีกตอไป

โดยนัยนี้ ผูที่จะเปนอริยสงฆ ไมจําเปนวาจะตองบวชเปนภิกษุในพระพุทธศาสนาตามรูปแบบก็ได แตพระสงฆโดยคุณวิเศษหรือคุณสมบัติของอริยสงฆโดยที่ยังดํารงตนเปนเพศคฤหัสถอยู ดังนั้น ผูที่จะเปนอริยสงฆ จึงเปนไดทั้งผูที่เปนสมมติสงฆและไมไดเปนสมมติสงฆ กลาวคือ ผูที่เปนสมมติสงฆอยูแลว ถามีคุณสมบัติของพระอริยสงฆอีก ก็เปนทั้งสมมติสงฆและอริยสงฆในภาวะเดียวกัน ตารางแสดงระดับอริยสงฆและเกณฑวัดความเปนพระอริยะ

พระอริยสงฆ 4 คู สามารถละสังโยชน 10

1. พระโสดาบัน ผูเขาถึงกระแสนิพพาน 1. สักกายทิฐิ ความเห็นวาเปนตน กลุมตน 2. พระสกทาคามี ผูกลับมาเกิดอีกครั้งหนึ่ง 2. วิจิกิจฉา ความสงสัย ไมแนใจ ลังเล

2 ดู อง.เอก-ทุก-ติก. 20/299/527.

Page 82: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 77 (มีราคะ โทสะ โมหะ เบาบาง) 3. สีลัพพตปรามาส การปฏิบัติศีลและวัตรไมถูก

ตองตามความมุงหมายแทจริงของวัตรปฏิบัติ 3. พระอนาคามี ผูไมกลับมาเกิดในโลกนี้ 4. กามราคะ ความกําหนัดในกาม 5. พยาบาท ความปองราย อาฆาต 4. พระอรหันต ผูไมมีเหตุที่ทําใหเกิดอีก 6. รูปราคะ ความกําหนัดติดใจในรูป ผูไกลจากกิเลส, ผูไมมีกรรมในที่ลับ 7. อรูปราคะ ความกําหนัดติดใจในอรูป ผูควรแกทักษิณาทาน 8. มานะ ความคิดถือตัว ศักดิ์ศรี 9. อุทธัจจะ ความฟุงซานในจิต 10. อวิชชา ความไมรูตามความเปนจริง

ตามที่เราไดศึกษาประวัติศาสตรทั้งของพระพุทธเจาและพระสาวกของพระองค จะเห็นในกลุมของสมมติสงฆนั้น เม่ือยังไมไดทําลายกิเลสในสันดานใหหมดไป ก็ยังมีความคิดเห็นไมเหมือนกัน แตกตางกันออกไปตามอุปนิสัยและการศึกษาอบรมหรือพื้นเพเดิม ตามคติความเชื่อของตนเอง จุดนี้จึงเปนจุดที่นําไปสูการประพฤติปฏิบัติที่แตกตางกันออกไปดวย แมจะไดรูไดยินจากพระโอฏฐของพระพุทธเจาองคเดียวกัน แตตางวาระกันก็ยังมีความเห็นแตกตางกัน จนเปนเหตุใหเกิดการทําสังคายนาพระธรรมวินัย เพื่อปรับทัศนคติ ความเห็นใหถูกตองลงกันตามพระธรรมวินัยหลายตอหลายครั้งหลังพุทธกาล สาเหตุหลักที่ทําใหเกิดความแตกแยกระหวางหมูคณะที่สําคัญ 2 ประการคือ 1) ความเห็นไมตรงกัน และ 2) ความประพฤติไมตรงกัน ซึ่งมีฐานมาจากการตีความหรือการรับรูจากอาจารย จะดวยสาเหตุใดก็ตาม จะเกิดขึ้นเฉพาะในกลุมของสมมติสงฆที่ยังไมแตกฉานในพระธรรมวินัย แมในปจจุบัน สังคมพระพุทธศาสนาทั่วโลก ก็มีพุทธศาสนิกชนที่มีความเห็นแตกตางกันในพุทธธรรม ทั้งที่พุทธธรรมนาจะมีเพียงหนึ่งเดียว ในประเทศไทย ก็มีความเห็นแตกตาง จนแตกนิกายยอยอีก 2 นิกาย คือ มหานิกาย กับธรรมยุต ทั้งที่เปนนิกายเถรวาทเชนเดียวกัน ในที่นี้ จะแสดงการแตกแยกเปนนิกายตาง ๆ โดยสรุป จะยังไมใหรายละเอียดที่แตกตางกันกอนพอใหเห็นวา มีการแบงแยกเปนอยางไรบางเทานั้น ผูที่ใครในการศึกษา ก็สามารถศึกษาเพิ่มเติมไดตามหนังสือที่ไดอางอิงเอาไว นิกายสงฆ 3

พระสงฆแตกแยกแบงนิกายชัดเจนตั้งแตหลังสังคายนาครั้งที่ 2 เปน 2 นิกายใหญ คือ 1. เถรวาท หรือ สถวีรวาทิน แบงยอยออกไปดังนี้

1.1 มหิสสากวาท แบงยอยออกไปอีก 1.1.1 สัพพัตถิกวาท 1.1.2 ธรรมคุตติกวาท

3 แสง มนวิทูร. ศาสนวงศหรือประวัติศาสนา ( งานแปล ). (กรุงเทพ ฯ : รุงเรืองธรรม, 2506 ). หนา 20.

Page 83: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 78

1.1.3 กัสสปยวาท 1.1.4 สังกันติกวาท 1.1.5 สุตตวาท (หรือเสาตรันติกะ)

1.2 วัชชีปุตตกวาท แบงยอยออกเปน 1.2.1 ธรรมมุตริกวาท 1.2.2 ภัททยานิกวาท 1.2.3 ฉันนาคาริกวาท 1.2.4 สัมมิติวาท

2.อาจริยวาท หรือ มหาสังฆิกวาท แบงยอยออกเปน 2.1 โคกุลิกวาท 2.2 เอกัพโยการวาท 2.3 เจติยวาทล 2.4 พหุสสุติวาท 2.5 ปญญัติวาท

ในหนังสือ 2500 Years of Buddhism, แบงอีกแบบหนึ่ง ได ถึง 26 นิกาย 4 ดังนี้ 100 ป หลังพุทธปรินิพพาน สงฆเปน 2 นิกาย คือ

1.สถวีรวาทิน แบงเปน (ตอนกลางพุทธศตวรรษที่ 3) 1.1 สรวาสติวาทิน 1.1.1 เสาตรันติกะ หรือสังกรานติกวาทิน (พุทธศตวรรษที่ 4)

1.2 วิภัชญวาทิน 1.2.1 กาสยปยะ 1.2.2 เถรวาทิน

1.2.2.1 มหาวิหารวาทิน 1.2.2.2 อภัยคิรีวาทิน 1.2.2.3 เชตวนียะ

1.2.3 มหิสสาสกะ (พุทธศตวรรษที่ 3) 1.2.3.1 ธรรมคุปติกะ (พุทธศตวรรษที่ 3) 1.2 วาสติปุตรียะ (พุทธศตวรรษที่ 2) 1.2.1 ธรรมโมตรียะ 1.2.2 ภัทรยานิกะ 1.2.3 สามมิติยะ 1.3 เหมวติกะ

4 P.V.Bapat. 2500 Years of Buddhism. (Delhi : Buplication Division, Ministry of Information and

Broadcasting, 1956). หนา 98-108.

Page 84: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 79

2. มหาสังฆิกะ แบงเปน 2.1 โคกุลิกะ

2.1.1ไจตยิกะ 2.1.1.1 ปุรวาไศลิกะ 2.1.1.2 อปรไศลิกะ (พุทธศตวรรษที่ 6) 2.1.1.3 ราชคิริถะ 2.1.1.4 สิทธารถิกะ (พุทธศตวรรษ ที่ 8 -9)

2.1.2 พหุศรุติยะ (สิ้นพุทธศตวรรษที่ 2) 2.1.3 ปรัชญาปติวาทิน (สิ้นพุทธศตวรรษที่ 2) 2.2 เอกวยาหาริกะ

2.3 มาธยมิกะ หรือ สุญญวาทะ ของทานนาคารชุน (พุทธศตวรรษที่ 6) 2.4 โยคาจาระ หรือ วิญญาณวาทะ ของทานไมตริยะ (พุทธศตวรรษที่ 7)

เม่ือพระพุทธศาสนา แผไปยังธิเบต ก็ไดแยกเปนนิกายหมวกเหลือง และนิกายหมวกแดง ของลามะ ที่จีนก็แบงเปนนิกายธยาน (หรือ ฉาน) ที่ญี่ปุน มีนิกายมากที่สุด (24 นิกาย) เชน เทียนไท นิจิเรน เซน เปนตน ทั้งนี้ก็ยังรวมอยูในนิกายหลัก คือ มหายานนั่นเอง หมายเหตุ ผูเขียนจะไมขอแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับทัศนะและประเด็นอื่น ๆ ที่แตกตางกันของนิกายเหลานี้เพราะเกินเนื้อหาในกระบวนวิชานี้ อยางไรก็ตาม ในกาลขางหนา ผูเขียนต้ังใจวา จะตองเขียนรายละเอียดเพื่อรวบรวมและวิเคราะหประเด็นที่เห็นขัดแยงกัน ทั้งในแงธรรม และแงวินัยวามีอะไรบางที่แตกตางกันจนถึงตองแยกออกเปนนิกายตาง ๆ ของพระพุทธศาสนา เปนหนังสือเลมหนึ่งโดยเฉพาะในโอกาสตอไป

Page 85: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 13 ที่มาของพุทธธรรม ในการศึกษาศาสนา เปนที่ทราบกันมาวา ศาสนาทั้งหลายในโลกนี้แบงออกเปน 2 ฝาย คือ

1. ศาสนาแบบเทวนิยมที่นับถือเทพเจาและอํานาจสูงสุดของเทพเจา และ 2. ศาสนาแบบอเทวนิยม ที่ไมยอมรับนับถืออํานาจสูงสุดของเทพเจา ศาสนาทั้ง 2 ประเภทยอมมีที่มาแตกตางกันทั้งจุดกําเนิด วิธีการแสวงหาความรู และ

รูปแบบแหงความเชื่อ ในบทนี้ จะเสนอแหลงที่มาของศาสนาแบบเทวนิยมพอเปนที่สังเขปเพื่อจะไดเกิดความเขาใจที่มาและหลักพุทธธรรมมากยิ่งขึ้น ที่มาคําสอนของศาสนาแบบเทวนิยม ศาสนาแบบเทวนิยม มีความเปนมาและหลักความคิด ซึ่งจะเสนอใน 3 ประเด็น คือ

1. ความจริงมีอยูในธรรมชาติ ความจริงเปนสิ่งที่ไมไดแยกอยูตางหากหรือจากโลกและธรรมชาติ แตอยูในชีวิต โลก และ

ธรรมชาติ เพราะชีวิต โลก และธรรมชาติมีสภาวะที่เปนแบบของตนแนนอน สิ่งที่เราเรียกวา คนก็ดี สัตวก็ดี ยอมมีสถานภาพที่เหมือนกันทางกายภาพ หรือดานรูปธรรม คือ เกิดจากการปรุงแตงสรางสรรคขึ้นมาจากสวนประกอบที่เปนวัตถุธาตุ มี ดิน น้ํา ลม ไฟ เปนตน และสภาวะที่เหมือนกันก็คือ ไมวาคนหรือสัตว ยอมมีการเกิดและสูญสลายไปตามกฎประจําโลก แตควรเขาใจวา ชีวิตมิไดเปนผลของการที่วัตถุธาตุผสมกันไดสัดสวน เกิดเปนตัวขึ้นมาและมีวิวัฒนาการตามลําดับโดยอาศัยกาลเวลา

ดังที่ ชารล ดารวิน กลาวถึงทฤษฎีวิวัฒนาการทางชีววิทยาโดยอธิบายทางวัตถุดานเดียว เชน การอธิบายถึงปรากฏการณของเขาโค และตาโควาไมมีอะไรเปนสาเหตุใหญ นอกจากความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ ที่บางอยางวิวัฒนาการชาและบางอยางวิวัฒนาการเร็วเทานั้น การเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่มีชีวิต จะอาศัยเฉพาะความบังเอิญ และปจจัยทางวัตถุอยางเดียวคงไมถูกตอง แบรกซอง (Bergson) นักปรัชญาฝรั่งเศสกลาวไววา “การเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่มีชีวิตตองอาศัยพลังชีวิต ที่เรียกวา เจตนาและวิญญาณ เปนตัวกระตุนภายใน” 1

มนุษยก็ไมจําเปนตองไปแสวงหาความจริงจากที่อื่น ๆ ไกลตัวเอง แตใหคนหาที่ธรรมชาติ หรือ ที่ตัวมนุษยเอง ไมวาเราจะมองหาความจริงดานใด เชน ดานวัตถุธรรม ดานกฎความเปนไปของสรรพสิ่ง ดานลักษณะที่สากลของสรรพสิ่ง ก็มีอยูแลวในชีวิตและธรรมชาติ ในประเด็นนี้ ทัศนะของศาสนาฝายเทวนิยม บอกวา ความจริงเปนสิ่งที่พระเจาแฝงไวในธรรมชาติ พระเจาเองหากมองดานหนึ่งก็เปนผูรักษากฎธรรมชาติ หรือเปนตัวกฎธรรมชาตินั่นเอง

2. พระเจาหรือเทพเจาทรงรูความจริงทุกอยาง

1 สนั่น ไชยานุกูล. หลักธรรมและแนวปฏิบัติของเถรวาทและอาจริยวาท. (กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพการศาสนา,

2523). หนา 21-22.

Page 86: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 81

ศาสนาฝายเทวนิยมทั้งหลายไมยอมรับวา มนุษยมีความสมบูรณพรอมอยูในตัวแลว มนุษยยังขาดอะไรอีกมากมีอะไรบางอยางที่มนุษยไมสามารถจะรูได เปนเพราะขีดสามารถอันจํากัดของมนุษยเอง มนุษยอาจสามารถจะรูเรื่องตาง ๆ ไดสารพัด แตความรูทางศาสนาไมอาจรูเองได ตองอาศัยเทพเจามาเปดเผยใหทราบ เพราะเชื่อวา เทพเจาเปนผูทรงความรู คือรูทุกอยาง (Omniscient) 2 พระเจาเปนผูสมบูรณทุกประการ เปนแหลงความรู เปนแหลงความดี เปนตน โดยคุณลักษณะดังกลาว พระเจาจึงเปนผูทราบความจริงทุกประการ

3 . พระเจาทรงเปดเผยแกมนุษย เนื่องจากคุณสมบัติของมนุษยมีขีดจํากัด บกพรอง ในดานความรู พระเจาจึงไดประทานความรูแกมนุษย เรียกวา เทพวิวรณ หรือ “เทพโองการ” และเมื่อเทพเจาจะเปดเผยความรูนี้แกมนุษย ก็จะเลือกบุคคลที่เหมาะสม (Selected Person) เพื่อรับการเปดเผยความรู การเปดเผยเกิดขึ้นเปนครั้งคราวเทานั้น และการเปดเผยที่เปนครั้งคราวเชนนี้ จึงทําใหเกิดศาสนาตาง ๆ ขึ้นมา วิธีการเปดเผยสุดแตพระเจาจะทรงเลือกวิธีการ วิธีการเปดเผย มี 5 วิธีดวยกันคือ 3.1 การดลใจ (Inspiration) นั่งสมาธิคนเดียวเงียบ ๆ มีเทพดลใจใหเกิดความคิดใหม ๆ ขึ้นมา 3.2 การฝน (Dream) เกิดจากการนอนหลับ สิ่งที่ปรากฏในความฝนอาจเปนเครื่องบอก เหตุการณในปจจุบันและอนาคตได เพราะขาวสารที่เกิดในความฝนบางอยาง ก็นาเชื่อได ดังที่ ดร.เจ บี ไรน ( Dr.J.B.Rine ) ทําการพิสูจนความฝนของคนนับเปนพัน ๆ ราย และปรากฏวามีเหตุการณที่เกิดจริง ๆ ตามที่ฝน แสดงวา ความฝนมีสถิตินาเชื่อถือไดบาง สาเหตุแหงความฝน ในพระพุทธศาสนากลาวถึงสาเหตุแหงความฝน 4 ลักษณะ 3 คือ

1) บุพพนิมิต เครื่องหมายบอกเหตุลวงหนา เพื่อเตือนหรือบอกเหตุลวงหนาวาอนาคตจะดีหรือราย

2) จิตอาวรณ เกิดจากการคิดมาก หรือกังวลมาก เชน คนที่ทําความผิด (ฆาคนตาย) มาใหม ๆ ฝนวาผีตายโหงมาหา ฝนวาเจาหนาที่ตํารวจมาจับกุม หรือกรณีที่นักศึกษาดูหนังสือมากเพื่อเตรียมตัวสอบ ในเวลาใกลสอบก็มักจะฝนเห็นขอสอบและคนที่เปนทุกขหนักคิดถึงแตเรื่องโรคภัยไขเจ็บมาก ๆ ของตัว สุดทายฝนเห็นยารักษาและไปนํามารักษาตน จนหายปวย จึงเรียกวา ยาผีบอก

3) เทพสังหรณ

2 พิสิฏฐ โคตรสุโพธิ์. ศาสนาเบื้องตน. (เชียงใหม : บี.เอส. การพิมพ, 2540). หนา 17. 3 สารัตถสังคหะ, เลม 1. อรรถกถาพระสุตตันตปฎกเลม 21. (อังคุตรนิกาย จตุกกนิบาต). พ.ศ. 2461, หนา

322.

Page 87: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 82

การที่เทพเจามาดลใจขณะนอนหลับ มาบอกใหทราบในความฝน เทพเจาที่จะมาเขาฝนตองมีความผูกพันกันมาตั้งแตอดีต และในขณะที่นอนหลับ สภาพจิตใจและคลื่นสมอง จะอยูในระดับคลายเทพเจา จึงสามารถสื่อสารกันได

4) ธาตุกําเริบ หมายถึง การทํางานของรางกายไมปกติในขณะนอนหลับ เชน ปวดทอง หิว เปนไข

หนัก ก็ทําใหฝนหรือบนเพอออกมาได 3.3 การใหสัญญาณตาง ๆ ( Davination ) เทพเจาจะใชสัญญาณเปนสื่อแจงขาวแกมนุษย แตเม่ือพบสัญญาณแลว มนุษยตองตีความหรือบอกใบสัญญาณทํานายกันออกมา การคิดตีความโดยอาศัยสัญญาณ มี 2 ลักษณะ คือ

1) ตีความจากสัญญาณธรรมชาติ เชน ก. สังเกตปรากฎการณธรรมชาติ เพื่อทํานายโชคราย หรือโชคดี เชน

- การเกิดของดาวหาง ทํานายวา จะเกิดมหาสงคราม / เจานายจะสวรรคต - คราส (อาทิตย / จันทร) ทํานายวา โลกจะเดือดรอน / เกิดน้ําทวมใหญ

ข. สังเกตจากพฤติกรรมของสัตวแลวมาทํานาย เชน - นกบินเปนฝูงมาก ทํานายวาจะเกิดเหตุใหญ - แรงมาจับหลังคาเรือน ทํานายวา หาจะกิน / เกิดโชคราย - มดขนไขจากรังขึ้นบนดิน ทํานายวา ฝนจะตก - ปลากระโดดหนีน้ํา ทํานายวา จะเกิดมีแผนดินไหวในเร็ววัน 2) ตีความแบบสรางขึ้นเอง บางทีจะมัวคอยใหเทพเจามาบอกสัญญาณไมทันใจ จึงตองจัดพิธีเส่ียงทายเอาเอง เชน การเสี่ยงเซียมซีและอานคําทํานายบาง หรือในพิธีแรกนาขวัญของชาวไทย มีการเสี่ยงทายใหพระโคกินอาหาร 7 ชนิด คือ ขาว ขาวโพด ถั่ว งา หญา น้ํา และสุรา พระโคกินอาหารและน้ําอะไร ก็ใหทํานายตามของที่ไดเส่ียงทายใหกินนั้น ๆ เปนตน 3.4 การปรากฏของนิมิต (Vision) เทพเจาสรางขึ้นมาเพื่อติดตอมนุษย มี 2 ลักษณะ คือ 1) นิมิตทางเสียง คือ เสียงทิพย เสียงแวว พรายกระซิบ ดังที่ โมเสส พูดกับพระเจา หรือที่ พระนะบี มูฮําหมัด พูดกับมหาเทพของพระอัลเลาะห 2) นิมิตทางรูปและเสียง คือ เห็นภาพดวยและไดยินเสียงดวย 3.5 เทพาวตาร (Incarnation) เทพเจาจะอวตารมาในรางมนุษย เพื่อมาปฏิบัติกิจกรรม เชน การสั่งสอน หรือเพื่อปราบทุกขเข็นจัดการโลกใหสงบเปนไปตามประสงคของทานเปน คราว ๆ แลวกลับไปสวรรค ในศาสนาฮินดูบอกวาเทพเจาจะอวตารมา 20 ครั้ง แตการอวตารอันที่ยอมรับมี 10 ครั้ง เรียกวา นารายณ 10 ปาง เชน กฤษณะ ในเรื่องมหาภารตะยุทธ และพระราม ในเรื่องรามเกียรต์ิ เปนตน ที่มาของคําสอนของศาสนาฝายอเทวนิยม

Page 88: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 83 พระพุทธศาสนา เปนศาสนาในฝายอเทวนิยม ไมยอมรับความศักดิ์สิทธิ์และอํานาจสูงสุดของเทพเจา ดังนั้นหลักการของพระพุทธศาสนา ยอมแตกตางจากเทวนิยมที่กลาว มีประเด็นที่ควรพิจารณา แบงตามหลักความคิดดังนี้ 1. ความจริงมีอยูในธรรมชาติ ความจริงหรือสัจธรรม (Truth) มีอยูแลวในธรรมชาติ มนุษยจะเกิดหรือไมเกิด จะรูหรือไมรู ความจริงมันก็มีอยู เปนอยูอยางนั้นเอง มันเกิดขึ้น คงสภาพอยูและดับไปตามกฎของมัน นักคิด นักแสวงหาความรู หรือแมแตนักวิทยาศาสตร ก็เปนเพียงทําการคนพบ (Discovery) กฎธรรมชาติ ไมใชผูสรางกฎขึ้นมาใหม กฎธรรมชาตินี่แหละที่พระพุทธศาสนาเรียกวา “ธรรมนิยาม” หรือกฎแหงความเปนสาเหตุและผล (The Law of Causality or Cause and Effect) หมายความวา “สรรพสิ่งลวนอิงอาศัยกันและกันในฐานะที่สิ่งหนึ่งเปนสาเหตุและอีกสิ่งหนึ่งเปนผล” 4

หันมาพิจารณาความสอดคลองกันในกฎทางวิทยาศาสตร เราพบวานักวิทยาศาสตรจะตองมีความเชื่ออยางหนึ่งรวมกันวา “ในธรรมชาติมีกฎเกณฑและความเปนเหตุผลที่แนนอน” ในธรรมชาติมีความเปนระเบียบ มีกฎเกณฑ เม่ือสรางเงื่อนไขเหมือนเดิม ผลที่ออกมายอมตองเหมือนเดิมดวย หนาที่ของนักวิทยาศาสตร คือ การคนหากฎเกณฑเหลานั้น และนํามาสรุป อธิบายเปนกฎใหเปนที่ทราบกัน 2. มนุษยรูความจริงดวยตัวของมนุษยเอง ตามประวัติพระพุทธเจาที่ไดกลาวมาในบทกอน ๆ เราพบวา พระพุทธเจาแสวงหาสัจธรรมดวยตนเอง คนพบเอง ไมมีใครบอกใครสอน หรือไมมีใครมาเปดเผยหรือโองการมาให เพราะกวาจะตรัสรู ตองพยายามเอง ลองผิดลองถูก เดินผิดทางเสีย 6 ป กวาจะคนพบทางสายกลาง และเม่ือคนพบ ก็ตองลงมือปฏิบัติเองจนตรัสรูความจริง ไมมีใครอื่นที่มีอํานาจสูงสุดคอยประทานความรูที่สําเร็จรูปมาให เหมือนพระพรหมโองการความรูที่เรียกวา “พระเวท” ประทานแกฤาษีทั้งหลายในศาสนาพราหมณ ศาสนาพุทธเปนเรื่องมนุษยพยายามเอง พอกพูนสั่งสมเอง ความสําเร็จจึงจะเกิดขึ้น มีคําที่ใครไมทราบกลาวไวนาฟง ดังนี้ ความสําเร็จ เปนเรื่องของการเสาะแสวงหา มิใชเกิดมาเปน เปนเรื่องของการตอสู มิใชนั่งดูดวง เปนเรื่องของการฟนฝา มิใชฟาบันดาล เปนเรื่องของความเชี่ยวชาญ มิใชโชคชวย เปนเรื่องของการฝกฝน มิใชบุญหลนทับ เปนเรื่องของความสามารถ มิใชวาสนา เปนเรื่องของพรแสวง มิใชพรสวรรค

4 สมภาร พรมทา. พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร. (กรุงเทพ ฯ ; มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2534). หนา

62.

Page 89: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 84

3. พระพุทธเจาคนหาความจริงและตรัสรูความจริงดวยตัวเอง พระพุทธศาสนา เกิดจากการคิดคนเพื่อหาทางหลุดพนจากปญหา (ทุกข) ดวยเรี่ยวแรงและความพยายามของมนุษยแท ๆ พระพุทธเจาเปนมนุษย มิไดอางอํานาจเทพเจา หรือเปนอวตารปางใดปางหนึ่งของเทพเจา และความสําเร็จของทานมิไดเกิดจากการชวยเหลือจากมหาเทพองคใด ถือไดวา พุทธศาสนาเปนศาสนาของมนุษย เพื่อมนุษย และยกศักดิ์ศรีของมนุษยวา เม่ือมนุษยพยายาม มนุษยก็ยิ่งใหญไมแพ หรืออาจสูงสงยิ่งกวาเทพเจาเสียดวยซ้ํา เพราะมนุษยสามารถตรัสรูได 5

5 Phra Rajavaramuni (P.A.). Thai Buddhist World. (Bangkok : Mahachulalongkorn Press, 2533).

หนา 5.

Page 90: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 14 พุทธธรรม : หลักความรู

ทฤษฎีความรู 1. ผูรู คือ มนุษย 2. ส่ิงที่ถูกรู คือ ธรรมชาติ แบงเปน สิ่งที่เปนรูปธรรม นามธรรม มโนภาพ สัจภาวะ 3. ความรู พระพุทธศาสนาก็แบงความรูออกเปน 6 ระดับ ดังนี้ 1

3.1 วิญญาณ (Cognition or Consciousness) การรับรูทางอายตนะภายในและอายตนะภายนอก เปนความรูระยะสั้น ๆ เชน ตาเห็นรูป ยังไมรูอะไรชัดวา เปนรูปอะไร เรียกวา จักขุวิญญาณ เปนตน (รูสึก หรือ รูจัก) 3.2 สัญญา (Perception) รับรูเห็นรายละเอียด จําไดหมายรูวา เปนคน สัตว, หญิง, ชาย เปนตน (รูจํา) 3.3 อภิญญา (Extraordinary Perception) การรับรูอารมณ และ คุณลักษณะอาศัยพลังจิต มองเห็นสิ่งที่ละเอียดเกินวิสัยตาสามัญที่จะรับรูได ( รูพิเศษ ) 3.4 ทิฐิหรือความเห็น (Conception) คือ การเขาใจความจริงชนิดรวบยอด (Concept) ความจริงสากลที่อยูเบ้ืองหลังสภาวะธรรม แยกความเปนสากลออกมาจากลักษณะเฉพาะ ๆ เชน เห็นความทุกข ความไมเที่ยงของสิ่งตาง ๆ เปนตน เกิดจากการคิดหาเหตุผลทางสภาวะ (รูเขาใจ) 3.5 วิชชุญาณ (Intuitive Insight) เกิดจากจิตสงบ นําจิตไปเพง จดจออยางใดอยางหนึ่งมาก ๆ ยอมเกิดการรูแจงเห็นสภาพจริง ๆ ของสิ่งนั้น ๆ (รูฉับพลัน เปนการรูแจง) 3.6 สัมโพธิญาณ (Enlightenment) คือ การตรัสรู หมายเอาการรูแจงซึ่ง เกิดจากสัมมาทิฐิ สามารถทําลายกิเลสไดเด็ดขาด (รูจบ) ความรู 3 ระดับ จากความรู 6 ระดับ สามารถสรุปเปน 3 ได ดังนี้ 1) รูจริง (Conception) ขั้นรูตรงตามความจริงโดยการรูกวาง รูลึก (รูจัก รูจํา เขาใจ) 2) รูแจง (Intuitive Insight) ขั้นหยั่งรู (รูดวยญาณ)

3) รูจบ (Enlightenment) ขั้นตรัสรู หมายถึง วิธีพัฒนาความรูแบบรูแจงใหถึงที่สุด

ในขั้นรูจบ ผูรูจะเกิดความเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีหลายดาน เชน 1 ) ดานบรรยากาศจิต จากที่เคยมืด เปน สวาง 2 ) ดานคุณภาพจิต จากสกปรก เปน สะอาด 3 ) ดานอารมณ จากสับสน วุนวาย เปน สงบ ระงับ 4 ) ดานทัศนคติ จากเกลียด เปน รักใคร สงสาร 5 ) ดานพฤติกรรม จากการเปนผูเอา เปน ผูมีการใหปน

1 แสง จันทรงาม. ศาสนศาสตร. (กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2535). หนา 78-80.

Page 91: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 86

4. อุปกรณการเรียนรู คือ อินทรียหรืออายตนะ 6 ประกอบดวย ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ

5. แหลงเกิดความรู 2 แหลง 2

ในทางพระพุทธศาสนากลาววา ความรูเกิดมาจาก 2 ทางหลัก คือ 1. ปรโตโฆสะ ไดแก การรับขอมูลจากประสบการณภายนอก เปนความรูในระดับการรับรู 2. โยนิโส มนสิการ ไดแกการคิดไตรตรองพิจารณา ความคิดที่ถูกวิธี คิดเปน คิดอยางมีระเบียบ สืบคนถึงตนเคา สืบสาวใหตลอดสาย เปนความรูระดับเหตุผล

6. แหลงเกิดปญญามี 3 อยาง 3

หากจะจําแนก ประเภทความรูตามวิธีการที่เกิด แบงได 3 ประเภท คือ 1. สุตมยปญญา ปญญาเกิดจากการสดับเลาเรียน หรือถายทอดกันมา 2. จินตามยปญญา ปญญาเกิดจากการคิด การพิจารณาหาเหตุผลดวยตนเอง 3. ภาวนามยปญญา ปญญาเกิดจากการลงมือปฏิบัติ ฝกหัดอบรม พระพุทธเจาตรัสรูอะไร ความรูแจงและรูจบ คือหลักการสูงสุดของพระพุทธศาสนา ความสําคัญของความรูคือ 1. ความรู (ปญญา) เปนสิ่งสําคัญที่สุด (มากกวาศรัทธา) ในพระพุทธศาสนา 2. พระพุทธศาสนาเริ่มตนดวยความรู (ทิฐิ) และสิ้นสุดดวยความรู (ญาณ วิชชา) 3. ความรูเปรียบเหมือนคมมีด ตัดอวิชชา ตัณหา อุปาทาน พลังกรรมได เปนขั้นรูจบ การบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณของพระพุทธเจา จนถือวาเปนความรูสูงสุดนั้น ก็ตองมีสิ่งอันเปนที่ถูกรู และสิ่งนั้น ตองเปนสัจธรรมความจริง รูแลว ทําใหบุคคลเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีไดสูงสุดถึงหมดกิเลส เราทราบวา พระพุทธเจาแสวงหาสัจจะของชีวิต ทานมิไดแสวงหาทรัพยสินเงินทอง หากมองในมุมนี้ เราก็สรุปไดวา สัจจะ คือ สิ่งที่ควรรู มีคาควรแกการแสวงหา เพราะเปนตัวความจริงของชีวิต เม่ือเขาใจสัจธรรมของชีวิต บุคคลจะไดไมเปนผูที่อมทุกข กนโศก แตจะประสบความสงบสุข เย็นและดับรอนกายและรอนใจไดสนิท ประเด็นที่จะนําเสนอตอไป คือ พระพุทธเจาทรงรูความจริงอะไรบาง จึงทําใหไดเปนศาสดา ผูสั่งสอนศาสนาที่สําคัญศาสนาหนึ่งของโลก มีอายุยืนยาวสืบมาเปนเวลาถึง 25 หรือ 26 ศตวรรษแลวสิ่งที่พระพุทธเจาทรงคนพบ คงเปนสิ่งไมเกินวิสัยที่ทุกคนสามารถรูตามได หากคิดไตรตรองอยางมีวิจารณญาณ สัจจะ ความจริง

ความจริงหรือสัจจะตามความเขาใจของบุคคลทั่วไป สามารถจําแนกออกมาได 4 ชั้น 4 คือ

2 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธธรรม. ( กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2532 ).

หนา 621. อางจากพระไตรปฎก องฺ. ทุกฺก. 20/371/110. 3 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). เร่ืองเดียวกัน. หนา 52. 4 แสง จันทรงาม. วิธีสอนของพระพุทธเจา. หนา 13 – 18.

Page 92: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 87 1.1 สมมติสัจจะ (Conventional Truths)

หมายถึง ความจริงเปลือกนอก ความจริงชั่วคราว ที่โลกสมมติบัญญัติกันขึ้นมา ใหเปนที่เขาใจกัน ยอมรับกันและใชสื่อสารกันในชีวิตประจําวัน ไมถือวา เปนการโกหก หลอกลวง แบงยอยไดดังนี้ 1.1.1 ภาษา คือ สัญญาณเสียง หรืออาการทางรางกาย (ภาษาใบ) ที่เราใชสื่อเรียกขานสรรพสิ่งใหเปนที่เขาใจตรงกัน เชน “สัตว” ชนิดหนึ่ง ในภาษาไทย ใชเสียงเรียกวา “แมว” อังกฤษใชเสียงเรียกวา “Cat” เปนตน 1.1.2 สัญญาณ

ภาพที่สมติแทนสิ่งอื่นนอกจากตัวมัน สื่อผานทางการเห็น เชน สีขาวแดงที่ตีริมขอบถนน หมายถึง หามจอดรถ สัญลักษณ หมายถึง เครื่องโทรศัพท

1.1.3 ปรากฏการณในชีวิตประจําวัน สิ่งที่ปรากฏแกการรับรูทางสายตา เชน ชวงเวลาที่แบงเปนชั่วโมง หรือ เปนวัน

อันที่จริง เวลาไมมีกําหนดแนนอน ตัวอยาง เวลาในประเทศไทยตอนนี้ เปน 06.00 น . ถือวาเปนเวลาเชา และดวงอาทิตยกําลังขึ้น แตเม่ือเทียบกับเวลานาฬิกาในประเทศสหรัฐอเมริกา ในบางถิ่นอาจเปนเวลา 18 .00 น . ถือวาเปนเวลาค่ํา และดวงอาทิตยกําลังตก แสดงวา เวลาที่ตายตัวแนนอนนี้ไมมีทั้งไมมีเวลาเชา หรือเวลาค่ํา ตลอดถึงการขึ้นหรือตกที่เรียกวา ดวงอาทิตยขึ้น หรือดวงอาทิตยตกจริง ๆ เปนเพียงสมมติที่เกิดเมื่อโลกหมุนอีกดานหนึ่งเขาหาหรือออกจากดวงอาทิตยเทานั้นเอง

1.1.4 ตําแหนง หนาที่การงาน ตําแหนง หนาที่การงาน ก็เปนสิ่งที่เราก็สมมติกันขึ้นมา เชน เปนพระราชา

เปนประธานาธิบดี เปนนายกรัฐมนตรี เปนรัฐมนตรี เปนอธิบดี เปนอธิการบดี คณบดี เปนผูอํานวยการ เปนอาจารย เปนนักศึกษา เปนตํารวจ เปนทหาร เปนพอ เปนแม เปนลูก และ ฯลฯ ความจริงตําแหนงเหลานี้สมมติกันขึ้นมาทั้งนั้น เหมือนหัวโขนเพื่อกําหนดใหทําหนาที่ตามสิ่งที่สมมติ จะไดไมกาวกายหนาที่กัน

1.1.5 คานิยม สิ่งที่คนสวนใหญถือวา ดีมีคา แบงเปน

1) คานิยมเชิงปริมาณ เชน รวยกับจน สูงกับตํ่า ยาวกับส้ัน มากกับนอย

2) คานิยมเชิงคุณภาพ เชน ดีกับชั่ว

3) คานิยมเชิงจริยศาสตร เชน ควรกับไมควร

4) คานิยมเชิงสุนทรียศาสตร เชน สวยกับขี้เหร เพราะกับไมเพราะ เปนตน เหลานี้ ลวนเปนส่ิงที่สมมติตามความพอใจของแตละสังคม และ สมัยนิยม เพราะขึ้นอยูกับ

อารมณของผูรับรูเปนเกณฑ สมมติสัจจะ ก็เปนสิ่งที่งายตอการสื่อความ พระพุทธเจาไมปฏิเสธ แตใหเขาใจวามันไมจริงแท เม่ือสูญเสียจะไดทําใจถูก ไมหลงยึดติดจนถอนใจไมขึ้น

1.2 สภาวสัจจะ (Empirical Truths)

Page 93: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 88

หมายถึง ความจริงตามสภาพที่แทของสิ่งที่ปรากฏ เปนความจริงที่แฝงลึกอยูเบ้ืองหลังของสิ่งที่ปรากฏ เปนโครงสรางที่ตองอาศัยการจําแนกหรือวิเคราะห จึงจะเห็นได เชน น้ํา คือสิ่งที่ปรากฏ แยกสวนประกอบจะเห็นสภาวะของสารประกอบเปนไฮโดรเยน 2 สวน ผสมกับออกซิเจน 1 สวน เปนตน

1.3 ปรมัตถสัจจะ (Metaphysical Truths) ในที่นี้ หมายถึง ความจริงบางอยางที่มีอยูและเหนือวิสัยของการรับรูทางประสาทสัมผัส ทั้ง

ไมสามารถจะทําการพิสูจนดวยเครื่องมือทางวิทยาศาสตรได แตก็สามารถรูวาสิ่งนี้มีอยู ดวยวิธีการคาดคะเนตามวิธีทางตรรกวิทยา เชน จิตวิญญาณ นรก สวรรค เทพเจา นางฟา การตายแลวเกิด เปนตน สิ่งเหลานี้ สําหรับคนทั่วไปถือวาเปนสิ่งลึกลับ

การที่จะยืนยันวา มีอยู หรือจะปฏิเสธวาไมมีอยูจริงก็ยากที่จะพิสูจนได เพราะเปนการคาดการณหรือเก็งความจริงวา “นาจะเปนอยางนั้น อยางนี้” หากจะมัวถามคาดคั้นเอาคําตอบชัด ๆ และเถียงกันเพื่อพิสูจนใหกระจางแจง เปนเรื่องที่เสียเวลา ไมกอประโยชนที่จําเปนแกชีวิต ปญหาทํานองนี้พระพุทธเจาเลี่ยงที่จะตอบ ไมใชวาไมทราบคําตอบ แตเสียเวลาที่จะตอบ และเมื่อตอบแลวก็ยังไมจบ

1.4 อริยสัจจะ (The Noble Truths) หมายถึง ความจริงที่ทําใหผูเขาใจและปฏิบัติตามบรรลุถึงความเปนอริยบุคคล เปนความ

จริงที่เกี่ยวกับชีวิตของเรา ไมเปนเท็จ ไมแปรเปนอยางอื่น เปนความจริงในตัวของมันเอง หลาย ที่เราทุกคนตองเผชิญตลอดชีวิต ถาเราเขาใจ จะเห็นทางออกจากปญหาที่ทวมทับชีวิตเรา

ที่ไดชื่อวา อริยสัจ มีเหตุผลที่ทานอธิบายไวในวิสุทธิมรรค คือ 5

1. เพราะเปนธรรมที่พระอริยะทั้งหลายมีพระพุทธเจาเปนตน รูแจงแลว 2. เพราะเปนความจริงของพระอริยะทั้งหลายมีพระพุทธเจาเปนตน 3. เพราะเปนเหตุแหงการสําเร็จเปนพระอริยะของพระอริยะทั้งหลาย มี 4 ประการ

คือ 6 1.4.1 ทุกข (Suffering) หมายถึง ความทุกข สภาพที่ทนไดยาก สภาวะที่บีบคั้น

ขัดแยง บกพรอง ขาดแกนสาร และความเที่ยงแท ไมใหความพึงพอใจแทจริง ไดแก ชาติ (เกิด) ชรา มรณะ เปนตน

1.4.2 ทุกขสมุทัย (The Causes of Suffering) หมายถึง เหตุเกิดแหงทุกข สาเหตุใหทุกขเกิด ไดแก ตัณหา 3 ชนิด คือ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา

1.4.3 ทุกขนิโรธ (The Cessation of Suffering) หมายถึง การดับทุกข ไดแก สภาวะที่ตัณหาดับส้ินไป หลุดพน สงบ ปลอดโปรง เปนอิสระ คือนิพพาน

1.4.4 ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา (The Path leading to the Cessation of Suffering)

5 วิสุทธิมรรค แปล. ภาค 3. (กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, 3/2527) หนา 161-162 6 วินย. มหา. 4/14/18; พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม. (กรุงเทพ

ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2540). หนา 181 - 182.

Page 94: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 89

หมายถึง ปฏิปทาหรือขอปฏิบัติที่นําไปสูความดับทุกข เรียกอีกอยางหนึ่งวา มัชฌิมาปฏิปทา

เหตุผลในการแสดงอริยสัจ พระพุทธเจาทรงแสดงอริยสัจ 4 เรียงลําดับคือ ทุกข สมุทัย นิโรธ และมรรค ทานใหเหตุผลไววา

1. ที่ทรงแสดงทุกขกอน ก็เพราะวาทุกขเปนสิ่งที่รูไดงาย เปนของหยาบและเปนของสาธารณะแกสัตวทั้งปวง และเพื่อใหเกิดความสังเวช สลดใจที่ไดเห็นความทุกข

2. ที่ทรงแสดงสมุทัยตอจากทุกข ก็เพื่อแสดงเหตุแหงทุกข และเพื่อใหรูวาทุกขนั้นเกิดขึ้นไดเพราะมีสาเหตุ และสาเหตุนั้น คือตัณหา ไมใชเกิดเพราะเทพเจาบันดาล

3. ที่ทรงแสดงนิโรธ ตอจากสมุทัย ก็เพื่อใหรูวา ยังมีความดับทุกขอยู เปนความดับแหงผล (ทุกข) เพราะความดับแหงเหตุ (สมุทัย) และเพื่อความโลงใจของสัตวที่ไดเห็นทางออกจากความทุกข

4. ทรงแสดงมรรคเปนลําดับสุดทาย ก็เพื่อเปนอุบายแหงการบรรลุนิโรธ และเปนแนวทางหลัดพนจากทุกข สําหรับผูเกิดความสลดใจเพราะความทุกขแลว 7

7 วิสุทธิมรรค แปล. ภาค 3. (กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, 3/2527) หนา 161-162

Page 95: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 15 พุทธธรรม : อริยสัจ 4 ความจริงและเปาหมายสูงสุดของชีวิตมนุษย ส่ิงที่ทรงตรัสรู 1

พระพุทธเจาทรงตรัสรูความจริงอันประเสริฐ ที่เรียกวา อริยสัจ 4 คือ

1. ทุกข (Suffering) หมายถึง ความทุกข สภาพที่ทนไดยาก สภาวะที่บีบคั้น ขัดแยง บกพรอง ขาดแกนสาร และความเที่ยงแท ไมใหความพึงพอใจแทจริง ความทุกข มี 3 ลักษณะ คือ : 1. ความไมสมบูรณ (Imperfectiveness) ความบกพรอง (defectiveness) ความเปลี่ยน แปลงตองแกไข

2. ความไมสบายใจ (Discomfort) ทั้งกาย ทั้งใจ 3. การตอสูดิ้นรนเพื่อแกความไมสบาย (Struggle)

ไดแก ความทุกข ที่ตรัสแสดงไวในธรรมจักกัปปวัตตนสูตร คือ

1.1 ความเกิด เปนความทุกข

1.2 ความแก เปนความทุกข 1.3 ความเจ็บ เปนความทุกข

1.4 ความตาย เปนความทุกข

1.5 ความพบเจอกับส่ิงที่ไมรัก เปนความทุกข

1.6 ความพลัดพรากจากสิ่งที่รัก เปนความทุกข

1.7 ปรารถนาสิ่งใดแลว ไมไดสิ่งนั้น เปนความทุกข

1.8 ความยึดมั่นถือมั่นในขันธ 5 เปนความทุกข วิธีเห็นทุกข

1. เห็นดวยทิฐิ เกิดจากประสบการณ, พิจารณา 2. เห็นดวยญาณ เกิดจากการเจริญวิปสสนา

อานิสงสการเห็นทุกข 1. เตรียมใจรับทุกข ใจจะคุนเคยกับทุกข 2. เม่ือเกิดทุกข จะไมเสียขวัญ จะเผชิญหนากับทุกขอยางหาวหาญ 3. จะหาทางแกทุกขดวยเหตุดวยผล 4. จะปฏิบัติจริงเพื่อดับทุกข 5. จะไมเบียดเบียนผูอื่น (ศีลจะมาเอง) 6. จะเกิดเมตตา กรุณา ใหชวยเหลือผูอื่น (ธรรมจะมาเอง)

1 สํ. มหาวารวรรค, 19/1664/528.

Page 96: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 91

2. ทุกขสมุทัย (The Causes of Suffering) หมายถึง เหตุเกิดแหงทุกข สาเหตุใหทุกเกิด ไดแก ตัณหา ความทะยานอยาก ความอยากเกินความจําเปนที่พอจะทําใหชีวิตสวนบุคคลอยูได มี 3 ชนิด คือ

2.1 กามตัณหา (Desire for sexual object) ความอยากไดในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ที่นาปรารถนา นาใคร นาพอใจ ในสิ่งเสพปรนเปรอตน ขวนขวาย ไขวควา หามาครอง กอใหเกิดทุกข คือ

1. เกิดความหิวกระหายทางใจ เดือดรอนใจ 2. เปนเหตุใหตอสูดิ้นรนแสวงหา กอบโกย ขูดรีด เบียดเบียน เขนฆากัน 3. ถาไมไดจะเกิดความผิดหวัง ความขัดแยง ชีวิตมีความผิดหวังมากกวาสมหวัง

4. ถาไดมา ก็จะมีความพอใจอยูชั่วขณะ แลวอยากไดมากขึ้น ตอสูดิ้นรนมากขึ้น

2.2 ภวตัณหา (desire for existence) ความอยากมีสิ่งนั้น อยากมีสิ่งนี้ อยากเปนอยางโนน อยากเปนอยางนี้ อยากใหสิ่งที่ไดมาแลวคงอยูตลอดไป ยื้อยุด ฉุดดึง เหนี่ยวรั้ง ความอยากใหสิ่งที่ตนชอบใจมีอยู คงอยูตลอดกาล : อยากใหอยู กอใหเกิดทุกข คือ

1. หิวใจ เดือดรอนวุนวายใจ 2. พยายามตอสูดิ้นรนเพื่อใหอยู 3. ถาสิ่งนั้นไมอยูก็ผิดหวัง เปนทุกข 4. ถาสิ่งนั้นอยู ก็พอใจชั่วขณะ

2.3 วิภวตัณหา (Desire for annihilation) ความอยากไมมีไมเปนอยางนั้นอีกตอไป เกิดภาวะอิ่มและเบื่อหนาย ปฏิเสธ มุงสลัด ปดทิ้ง ทําลายลาง ความอยากใหสิ่งที่ตนเกลียด เบ่ือหนาย อยากกําจัดใหหมดสิ้นไป ใหดับสูญไป เปนเหตุใหเกิดทุกข คือ

1. เกิดความเดือดรอนขุนเคืองใจ 2. ตอสูดิ้นรนหาทางทําลาย 3. ถาทําลายไมไดก็ผิดหวัง คับแคน จําทน 4. ถาทําลายไดก็พอใจชั่วครู แลวสิ่งไมพอใจอื่นก็ตามมา

ขอสังเกตเกี่ยวกับตัณหาทั้งสาม

1. กิจกรรมในชีวิตของมนุษยผูยังมีกิเลสลวนแตมีตัณหา 3 อยูเบ้ืองหลัง

2. สิ่งทั้งปวงที่มนุษยสรางแลว กําลังสรางอยูและจะสรางตอไปสวนใหญเพื่อสนองตัณหา ดังพุทธภาษิตที่ที่วา นตฺถิ ตณฺหาสมา นที 2 : แมน้ําเสมอดวยตัณหา

3. กามตัณหา ทําใหสรางขึ้น เทียบกับพระพรหมของ ศาสนาฮินดู ภวตัณหา ทําใหพิทักษรักษา พอเทียบไดกับพระวิษณุของ ศาสนาฮินดู วิภวตัณหา ทําใหทําลาย พอเทียบไดพระศิวะ ของ ศาสนาฮินดู

*พุทธสอนใหทําลาย แตศาสนาฮินดูสอนใหเคารพบูชา*

2 ขุ.ธ. 25/48/28.

Page 97: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 92

3. ทุกขนิโรธ (The Cessation of Suffering) หมายถึง การดับทุกข ไดแก สภาวะที่ตัณหาดับส้ินไป หลุดพน สงบ ปลอดโปรง เปนอิสระ คือ นิพพาน มี 2 ประเภทจําแนกตามผูที่บรรลุนิพพานคือ

3.1 สอุปาทิเสสนิพพาน ไดแก จิตใจที่สวาง สะอาด สงบแลว เพราะอวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม ดับไป เปนประสบการณทางจิตที่อาจถึงไดในปจจุบัน ยังมีชีวิตอยู

3.2 อนุปาทิเสสนิพพานไดแก นิพพานธาตุหรืออมตธาตุที่มีอยูในเอกภพ พระอรหันตดับขันธแลว บรรลุถึงอนุปาทิเสสนิพพาน หมดสิ้นทั้งชีวิตและเหตุแหงการเกิด

4. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา (The Path leading to the Cessation of Suffering) หมายถึงปฏิปทาหรือขอปฏิบัติที่นําไปสูความดับทุกข เรียกอีกอยางหนึ่งวา มัชฌิมา ปฏิปทา 1. ทางดับเหตุแหงทุกข ผลจริงที่ไดจากประสบการณแหงชีวิต 6 ปของพระพุทธเจา

2. เปนทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ระหวาง 1. อัตตกิลมถานุโยค : การทรมานตน และ 2. กามสุขัลลิกานุโยค : การเลี้ยงกามตัณหาที่พระองคทดลองมาแลวแตไรผล 3. เปนหลักปฏิบัติตามหลักเหตุผลที่ ใจ วาจา กาย ของตนเอง 4. มรรคมีองค 8 เหมาะสําหรับผูมีปญญาบารมีสูงพอสมควร และควรปฏิบัติไปตาม

ลําดับและปฏิบัติที่ไหน เม่ือใดก็ไดเพราะปฏิบัติคือ ทําใหเกิดมีขึ้นในตัวเราเอง 5. มรรคมีองค 8 หมายถึงทางสายเดียวแตมี 8 ชั้น เหมือนบันได 8 ขั้น คือ

4.1 สัมมาทิฐิ : ความเห็นชอบ เห็นถูกตอง ตามความเปนจริง เห็นสิ่งที่จะนําไปสูความดับทุกข เห็นทุกข เปนทุกข เห็นสมุทัยเปนเหตุของทุกข เห็นวาทุกขดับไดแน เห็นวามรรคเปนทางดับทุกขที่ถูกตอง สัมมาทิฐิ เปนความรูระดับทิฐิ เกิดจาก

1.การฟง ( สุตมยปญญา ) และการอาน 2.การคิด ( จินตามยปญญา ) เม่ือเผชิญหนากับเหตุที่เปนทุกข 3.ภาวนามยปญญา ; การเจริญภาวนา ทั้งสมถภาวนาและวิปสสนาภาวนา

4.2 สัมมาสังกัปปะ : ดําริชอบ

4.2.1 คิดตัดสินใจที่จะไมโกรธเกลียดใคร (อัพยาบาท)

4.2.2 ไมเบียดเบียนใคร (อวิหิงสา) 4.2.3 สละโลกิยวิสัยเพื่อปฏิบัติมรรคจริงจัง (เนกขัมมะ)

4.3 สัมมาวาจา : พูดชอบ

4.3.1 เวนจากการพูดคําเท็จ 4.3.2 เวนจากการพูดคําหยาบ

Page 98: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 93

4.3.3 เวนจากการพูดคําสอเสียด

4.3.4 เวนจาการพูดคําเพอเจอ (คําเหลวไหลไรสาระ)

4.4 สัมมากัมมันตะ : กระทํา (กายกรรม) ชอบ

4.4.1 ไมเบียดเบียนชีวิต

4.4.2 ไมเบียดบังทรัพยสินของผูอื่นเปนของตน

4.4.3 ไมประพฤติเปนชูกับคนรักของผูอื่น 4.5 สัมมาอาชีวะ : เล้ียงชีพชอบ เล้ียงชีพจริง ๆ ไมใชเล้ียงกิเลส

4.5.1 ขั้นตํ่า : รูจักหา รูจักเก็บ รูจักใช

4.5.2 ขั้นสูง : รูจักให รูจักพอ รูจักวาง

4.5.3 ประกอบอาชีพในทางสุจริต

4.6 สัมมาวายามะ : เพียรชอบ

4.6.1 เพียรพยายามปองกันอกุศลเจตสิกมิใหเกิดขึ้น

4.6.2 เพียรพยายามละอกุศลเจตสิกที่เกิดขึ้นแลว 4.6.3 เพียรพยายามภาวนาทําใหเกิดกุศลเจตสิกที่ยังไมเกิดขึ้น

4.6.4 เพียรพยายามอนุรักษกุศลเจตสิกที่เกิดขึ้นแลว 4.7 สัมมาสติ : ระลึกรู

4.7.1 มีความตื่นตัวรูทั่วพรอมอยูกับกาย (ความเคลื่อนไหว)

4.7.2 มีความตื่นตัวรูทั่วถึงเวทนา (ความรูสึกสุข ทุกข ทั้งทางกาย ทางใจ)

4.7.3 มีความตื่นตัวรูทั่วถึงจิต (สภาพจิตตาง ๆ เชน หดหู แจมใส)

4.7.4 มีความตื่นตัวรูทั่วถึงธรรม (สิ่งที่จิตรับรูในขณะนั้น ๆ) เชน ชอบ ชัง งวง ฟุง สงสัย

- เรียกวา สติปฏฐาน 4 (กาย เวทนา จิต และธรรม) เราเจริญสติไดในอิริยาบถทั้ง 4 (ยืน เดิน นั่ง และ นอน) การปฏิบัติในแนวนี้เรียกวา วิปสสนากรรมฐาน เปนอุบายทําใหเกิดความรูแจง เห็นจริง - สติ มีความไมใจลอยเปนลักษณะ มีการทําไมใหหลงลืมเปนหนาที่ มีการคุมครองใจเอาไวไดหรือมีความจดจอตออารมณของใจเปนเครื่องปรากฏใหเห็น มีความจํามั่นคงเปนบรรทัดฐาน 3

4.8 สัมมาสมาธิ : จิตต้ังมั่นชอบ การทํางานของจิต 5 ระดับ 1. วิญญาณ : รับรูอารมณทางทวาร 6 2. สัญญา : จํารายละเอียดของอารมณ 6 ได

3 วิสุทธิมรรค แปล ภาค 3 ตอน 1. (กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 3/2527) หนา 76-77.

Page 99: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 94 3. เวทนา : เกิดความรูสึกดีใจ เสียใจ 4. สังขาร : เอาใจใส อยาก 5. มนสิการ : คิด (มโนกรรม) การทําสมาธิ คือ การควบคุมใหจิตทํางานในระดับวิญญาณเทานั้น และรับรูเพียงอารมณเดียวเชน รูป (กสิณ) เสียง (พุทโธ) ( กลิ่น รส ไมใช ) สัมผัส (กําหนดลมหายใจ นับลูกประคํา) มโนภาพ (เพงภาพในใจ) มีลักษณะที่เดนชัด คือ ความไมฟุงซาน มีหนาที่ประมวลสิ่งที่เกิดขึ้นใหรวมเปนจุดเดียว มีความสงบระงับแหงจิตเปนเครื่องชี้ใหเห็น และมีความสุขเปนบรรทัดฐาน 4 การปฏิบัติในลักษณะที่ใหเกิดสมาธินี้ เรียกวา สมถกรรมฐาน เปนอุบายทําใหจิตใจสงบ มีอุปกรณชวยในการทําสมถกรรมฐาน เรียกวา อารมณกรรมฐานทั้งหมดที่กําหนดไวในคัมภีรวิสุทธิมรรค มี 40 ประการ คือ กสิณ 10 อสุภะ 10 อนุสสติ 10 พรหมวิหาร 4 อารุป 4 อาหาเรปฏิกูลสัญญา 1 จตุธาตุววัตถาน 1 5

องคประกอบในการทําสมาธิ 1.สิ่งแวดลอมที่เหมาะสม สถานที่สงบรางกายปกติ จิตใจปกติ คนรอบขางเขาใจใหโอกาส 2. ทาในการทําสมาธิ นั่งขัดสมาธิ ยืนเดิน (จงกรม) ไมควรนอนทํา 3. หลับตา ต้ังตัวตรง ลืมทุกสิ่ง แลวเอาสติอยูกับอารมณที่เลือกแลว 4. อยาบังคับจิตเกินไป แตอยาปลอยเกินไป อยาอยากเห็นสิ่งนั้นสิ่งนี้

5. ถาจิตไมสงบ อยาผิดหวัง อยาขุนเคือง คอย ๆ ทําไป ผลดีคือสมาธิจะเกิดสั่งสมทีละนอยตามกฎแหงกรรม

6. เริ่มจากนอยไปหามาก ทําสม่ําเสมอตามเวลาที่กําหนด อานิสงสการทําสมาธิ

1. จะมีสติคุมครองตน ความผิดพลาดในชีวิตจะนอย 2. จิตจะเขาสูจิตเดิมที่สวาง สะอาด สงบไดตามประสงค ชีวิตจะพบสุขแท 3. ความรู ความคิด ความจําจะดีขึ้น เรียนเกงขึ้น 4. ผลชั้นสูงจะเกิด

4.1 สัมมาญาณ เกิดความรูถูกตอง

4.2 สัมมาวิมุติ เกิดการหลุดพนอยางถูกตอง

4.3 นิโรธ (นิพพาน) มรรค 8 กับสิกขา 3

1. สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ = ปญญาสิกขา

2. สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ = ศีลสิกขา

3. สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ = สมาธิสิกขา หรือจิตสิกขา

4 วิสุทธิมรรค แปล ภาค 3 ตอน 1. (กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 3/2527) หนา 73-74. ดู 5 วิสุทฺธิ. 1/139. เพิ่มเติม

Page 100: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 95

อริยสัจจะ 4 เรียกสั้น ๆวา ทุกข สมุทัย นิโรธ และ มรรค เปนของจริงของแท การเขาใจอริยสัจจะ ตองมองใหครบ 2 ดาน คือ

ดานที่มีปญหา พระพุทธเจาแสดงสภาพปญหาพรอมดวยสาเหตุใหเห็นแจงกอนวา ทุกคนตองเผชิญ ไมมีใครหลีกเลี่ยงได และ

อีกดานหนึ่ง คือ การแกปญหาอยางเปนระบบ และมีขั้นตอน นั่นคือ กําหนดจุดหมายสุดทายที่การหลุดพนจากปญหาคือทุกข และลงมือปฏิบัติการแกปญหาแตละเปราะ เพื่อขจัดสาเหตุของทุกขใหหมดไปไมมีเหลือ หลักการมองและแกปญหาแบบอริยสัจจะ 4 เปนวิธีการแกปญหาดวยปญญา ตรงกับวิธีการแกปญหาแบบวิทยาศาสตร ที่แบงออกเปนขั้น ๆ จะตางกันก็ตรงที่ความเปนนามธรรมและรูปธรรม กลาวคือ ขั้นที่ 1 การกําหนดปญหา ตองรูปญหากอน ตรงกับขั้นทุกข ขั้นที่ 2 การต้ังสมมุติฐาน ตองสืบสาวสาเหตุของปญหา ตรงกับขั้นทุกขสมุทัย ขั้นที่ 3 การกําหนดจุดหมายที่ดับปญหา วิเคราะหและสรุปผล ตรงกับขั้นทุกขนิโรธ ขั้นที่ 4 การทดลองเก็บขอมูลและการปฏิบัติการ ตรงกับขั้นทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ความจริงที่เรามองเห็นกันชัด ๆ วาไมไกลจากชีวิตของเราเลย คือ อริยสัจ 4 เริ่มดวยความทุกข สาเหตุของทุกข การดับทุกข และวิธีการและขั้นตอนในการดับทุกข ทุกคนเกิดมาตองเปนทุกข ไมมีใครปฏิเสธได เพราะเปนของจริงของแท ไมตองไปหาความจริงมาจากนอกฟา ใตปาหิมพานต คนหาเอาจากธรรมชาติที่มีอยูในตัวเรานี้เองก็จะตองพบ เม่ือเปนสิ่งที่อยูใกลตัวและสามารถที่จะรับรูและรูได แตทําไมเมื่ออริยสัจทั้ง 4 มีทั้งเหตุและผลในตัวของมันเอง คนที่รูอริยสัจทําไมยังตองเปนทุกขอยู คําถามนี้นาสนใจและนาคิด การที่รูศึกษาเรียนรูอริยสัจ 4 ดังกลาวนั้น เปนเพียงความรูขั้นความจํา (สัญญา) ไมไดเปนความรูแจงจนจบ จึงยังตองเปนทุกขและเวียนวายอยูในวัฏทุกขตอไป และที่สําคัญก็คือ เราไมไดทํากิจหรือหนาที่ที่พึงปฏิบัติตออริยสัจ 4 อยางครบถวน ญาณ ความรูแจงเจนจบจึงไมเกิดขึ้น ดังนั้น ตองพัฒนาญาณ 3 ที่พิจารณาอริยสัจ 4 ใหเกิดขึ้น ดังตารางคือ

ตารางแสดงญาณ 3 อาการ 12 ในอริยสัจ 4

ที่ อริยสัจ สัจญาณ กิจญาณ กตญาณ 1 ทุกข รูตามจริงวานี้ทุกข ควรกําหนดใหรู รูแลว 2 สมุทัย รูตามจริงวานี้สาเหตุแหงทุกข ควรละ ละแลว 3 นิโรธ รูตามจริงวานี้ความดับทุกข ควรบรรลุ บรรลุแลว 4 มรรค รูตามจริงวานี้ทางแหงความดับทุกข ควรปฏิบัติตาม ปฏิบัติแลว

Page 101: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 96 เปาหมายสูงสุดของชีวิตในทัศนะของพระพุทธศาสนา ในอริยสัจทั้ง 4 ประการนั้น ไดแสดงเปาหมายสูงสุดของชีวิตในพระพุทธศาสนาไวอยางชัดเจนคือ อริยสัจขอที่ 3 คือ ทุกขนิโรธ ซึ่งไดแก ความดับทุกข ภาวะที่ไรปญหาชีวิตที่จะทําใหชีวิตเปนทุกข เรียกวาเปนประโยชนสูงสุดในพระพุทธศาสนา ที่ควรพัฒนาตนเองไปใหถึงจุดนั้นใหได ถาหากมนุษยไมสามารถที่จะพัฒนาตนใหบรรลุถึงประโยชนสูงสุดคือ นิพพานดังกลาวได ในทัศนะของพระพุทธศาสนา ยังนําเสนอเปาหมายรองของการปฏิบัติตามพุทธธรรมไวอีกสองระดับ รวมเปนระดับคือ

1. ประโยชนในระดับตํ่า ซึ่งหมายถึงประโยชนที่มนุษยพึงมีพึงไดในปจจุบัน เชน ลาภ ยศ สรรเสริญ ความสุข หรือความมีพรอมทางวัตถุเทาที่จําเปนตอชีวิต ในอันที่จะนําพาใหชีวิตดําเนินตอไปได ซึ่งแนวปฏิบัติเพื่อใหถึงประโยชนในระดับนี้ สวนหนึ่งปรากฎอยูในอริยสัจขอที่ 4 กลาวไดวา หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชนนั้น ก็คือ สัมมาวายามะและสัมมาอาชีวะนั่นเอง เปนการดําเนินชีวิตที่มีความเพียรพยายามที่ถูกตอง ดวยความขยันหมั่นเพียร การรักษาทรัพยสมบัติที่หามาไดเอาไว การคบเพื่อนที่ดี การเลี้ยงชีวิตพอเหมาะพอควรตามอัตภาพที่เรียกวา พออยูพอกิน ประโยชนในระดับนี้เรียกวา มนุษยสมบัติ

2. ประโยชนระดับกลาง หมายถึง ประโยชนที่มนุษยพึงมีพึงไดในอนาคตอันใกล และไกล จนถึงโลกหนา ที่เปนปจจัยเกื้อกูลใหไปถึงตรงนั้น วากันที่จริง หลักสัมปรายิกัตถประโยชน ก็มีอยูอริยสัจขอที่ 4 นั่นเอง หากแฝงอยูในองคมรรคในแตละตัวเชน สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ ก็เปนเรื่องของปญญาสัมปทา สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ ก็เปนเรื่องของสีลสัมปทา การยอมรับวาองคเหลานี้เปนปจจัยใหบรรลุถึงประโยชนดังกลาวได ก็เปนเรื่องของสัทธาสัมปทา ผลการปฏิบัติตามองคนั้น ก็เปนเรื่องของจาคสัมปทาโดยตัวของมันเอง ประโยชนในระดับนี้ เรียกวา สวรรคสมบัติ

3. ประโยชนระดับสูงสุด คือ นิพพาน ภาวะที่ปราศจากตัณหาที่เปนเหตุของความทุกขนั่นเอง ซึ่งประโยชนสูงสุดดังกลาวนี้ ตองปฏิบัติตามองคทั้งแปดอยางครบถวนสมบูรณ ไมยิ่งและไมหยอนไปกวากัน จึงจะทําใหไดรับประโยชนสูงสุดที่วานี้ ดังนั้น การปฏิบัติเพื่อใหเกิดประโยชนในสองระดับขางตนจะตองไมเปนขัดแยงที่จะไมใหเกิดประโยชนนี้ ประโยชนในระดับนี้เรียกวา นิพพานสมบัติ

Page 102: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 16 พุทธธรรม : ขันธ 5 : มนุษยในทรรศนะของพระพุทธศาสนา

ในการตรัสรูของพระพุทธเจา เราทราบวา พระพุทธเจาไมไดเพงและแสวงหาสัจธรรมที่มาจากนอกโลก หรือสิ่งที่แปลกปลอมที่สรางขึ้นมาตามจินตนาการ สิ่งที่ทานนํามาพิจารณาและเขาถึงแกนแทของสัจธรรม ก็คือ “ชีวิต” ของเรานี่เอง ชีวิตมีองคประกอบ 2 ประเภท คือ สวนที่เปนรูปธรรม เรียกวา “กาย” มีเพียง 1 สวน และสวนที่เปนนามธรรม เรียกวา “ใจ” มีถึง 4 สวน เม่ือสวนประกอบ (กายและใจหรือรูปกับนาม) ประชุมกันเขาเปนหนวยรวม เราจึงบัญญัติเรียกวา สัตว บุคคล ตัวตน เรา เขา สวนประกอบที่รวมกันเขามาเปนชีวิต

ในทางพระพุทธศาสนาจําแนกออกเปน 5 หมู หรือ กอง เรียกวา เบญจขันธ T1 คือ 1. รูปขันธ

หมายถึง กองรูป สวนที่เปนรางกาย สวนประกอบฝายรูปธรรมทั้งหมด แมกระทั่งสวนที่เปนพลังงานในรางกาย พฤติกรรม และคุณสมบัติตางของสวนรางกาย สวนประกอบฝายรูปธรรมทั้งหมด สิ่งที่เปนรางกายพรอมทั้งคุณสมบัติและอาการ มี 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. มหาภูตรูป 4 หรือภูตรูป 4 (The four primary elements) คือ 2

ที่ ช่ือ/ความหมาย ลักษณะ ไดแก 1 ปฐวีธาตุ

(Solid lement, earth) ธาตุดิน

มีลักษณะแข็ง เปนกลุมกอน ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เย่ือในกระดูก มาม ตับ พังผืด ไต ปอด ไสใหญ ไสเล็ก อาหารใหม อาหารเกา สมอง

2 อาโปธาตุ (Fluid element, water) ธาตุน้ํา

ลักษณะเอิบอาบ แผไปทั่วกาย ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันขน น้ําตา มันเหลว น้ําลาย น้ํามูก ไขขอ มูตร

3 เตโชธาตุ (Heating element, fire) ธาตุไฟ

มีลักษณะรอน ใหความอบอุน ไฟที่ยังกายใหอบอุน ไฟที่ยังกายใหทรุดโทรม ไฟที่ยังการใหกระวนกระวาย ไฟที่ยังอาหารใหยอย หรือส่ิงอื่นใดที่มีลักษณะรอน

4 วาโยธาตุ (Air element, wind) ธาตุลม

มีลักษณะพัดไปมา มพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ํา ลมในทอง ลมในไส ลมซานไปตามตัว ลมหายใจ

2. อุปาทายรูป (Derivative materialities) 24 คือ 3

ก. ปสาทรูป 5 รูปที่เปนระบบประสาทสําหรับรับอารมณ (Sensitive material Qualities) ที่ ช่ือ ความหมาย 1 จักขุ ตา (The eye) 2 โสตะ หู (The ear) 3 ฆานะ จมูก (The nose) 4 ชิวหา ลิ้น (The tongue) 5 กาย รางกาย (The body)

1สํ ข .17/95/58; พระธรรมปฎก ( ประยุทธ ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, หนา 189 -

190. 2 อภิ.วิ. 35/101-103/114-117. 3 พระธรรมปฎก (ประยุทธ ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, หนา 83-85, สงฺคห., สงคห,ฏีกา.

หนา 33.

Page 103: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 98

ข. โคจรรูป หรือ วิสัยรูป 5 รูปที่เปนอารมณหรือแดนรับรูของอินทรีย (Material qualities of sense fields)

ที่ ช่ือ ความหมาย 6 รูปะ รูปราง (Form) 7 สัททะ เสียง (Sound) 8 คันธะ กลิ่น (Smell) 9 รสะ รส (Taste) 0 โผฎฐัพพะ 4 สัมผัสทางกาย (Tangible objects)

ค. ภาวรูป 2 รูปที่เปนภาวะแหงเพศ (material qualities of sex)

ที่ ช่ือ ความหมาย 10 อิตถัตตะ ความเปนหญิง (Femininity) 11 ปุริสัตตะ ความเปนชาย (Masculinity)

ง. หทัยรูป 1 รูปคือหทัย (Physical basis of mind)

ที่ ชื่อ ความหมาย 12 หทัยวัตถุ ที่ตั้งแหงใจ หัวใจ (Heart-base)

จ. ชีวิตรูป 1 รูปที่เปนชีวิต (Material quality of life)

ที่ ช่ือ ความหมาย 13 ชีวิตินทรีย อินทรียคือชีวิต (life-faculty, vitality, vital force)

ฉ. อาหารรูป 1 รูปคือ อาหาร (Material quality of nutrition)

ที่ ช่ือ ความหมาย 14 กวฬิงการาหาร คําขาว อาหารที่กิน (edible food, nutriment)

ช. ปริจเฉทรูป 1 รูปที่กําหนดเพศ (Material quality of delimitation)

ที่ ช่ือ ความหมาย 15 อากาสธาตุ สภาวะคือชองวาง (Space-element)

ญ. วิญญัติรูป 2 รูปคือ การเคลื่อนไหวใหรูความหมาย (Material qualities of communication)

ที่ ช่ือ ความหมาย 16 กายวิญญัติ การเคลื่อนไหวใหรูความหมายดวยกาย (Bodily intimation, gesture) 17 วจีวิญญัติ การเคลื่อนไหวใหรูความหมายดวยวาจา (Verbal intimation, speech)

ฎ. วิการรูป 3 รูปคืออาการที่ดัดแปลงทําใหแปลกใหพิเศษได (Material qualities of plasticity or alterability)

ที่ ช่ือ ความหมาย 18 ลหุตา ความเบา (Agility)

4 ขอน้ีไมนับ เพราะเปนอันเดียวกับมหาภูต 3 คือ ดิน ไฟ และลม

Page 104: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 99

19 มุทุตา ความออนสลวย (Pliancy, elasticity) 20 กัมมัญญตา ความควรแกการงาน, การใชการได (Adaptability)

ฏ. ลักขณรูป 4 รูปคือลักษณะหรืออาการเปนเครื่องกําหนด (Material qualities of salient features)

ที่ ช่ือ ความหมาย 21 อุปจยะ ความกอตัวหรือเติมขึ้น (Growth) การเกิดขึ้นคร้ังแรกและคร้ังตอ ๆ ไปจน

ครบบริบูรณ 22 สันตติ ความสืบตอ (Continuity) 23 ชรตา ความทรุดโทรม (Decay) 24 อนิจจตา ความปรวนแปรแตกสลาย (Impermanence)

2. เวทนาขันธ

หมายถึง กองเวทนา หรือกองเสวยอารมณ ทุกครั้งที่วิญญาณเกิดขึ้น จะมีความรูสึกบางอยางเกิดขึ้นตอสิ่งที่มากระทบคือ ชอบ ไมชอบ หรือ เฉย ๆ และเวทนานี้เปนศักยภาพอีกอันหนึ่งของชีวิตซึ่งทอนไมไมมี จําแนกโดยยอ มี 3 คือ

ที่ ช่ือ ความหมาย 1 สุขเวทนา (Pleasant feeling, pleasure) การเสวยอารมณที่เปนสุข 2 ทุกขเวทนา (Painful feeling) การเสวยอารมณที่เปนทุกข 3 อุเบกขาเวทนา (neither-pleasant non-painful feeling,

indifferent feeling) การเสวยอารมณที่ไมสุข ไมทุกข เฉย ๆ

เวทนา ถาจําแนกตามสภาวะของมัน เปน 5 คือ 5

ที่ ช่ือ ความหมาย 1 สุขเวทนา มีลักษณะเสวยอารมณที่สัมผัสถูกตอง (โผฏฐัพพารมณ) ที่นาปรารถนา 2 ทุกขเวทนา มีลักษณะเสวยอารมณที่สัมผัสถูกตอง (โผฎฐัพพารมณ) ที่ไมนาปรารถนา 3 โสมนัสเวทนา มีลักษณะเสวยอารมณที่นาปรารถนา (อิฏฐารมณ) 4 โทมนัสเวทนา มีลักษณะเสวยอารมณที่ไมนาปรารถนา (อนิฏฐารมณ) 5 อุเบกขาเวทนา มีลักษณะเสวยอารมณที่เปนกลาง ๆ (มัชฌัตตารมณ)

3. สัญญาขันธ

หมายถึง กองสัญญา สวนที่เปนความกําหนดหมาย จําได หมายรูได เชน ขาว เขียว ดํา แดง คนนั้น คนนี้ เปนตน หมายความวา สัญญา เปนความสามารถที่จะจํา คือรูวา สิ่งที่มากระทบในขณะนี้เหมือนหรือตางกับส่ิงกอน ๆ ที่เคยกระทบมาอยางไร สัญญาเปนความสามารถที่จะโยงอดีตเขากับปจจุบัน หากไมมีสัญญา โลกที่มนุษยประสบแตละขณะจะเปนโลกใหมสําหรับมนุษยอยางสิ้นเชิงทีเดียว สัญญา จําแนกออกเปน 6 อยาง คือ 6

ที่ ช่ือ ความหมาย

5 สํ.สฬ. 18/433/287 อางใน พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม. โดย พระธรรมปฎก (ประยุทธ ปยุตฺโต).

หนา 121-122; วิสุทธิมรรค แปล ภาค 3 ตอน 1. (กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 3/2527) หนา 66-67. 6 ที.ปา. 11/309/255: องฺ.ฉกฺก. 22/334/461.

Page 105: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 100

1 รูปสัญญา (Perception of form) ความจําได ความหมายรูรูป 2 สัททสัญญา (Perception of sound) ความจําได ความหมายรูเสียง 3 คันธสัญญา (Perception of smell) ความจําได ความหมายรูกลิ่น 4 รสสัญญา (Perception of taste) ความจําได ความหมายรูรส 5 โผฏฐัพพสัญญา (Perception of tangible objects) ความจําได ความหมายรูสัมผัส

6 ธัมมสัญญา (Perception of mind-objects) ความจําได ความหมายรูธรรมารมณ 4. สังขารขันธ

หมายถึง กองสังขาร สวนที่เปนความปรุงแตง สภาพที่ปรุงแตงใหจิตให ดี ใหชั่ว หรือเปนกลาง ๆ คุณสมบัติตาง ๆ ของจิตที่มีเจตนาเปนตัวชักนําในการปรุงแตง เรียกอีกอยางหนึ่งวา เจตสิก 50 ดวง (รวมเวทนา และสัญญาเขาดวยเปน 52) เปนสภาวธรรมที่เกิดดับพรอมกับจิต มีอารมณและวัตถุที่อาศัยเดียวกับจิต คือ 7

ก. อัญญสมานาเจตสิก 13 สิ่งที่เกิดกับจิตทุกฝายทั้งดีและไมดี (The common to each other, general mental factors)

1) สัพพจิตสาธารณเจตสิก 7 เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตทุกอยาง (Universal mental factors, the Primary) ที่ ช่ือ ความหมาย 1 ผัสสะ (contact, sense-impression) ความกระทบอารมณ 2 เวทนา (Feeling) ความเสวยอารมณ 3 สัญญา (Perception) ความหมายรูอารมณ, จําอารมณ 4 เจตนา (Volition) ความจงใจตออารมณ, กระตุนเตือนและชักชวนเพื่อใหทํา

หนาที่ของตน ๆ 5 เอกัคคตา (One-pointedness, concentration) ความมีอารมณเปนอันเดียว, ความสงบ 6 ชีวิตินทรีย (life - faculty, vitality) สภาวะที่เปนใหญในการรักษานามธรรมทั้งปวง 7 มนสิการ (Attention) ความใสใจ, ความมุงและนําสูอารมณ

2) ปกิณณกเจตสิก 6 เจตสิกที่เกิดกับจิตไดทั้งฝายดีและไมดี แตไมแนนอนเสมอไปทุกดวง (Particular mental factors, the secondary)

ที่ ช่ือ ความหมาย 8 วิตก (thought conception,applied thought) ความตรึกอารมณ, คิดอารมณ 9 วิจาร (discursive thinking) ความตรองหรือพิจารณาอารมณ 10 อธิโมกข (determination ) ความปลงใจหรือปกใจในอารมณ 11 วิริยะ (offert, energy ) ความเพียร, ความพยายาม 12 ปติ (joy, interest) ความปลาบปลื้มในอารมณ, ช่ืนชม 13 ฉันทะ (zeal) ความพอใจในอารมณ, ปรารถนาอารมณ

ข. อกุศลเจตสิก 14 เจตสิกฝายไมดี (Immoral or unwholesome mental factors)

1) สัพพากุศลสาธารณเจตสิก 4 เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับอกุศลจิตทุกดวง (Universal immoral, the primary) 1.1 โมจตุกกเจตสิก 4 เจตสิกที่ยําโมหเจตสิกเปนประธาน

ที่ ช่ือ ความหมาย

7 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม . หนา 325-329.

Page 106: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 101

14 โมหะ (delusion) ความหลง, บังสภาพตามความเปนจริง 15 อหิริกะ (shamelessness, lack of moral shame) ความไมละอายตอบาป 16 อโนตตัปปะ (fearlessness, lack of moral dread) ความไมสะดุงกลัวตอบาป 17 อุทธัจจะ (restlessness, unrest) ความฟุงซาน, ไมม่ันคง

2) ปกิณณกอกุศลเจตสิก 10 อกุศลเจตสิกที่เกิดเรี่ยรายแกอกุศลจิต (Particular immorals, the secondary) 2.1 โลติกเจตสิก 3 เจตสิกที่ยกโลภะเปนประธาน

ที่ ช่ือ ความหมาย 18 โลภะ (greed) ความอยากไดอารมณ, ความตองการ 19 ทิฐิ (wrong view) ความเห็นผิด 20 มานะ (conceit) ความถือตัว, ความเยอหย่ิง

2.2 โทจตุกเจตสิก 4 เจตสิกที่ยกโทสะเปนประธาน

ที่ ช่ือ ความหมาย 21 โทสะ (hatred) ความคิดประทุษราย 22 อิสสา (envy, jealousy) ความริษยา, ความไมพอใจในสมบัติหรือความดีของผูอื่น 23 มัจฉริยะ (stinginess, meanness) ความตระหนี่, ความหวงแหนทรัพยสมบัติหรือความดีของตน 24 กุกกุจจะ (worry, remorse) ความเดือดรอนใจ, ความรําคาญในทุจริตที่ไดทําลงไปและใน

สุจริตที่ยังไมไดทํา

2.3 ถิทุกเจตสิก 2 เจตสิกที่ยกถีนะเปนประธาน

ที่ ช่ือ ความหมาย 25 ถีนะ (sloth) ความหดหู, เซื่องซม, ความทอถอย 26 มิทธะ (torpor) ความงวงเหงาของเจตสิก, เซื่องซึม

2.4 วิจิกิจฉาเจตสิก 1 เจตสิกที่มีวิจิกิจฉาเปนประธาน ที่ ช่ือ ความหมาย 27 วิจิกิจฉา (doubt, uncertainty) ความคลางแคลงสงสัย, ไมตกลงใจ คือ วิพากษวิจารณในคุณ

พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนตน

ค. โสภณเจตสิก 25 เจตสิกฝายดีงาม (Beautiful mental factors, lofty mental factors)

1) โสภณสาธารณเจตสิก 19 เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตดีงามทุกดวง (Universal beautiful mental factors, the primary)

ที่ ช่ือ ความหมาย 28 สัทธา (confidence, faith) ความเชื่อและเลื่อมในในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ตาม

ความเปนจริง เช่ือในกรรมและผลของกรรม 29 สติ (mindfulness) ความระลึกได, ความสํานึกพรอมอยูในกุศลธรรม ความดีงาม

ตาง ๆ 30 หิริ (moral shame, conscience) ความละอายตอบาป 31 โอตตัปปะ (moral dread) ความสะดุงกลัวตอบาป ตองานที่ทุจริต 32 อโลภะ (non-greed) ความไมอยากไดอารมณ 33 อโทสะ (non-hatred) ความไมคิดประทุษราย 34 ตัตรมัชฌัตตตา(equanimity, specific neutrality) ความเปนกลางในอารมณนั้น ๆ

Page 107: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 102

35 กายปสสัทธิ (tranquillity of mental body) ความสงบแหงกองเจตสิก 36 จิตตปสสัทธิ (tranquillity of mind) ความสงบแหงจิต 37 กายลหุตา (lightness of mental body) ความเบาแหงกองเจตสิก 38 จิตตลหุตา (lightness of mind) ความเบาแหงจิต 39 กายมุทุตา (pliancy of mental body ความออนหรือนุมนวลแหงเจตสิก 40 จิตตมุทุตา (pliancy of mind) ความออนหรือนุมนวลแหงจิต 41 กายกัมมัญญตา (adaptability of mental body) ความควรแกการงานแหงกองเจตสิก 42 จิตตกัมมัญญตา (adaptability of mind) ความควรแกการงานแหงกองจิต 43 กายปาคุญญตา (proficiency of mental body) ความคลองแคลวแหงกองเจตสิก 44 จิตตปาคุญญตา (proficiency of mind) ความคลองแคลวแหงจิต 45 กายุชุกตา (rectitude of mind) ความซื่อตรงแหงกองเจตสิก 46 จิตตุชุกตา (rectitude of mind) ความซื่อตรงแหงจิต

2) วิรตีเจตสิก 3 เจตสิกที่เปนตัวความงดเวน (Abstinence) ที่ ช่ือ ความหมาย 47 สัมมาวาจา (right speech) เจรจาชอบ เวนจากวจีทุจริต 4 48 สัมมากัมมันตะ (right action) กระทําชอบ เวนจากกายทุจริต 3 49 สัมมาอาชีวะ (right livelihood) เลี้ยงชีพชอบ ประกอบอาชีพที่เวนจากวจีทุจริต 4 การยทุจริต

3

3) อัปปมัญญาเจตสิก 2 เจตสิกคืออัปปมัญญา (boundless states) ที่ ช่ือ ความหมาย 50 กรุณา (compassion) ความสงสารสัตวผูถึงทุกข 51 มุทิตา (sympathetic joy) ความยินดีตอสัตวผูไดสุข

4) ปญญินทรียเจตสิก 1 เจตสิกคือปญญินทรีย (faculty of wisdom)

ที่ ช่ือ ความหมาย 52 ปญญินทรียหรืออโมหะ (ndeludedness, wisdom) ความรูเขาไมหลง, ความรูสภาพโดยทั่วไปตามความเปนจริง

เพื่อใหเห็นความชัดเจนในการอธิบาย “สังขารขันธ” ตางจาก “สังขาร” ทั่ว ๆ ไป วิทย

วิศทเวทย ไดสรุปวา “สังขาร มนุษยเรามีรางกาย (รูป) เม่ือมีสิ่งภายนอกมากระทบก็เกิดการรับรู (วิญญาณ) แลวเกิดชอบหรือไมชอบ (เวทนา) เหตุการณที่รับรูนี้ก็จารึกอยูในความทรงจํา เปนศักยภาพพรอมที่จะแสดงออกเมื่อโอกาสมาถึง (สัญญา) ทั้งหมดนี้ถูกรวมตัวกันเขาโดยพลังอยางหนึ่ง ทําใหเกิดแรงโนมที่จะผลักดันใหมนุษยกระทํา หรืองดการกระทําในสถานการณหนึ่ง ๆ นี่คือ สังขาร (สังขารขันธ)” 8

5. วิญญาณขันธ

8 วิทย วิศทเวทย , พุทธปรัชญา (ธันวาคม 2528) เอกสารยังไมไดตีพิมพเผยแพร, หนา 12. อางใน บุญธรรม พูนทรัพย “มโนทัศนเร่ืองสิทธิไมจําเปนสําหรับพุทธศาสนา”, “พุทธศาสนศึกษา ปท่ี 4 ฉบับท่ี 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2540 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, หนา 51.

Page 108: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 103

หมายถึง กองวิญญาณ สวนที่เปนความรูแจงอารมณทางอายตนะ มีการเห็น การไดยิน การแสดงกลิ่นเปนตน ความรูอารมณทางอายตนะทั้ง 6

ที่ ชื่อ ความหมาย 1 จักษุวิญญาณ (consciousness by eye) การรับรูทางตา เชน การเห็นรูป 2 โสตวิญญาณ (consciousness by ear) การรับรูทางหู เชน การฟงเสียง 3 ฆานวิญญาณ (consciousness by nose) การรับรูทางจมูก เชน การไดกลิ่น 4 ชิวหาวิญญาณ (consciousness by

tongue) การรับรูทางลิ้น เชน การลิ้มรส

5 กายวิญญาณ (consciousness by body) การรับรูทางกาย เชน การสัมผัส 6 มโนวิญญาณ (consciousness by mind) การรับรูทางใจ เชน การรูอารมณตาง ๆ

ในคัมภีรปกรณวิเสส วิสุทธิมรรค พระพุทธโฆษาจารย ไดกลาวแสดงการจําแนกวิญญาณเปน 3 คือ 9

1) กุศลวิญญาณ มี 21 ดวง

2) อกุศลวิญญาณ มี 12 ดวง

3) อัพยากฤตวิญญาณ มี 56 ดวง 1. กุศลวิญญาณ 21 ดวง (Moral Consciousness) กุศลวิญญาณ หรือกุศลจิต ในคัมภีรวิสุทธิมรรค ทานจําแนกออกเปน 21 ดวง โดยจําแนกตามภูมิทั้ง 4 คือ กามาวจรภูมิ 1 รูปาวจรภูมิ 1 อรูปาวจรภูมิ 1 โลกุตรภูมิ 1 ดังนี้

1. กามาวจรภูมิ มีกุศลวิญญาณ 8 คือ ดวง ประเภท ความรู แรงจูงใจ

1 เกิดพรอมกับความดีใจ ประกอบดวยความรู ไมมีแรงจูงใจ 2 เกิดพรอมกับความดีใจ ประกอบดวยความรู มีแรงจูงใจ 3 เกิดพรอมกับความดีใจ ไมประกอบดวยความรู ไมมีแรงจูงใจ 4 เกิดพรอมกับความดีใจ ไมประกอบดวยความรู มีแรงจูงใจ 5 เกิดพรอมกับความรูสึกเฉย ๆ ประกอบดวยความรู ไมมีแรงจูงใจ 6 เกิดพรอมกับความรูสึกเฉย ๆ ประกอบดวยความรู มีแรงจูงใจ 7 เกิดพรอมกับความรูสึกเฉย ๆ ไมประกอบดวยความรู ไมมีแรงจูงใจ 8 เกิดพรอมกับความรูสึกเฉย ๆ ไมประกอบดวยความรู มีแรงจูงใจ

2. รูปาวจรภูมิ มีกุศลวิญญาณ 5 คือ

9 วิสุทธิมรรค แปล ภาค 3 ตอน 1. (กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 3/2527) หนา 46-58.

Page 109: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 104 ดวง ประเภท วิตก วิจาร ปติ สุข เอกัคตา อุเบกขา

1 ปฐมฌาน / / / / / x 2 ทุติยฌาน x / / / / x 3 ตติยฌาน x x / / / x 4 จตุตถฌาน x x x / / x 5 ปญจมฌาน x x x x / /

3. อรูปาวจรภูมิ มีกุศลวิญญาณ 4 คือ ดวง ประเภท วิตก วิจาร ปติ สุข เอกัคต

า อุเบกข

1 อากาสานัญจายตนะ x x x x / / 2 วิญญาณัญจายตนะ x x x x / / 3 อากิญจัญญายตนะ x x x x / / 4 เนวสัญญานาสัญญายตนะ x x x x / /

4.โลกุตรภูมิ มีกุศลวิญญาณ 4 คือ ดวง ชื่อ ความหมาย

1 ประกอบดวยโสดาปตติมรรคญาณ เปนทางใหถึงกระแสไหลไปสูนิพพาน 2 ประกอบดวยสกทาคามิมรรคญาณ เปนทางใหถึงความเปนพระสกทาคามี 3 ประกอบดวยอนาคามิมรรคญาณ เปนทางใหถึงความเปนพระอนาคามี 4 ประกอบดวยอรหัตตมรรคญาณ เปนทางใหถึงความเปนพระอรหันต

2. อกุศลวิญญาณ 12 ดวง (Immoral Consciousness) อกุศลวิญญาณ เม่ือจําแนกโดยภูมิแลว เปนไดเฉพาะกามาวจรภูมิอยางเดียว แตเม่ือจําแนกโดยมูล เปน 3 คือ โลภมูล 8 โทสมูล 2 โมหมูล 2 1.โลภมูลวิญญาณ หมายถึง วิญญาณที่มีความโลภเปนมูล เปนรากเหงา 8 ดวงคือ ดวง ประเภท ความเห็นผิด แรงจูงใจ

1 เกิดพรอมกับความดีใจ ประกอบดวยความเห็นผิด ไมมีแรงจูงใจ 2 เกิดพรอมกับความดีใจ ประกอบดวยความเห็นผิด มีแรงจูงใจ 3 เกิดพรอมกับความดีใจ ไมประกอบดวยความเห็นผิด ไมมีแรงจูงใจ 4 เกิดพรอมกับความดีใจ ไมประกอบดวยความเห็นผิด มีแรงจูงใจ 5 เกิดพรอมกับความรูสึกเฉย ๆ ประกอบดวยความเห็นผิด ไมมีแรงจูงใจ 6 เกิดพรอมกับความรูสึกเฉย ๆ ประกอบดวยความเห็นผิด มีแรงจูงใจ

Page 110: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 105

7 เกิดพรอมกับความรูสึกเฉย ๆ ไมประกอบดวยความเห็นผิด ไมมีแรงจูงใจ 8 เกิดพรอมกับความรูสึกเฉย ๆ ไมประกอบดวยความเห็นผิด มีแรงจูงใจ

2.โทสมูลวิญญาณ คือ วิญญาณที่มีความโกรธ เปนมูล เปนรากเหงา มี 2 ดวง คือ

ดวง ประเภท ปฏิฆะ แรงจูงใจ

1 เกิดพรอมกับความเสียใจ ประกอบดวยความโกรธ ไมมีแรงจูงใจ 2 เกิดพรอมกับความเสียใจ ประกอบดวยความโกรธ มีแรงจูงใจ

3.โมหมูลวิญญาณ คือ วิญญาณที่มีความหลง เปนมูล เปนรากเหงา มี 2 ดวง คือ ดวง ประเภท ความตาง

1 เกิดพรอมกับความรูสึกเฉย ๆ ประกอบดวยความสงสัย 2 เกิดพรอมกับความรูสึกเฉย ๆ ประกอบดวยความฟุงซาน

3. อัพยากตวิญญาณ 56 ดวง อัพยากตวิญญาณ คือ วิญญาณที่ไมเปนทั้งกุศลและอกุศล ไมดีและไมชั่ว หากอยูเหนือดีและชั่ว ทานจําแนกโดยชาติ เปน 2 คือ วิปากวิญญาณ 36 และ กิริยาวิญญาณ 20

1. วิปากวิญญาณ 36 จําแนกโดยภูมิทั้ง 4 คือ กามาวจรภูมิ 1 รูปาวจรภูมิ 1 อรูปาวจรภูมิ 1 โลกุตรภูมิ 1 ดังตอไปนี้

1.1 กามาวจรวิปากวิญญาณ แบงออกเปนอีก 2 คือ 1) กุศลวิปากวิญญาณ 2) อกุศลวิปากวิญญาณ

1.1.1 กุศลวิปากวิญญาณ 8 แบงออกเปน 2 คือ อเหตุกะ (ไมมีเหตุ) กับสเหตุกะ (มีเหตุ) ดังนี้ ดวง ชื่อ (1) อเหตุกะ (2) สเหตุกะ

1 อุเบกขาสหคตจักษุวิญญาณ วิญญาณทั้ง 8 ไมประกอบ วิญญาณทั้ง 8 ที่ประกอบ

2 อุเบกขาสหคตโสตวิญญาณ ดวยวิบากเหตุ มี อโลภะ ดวยวิบากเหตุ มี อโลภะ 3 อุเบกขาสหคตฆานวิญญาณ คือ ความไมโลภเปนตน คือ ความไมโลภเปนตน 4 อุเบกขาสหคตชิวหาวิญญาณ เปนไปในอารมณ 6 โดย 5 สุขสหคตกายวิญญาณ หนาที่คือ ปฏิสนธิ 6 อุเบกขาสหคตสัมปฏิจฉนวิญญาณ ภวังคะ จุติ และ 7 อุเบกขาสหคตสันตีรณวิญญาณ ตทารัมมณะ

Page 111: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 106

8 โสมนัสสหคตสันตรีณวิญญาณ 1.1.2 อกุศลวิปากวิญญาณ จัดเปนอเหตุกะคือ ไมมีเหตุเพียงอยางเดียว มี 7 คือ ดวง ชื่อ อเหตุกะ

1 อุเบกขาสหคตจักษุวิญญาณ วิญญาณทั้ง 8 ไมประกอบดวยวิบากเหตุ มี 2 อุเบกขาสหคตโสตวิญญาณ โลภะ คือ ความโลภเปนตน เปนอนิฏฐารมณ 3 อุเบกขาสหคตฆานวิญญาณ และอนิฏฐมัชฌัตตารมณทั้งสิ้น 4 อุเบกขาสหคตชิวหาวิญญาณ 5 ทุกขสหคตกายวิญญาณ 6 อุเบกขาสหคตสัมปฏิจฉนวิญญาณ 7 อุเบกขาสหคตสันตีรณวิญญาณ

1.2 รูปาวจรวิปากวิญญาณ 5 เหมือนกับรูปาวจรกุศลวิญญาณ ตางกันเพียงแตวา กุศลวิญญาณนั้น เปนไปในชวนวิถีโดยทางสมาบัติ แตวาวิปากวิญญาณนี้ เปนไปในการเกิดขึ้นโดยทางปฏิสนธิ ภวังคะ และจุติ ซึ่งถือวาเปนไปตามปกติของวิญญาณ

ดวง ประเภท วิตก วิจาร ปติ สุข เอกัคตา อุเบกขา

1 ปฐมฌาน / / / / / x 2 ทุติยฌาน x / / / / x 3 ตติยฌาน x x / / / x 4 จตุตถฌาน x x x / / x 5 ปญจมฌาน x x x x / /

1.2 อรูปาวจรวิปากวิญญาณ 4 เหมือนกันกับอรูปาวจรกุศลวิญญาณ และมีความแตกตางกันเพียงวา อรูปาวจรกุศลวิญญาณ เปนไปในชวนวิถีโดยทางสมาบัติ แตวาอรูปาวจรวิปากวิญญาณนี้ เปนไปในการเกิดขึ้นโดยทางปฏิสนธิ ภวังคะ และจุติ ซึ่งถือวาเปนไปตามปกติของวิญญาณ

ดวง ประเภท วิตก วิจาร ปติ สุข เอกัคตา

อุเบกขา

1 อากาสานัญจายตนะ x x x x / /

Page 112: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 107

2 วิญญาณัญจายตนะ x x x x / / 3 อากิญจัญญายตนะ x x x x / / 4 เนวสัญญานาสัญญายตนะ x x x x / /

1.4 โลกุตรวิปากวิญญาณ 4 ซึ่งไดแก ผลของมรรคจิต นั่นเอง

ดวง ชื่อ ความหมาย

1 ประกอบดวยโสดาปตติผลญาณ ถึงกระแสไหลไปสูนิพพาน 2 ประกอบดวยสกทาคามิผลญาณ ความเปนพระสกทาคามี 3 ประกอบดวยอนาคามิผลญาณ ความเปนพระอนาคามี 4 ประกอบดวยอรหัตตผลญาณ ความเปนพระอรหันต

2. กิริยาวิญญาณ ทานจําแนกโดยภูมิ เปน 3 คือ กามาวจรภูมิ1 รูปาวจรภูมิ 1 อรูปาวจรภูมิ1

2.1 กามาวจรกิริยาวิญญาณ แบงเปน 2 คือ

2.1.1 อเหตุกะ แยกออกเปน 2 คือ

1) มโนธาตุ มีลักษณะเปนปุเรจาร คือนําหนาวิญญาณมีจักษุวิญญาณ เปนตนและรูแจงอารมณมีรูปเปนตน

2) มโนวิญญาณธาตุ จําแนกเปน 2 คือ 2.1 มโนวิญญาณธาตุที่เปนสาธารณะ คือ อเหตุกกิริยาที่สหรคตดวยอุเบกขา มี ลักษณะรูแจงอารมณ ทั้ง 6 2.2 มโนวิญญาณธาตุที่เปนอสาธารณะ คือ อเหตุกกิริยาที่สหรคตดวยโสมนัส มี ลักษณะรูแจงอารมณ 6 ยังความยิ้มแยมใหเกิดแกพระอรหันต

กลาวโดยรวมแลวกามาวจรกิริยาวิญญาณ ที่เปนอเหตุกะ มี 3 ดวง 10

2..1.2 สเหตุกะ มี 8 เหมือนกันกับกุศลวิญญาณ ตางกันแตวา ในสวน สเหตุกกามาวจร

กิริยาวิญญาณนี้ เกิดขึ้นแกพระอรหันต สวนกุศลวิญญาณ เกิดขึ้นแกปุถุชนและ

10 ในหนังสืออภิธรรมปรมัตถโชติกะ ทานอธิบายไววา อเหตุกกิริยาจิต หมายความ จิตที่เกิดข้ึนโดยลําพังไมไดอาศัยกรรมแตอยางใด และไมเปนบุญเปนบาป แตเปนอเหตุกะ มี 3 ดวง คือ

1) จิตที่พิจารณาอารมณทางปญจทวาร ที่เกิดพรอมกันอุเบกขา 2) จิตที่พิจารณาอารมณทางมโนทวารที่เกิดพรอมกับอุเบกขา 3) จิตที่ใหเกิดการยิ้มแยมของพระอรหันตที่เกิดพรอมกับโสมนัส

Page 113: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 108

พระเสขบุคคล

2.2 รูปาวจรกิริยาวิญญาณ มี 5 เหมือนในกุศลวิญญาณ ตางกันแตวา กุศลวิญญาณนั้น เกิดขึ้นแกปุถุชน และพระเสขบุคคลที่ยังตองศึกษาอยูคือที่ยังไมไดบรรลุพระอรหันต สวนรูปาวจรกิริยาวิญญาณนี้ เกิดขึ้นแกพระอรหันตเทานั้น

ดวง ประเภท วิตก วิจาร ปติ สุข เอกัคตา อุเบกขา

1 ปฐมฌาน / / / / / x 2 ทุติยฌาน x / / / / x 3 ตติยฌาน x x / / / x 4 จตุตถฌาน x x x / / x 5 ปญจมฌาน x x x x / /

2.3 อรูปาวจรกิริยาวิญญาณ มี 4 เหมือนในกุศลวิญญาณ ตางกันแตวา กุศลวิญญาณนั้น เกิดขึ้นแกปุถุชน และพระเสขบุคคลที่ยังตองศึกษาอยูคือที่ยังไมไดบรรลุพระอรหันต สวนอรูปาวจรกิริยาวิญญาณนี้ เกิดขึ้นแกพระอรหันตเทานั้น

ดวง ประเภท วิตก วิจาร ปติ สุข เอกัคตา อุเบกขา

1 อากาสานัญจายตนะ x x x x / / 2 วิญญาณัญจายตนะ x x x x / / 3 อากิญจัญญายตนะ x x x x / / 4 เนวสัญญานาสัญญายตนะ x x x x / /

ขอสังเกต วิญญาณ มิไดหมายถึง จิต (Mind or Soul) หรือ อาตมัน (Atman) ซึ่งคงที่

ตายตัว แนนอน แตหมายถึงการรับรูแตละครั้งที่เกิดขึ้นเมื่อ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และความนึกคิดมากระทบ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ เม่ือการกระทบเกิดขึ้น วิญญาณก็เกิด เม่ือหยุดกระทบ วิญญาณก็ดับ

ดังนั้น วิญญาณจึงไมใช จิต หรือโซล ที่ยืนโรงอยูทําหนาที่รับรู แตการรับรูหรือวิญญาณเปนปรากฏการณ เพียงแตวา ไมใชปรากฏการณธรรมดา เหมือนคลื่นเสียงกระทบฝาผนัง แตเปนปรากฏการณ “ทางจิต” เพราะสิ่งที่คลื่นเสียงมากระทบนั้น เปนสิ่งซึ่งมีความพรอมที่จะ “รับรู” ที่จริงชีวิตมนุษย เปนเพียงการรวมตัวกันเขาของสวนประกอบตาง ๆ ดังกลาว เม่ือสวนประกอบแยกออกจากกัน ชีวิตก็ตองสูญสลาย มีความตายเปนที่สุด การหยั่งรูสภาพที่แทจริงของชีวิตเชนนี้ ทําใหเกิดความไมหลงติด และไมทุกขเม่ือตองจําพราก เพราะชีวิตไมมีแกนสารที่ควรคาแกการยึดมั่นถือมั่น

Page 114: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 17 พุทธธรรม : ไตรลักษณ ลักษณะทั่วไปของชีวิตและสรรพสิ่ง

ตามหลักพุทธธรรมเบื้องตนที่วา สิ่งทั้งหลายเกิดจากสวนประกอบตาง ๆ มาประชุมกันเขา

หรือมีอยูในรูปของการรวมตัวเขาดวยกันของสวนประกอบตาง ๆ นั้น มิใชหมายความวา เปนการนําเอาสวนประกอบที่เปนชิ้น ๆ อัน ๆ อยูแลวมาประกอบเขาดวยกัน และเมื่อประกอบเขาดวยกันแลว ก็เกิดเปนรูปเปนรางคุมกันอยูเหมือนเมื่อเอาวัตถุตาง ๆ มารวมกันเปนเครื่องอุปกรณตาง ๆ

ความจริงที่กลาววา สิ่งทั้งหลายเกิดจากการประชุมกันของสวนประกอบตาง ๆ นั้น เปนเพียงคํากลาวเพื่อเขาใจงาย ๆ ในเบื้องตนเทานั้น แทจริงแลว สิ่งทั้งหลายมีอยูในรูปของกระแส สวนประกอบแตละอยาง ๆ ลวนประกอบขึ้นจากสวนประกอบอื่น ๆ ยอยลงไป แตละอยางไมมีตัวตนของมันเองเปนอิสระ ลวนเกิดดับตอกันไปเรื่อย ๆ ไมเที่ยง ไมคงที่

กระแสนี้ไหลเวียนหรือดําเนินตอไป อยางที่ดูคลายกับรักษารูปแนวและลักษณะทั่วไปไวไดอยางคอยเปนไป ดูเหมือนกับวาคงที่ ทั้งนี้ ก็เพราะสวนประกอบทั้งหลายมีความสัมพันธเนื่องอาศัยซึ่งกันและกัน เปนเหตุปจจัยสืบตอแกกันอยางหนึ่ง และเพราะสวนประกอบเหลานั้นแตละอยางลวนไมมีตัวตนของมันเอง และไมเที่ยงแทคงที่อยางหนึ่ง

ความเปนไปตาง ๆ ทั้งหมดนี้ เปนไปตามธรรมชาติ อาศัยความสัมพันธและความเปนปจจัยเนื่องอาศัยกันของสิ่งทั้งหลายเอง ไมมีตัวการอยางอื่นที่นอกเหนือออกไปในฐานะผูสรางหรือผูบันดาล จึงเรียกเพื่องายตอการเขาใจวา เปนกฎธรรมชาติ 1

พระพุทธเจาตระหนักวา ชีวิตมีการเกิดและการดับสลาย มีความปรวนแปรเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ธรรมชาติของชีวิตประกอบดวยกระแสแหงรูปธรรมและกระแสแหงนามธรรมที่กลาวมาแลว ที่เรียกวากระแส เพราะชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไมหยุดนิ่งอยูกับที่แมเพียงชั่ววินาทีเดียว ไมมีสวนใดในตัวเราที่ไมเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปร เม่ือชีวิตมีธรรมชาติเปนแบบนี้ ยอมกอใหเกิดความทุกขแกผูที่หลงเขาไปยึดถือ เม่ือพิจารณาจากสัจธรรมพื้นฐาน พระพุทธเจาไดพบความจริงของชีวิต ทรงรูชัดกฎเกณฑที่ควบคุมสรรพสิ่งในโลกและจักรวาล รูอาการที่สรรพสิ่งในโลกดําเนินไปตามกระแสแหงความเปลี่ยนแปลง ถาหากจะพิจารณาอาการทั่วไปที่โลก ชีวิต และสรรพสิ่งตองตกอยูในกฎธรรมดาที่เหมือนกันแลว เรียกวา ตถตา ความเปนเชนนั้นเองของสรรพสิ่ง พระพุทธเจาตรัสแสดงหลักธรรมที่อยูในรูปกฎธรรมชาติ 2 หมวดใหญ ๆ คือ ไตรลักษณ และปฏิจจสมุปบาท ความจริงธรรมทั้งสองนี้ ถือไดวาเปนกฎเดียวกัน แตทรงแสดงในคนละแงหรือคนละแนวกัน เพื่อใหมองเห็นความจริงอยางเดียวกัน คือ ไตรลักษณ มุงแสดงลักษณะของสิ่งหลายซึ่งปรากฏใหเห็นวาเปนอยางนั้น ในเมื่อสิ่งเหลานั้น เปนไปโดยอาการที่สัมพันธเนื่องอาศัยเปนเหตุปจจัยสืบตอแกกันตามหลักปฏิจจสมุปบาท สวนหลักปฏิจจสมุปบาท ก็มุงแสดงถึงอาการที่สิ่งทั้งหลายมีความสัมพันธเนื่องอาศัยเปนเหตุปจจัยสืบตอแกกันเปนกระแส จนมองเห็นลักษณะไดวาเปนไตรลักษณ 2

ในบทนี้ เราจะพูดถึงหลักไตรลักษณกัน สวนหลักปฏิจจสมุปบาท จะกลาวในบทตอไป

1 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธธรรม. (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย : 2532) หนา 67. 2 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). เร่ืองเดียวกัน. หนา 67.

Page 115: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 110

ไตรลักษณ3 คือ ลักษณะ หรือขอกําหนด 3 อยาง ไดแก 1 อนิจจตา หรืออนิจจัง ( Impermanence ) ความไมเที่ยง ไมคงที่ ไมยั่งยืน เกิดแลว

เส่ือมสลาย ความเปลี่ยน ความกลับกลาย ความไหลไปของสังขตธรรมทั้งปวง ทุกสังขตธรรมมีเกิดขึ้น (อุปปาทะ) ต้ังอยู (ฐิติ) แลวดับไป (ภังคะ)

ในคัมภีรปฏิสัมภิทามรรคแสดงความหมายของอนิจจตาไววา “ชื่อวาเปนอนิจจัง โดยความหมายวา เปนของสิ้นไป ๆ (ขยฏเฐน)”4 พระเทพเวที ไดอธิบายความขอนี้ไววา หมายความวา เกิดขึ้นที่ไหน เม่ือใด ก็ดับไปที่นั่น เม่ือนั้น เชน รูปธรรมในอดีต ก็ดับไปในอดีต ไมมาถึงขณะนี้ รูปในขณะนี้ ก็ดับไปที่นี่ ไมไปถึงขางหนา รูปในอนาคต จะเกิดถัดตอไป ก็จะดับ ณ ที่นั้นเอง ไมยืนอยูถึงเวลาตอไปอีก 5

ในพระบาลี อนิจจตา มีลักษณะ 4 อยาง คือ 6 1. อุปฺปาทวยปฺปวตฺติโต เพราะเปนไปโดยการเกิดและสลาย คือ เกิดดับ ๆ มีแลวไมมี 2. วิปริณามโต เพราะเปนของแปรสภาพไปเรื่อย ๆ แปรปรวน เปลี่ยนแปลงไป 3. ตาวกาลิโก เพราะเปนของชั่วคราว อยูไดชั่วขณะ ๆ 4. นิจฺจปฏิกฺเขปโต เพราะขัดแยงตอความเที่ยง คือ สภาวะของมันที่เปนสิ่งไมเที่ยงนั้น

ขัดกันอยูเองในตัวกับความเที่ยง หรือโดยสภาวะของมันเอง ก็ปฏิเสธความเที่ยงอยูในตัว เม่ือมองดูรูเห็นตรงตามสภาวะของมันแลว ก็จะหาไมพบความเที่ยงเลย ถึงคนจะพยายามมองใหเห็นเปนของเที่ยง มันก็ไมยอมเที่ยงตามที่คนอยาก จึงเรียกวามันปฏิเสธความเที่ยง7

วิธีเห็นและเขาใจอนิจจตา 1. ในระดับทิฐิ จากประสบการณ พิจารณา 2. ในระดับญาณ จากการเจริญวิปสสนา อานิสงสการเห็นอนิจจตา 1. จะไมยึดติดในสิ่งใด เพราะทุกสิ่งเปนเพียงปรากฏการณชั่วคราว 2. จะยอมรับความเปลี่ยนแปลง จะปรับตัวอยูกับความเปลี่ยนแปลงไดอยางสงบสุข 3. จะไมโลภในสิ่งใด เพราะรูซึ้งวาสรรพสิ่งตองเปลี่ยนแปลงไป ไมจีรังยั่งยืน

2 ทุกขตา หรือทุกขัง (Stress and Conflict) เปนความทุกข ภาวะที่ถูกบีบคั้น ภาวะที่กดดันขัดแยง ทําใหทนอยูในสภาพนั้นไมได ภาวะที่บกพรอง ไมใหความสมอยากแทจริง กอทุกขแกผูยึดมั่น แผดเผา

3 สํ สฬ. 18/1/1; ขุ. ธ. 25/30/51. 4 ขุ.ปฏิ. 31/79/53 อางใน วิสุทธิ. 3/235. 5 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธธรรม. (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย : 2532) หนา 70/8. 6 วิสุทธิ. 3/246. 7 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). เร่ืองเดียวกัน. หนา 70/9.

Page 116: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 111

คัมภีรปฏิสัมภิทามรรค แสดงความหมายของทุกขตาไววา “ชื่อวาเปนทุกข โดยความหมายวา เปนของมีภัย (ภยฏเฐน)” 8 พระเทพเวที ไดอธิบายความขอนี้ไววา “ที่วา “มีภัย” นั้น จะแปลวา เปนภัย หรือนากลัว ก็ได เพราะวา สังขารทั้งปวง เปนสภาพที่ผุพังแตกสลายได จะตองยอยยับมลายสิ้นไป จึงไมมีความปลอดภัย ไมใหความปลอดโปรงโลงใจ หรือความเบาใจอยางเต็มที่แทจริง หมายความวา ตัวมันเอง ก็มีภัยที่จะตองเสื่อมโทรมสิ้นสลายไป มันจึงกอใหเกิดภัย คือ ความกลัวและความนากลัวแกใครก็ตามที่เขาไปยึดถือเกี่ยวของ” 9

ทุกข มี 3 ลักษณะ คือ : 1. ความไมสมบูรณ ( Imperfectness ) ทั้งบกพรอง ( Defectiveness ) ความเปลี่ยนแปลงตองแกไข 2. ความไมสบาย ( Discomfort ) ทั้งกาย ทั้งใจ 3. การตอสูดิ้นรนเพื่อแกความไมสบาย ( Struggle )

จากหลักฐานในพระบาลี ทุกขตามีลักษณะ 6 อยาง คือ10

1. อภิณฺหสมฺปฬนโต เพราะมีความบีบคั้นอยูตลอดเวลา คือ ถูกบีบคั้นอยูตลอดเวลา ดวยความเกิดขึ้น ความเสื่อมโทรม และความแตกสลาย และบีบคั้นขัดแยงอยูตลอดเวลา กับส่ิงที่ประกอบอยูดวยหรือสิ่งที่เกี่ยวของ ดวยตางก็เกิดขึ้น ตางก็โทรมไป ตางก็แตกสลายไป

2. ทุกฺขมโต เพราะเปนสภาพที่ทนไดยาก คือ ทนสภาพเดิมไมได หมายความวา คงอยูในสภาพเดิมไมได จะตองเปลี่ยน จะตองกลาย จะตองหมดสภาพไป เพราะความเกิดขึ้นและความโทรมสลายนั้น

3. ทุกฺขวตฺถุโต เพราะเปนที่ต้ัง หรือรองรับทุกขเวทนา คือ เปนที่รองรับของความทุกข หรือเปนสิ่งที่กอใหเกิดทุกข หมายความวา ทําใหเกิดความทุกขตาง ๆ เชน ทุกขเวทนา คือ ความรูสึกทุกข หรือความรูสึกบีบคั้นเปนตน 4. สุขปฏิกฺเขปโต เพราะแยงตอความสุข คือ โดยสภาวะของมันเอง ก็ปฏิเสธความสุขหรือกีดกั้นความสุขอยูในตัว หมายความวา ความสุขที่เปนตัวสภาวะจริง ๆ ก็มีแตเพียงความรูสึกสุขเทานั้น ตัวสภาวะที่มีเปนพื้น ไดแก ทุกข คือ ความบีบคั้น กดดันขัดแยง ซึ่งกอใหเกิดความรูสึกบีบคั้นกดดันขัดแยง ที่เรียกวา ความรูสึกทุกข (ทุกขเวทนา) ดวย เม่ือใดความบีบคั้นกดดันขัดแยง ผอนคลายไป ก็เรียกวามีความสุขหรือรูสึกสบาย 5. สงฺขตฏฐโต โดยความหมายวา เปนของปรุงแตง คือ ถูกปจจัยตาง ๆ รุมกันหรือมาชุมนุมกันปรุงแตงเอา มีสภาพที่ขึ้นอยูกับปจจัย ไมเปนของคงตัว 6. สนฺตาปฏฐโต โดยความวา แผดเผา คือ ในตัวของมันเองก็มีสภาพที่แผดเผาใหกรอนโทรมยอยยับสลายไป และทั้งแผดเผาผูมีกิเลสที่เขาไปยึดติดถือมั่นใหเรารอนกระวนกระวายไปดวย

ประเภทของทุกข 10 ประการ

8 ขุ.ปฏิ. 31/79/53 : อางใน วิสุทธิ. 3/235. 9 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธธรรม. (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย : 2532) หนา 70/9. 10 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). เร่ืองเดียวกัน. หนา 70/10-11.

Page 117: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 112 1. สภาวทุกข หรือทุกขประจําสังขารของมนุษย คือ ชาติ ชรา มรณะ (กาย) 2. ปกิณณกทุกข คือ ทุกขจร คือ ความโศก ความพิไรรําพัน ความพลัดพราก การจํายอม ความผิดหวัง ความคับแคนใจ ความเสียใจ ประสบกับส่ิงที่ไมชอบใจ ปรารถนาสิ่งใดแลวไมไดสิ่งนั้น (ใจ) 3. นิพัทธทุกข คือทุกขเนืองนิตย หรือทุกขเจาเรือน ไดแก หนาว รอน หิว กระหาย ปวดอุจจาระ ปสสาวะ เม่ือยขบ (กาย) 4. พยาธิทุกข หรือทุกขเวทนา เชน โรค ภัย ไข เจ็บ (กาย)

5. สันตาปทุกข ทุกขคือ ความเรารุม หรือทุกขรอน ไดแกความกระวนการะวายใจเพราะไฟกิเลสถูกกิเลสแผดเผา (ใจ) 6. วิปากทุกข คือทุกขเพราะผลของอกุศลกรรม ไดแก วิปฏิสาร ความเดือดรอน การถูกลงอาชญา การตกอบาย ( กาย - ใจ ) 7. สหคตทุกข คือ ทุกขไปดวยกันหรือทุกขกํากับกัน ทุกขที่พวงมากับโลกธรรมที่เปนอิฏฐารมณ เชน ไดลาภแลวทุกขเพราะระวังรักษา ทุกขจากการเสื่อมลาภ ยศ สรรเสริญ (กาย - ใจ) 8. อาหาเรปริเยฏฐิทุกข คือ ทุกขในการหากิน ไดแก อาชีวทุกข คือ ทุกขเนื่องดวยการหาเล้ียงชีวิต (กาย-ใจ) 9. วิวาทมูลกทุกข คือ ทุกขที่มีการวิวาท แกงแยง ขัดแยงเปนมูล เชน กลัวแพ หว่ันหวาดในการรบกัน สูคดีกัน (กาย - ใจ)

10.ขันธทุกข หรือทุกขรวบยอด คือ โดยยออุปาทานขันธ 5 เปนทุกขเพราะการเวียนวายตายเกิด (กาย - ใจ) 11

นัยความแตกตางของทุกข คําวา “ทุกข” ปรากฏในหมวดธรรมสําคัญ ๆ 3 หมวดคือ คือ 1. ในเวทนา (เวทนา 3 คือ ทุกขเวทนา สุขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา หรืออุเบกขาเวทนา, เวทนา 5 คือ ทุกขเวทนา สุขเวทนา โทมนัสเวทนา โสมนัสเวทนา และอุเบกขาเวทนา) คือ ทุกขเวทนา 2. ในไตรลักษณ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) คือ ทุกขลักษณะ 3. ในอริยสัจ 4 (ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค) คือ ทุกขอริยสัจ ทุกขในหมวดธรรมทั้งสามนั้น มีความหมายเกี่ยวโยงเนื่องอยูดวยกัน แตมีขอบเขตกวางแคบกวากัน เปนบางแงบางสวน หรือ เปนผลสืบตอจากกัน ดังนี้ ทุกขในไตรลักษณ มีความหมายกวางที่สุดครอบคลุมทั้งหมด คือ ทุกขลักษณะหรือทุกขตา ไดแก ภาวะที่ไมคงตัว คงอยูในสภาพเดิมไมได เพราะมีความบีบคั้นกดดันขัดแยงที่เกิดจากความเกิดขึ้นและความเสื่อมสลาย เปนลักษณะของสังขารทั้งหลายทั้งปวง (สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา) กินขอบเขตเทากันกับความไมเที่ยง คือ สิ่งใดไมเที่ยง สิ่งนั้น ก็เปนทุกข (ยทนิจฺจํ ตํ ทุกฺขํ)

11 สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. ธรรมวิจารณ. (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 20/2501)

หนา 13-17.

Page 118: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 113 ทุกขในเวทนา มีความหมายแคบที่สุด เปนเพียงอาการสืบเนื่องดานหนึ่งเทานั้น ก็ คือ ทุกขที่เปนเวทนา เปนความรูสึกทุกข เปนอาการสืบเนื่องจากทุกขในไตรลักษณ หรือความรูสึกที่เกิดขึ้นในบุคคลเนื่องมาจากทุกขในไตรลักษณนั่นเอง ทุกขในอริยสัจ หรือ ทุกขอริยสัจ ก็คือ สภาวะที่เปนทุกขในไตรลักษณนั่นเอง แตจํากัดขอบเขตเฉพาะเทาที่จะเกิดเปนปญหาแกมนุษย มีผลกระทบตอชีวิต หมายเอาเฉพาะทุกขที่เกิดขึ้นกับเบญจขันธหรืออุปาทานขันธ มีขอสังเกตบางอยางที่จะชวยใหกําหนดขอบเขตของทุกขในอริยสัจงายขึ้น ดังนี้

1) เปนอินทรียพัทธ คือ เนื่องดวยอินทรีย เกี่ยวของกับชีวิต เปนปญหาสําหรับมนุษย ไมรวม ถึงอนินทรียพัทธ ไมใชทุกขในขอความวา “สังขารทั้งหลายทั้งปวงเปนทุกข (สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา)” หรือในขอความวา “สิ่งใดไมเที่ยง สิ่งนั้นเปนทุกข (ยทนิจฺจํ ตํ ทุกฺขํ)” ซึ่งหมายถึงทุกขในไตรลักษณที่กินความกวางขวางครอบคลุมทั้งหมด 2) เปนเรื่องที่เกิดจากกรรมกิเลส คือ เปนทุกขที่เปนปญหาของมนุษย เกิดจากกิเลสและกรรมของคน คือ เกิดจากตัณหา 3) เปนเรื่องที่เกี่ยวกับปริญญากิจ คือ ตรงกับกิจในอริยสัจขอที่ 1 อันไดแก ปริญญา คือ การกําหนดรู หรือการรูจักตามสภาพที่มันเปน เปนกิจที่มนุษยจะตองกระทําตอทุกขในอริยสัจ คือ การทําความรูความเขาใจเกี่ยวกับปญหาของตน 4) เนนความหมายในแงที่วาเปนที่ต้ังแหงทุกข หรือเปนที่รองรับของทุกข (ทุกฺขวตฺถุตาย) ไมเพงความหมายในแงวามีความบีบคั้นกดดันขัดแยงดวยการเกิดขึ้นและการเสื่อมสลาย ซึ่งเปนความหมายที่เต็มเนื้อหาของทุกขในไตรลักษณ 12

วิธีเขาใจและเห็นทุกข 1. เห็นดวยทิฐิ เกิดจากประสบการณ พิจารณา 2. เห็นดวยญาณ เกิดจากการเจริญวิปสสนา อานิสงสการเห็นทุกขจะคุนเคยกับทุกข

1. เตรียมใจรับทุกข ใจจะคุนเคยกับความทุกข 2. เม่ือเกิดทุกข จะไมเสีย ขวัญ จะเผชิญหนากับทุกขอยางหาวหาญ

3. จะหาทางแกทุกขดวยเหตุดวยผล 4. จะปฏิบัติจริงเพื่อดับทุกข 5. จะไมเบียดเบียนผูอื่น (ศีลจะมาเอง) 6. จะเกิดเมตตา กรุณา และพรอมที่จะชวยเหลือผูอื่น (ธรรมจะมาเอง)

12 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธธรรม. (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย : 2532) หนา 70/11-13.

Page 119: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 114 3 อนัตตตา หรืออนัตตา (Soullessness or Non - Self) ความไมมีตัวตนที่แทจริง ความปราศจากแกนสารสาระ แตมนุษยยังเขาใจผิดเรื่องตน เนื่องจากการติดสมมติบัญญัติ ความคิดเห็นวามีตน คัมภีรปฏิสัมภิทามรรค แสดงความหมายของอนัตตาไววา “ชื่อวาเปน อนัตตา โดยความหมายวา ไมมีสาระ (อสารฏเฐน)” 13 พระเทพเวที ไดอธิบายความขอนี้ไววา “ที่วา ไมมีสาระ ก็คือ ไมมีแกนสาร หรือไมมีแกน หมายความวา ไมมีสิ่งซึ่งเปนตัวแทที่ยืนยงคงตัวอยูตลอดไปดังคําอธิบายวา “โดยความหมายวาไมมีสาระ หมายความวา ไมมีสาระคือตัวตน (อัตตสาระ = ตัวตนที่เปนแกน หรือตัวตนที่เปนแกน) ที่คาดคิดกันเอาวาเปนอาตมัน (อัตตา = ตัวตน) เปนผูสิงอยูหรือครองอยู (นิวาสี) เปนผูสรางหรือผูสรางสรรคบันดาล (การกะ) เปนผูเสวย (เวทกะ) เปนผูมีอํานาจในตัว (สยังวสี) เพราะวา สิ่งใดไมเที่ยง สิ่งนั้นยอมเปนทุกข (คงตัวอยูไมได) มันไมสามารถหามความไมเที่ยง หรือความบีบคั้นดวยความเกิดขึ้นและความเสื่อมสิ้นไปได แลวความเปนผูสรางผูบันดาลเปนตนของมัน จะมีมาจากที่ไหน เพราะเหตุนั้น พระผูมีพระภาคเจา จึงตรัสวา ภิกษุทั้งหลาย ก็ถารูปนี้ จักไดเปนอัตตาแลวไซร รูปนี้ก็ไมพึงเปนเพื่ออาพาธ (มีความบีบคั้นขัดแยงของขัดตาง ๆ ) ดังนี้เปนอาทิ” 14

เม่ือจะอนุโลมใชคําตามที่สมมติกันนั้น ตนมี 4 ชั้นดวยกัน คือ 1. ตนนอก ตนแตง ตนสมมติ ไดแก ตําแหนงตาง ๆ พอ ลูก อาจารย เปนตน เปนเพียงความคิด มีอยูในจิตใจของคนชั่วขณะหนึ่งเทานั้น 2. ตนกลาง ไดแก รางกาย เปนเพียงปรากฏการณธรรมชาติที่เกิดขึ้นต้ังอยูดับไปตามธรรมชาติของมันเอง เรามาอาศัยอยูชั่วคราวเทานั้น 3. ตนใน ไดแก เจตสิกธรรมตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในใจ เชน ความโลภ ความโกรธ ความอิจฉา มันเกิดขึ้น ต้ังอยูแลวดับไปตามทางของมัน มันจึงไมใช “เรา” 4. ตนเดิม ไดแก จิตเดิมที่สวาง สะอาด สงบอยูตามธรรมชาติของมัน ควรพยายามประกอบตนใหอยูกับสภาวะจิตเดิมนี้ใหไดมาก ๆ หลักฐานในบาลีแสดงถึงอนัตตตามีลักษณะ 6 อยางคือ 15

1. สุญญโต เพราะเปนสภาพวางเปลา คือ ปราศจากตัวตนที่เปนแกนเปนแกน หรือวางจากความเปนสัตวบุคคลตัวตนเราเขาที่แทจริง ไมมีตัวผูสิงสูอยูครอง ไมตัวผูสรางสรรคบันดาล ไมมีตัวผูเสวย นอกเหนือจากกระบวนธรรมแหงองคประกอบทั้งหลายที่เปนไปตามเหตุปจจัยและนอกจากโดยการสมมติ ที่กําหนดหมายกันขึ้นมา 2. อสฺสามิโก เพราะไมมีเจาของ ตัวตน คือ ไมเปนตัวตนของใคร และไมเปนของของตัวตนใด ๆ ไมตัวตนอยูตางหากที่จะเปนเจาของครอบครองสังขารธรรมทั้งหลาย มันเปนแตเพียงกระบวนธรรมเองลวน ๆ เปนไปโดยลําพังตามเหตุปจจัย 3. อวสวตฺตนโต เพราะไมเปนไปในอํานาจของใคร คือ ไมอยูในอํานาจของใคร ไมขึ้นตอผูใด ไมมีใครมีอํานาจบังคับมัน จะเรียกรองหรือปรารถนาใหมันเปนอยางใด ๆ ไมได นอกจาก

13 ขุ.ปฏิ.. 31/79/53: 100/77: 675/584: อางใน วิสุทธิ. 3/235 14 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธธรรม. (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย : 2532) หนา 70/17-18. 15 วิสุทธิ. 3/247: ม.อ. 2/151: วิภงฺค.อ. 63 อางใน พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). เร่ืองเดียวกัน. หนา 70/21-22.

Page 120: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 115 ทําการตามเหตุปจจัย ใชศัพทอีกอยางหนึ่งวา อนิสฺสรโต แปลวา เพราะไมเปนเจาใหญ คือ จะบงการหรือใชอํานาจบังคับเอาไมได มีแตจะตองใหเปนไปตามเหตุปจจัย บางแหงใชคําวา อกามการิยโต แปลวา เพราะเปนสภาพที่ไมอาจทําไดตามความอยาก คือ จะใหเปนไปตามความอยากความปรารถนามิได หรือจะเอาใจอยางเขาวาไมได แตเปนเรื่องของความเปนไปตามเหตุปจจัย จะใหเปนอยางไร ก็ตองทําเอาตามเหตุปจจัย 4. อตฺตปฏิกฺเขปโต เพราะแยงอัตตา คือ โดยสภาวะของมันเอง ก็ปฏิเสธอัตตาอยูในตัว หมายความวา ความเปนกระบวนธรรม คือ การที่องคประกอบทั้งหลายสัมพันธกันดําเนินไปโดยความเปนไปตามเหตุปจจัยนั่นเอง เปนการปฏิเสธอยูในตัววา ไมมีตัวตนตางหากซอนอยูที่จะมาแทรกแซงบงการหรือขัดขวางความเปนไปตามเหตุปจจัย 5. สุทฺธสงฺขารปุญชโต เพราะเปนกองสังขารลวน คือ เกิดจากสวนประกอบยอย ๆ ทั้งหลายมาประชุมหรือประมวลกันขึ้น ไมเปนตัวตนที่สมบูรณในตัว ที่จะยั่งยืนคงตัวอยูได ไมมีสัตวบุคคลตัวตนที่แทจริงนอกเหนือจากสวนประกอบเหลานั้น 6. ยถาปวตฺติโต เพราะเปนไปตามเหตุปจจัย คือ องคประกอบทั้งหลายที่ประมวลหรือประชุมกันเขานั้น ตางสัมพันธเปนปจจัยแกกัน เรียกรวม ๆ วา กระบวนธรรมนั้นเปนไปตามเหตุปจจัย ไมเปนไปตามความปรารถนาของใคร และไมอาจมีตัวตน ไมวาจะเปนตัวการภายใน หรือตัวการภายนอก ที่จะขวางขืนหรือบงการบังคับมันได รวมความก็คือ สิ่งทั้งหลายเปนไปตามเหตุปจจัยของมันเอง ตามธรรมดา เหตุปจจัยมี (ที่จะใหเปนอยางนั้น) มันก็เกิด (เปนอยางนั้น) เหตุปจจัย (ที่จะใหอยางนั้น) หมด มันก็ดับ (จากสภาพอยางนั้น) มันหาฟงเสียงเราออนวอนขอรองหรือปรารถนาไม มันไมเปนตัว เปนอะไร ๆ (อยางที่วากัน) หรือเปนของใครทั้งนั้น หลักอนัตตา ชวยใหเกิดความกระจางแจง เปนเครื่องยืนยันและมีความสัมพันธสอดคลองกับหลักการตอไปนี้ คือ

1. ปฏิเสธทั้งลัทธิที่ถือวา เที่ยง (สัสสตวาท) และลัทธิที่ถือวา ขาดสูญ (อุจเฉทวาท) 2. ปฏิเสธลัทธิที่ถือวา มีเทพสูงสุดผูสรางสรรคบันดาลโลก ที่กําหนดโชคชะตาชีวิตของ

มนุษย (อิศวรนิรมิตวาท) 3. เปนเครื่องสนับสนุนหลักกรรมตามความหมายของพุทธธรรม พรอมกันนั้นก็ปฏิเสธลัทธิที่

ถือวา การกระทําไมมีผล ทําไมเปนอันทํา (อกิริยาวาท) ปฏิเสธลัทธิกรรมเกา (ปุพเพกตวาท เชน ลัทธินิครนถ) ปฏิเสธลัทธิกรรมแบบมีอาตมัน หรือลัทธิกรรมแบบมีวรรณะ เชน ลัทธิฮินดู ปฏิเสธลัทธิเส่ียงโชคที่ถือวา ทุกอยางเปนไปอยางเลื่อนลอยสุดแตความบังเอิญ ไมมีเหตุปจจัย (อเหตุวาท) และปฏิเสธลัทธิที่ถือวา ไมมีอะไรเลย (นัตถิกวาท)

4. แสดงลักษณะแหงธรรมสูงสุด คือ จุดหมายสุดทายของพระพุทธศาสนา ซึ่งตางจากจุดหมายของลัทธิศาสนาจําพวกอาตมวาท (ลัทธิที่ถือวามีอาตมันหรืออัตตา เชนศาสนาฮินดู เปนตน)16

วิธีเห็นและเขาใจอนัตตา

16 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธธรรม. (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย : 2532) หนา 70/27.

Page 121: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 116 1. ในระดับทิฐิ พิจารณาแยกแยะกลุมกอนตาง ๆ 2. ในระดับญาณ เจริญวิปสสนา อานิสงสการเห็นอนัตตา 1. ละ ลด เลิก โมหะ ความหลงตัวหลงตน หลงลาภ หลงยศ 2. ละ ลด เลิก ทิฐิ ความเห็นผิด และมานะ ความถือตัวถือตน ความหยิ่งยโส ความแข็งกระดาง กาวราวสามหาว ลักษณะทั้งสาม คือ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา เปนภาวะที่สัมพันธเนื่องอยูดวยกัน เปนความสัมพันธสืบตอกัน ความเปนตางดานของเรื่องเดียวกัน และเปนเหตุเปนผลของกันและกัน ซึ่งเปนลักษณะของสิ่งทั้งหลาย ที่เกิดจากองคประกอบตาง ๆ ประมวลกันเขา และองคประกอบเหลานั้นสัมพันธกันโดยอาการที่ตางก็เกิดขึ้นต้ังอยูแลวดับสลาย เปนปจจัยสงตอสืบทอดกัน ผันแปรเรื่อยไป รวมเรียกวาเปนกระบวนธรรมที่เปนไปตามเหตุปจจัย ในภาพนี้

1. ภาวะที่องคประกอบทั้งหลายเกิดสลาย ๆ องคประกอบทุกอยาง หรือกระบวนธรรมทั้งหมด ไมคงที่ = อนิจจตา 2. ภาวะที่องคประกอบทั้งหลาย หรือ กระบวนธรรมทั้งหมดถูกบีบคั้นดวยการเกิดสลาย ๆ ตอง ผันแปรไป ทนอยูในสภาพเดิมมิได ไมคงตัว = ทุกขตา 3. ภาวะที่เกิดจากองคประกอบทั้งหลายประมวลกันขึ้น ไมมีตัวแกนถาวรที่จะบงการ ตองเปน ไปตามเหตุปจจัย ไมเปนตัว = อนัตตตา

อยางไรก็ตาม แมวา อันใดไมเที่ยง อันนั้นยอมเปนทุกข อันใดเปนทุกข อันนั้นยอมเปนอนัตตา ก็จริง แตอันใดเปนอนัตตา อันนั้นไมจําเปนตองไมเที่ยง ไมจําเปนตองเปนทุกขเสมอไป กลาวคือ สังขารหรือสังขตธรรมทั้งปวงไมเที่ยง สังขารหรือสังขตธรรมทั้งปวงนั้น ยอมเปนทุกขและเปนอนัตตา แตธรรมทั้งปวงคือ ทั้งสังขตธรรมและอสังขตธรรม หรือทั้งสังขารและวิสังขาร แมจะเปนอนัตตา แตก็ไมจําเปนจะตองไมเที่ยงและเปนทุกขเสมอไป หมายความวา อสังขตธรรมหรือวิสังขาร (คือ นิพพาน) แมจะเปนอนัตตา แตก็พนจากความไมเที่ยงและพนจากความเปนทุกข 17

สาเหตุที่ไมเขาใจและมองไมเห็นถึงไตรลักษณ แมสรรพสิ่งจะตกอยูในอาการ 3 แบบ แตบุคคลทั่วไปกลับพิจารณาไมเห็น หลงยึดมั่นในความสืบเนื่องวาเปน ความเที่ยงแทถาวร พอใจเพียงการสลับอิริยาบถเพื่อคลายทุกขชั่วคราว และมองเห็นวาสิ่งประกอบกันเขามาเปนหนวยรวม คือตัวตนที่แท เปนอมตะ เปนตัวความจริงแท

ในทางพระพุทธศาสนา กลาววา สาเหตุใหญที่บุคคลไมอาจเขาใจและเพิกถอนความเขาใจวา เที่ยง เปนสุข และ เปนตัวตนเราเขา เพราะเกิดจากวิปลลาส คือ ความเขาใจบิดเบือน คลาดเคลื่อนจากความเปนจริง 4 ประการคือ

1. สุภวิปลลาส ความเขาใจคลาดเคลื่อนวา สวย วางาม

2. สุขวิปลลาส ความเขาใจคลาดเคลื่อนวาเปนสุข

17 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). เร่ืองเดียวกัน. หนา 70/27-28.

Page 122: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 117

3. นิจจวิปลลาส ความเขาใจคลาดเคลื่อนวาเปนของเที่ยง

4. อัตตวิปลลาส ความเขาใจคลาดเคลื่อนวาเปนอัตตา 18 การที่มนุษยเรามีความเขาใจคลาดเคลื่อนบิดเบือนไปจากความจริงดังกลาวนั้น เนื่องจากมีสิ่ง

ปดบัง 3 ชนิด คือ 1. สันตติ ความสืบตอ การเกิดตอเนื่องไมขาดสาย ปดบัง อนิจจัง 2. อิริยาบถ การเคลื่อนไหว (ยืน เดิน นั่ง นอน) ปดบัง ทุกขัง 3. ฆนสัญญา กําหนดหมายวาเปนหนวย เปนกลุมกอน ปดบัง อนัตตา เม่ือใดก็ตาม บุคคลเพิกถอนสิ่งปดบัง 3 ชนิดออกจากมานดวงตา เม่ือนั้นเขาจะเขาใจ สภาวะที่แทจริงซึ่งสรรพสิ่งกําลังดําเนินไปตามกฎ จิตใจจะเกิดความหลุดพน ถึงความสุขที่เปนอมตะตลอดไปสิ่งที่เคยกลาวมาในบทกอน ๆ คือ สิ่งเหลานี้ มีมาคูโลก เปนธรรมนิยาม เปนกฎธรรมชาติ พระพุทธเจาเปนเพียงผูคนพบ และนํามาเปดเผย สอนคนใหใชปญญารูจักคิดและแกปญหาของตนอยางถูกวิธี

18ประพัฒน โพธิ์กลางดอน, ผศ. จริยธรรมกับชีวิต. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

สถาบันราชภัฏเชียงใหม. 2542. หนา 66.

Page 123: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 18 พุทธธรรม : ปฏิจจสมุปบาท ความเปนไปแหงวงจรชีวิตและสรรพสิ่ง ความหมายของปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท (Dependent Origination) หมายถึง สภาวะที่อิงอาศัยกันและกันเกิดขึ้น ในลักษณะที่สิ่งหนึ่งเปนสาเหตุ และอีกสิ่งหนึ่งเปนผล ไมมีสิ่งใดที่จะเกิดขึ้นลอย ๆ โดยบังเอิญ โดยไมมีเหตุไมมีปจจัยไมได ปฏิจจสมุปบาท แสดงใหเห็นวา ทุกสิ่งทุกอยางจะเกิดขึ้น ต้ังอยูหรือดับไป ลวนแตอาศัยปจจัยทั้งสิ้น ทุกอยางไมวา จะเปนรูปธรรมหรือนามธรรมลวนขึ้นอยูกับปจจัย เปนกฎแหงสัมพันธภาพ กฎแหงปฏิจจสมุปบาท ปฏิบัติการเองโดยอัตโนมัติ ไมมีพระเจา หรือผูวิเศษผูใดคอยบงการใหกฎนี้คอยดําเนินไป เพราะเพียงแตเม่ือใดก็ตามมีเหตุการณหนึ่งเกิดขึ้นมา เหตุการณอีกอันหนึ่งโดยเฉพาะก็จะเกิดตามมาทันที ปฏิจจสมุปบาท เรียกอีกอยางหนึ่งวา “อิทัปปจจยตา” ก็ได เรียกวา “ธรรมนิยาม” ก็ได และเรียกวา “ปจจยาการ” ก็ได เพราะปจจัยทั้งหลาย ตางก็เปนทั้งเหตุและเปนทั้งผลใหกันและกันเกิดขึ้น พระพุทธเจาจําแนกเปนองคประกอบได 12 อาการ 1 คือ

1. อวิชชา (ignorance) คือ ความไมรูตามความเปนจริง การไมรูเทาทันตามสภาวะ หลงไปตามสมมติบัญญัติ ความไมรูที่แฝงอยูกับความเชื่อถือตาง ๆ ภาวะขาดปญญา ความไมเขาใจเหตุผล การไมใชปญญา หรือปญญาไมทํางานในขณะนั้น ๆ

2. สังขาร (karma - formation or volitional activities) คือ ความคิดปรุงแตง ความจงใจ มุงหมาย ตัดสินใจ และการที่จะแสดงเจตนาออกเปนการกระทํา การจัดสรรกระบวนความคิด และมองหาอารมณมาสนองความคิด โดยสอดคลองกับพื้นนิสัย ความถนัด ความโนมเอียง ความเชื่อถือ และทัศนคติ เปนตน ของตน ตามที่ไดสั่งสมไว การปรุงแตงจิต ปรุงแตงความคิด หรือปรุงแตงกรรม ดวยเครื่องปรุง คือ คุณสมบัติตาง ๆ ที่เปนความเคยชินหรือไดสั่งสมไว

3. วิญญาณ (consciousness) คือ ความรูตอโลกภายนอก และภายใน การรับรูสึก ความรูตออารมณตาง คือ เห็น ไดยิน ไดกลิ่น รูรส รูสัมผัส รูตออารมณที่มีในใจ ตลอดจนสภาพพื้นเพของจิตใจในขณะนั้น ๆ

4. นามรูป (mind and matter or animated organism) คือ ความมีอยูของรูปธรรมและนามธรรม ในความรับรูของบุคคล ภาวะที่รางกายและจิตใจทุกสวนอยูในสภาพที่สอดคลองและปฏิบัติหนาที่ เพื่อตอบสนองในแนวทางของวิญญาณที่เกิดขึ้นนั้น สวนตาง ๆ ของรางกายและจิตใจที่เจริญหรือเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพจิตสวนประกอบของชีวิตทั้งกายและใจ (ขันธ 5)

1 วินย. มหา. 4/1/1; สํ. นิ. 16/1/1; อภิ. วิ. 35/274/185 อางตามพระธรรมปฎก. พจนานุกรมพุทธศาสตร.

หนา 301 - 30; พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธธรรม . (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2532) หนา 150.

Page 124: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 119

5. สฬายตนะ (six sense - bases) คือ สื่อการรับรูสึก 6 ประการ มี ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ภาวะที่อายตนะที่เกี่ยวของปฏิบัติหนาที่โดยสอดคลองกับสถานการณนั้น ๆ

6. ผัสสะ (contact) คือ การติดตอโลกภายนอก การประสบอารมณ การเชื่อมตอความรูกับโลกภายนอก การรับรูอารมณตาง ๆ

7. เวทนา (feeling) คือ การรูสึกวาเปนทุกข เปนสุข หรือ ไมทุกขไมสุข 8. ตัณหา (craving) คือ ความอยากได อยากเปน อยากเลี่ยงหรือทําลาย กลาวคือ

ความอยาก ทะยาน รานรนหาสิ่งอํานวยสุขเวทนา หลีกหนีสิ่งที่กอทุกขเวทนาโดยอาการไดแก อยากได อยากเปน อยากคงอยูอยางนั้น ๆ ยั่งยืนตลอดไป อยากใหดับสูญ พินาศไปเสีย

9. อุปาทาน (attachment) คือ ความยึดติดถือมั่นในเวทนาที่ชอบหรือชัง รวบรั้งเอาสิ่งตาง ๆ และภาวะชีวิตที่อํานวยเวทนานั้นเขามาผูกพันกับตัว ความยึดมั่นตอสิ่งซึ่งทําใหเกิดเวทนาที่ชอบหรือไมชอบ จนเกิดทาทีหรือตีราคาสิ่งตาง ๆ ในแนวทางที่เสริมหรือสนองตัณหาของตน ไมปลอยวาง

10. ภพ (process of becoming) คือ กระบวนพฤติกรรมทั้งหมดที่แสดงออก เพื่อสนองตัณหา อุปาทานนั้น (the active process) ภาวะชีวิตที่เปนอยูเปนไป หรือการเกิดเปนอยางใดอยางหนึ่ง (the passive process) โดยสอดคลองกับอุปาทานและกระบวนพฤติกรรมนั้น

11. ชาติ (birth) คือ การเกิดความตระหนักในตัวตนวาอยูหรือไมไดอยูในภาวะชีวิตนั้น ๆ หรือไมไดมี ไมไดเปนอยางนั้น ๆ การเขาครอบครองภาวะชีวิตนั้น หรือเขาสวมเอากระบวนพฤติกรรมนั้น โดยการยอมรับตระหนักชัดขึ้นมาวาเปนภาวะชีวิตของตน เปนกระบวนพฤติกรรมของตน อีกความหมายหนึ่งคือ การเกิดมีตัวปรากฎของขันธ 5

12. ชรา มรณะ (decay and death) คือ ความแกและความตายสลายสิ้นของขันธ 5 ความสํานึกในความขาด พลาด หรือพรากแหงตัวตนจากภาวะชีวิตอันนั้น ความรูสึกวาตัวตนถูกคุกคามดวยสูญสิ้นสลาย หรือพลัดพรากจากภาวะชีวิตนั้น ๆ หรือจากการไดมี ไดเปนอยางนั้น ๆ จึงเกิด โสกะ ปริเทวะ ทุกข โทมนัส อุปายาส พวงมาดวย คือ รูสึกคับแคบ ขัดของ ขุนมัว แหงใจ หดหู ซมเซา ไมสมหวัง กระวนกระวาย และทุกขเวทนาตาง ๆ

กระบวนการเกิดขึ้นของอวิชชา ในองคประกอบทั้ง 12 นั้น ตางก็เปนเหตุเปนปจจัยใหแกกันและกัน ไมมีตัวไหนเปนอิสระจากกัน หากเปนกระบวนการอันเดียวกัน แตเพื่อความเขาใจงายขึ้น และงายตอการอธิบาย พระพุทธเจาจึงทรงยกอวิชชาเปนตัวแรกในการอธิบาย จึงทําใหเขาใจไปวา ดูเหมือนอวิชชาดังกลาว จะเปนตัวสาเหตุแรก ของวงจรชีวิตไป หลายทานเขาใจไขวเขวหนักเขาไปอีกวา ชีวิตมนุษยเกิดจากอวิชชาไปก็มี

Page 125: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 120

ตามกฎปฏิจจสมุปบาท จะไมมีสิ่งที่เปนอิสระโดยตัวของมันเอง สิ่งนั้น ๆ ถามีอยู ก็จะมีอยูในลักษณะที่อาศัยส่ิงอื่น ๆ หรือเหตุปจจัยอื่น ๆ จึงมีอยูได อยางไรก็ตาม พระพุทธเจา ก็ไดทรงแสดงสาเหตุหรือกระบวนการเกิดขึ้นของอวิชชาไววา

“ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรา (ตถาคต) กลาวดังนี้วา อวิชชานั่นแล ยังมีสิ่งที่เปนปจจัย จึงปรากฏ เรากลาววา อวิชชามีอาหาร อาหารของอวิชชา คือ นิวรณ 5 นิวรณ 5 มีอาหาร คือ ทุจริต 3 ทุจริต 3 มีอาหาร คือ การไมสํารวมอินทรีย การไมสํารวมอินทรียมีอาหาร คือ ความขาดสติสัมปชัญญะ ความขาดสติสัมปชัญญะ มีอาหาร คือ ความขาดโยนิโสมนสิการ ความขาดโยนิโสมนสิการมีอาหาร คือ ความขาดศรัทธา ความขาดศรัทธา มีอาหาร คือ การไมไดสดับสัทธรรม การไมไดสดับสัทธรรมมีอาหาร คือ การไมไดเสวนาสัปบุรุษ การไมไดเสวนาสัปบุรุษอยางบริบูรณ ยอมยังการไมไดฟงสัทธรรมใหบริบูรณ การไมไดฟงสัทธรรมอยางบริบูรณ ยอมทําความไมมีศรัทธาใหบริบูรณ.....” 2

จากขอความในบาลีขางตนนั้น แสดงใหเห็นวา แมตัวอวิชชาเองก็ไมมีอยูตามลําพังของมันเอง หากจะมีอยูหรือเกิดขึ้นได ก็เพราะกระบวนที่ทําใหมันเกิดขึ้น และเมื่ออวิชชาไดผานกระบวนการดังกลาวแลว จึงปรากฎตัวขึ้น และสงผลใหปญหาชีวิตแกมนุษยโลกมากมาย จึงกลายเปนกฎธรรมชาติ เปนกระแสที่หนุนเนื่องสืบเนื่องตอกันไป ตราบเทาที่กระบวนการเกิดขึ้นของอวิชชายังไมถูกทําลายไป

กระบวนการเกิดขึ้นของอวิชชา (Ignorance) อวิชชา 1.ไมรูทุกข 2.ไมรูเหตุเกิดแหงทุกข 3.ไมรูความดับทุกข 4.ไมรูทางใหถึงความดับทุกข

5.ไมรูอดีต 6.ไมรูอนาคต 7. ไมรูทั้งอดีตและอนาคต 8. ไมรูปฏิจจสมุปบาท

↓↑ นิวรณ 5 1. กามฉันทะ 2. พยาบาท 3. ถีนมิทธะ 4. อุทธัจจกุกกุจจะ 5. วิจิกิจฉา

↓↑ ทุจริต 3 1. กายทุจริต 2. วจีทุจริต 3. มโนทุจริต

↓↑ การไมสํารวมอินทรีย 6 ไดแก ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ

↓↑ การไมมีสติสัมปชัญญะ คือ ระลึกรู ตระหนัก ไมประมาท

↓↑ การไมมีโยนิโสมนสิการ คือ การพิจารณาดวยปญญาอยางมีเหตุผล

↓↑ ความไมมีศรัทธา คือ ความเชื่อ การยอมรับ เชื่อฟง

↓↑ การไมฟงสัทธรรม คือ ส่ิ

งที่ดี มีสาระประโยชนจากผูรู

↓↑ การไมคบสัตบุรุษคนดี คือ นักปราชญ ผูทรงความดี

2 องฺ.ทสก. 24/61/121.

Page 126: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 121 สรรพสิ่งที่มีชีวิต ตางตกอยูภายใตกฎปฏิจจสมุปบาท เพราะเมื่อสิ่งใดเกิดขึ้นมาก็จะเกิดโยงใยเปนสายดุจลูกโซ หาเงื่อนตนเงื่อนปลายไมได เปนปจจัยที่ตอเนื่องกันไป หมุนเวียนเปนวงจร เรียกวา “ภวจักร” หรือ วงลอของภพ การอธิบายในดานเกิดขึ้นของปจจัยตาง ๆ เรียกวา “สมุทยวาร” สวนการดับภวจักร ก็ตองดับที่ปจจัยตัวแรก คือที่อวิชชา เพราะเมื่อเกิดความรูแจงขึ้นมา อวิชชาจะดับลง และปจจัยที่เหลือก็จะดับเปนสาย ๆ เหมือนโดมิโน การอธิบายดานดับของปจจัย 12 ที่ดับเปนสาย ๆ ตามลําดับ เรียกวา “นิโรธวาร” การรูปฏิจจสมุปบาทอยางถองแท ทําใหแกทรรศนะที่ผิด ได 2 ประการ คือ 1. ทรรศนะที่ถือวา สัจธรรมบางอยางมีอยูจริงโดยไมตองอาศัยปจจัยใด ๆ เปนอยูสําเร็จไดดวยตัวเอง ทรงอยูชั่วนิจนิรันดร ที่เรียกวา “สัสสตทิฐิ” 2. ทรรศนะที่ถือวา บางส่ิงบางอยางอาจสูญสิ้นไปได อาจจบลงไมมีอีกตอไปเมื่อตายลง โดยไมตองทําอะไรหรืออาศัยอะไร หมดเองโดยอัตโนมัติ เรียกวา “อุจเฉททิฐิ” ขอสังเกต พระพุทธเจาทรงรูปฏิจจสมุปบาท โดยทรงยอมรับวา สิ่งที่เราสัมผัสไดทางอินทรีย คือ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และทางใจนั้น เปนสิ่งที่มีอยูจริง แตวามันมี มันเปน เพราะอาศัยปจจัย ถาสิ้นปจจัย สิ่งนี้ก็ตองดับไป และกอนที่มันจะดับไป มันก็จะสงผลผลิตสืบทอดเอาไวในฐานะที่มันเปนสาเหตุ แตถาหากดับอยางถูกวิธี มันจะไมสงผลสืบตอไปไดอีก ชาวพุทธสมัยปจจุบันสวนใหญมักจะไมใสใจศึกษาปฏิจจสมุปบาทอยางจริงจัง เพราะเปนของยากที่จะเห็นตลอดสาย ถามองเห็นตลอดสาย สามารถนํามาแกปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับสมุฏฐานของความทุกขได ปฏิจจสมุปบาท มีหลายมุมหลายปม ทั้งมีความสัมพันธกับเรื่องอื่น ๆ หลายเรื่อง ควรศึกษาใหกระจาง ถาเขาใจปฏิจจสมุปบาท ก็เหมือนไดเห็นพระพุทธเจา 3

ปฏิจจสมุปบาทในฐานะเปนปจจยาการทางสังคม พระพุทธเจาทรงแสดงหลักปจจยาการทั้งที่เปนไปภายในจิตใจของบุคคล และที่เปนไปในความสัมพันธระหวางมนุษย หรือในทางสังคม ในสวนที่กลาวมาขางตนนั้น เปนการเนนเฉพาะปจจยาการภายในจิตใจของบุคคล หรือปจจยาการแหงชีวิตอยางเดียว ปฏิจจสมุปบาทยังเปนปจจยการทางสังคมดวย กลาวคือ ปฏิจจสมุปบาทแหงทุกขหรือความชั่วรายทางสังคม ก็ดําเนินมาตามวิถีเดียวกันกับปฏิจจสมุปบาทแหงทุกขของชีวิตนั่นเอง แตเริ่มแยกออกแสดงอาการที่เปนไปภายนอกตอแตตัณหาเปนตนไป ดังพระพุทธพจนที่วา “อานนท ดวยประการดังนี้แล อาศัยเวทนาจึงมีตัณหา อาศัยตัณหาจึงมีปริเยสนา (การแสวงหา) อาศัยปริเยสนา จึงมีลาภะ (การได) อาศัยลาภะ จึงมีวินิจฉัย (การกะกําหนด) อาศัยวินิจฉัยจึงมีฉันทราคะ (ความชอบชิดติดพัน) อาศัยฉันทราคะ จึงมีอัชโฌสาน (ความหมกมุนฝงใจ) อาศัยอัชโฌสาน จึงมีปริคคหะ (การยึดถือครอบครอง) อาศัยปริคคหะ จึงมัจฉริยะ (ความตระหนี่) อาศัยมัจฉริยะ จึงมีอารักขะ (ความหวงกั้น) อาศัยอารักขะ สืบเนื่องจากอารักขะ จึงมีการถือไม ถือ

3 สนั่น ไชยานุกุล , หลักธรรมและแนวปฏิบัติของเถรวาทและอาจริยวาท , หนา 50 .

Page 127: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 122 มีด การทะเลาะ แกงแยง วิวาท การดาวา มึง มึง การสอเสียด มุสาวาท บาปอกุศลธรรม (สิ่งชั่วราย) ทั้งหลาย เปนเอนก ยอมเกิดมีพรั่งพรอมดวยอาการอยางนี้….” 4

แสดงใหเห็นวา กระบวนธรรมปฏิจจสุปบาท จะแยกเปน 2 สาย สายหนึ่งนับเปนปญหาของชีวิตที่มีจุดเริ่มในกระบวนการเดียวกัน อีกสายหนึ่ง เปนผลกระทบที่เปนไปทางสังคม เรียกวา เปนความทุกขหรือปญหาในทางสังคม ดังนั้น ในกระบวนการกระทําตาง ๆ ของมนุษย มักจะมีผลกระทบ สอง ลักษณะเสมอ ๆ คือ ดานหนึ่งกระทบตอตนเองโดยตรง อีกดานหนึ่ง กระทบตอสังคม ดังผังตอไปนี้

อวิชชา → สังขาร → วิญญาณ → นามรูป → สฬายตนะ → ผัสสะ → เวทนา → ตัณหา

1.→ อุปาทาน → ภพ → ชาติ → ชรามรณะ โสกะ ปริเทวะ ฯลฯ = ทุกขของชีวิต

2.→ ปริเยสนา →ลาภะ→ วินิจฉัย → ฉันทราคะ → อัชโฌสาน →ปริคคหะ → มัจฉริยะ→

อารักขะ→ การทะเลาะ แกงแยง วิวาท สอเสียด มุสาวาท ฯลฯ = ทุกขของสังคม 5

ปฏิจจสมุปบาทแนวนี้ แสดงกระบวนธรรมที่เชื่อมตอระหวางความเปนไปภายในจิตใจของบุคคลกับความเปนไปภายนอกเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางมนุษย ชี้ใหเห็นที่มาแหงปญหา ความทุกข หรือความชั่วรายตาง ๆ ในสังคม ที่เกิดจากกิเลสของคน เปนกระบวนธรรมพื้นฐาน ใหเห็นความไปอยางกวาง ๆ ซึ่งพระพุทธเจาแสดงเนนความเปนไปภายนอกในระดับสังคมโดยเฉพาะ เชน ในอัคคัญญสูตร6 จักกวัตติสูตร7 และวาเสฏฐสูตร8 เปนตน 9

นิยาม 5 ในสวนของปฏิจจสมุปบาทที่กลาวมา ทําใหเราไดทราบทัศนะของพระพุทธศาสนาในเรื่องการเกิดและการดับของสิ่งตาง ๆ เปนไปตามเหตุและปจจัยที่สามารถโยงถึงกันและกันไดอยางเปนระบบและเปนสายโซ ในวงจรสายโซแหงปจจัยนี้ เราจะไมพบวงใดที่เปดโอกาสใหเทพเจาไดเขามาบงการบัญชาไดเลย พระพุทธเจาอธิบายความเปนไปตามธรรมชาติแท ๆ ไมอางอํานาจวิเศษของบุคคลวิเศษมาเสริมเปนสวนเกินแตประการใด เพื่อความเขาใจหลักพุทธธรรมมากยิ่งขึ้น ขอใหผูศึกษาพยายามทําความเขาใจในประเด็นที่จะเสนอเปนลําดับตอไปนี้ ปรากฏการณทางธรรมชาติ หรือปรากฏการณในชีวิตของสรรพสัตวไมวามนุษยและสัตว ที่เกิดความเปลี่ยนแปลง และความเปนไปอยางไมเสมอภาคกันนี้ ในทรรศนะของศาสนาเทวนิยมจะบอกวาสาเหตุหลักที่ปฏิบัติการอยูเบ้ืองหลังการเปลี่ยนแปลงไมใชใครอื่น แตเปน “บัญชาของเทพเจา” เทพเจาประสงคใหเปนไปอยางนั้น เทพเจาเปนปฐมเหตุ กลาวงาย ๆ คือโยงถึงเทพเจาก็เปนอัน

4 ที.ม. 10/57-66/65-84. อางในพุทธธรรม โดยพระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต) (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2532) หนา 137.

5 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธธรรม. (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2532) หนา 137. 6 ที.ปา. 11/51-72/87-107. 7 ที.ปา. 11/51-72/87-107. 8 ม.ม. 13/704-8/641-9: ขุ.สุ. 25/381-3/450-8. 9 พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธธรรม. (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2532) หนา 138.

Page 128: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 123 สิ้นสุดความสงสัย และ การตอบปญหา เหตุผลก็นาฟงอยูบาง แตถาจะถามวา ใครเปนผูสรางปฐมเทพเจา คําตอบก็คือ ไมมี ไปถึงทางตันอยูเพียงแคนี้ ในปญหาแบบเดียวกัน พระพุทธธรรมกลับมองวา กระบวนการเปลี่ยนแปลงในธรรมชาติ ไมมีสิ่งใดอยูเบ้ืองหลัง นอกจากกฎธรรมชาติเอง มันทํางานอยางเปนระบบไมมีประสงคจะใหใครดีกวาใคร หรือใครเลวกวาใคร การที่สิ่งใดจะดีหรือเลว ยอมขึ้นอยูกับส่ิงนั้นเองวา จะสมบูรณหรือบกพรองในปจจัยสวนใดมากนอยกวากัน พูดงาย ๆ คือ ตัวเองทําใหตัวเอง ตัวอยางคําตอบที่ขัดแยงกันในเรื่อง ความตางของฝาแฝดที่เกิดมาแมวาจะเกิดจากทองแมเดียวกันในวันเดียวกัน ทั้ง “กิตติศักดิ์” แฝดพี่ และ “เปรมศักดิ์” แฝดนอง ตางเกิดมามีอวัยวะครบ 32 สภาพรางกายคลายกันทุกประการ แตเม่ือโตขึ้น “กิตติศักดิ์” ประสบความสําเร็จในหนาที่การงาน เจานายรักใครวางใจ ตําแหนงกาวหนาขึ้นเรื่อย โดยที่เจานายมอบหมายงานที่สําคัญ ๆ ใหรับผิดชอบ มีความสุขตามสมควร สวน “เปรมศักดิ์” กลับประสบปญหาดานสุขภาพ ทํางานที่ใดก็ประสบกับปญหา เปลี่ยนงานบอย ถูกเจานายเพงเล็ง ตําแหนงไมเคยขึ้นหรือไมเคยได 2 ขั้น แถมยังถูกสอบสวนทางวินัยเสียอีก ปญหาก็คือ ทั้งสองคนเปนฝาแฝด เกิดจากเชื้อพอแมเดียวกัน อาจจะเปนไขใบเดียวกันดวย ทางชีวภาพเสมอกัน แตเพราะเหตุอะไร ทําใหแฝดทั้งสองแตกตางกันราวฟากับดินเชนนี้ เรื่องราวทํานองนี้ หากไปสอบถามความเห็นจากนักคิดกลุมเทวนิยม จะไดคําตอบที่โยงไปถึง “ผูมีอํานาจ” ที่อยูบนฟากฟาเปนผูกําหนด วา เปนพระประสงคของเทพเจา แตหากปญหานี้นํามาถามพระพุทธเจา จะไดรับคําตอบวา “เปนเพราะกรรมของแตละบุคคล” กรรมดีหรือชั่วที่ตนไดทํามา และกรรมดีหรือชั่วในปจจุบันที่กําลังทํานั่นแหละเปนสิ่งที่จําแนกให “กิตติศักดิ์” และ “เปรมศักดิ์” ตองแตกตางกัน 10 ไมใชเปนประสงคของใคร ไมใชการบงการของใคร เปนเรื่องที่ตนทําใหตนเองทั้งนั้น คําตอบแบบพุทธศาสนา อาจจะไมเปนที่ถูกใจของหลาย ๆ ฝาย แตถาหากพิจารณาในรายละเอียดจะเห็นวา เปนเรื่องเกี่ยวกับ “ปจจัยที่อาศัยกันและกัน” หรือ “ผลยอมเกิดจากสาเหตุที่เหมาะสม” การอธิบายเรื่องความสัมพันธเนื่องจากสาเหตุและผล เรียกอีกอยางหนึ่งวา “นิยาม” หรือ “ธรรมนิยาม” ดังนั้น ขอใหมาพิจารณา “ธรรมนิยม” และความสัมพันธของแตละกฎเพื่อจะไดวินิจฉัยวา คําตอบแบบพุทธจะพอฟงขึ้นเพียงใด ธรรมนิยาม มี 5 ประการ 11 คือ

1. อุตุนิยาม (Physical Laws) หมายถึง กฎธรรมชาติ ที่เกี่ยวกับอุณหภูมิ หรือ ปรากฎการณธรรมชาติในวัตถุที่ไรชีวิต

ไดแก สิ่งที่กําหนดใหมีความสม่ําเสมอคงที่ในธรรมชาติ ในสวนที่เกี่ยวกับวัตถุ เชน ความสม่ําเสมอของฤดูกาล มีฤดูรอน ฤดูฝน ฤดูหนาว ฤดูใบไมรวง ฤดูใบไมผลิ เปนตน หรือความสม่ําเสมอที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน เชน เม่ือเกิดการเสียดสีของวัตถุ ยอมเกิดความรอนขึ้นมา ไอน้ําที่ถูกตมใหเดือดยอมดันฝาภาชนะที่ปดขึ้นมา นี่แหละ คือ อุตุนิยาม ซึ่งมีหลักอธิบายกฎ ดังนี้ 12

1.1 วัตถุ ( Material Object ) วัตถุทุกอยางมีความสัมพันธเนื่องถึงกัน

10 “กมฺมํ สตฺเต วิภชฺชติ ยทิทํ หีนปฺปณีตตาย” แปลวา กรรมยอมจําแนกใหเลวทรามและประณีต . 11 พระราชวรมุนี ( ประยุทธ ปยุตฺโต ) , พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ , หนา 152 - 153 12 สมภาร พรมทา. พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร. (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2534) หนา 66.

Page 129: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 124 1.2 ระหวางวัตถุสองชิ้นที่เกี่ยวเนื่องกัน ในแงที่สิ่งหนึ่งเปนสาเหตุและอีกสิ่งหนึ่งเปนผล มีระเบียบ ความสม่ําเสมอ และกฎเกณฑที่แนนอน 1.3 ภายในวัตถุแตละชิ้น มีความเปนระเบียบ สม่ําเสมอ และกฎเกณฑที่แนนอน 1.4 ในโลกแหงเดียวกัน สาเหตุอยางเดียวกันยอมสงผลเหมือนกัน 2. พีชนิยาม (Biological Laws)

หมายถึง กฎธรรมชาติที่เกี่ยวกับการสืบพันธุ มีพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต มีความเปนระเบียบ สม่ําเสมอ และกฎเกณฑที่แนนอนในธรรมชาติสวนที่เกี่ยวกับส่ิงมีชีวิต เชน เม่ือนําขาวเปลือกไปเพาะ สิ่งที่งอกออกมายอมเปนตนขาว นําเม็ดมะมวงไปเพาะ ตนที่งอกขึ้นมายอมเปนตนมะมวงเทานั้น นี้คือ กฎของพีชนิยาม ซึ่งมีหลักอธิบายกฎดังนี้ 2.1 สิ่งที่มีชีวิต (Organism) ทุกอยางมีความสัมพันธเนื่องถึงกัน 2.2 ระหวางสิ่งที่มีชีวิตสองหนวยที่เกี่ยวเนื่องกันในแงที่สิ่งหนึ่งเปนสาเหตุ และอีกสิ่งหนึ่งเปนผล มีระเบียบ สม่ําเสมอ และกฎเกณฑที่แนนอน 2.3 ภายในส่ิงที่มีชีวิตแตละหนวย มีความเปนระเบียบ สม่ําเสมอ และกฎเกณฑที่แนนอน 2.4 ในโลกแหงสิ่งที่มีชีวิต สาเหตุอยางเดียวกันยอมสงผลเหมือนกัน 3. จิตนิยาม (Psychic Laws)

หมายถึง กฎธรรมชาติเกี่ยวกับกลไกการทํางานของจิต ตามทัศนะพระพุทธศาสนา คนและสัตว มีสวนประกอบที่สําคัญ 2 สวนแยกจากกันได เพราะตางคุณลักษณะ นั่นคือ สวนที่เปนรางกาย และสวนที่เปนจิตใจ ในสวนที่เปนจิตใจก็มีกฎเกณฑในการทํางานเปลี่ยนแปลง และแสดงพฤติกรรมเปนแบบเฉพาะของตน ตัวอยางที่เปนชัดที่สุด ก็ในเรื่องของลูกแฝด แมวาทางรางกายของเขาทั้งคูจะเหมือนกัน แตจิตใจและความคิดอานไมเหมือนกัน แฝดพี่อาจจะเปนคนใจดี สงบ โอบออมอารี เอื้อเฟอเผื่อแผแบงปนใหอภัยคนได ตรงกันขาม แฝดนอง เปนคนอิจฉาริษยา ใจราย เห็นแกไดเห็นแกตัว ไมยอมเสียสละ ไมยอมเสียเปรียบใคร เปนคนเจาคิดเจาแคน อาฆาตพยาบาท ความตางแหงฝาแฝดทั้งสองดังกลาวมา จะไปหาคําอธิบายจากสภาพทางรางกายที่บิดามารดาใหมา ก็ไมอาจจําแนกไดวาเกิดจากยีนสตัวนี้ตัวนั้นเปนเหตุ แตในทางพระพุทธศาสนา สามารถอธิบายความตางนี้ไดวา ในสวนลึกของจิตใจแตละคน มีสิ่งหนึ่งที่เขาประกอบในจิต เกิดพรอมจิต ปรุงแตงจิตใหดีหรือชั่ว เรียกวา เจตสิก การที่แฝดพี่เปนคนน้ําใจดีงาม เพราะมีเจตสิกสวนดีงามประกอบมากและเกิดบอย สวนแฝดคนนองจะขาดเจตสิกสวนดี มีแตเจตสิกสวนชั่วเปนแรงผลักดันอยูเบ้ืองหลัง ดังนั้นพฤติกรรมรวมทีฝาแฝดทั้งคูแสดงออกมาจึงตางกัน เปนเพราะอํานาจของจิตที่ผสมกับเจตสิกตางประเภท ดังนั้น เม่ือเจตสิกเขามาประกอบในจิตไมวาดีหรือชั่ว ก็จะสงผลใหจิตแสดงพฤติกรรมทั้งดีหรือชั่วตามอํานาจเจตสิกนั้น ความเปนไปสม่ําเสมอทํานองนี้แหละเรียกวา จิตนิยาม และกฎของจิตนิยามมีหลักอธิบายดังนี้ 3.1 จิต (Psyche) ทุกอยางมีความสัมพันธเนื่องถึงกัน

Page 130: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 125 3.2 ระหวางจิตสองดวงที่เกี่ยวเนื่องกัน ในแงที่ดวงหนึ่งเปนสาเหตุและอีกดวงหนึ่งเปนผล มีระเบียบ สม่ําเสมอ และกฎเกณฑที่แนนอน 3.3 ภายในจิตแตละดวง มีความเปนระเบียบ สม่ําเสมอ และกฎเกณฑที่แนนอน 3.4 ในโลกแหงจิต สาเหตุอยางเดียวกันยอมสงผลเหมือนกัน 4. กรรมนิยาม (Karmic Laws)

หมายถึง กฎธรรมชาติที่เกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย คือ กระบวนการใหผลของการกระทํา หรือ กฎที่วาดวยการใหผลของกรรม กรรมในที่นี้ ไดแก การกระทํา หรือพฤติกรรมอันเกิดจากเจตนา (ความจงใจ หรือต้ังใจ) กรรมแบงเปน สองอยาง คือ กรรมดี และกรรมชั่ว กรรมดียอมสนองตอบใหผลในทางที่ดี สวนกรรมชั่ว ยอมใหผลตอบสนองในทางที่ชั่ว เหมาะสมกับสาเหตุและผล สิ่งที่เปนตัวกําหนดวา เม่ือทํากรรมอยางนี้ (ดีหรือเลว) ยอมจะกอใหเกิดผล (ดีหรือเลว) เรียกวา “กรรมนิยาม” และกฎของกรรมนิยามมีหลักอธิบายกฎดังนี้ 4.1 กรรมกลาวคือการกระทําที่เกิดจากความจงใจ (เจตนา) ทุกอยางมีผลสนองตอบผูกระทําเสมอ ยกเวน กรรมที่ไมอาจสนองตอบเพราะตัวผูกระทําไมมีตัวตนในสังสารวัฎอีกแลว เรียกวา อโหสิกรรม 4.2 กรรมมี 2 ประเภท คือ กรรมดี และกรรมชั่ว กรรมดียอมกอใหเกิดผลตอบสนองดี กรรมชั่วยอมกอใหเกิดผลตอบสนองชั่ว 4.3 ระหวางกรรมและผลของกรรม มีระเบียบ ความสม่ําเสมอและกฎเกณฑที่ แนนอน กรรมอยางเดียวกัน กระทําโดยบุคคลที่คุณสมบัติเหมือนกัน และกระทําตอสิ่งที่มีคุณสมบัติเหมือนกัน ยอมอํานวยวิบาก (ผล) เหมือนกัน 5. ธรรมนิยาม (Causality)

หมายถึง กฎธรรมชาติเกี่ยวกับความสัมพันธและอาการที่เปนเหตุและผลแกสิ่งทั้งหลายที่มีหลักความเชื่อวา “ในธรรมชาติมีกฎเกณฑและความเปนเหตุผลที่แนนอน” ธรรมนิยามเปนกฎใหญที่คุมกฎยอยสี่ขอที่กลาวมา โดยที่กฎยอยสี่ขอจะอธิบายกฎเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เชน เรื่องวัตถุ เรื่องพืช หรือ สิ่งมีชีวิต เรื่องจิตใจพฤติกรรมของจิต และเรื่องกรรม ยังไมไดครอบคลุมสรรพสิ่ง ที่เปนธรรมชาติ โลก และจักรวาล ธรรมนิยาม มีเนื้อหาวา “สรรพสิ่งลวนอิงอาศัยกันและกันในฐานะที่สิ่งหนึ่งเปนสาเหตุ และอีกสิ่งหนึ่งเปนผล” สรรพสิ่งในธรรมชาติ จะไมมีสิ่งใดเกิดขึ้นมาลอย ๆ โดยไมมีที่มา และ จะไมสงผลกระทบตอสิ่งอื่น ๆ เพราะสรรพสิ่งตางเกี่ยวเนื่องกัน ดังนั้น สิ่งใดในธรรมชาติที่ไมใชวัตถุ ไมใชสิ่งไมมีชีวิต ไมใชจิต และไมใชกรรม สิ่งนั้นยอมเปนไปตามกฎแหงธรรมนิยาม กฎธรรมนิยาม กลาวไวดังนี้ 5.1 เม่ือมี ก. ยอมมี ข. ( อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ ) 5.2 เพราะ ก. เกิด ข. จึงเกิดขึ้น ( อิมสฺสุปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ ) 5.3 เม่ือไมมี ก. ยอมไมมี ข. ( อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ )

Page 131: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 126 5.4 เพราะ ก. ดับ ข. จึงดับลง ( อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ ) 13

กฎนี้แสดงใหเห็นวา ในธรรมชาติ มีกฎ ระเบียบ ที่อิงอาศัยกันและกันพึ่งพาอาศัยกันและกัน สิ่งหนึ่งจะเกิดมี หรือจะเกิดเปนไดก็เพราะอาศัยส่ิงอื่นเปนสาเหตุ และเมื่อสิ่งใดเกิดขึ้นมา สิ่งนั้นยอมจะมีผลกระทบตอสิ่งอื่น ๆ อีก เกี่ยวพันกันดุจหวงโซ ประการสําคัญ ความเปนระเบียบของธรรมนิยามก็คือ “สาเหตุอยางเดียวกัน ยอมกอใหเกิดผลที่เหมือนกันไดเสมอ” ตัวอยางของสิ่งที่สังเกตไดงาย ๆ ในชีวิตของเราคือ การเกิดกระแสสลับอยางตอเนื่อง เปนเพราะการหมุนของขดลวดตัดสนามแมเหล็กอยูตลอดเวลา เม่ือใดก็ตามที่ขดลวดการหมุนตัดสนามแมเหล็กเกิดขึ้น (สาเหตุ) กระแสไฟฟายอมมีปรากฎทุกครั้ง (ผล) เพราะนั่นคือ กฎแหงธรรมนิยาม พระพุทธเจาทรงคนพบกฎธรรมนิยาม ซึ่งเปนไปตามธรรมดา ทานจะเกิดหรือไมเกิด กฎนี้ก็ยังคงอยู หลักที่เปนกฎธรรมชาติ และที่เปนกฎธรรมดา กฎนี้ยิ่งใหญเหนือพระพุทธเจา พระพุทธเจาทานแสดงความออนนอมถอมตัววา ทานมิไดเปนผูกุมสัจธรรมอยางผูกขาด ใครที่มีสติปญญาก็ สามารถคนหาความจริงไดเชนกันกับพระพุทธเจา ดังคํากลาววา “ อุปฺปาทา วา ภิกฺขเว ตถาคตานํ อนุปฺปาทา วา ตถาคตานํ ฐิตาว สา ธาตุ ธมฺมฐิตตา ธมฺมนิยามตา

สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา ….. สพฺเพ สงฺขารา ทุกขา…. สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตาติ

ตํ ตถาคโต อภิสมฺพุชฺฌติ อภิสเมติ อภิสมฺพุชฺฌิตฺวา อภิสเมตฺวา อาจิกฺขติ เทเสติ ปญญเปติ ปฏฐเปติ วิวรติ วิภชติ อุตฺตานีกโรติ

สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา… สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา… สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตาติ” 14

แปลวา “ พระตถาคต จะเกิดหรือไมเกิดก็ตาม หลักนั้นยังอยู หลักที่เปนกฎธรรมชาติ และที่เปนกฎธรรมดา คือ สังขาร (สิ่งที่ปรุงแตงเขากัน) ไมเที่ยง สังขารเปนทุกข ธรรมทั้งหลาย (ทุกสิ่ง) เปน อนัตตา พระตถาคต ตรัสรูยิ่ง เขาใจยิ่ง แลวจึง บอก แสดง บัญญัติ วางเปนกฎ เปดเผย จําแนก ทําใหเขาใจแจมแจงวา สังขารไมเที่ยง สังขารเปนทุกข ธรรมทั้งหลาย (ทุกสิ่ง) เปนอนัตตา” จากประเด็นนี้ ชี้ใหเห็นวา กฎธรรมดานั้น มีอยูในธรรมชาติ ใครจะเขาใจและรับรูมากนอยแคใด สุดแตจะสืบคนเห็นปจจัยสัมพัทธของกฎตาง ๆ ไดลึกกวากัน หรือใกลความจริงมากกวากัน มีนักเขียนคนหนึ่ง ในคอลัมน เชิงอรรถ ฯ สถานการณ เรื่อง ศึกษา “แนวทาง” ของ “ตถาคต” ถึงธัมมะฐิตะตา ธัมมะนิยามะตา ถึง “หลัก” ที่เปนกฎ “ธรรมชาติ” และ “หลัก” อันเปน “กฎธรรมดา” 15 กลาววา

13 ม.ม. จูฬสกุลทายิสูตร, 13/371/356. 14 องฺ ติก 20/576/368 15 หนังสือพิมพมติชนรายวัน ปที่ 21 ฉบับที่ 7383 วันที่ 26 พฤษภาคม 2541

Page 132: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 127 “กลาวในทางปรัชญา ความจริงสูงสุดดํารงอยูแลวโดยธรรมชาติ ศาสดาคือผูที่สามารถเขาใกลกับความจริงและรูแจงยิ่งกวาใคร ทั้งความจริงที่มีลักษณะแปรเปลี่ยนอยางที่เรียกวา สัจธรรมสัมพัทธ และความจริงที่มีลักษณะแนนิ่งตายตัว ไมแปรเปลี่ยนอยางที่เรียกวา สัจธรรมสัมบูรณ นิยามแหงศาสดาเชนนี้ บงบอกอะไรในทางความคิด ประการหนึ่ง บงบอกใหเห็นถึงความยิ่งใหญ ยรรยงของธรรมชาติ ไมวาจะเปนธรรมชาติที่มีชีวิต หรือธรรมชาติอันไมมีชีวิตก็ตาม” ประการหนึ่ง บงบอกใหเห็นถึงความแตกตางระหวางศาสดากับคนทั่วไป กลาวอยางถึงที่สุดแลว แมกระทั่งศาสดาเองก็ยังไมสามารถเขาถึงความจริงอยางถึงที่สุด เพียงแตสามารถเขาถึงความจริงไดใกลชิดยิ่งกวาใครเทานั้นเอง ยิ่งกวานั้น หากมองความเปนจริงของกฎธรรมชาติที่เปนอนิจจังที่จะตองแปรเปลี่ยน ไปตามแตละเหตุและปจจัย ยิ่งทําใหประจักษดวยวา ความเปนจริงบางอยางก็ยอมสัมพัทธ ไมหยุดนิ่งและมิไดมีความตายตัว จึงยากเปนอยางยิ่งที่บุคคลทั่วไปจะสามารถ กุมสัจจะอันเที่ยงแทอยางเปนนิรันดรในลักษณะที่ผูกขาดแตเพียงผูเดียว เวนก็แต “ศาสดา” ซึ่งสามารถรูแจงในความจริงยิ่งกวาใครเทานั้น…. ขนาดองคพระสัมมาสัมพุทธเจา ซึ่งเปนศาสดาทานยังยอมรับในความยิ่งใหญของหลักอันเปนธรรมชาติ กฎอันเปนธรรมดา”

Page 133: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 19 พุทธธรรม : หลักความเชื่อ ความหมาย และระดับ ความเชื่อ แปลมาจากภาษาบาลีวา “สัทธา” (สันสกฤตเขียน “ศรัทธา”) หมายถึง ความเชื่อถือ ความเชื่อมั่นในสิ่งที่ดีงาม ในทางพระพุทธศาสนา หมายเอา ความเชื่อในส่ิงที่ควรเชื่อ ความมั่นใจในความจริง ความดี สิ่งที่ดีงาม ในการทําความดี และไมลูไหลตื่นตูมไปตามลักษณะอาการภายนอก1

ศรัทธาแบงระดับออกได 2 ชั้น คือ 1. ปสาทศรัทธา ความเชื่อและเลื่อมใสโดยหยั่งดิ่งทุมเทอุทิศ มักจะไมคอยมีเหตุผลประกอบ ที่เรียกวา “ศรัทธาญาณวิปยุต” 2. ศรัทธา ความเชื่อที่ประกอบดวยปญญา ที่เรียกวา “ศรัทธาญาณสัมปยุต” เชื่อในส่ิงที่ควรเชื่อ ใชเหตุผลประกอบในการที่จะปลงใจเชื่อ ความสําคัญของศรัทธา ศรัทธาเปนจุดเริ่มตนของการนับถือศาสนา ดังที่นักปราชญกลาววา เม่ือมนุษยมีศรัทธาแสดงวามนุษยมีศาสนา เพราะความเชื่อเปนสาเหตุใหเกิดศาสนาตาง ๆ ในโลก ดังนั้น ศรัทธาจึงมีความสําคัญเพราะเหตุผลดังนี้ 1. ศรัทธาเปนจุดเริ่มตนของการนับถือศาสนา 2. ศรัทธาเปนคุณธรรมเบื้องตนที่จะใหคุณธรรมอื่น ๆ เชน สติ หิริ โอตตัปปะ วิริยะ สมาธิ เปนตน เกิดตามมา 3. ศรัทธาตองมาคูกับปญญาเสมอ ถาไมมีปญญากํากับกลายเปนเชื่องมงาย เปนประเภทศรัทธาจริต ถามีปญญาแตไมมีศรัทธา เปนประเภทพุทธิจริต ไมปลงใจเชื่ออะไรเลย พุทธวิธีจัดการกับความเชื่อ (กาลามสูตร) พระพุทธเจาทรงแสดงหลักการปฏิบัติในเรื่องที่ควรสงสัย หรือหลักความเชื่อ แกชาวบาน กาลามะ หรือ เกสปุตตนิคม ที่สับสนและวุนวายใจในคําสอนของเจาลัทธิตาง ๆ ซึ่งแตละทานก็ยกยองลัทธิของตน กดขี่เหยียบย่ําลัทธิของผูอื่น ที่เราทราบกันดีวา “กาลามสูตร” นักปราชญชาวตะวันตกกลาวยกยองกาลามสูตรนี้วา เปนหลักการที่เดนที่สุดของพระพุทธศาสนา เพราะใหอิสรภาพในการเชื่อและนับถือศาสนา นับวาเปนเอกลักษณเฉพาะและโดดเดนที่สุดเหนือศาสนาใด ๆ เม่ือมีความสงสัยจะเชื่ออยางไรดี

พระพุทธเจาไดเสนอทางจัดการกับความเชื่อและความสงสัยของตน ที่เรียกวา กังขานิยัฏฐานะ มี 10 ขอ คือ 2

1 พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท. หนา 290 ,323.

Page 134: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 129 1. อยาปลงใจเชื่อ ดวยการฟงตามกันมา 2. อยาปลงใจเชื่อ ดวยการถือปฏิบัติสืบตามประเพณี 3. อยาปลงใจเชื่อ ดวยการเลาลือ 4. อยาปลงใจเชื่อ ดวยการอางตําราหรือคัมภีร 5. อยาปลงใจเชื่อ เพราะตรรกะ (นึกเดาจากการตั้งสมมติฐานจากเหตุไปหาผล) 6. อยาปลงใจเชื่อ เพราะการอนุมาน (จากการเห็นผลสาวยอนไปหาสาเหตุ) 7. อยาปลงใจเชื่อ ดวยการคิดตรองตามแนวเหตุผล 8. อยาปลงใจเชื่อ เพราะเขากันไดกับทฤษฎีที่พิสูจนแลว 9. อยาปลงใจเชื่อ เพราะมองเห็นรูปลักษณะนาจะเปนไปได 10. อยาปลงใจเชื่อ เพราะนับถือวาผูพูดเปนครูของตน เม่ือใด ทานทั้งหลายพึงรู ดวยตนเองวา ธรรมเหลานี้เปนอกุศล ธรรมเหลานี้มีโทษ ธรรมเหลานี้ทานผูรูติเตียน ธรรมเหลานี้ใครสมาทานใหบริบูรณแลว เปนไปเพื่อสิ่งไมเปนประโยชน เพื่อทุกข เม่ือนั้น ทานทั้งหลายควรละธรรมเหลานั้นเสีย

เม่ือใด ทานทั้งหลายพึงรูดวยตนเองวา ธรรมเหลานี้เปนกุศล ธรรมเหลานี้ไมมีโทษ ธรรมเหลานี้ทานผูรูสรรเสริญ ธรรมเหลานี้ ใครสมาทานใหบริบูรณแลว เปนไปเพื่อประโยชน เพื่อสุข เม่ือนั้น ทานทั้งหลายควรเขาถึงธรรมเหลานั้นอยู เกณฑพิจารณาตามหลักกาลามสูตร 1. ตรวจสอบแหลงที่มาของความรูทั้ง 10 ประการ 2. พิจารณาดวยสติปญญาของตน 3. ปรึกษาบัณฑิต 4. คิดคาดดูผลกระทบ ความเชื่อพ้ืนฐานของชาวพุทธ 4 3

1. กัมมสัทธา เชื่อกรรม เชื่อกฎแหงกรรม เชื่อวากรรมมีอยูจริง คือเชื่อวา เม่ือทําอะไรลงไปโดยเจตนา คือจงใจทั้งที่รู ยอมเปนกรรม คือความชั่วและความดีมีขึ้นในตน เปนเหตุปจจัยใหเกิดผลดี ผลรายสืบเนื่องตอไป การกระทําจะไมวางเปลาจากการสงผล

2 อง. ติก. 20/505/241 : พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, หนา 274. 3 พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม. หนา 164.

Page 135: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 130 2. กัมมวิปากสัทธา เชื่อผลของกรรม เชื่อวากรรมที่ทําแลวมีผลจริง เชื่อวามีผลตอง มีสาเหตุผลดียอมเกิดจากกรรมดี ผลชั่วยอมเกิดจากกรรมชั่ว 3. กัมมัสสกตาสัทธา เชื่อความที่สัตวมีกรรมเปนของของตนเอง เชื่อวาคนเราแตละคนเปนเจาของจะตองรับผิดชอบและเสวยผลกรรมทั้งผลดีและผลชั่วตามกรรมที่ทําแลว 4. ตถาคตโพธิสัทธา เชื่อความตรัสรูของพระพุทธเจา มั่นใจในพระตถาคตวาเปนพระสัมมาสัมพุทธะ ตรัสธรรมบัญญัติวินัยไวดวยดี ทรงเปนผูนําทางที่ปลุกมนุษยใหทราบศักยภาพของตนวาหากฝกตนดวยดี ยอมสามารถเขาถึงภูมิธรรมชั้นสูงสุด บรรลุความหลุดพนได ส่ิงที่ชาวพุทธควรเชื่อ 1. เชื่อในพระรัตนตรัย พระพุทธเจา พระธรรม และพระสงฆ 2. เชื่อกฎแหงกรรม 3. เชื่อการเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏ (ถายังไมสิ้นกรรม) 4. เชื่อภพ ภูมิ (สถานที่เกิด) ของสรรพสัตว กฎแหงกรรม (The law of Karma) คําวา “กรรม” เปนคํากลาง ๆ ไมดี และ ไมชั่ว ตามศัพท หมายถึง การกระทํา หรือพฤติกรรม “กรรม” จะถือวาดีหรือชั่วได ใหดูที่เจตนา คือ การจงใจที่ดีหรือชั่วเปนตัวกระตุนใหกระทํา แตคนสวนมากมักเขาใจวา “กรรม” ตองเปนฝายชั่วเสมอ จงทําความเขาใจใหถูกเสียแตเบ้ืองตน กฎแหงกรรม หมายถึง กฎที่วาดวยการใหผลแหงกรรม กรรมในที่นี้ ไดแกการกระทําหรือพฤติกรรมอันเกิดจากเจตนา (ความจงใจ หรือต้ังใจ) กรรมแบงเปน สองอยาง คือ กรรมดี และกรรมชั่ว กรรมดียอมสนองตอบใหผลในทางที่ดี สวนกรรมชั่ว ยอมใหผลตอบสนองในทางที่ชั่ว เหมาะสมกับสาเหตุและผล สิ่งที่เปนตัวกําหนดวา เม่ือทํากรรมอยางนี้ (ดีแลว) ยอมจะกอใหเกิดผล ( ดีหรือเลว ) เรียกวา “กฎแหงกรรม” ดังนั้น กฎแหงกรรม หมายถึง 1. กฎแหงสาเหตุและผล กฎแหงกิริยาและปฏิกิริยา ที่ปฏิบัติอยูในธรรมชาติทั่วไป 2. กฎแหงเหตุผลทางจริยธรรมที่ปฏิบัติอยูในชีวิตของสัตวทั้งหลาย ลักษณะของกฎแหงกรรม 1. เปนสิ่งธรรมชาติไมมีตัวบุคคลที่คอยบงการบัญชา 2. เปนสวนหนึ่งของกฎเหตุผล 3. เปนกฎทางจริยธรรม 4. เปนกฎที่ปฏิบัติการอยูในชีวิตสัตวเทานั้น

Page 136: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 131 ความเห็นผิดในหลักกรรม ความเชื่อเรื่องกฎแหงกรรมเปนความเชื่อพื้นฐานของชาวพุทธ แตมีนักคิดบางทานที่ไมเชื่อกรรม และการเวียนวายตายเกิดดวยอํานาจกฎแหงกรรม บางลัทธิมีความเชื่อเกี่ยวกับความสุข ความทุกขและความเปนไปในชีวิตมนุษย ที่ขัดกับหลักกรรม จําแนกได 3 ลัทธิ4 คือ 1. ปุพเพกตเหตุวาท หรือ บุพเพกตวาท การถือวาสุขทุกขทั้งปวง เปนเพราะกรรมเกา (Past Action Determinism) 2. อิสสรนิมมานเหตุวาท หรือ อิศวรนิรมิตวาท การถือวาสุขทุกขทั้งปวง เปนเพราะการบันดาลของเทพผูใหญ (Theistic Determinism) 3. อเหตุอปจจยวาท หรือ อเหตุวาท การถือวาสุขทุกขทั้งปวง เปนไปสุดแตโชคชะตาลอย ๆ ไมมีเหตุไมมีปจจัย (Indeterminism or Accidentalism) การถือทรรศนะที่ผิดจากหลักกรรม บางครั้งปฏิเสธสาเหตุการกระทํา บางครั้งปฏิเสธผลที่เกิดจากการกระทํา ทานสรุปเปนมิจฉาทิฐิ 10 ประการ 5 คือ 1. ทานที่ถวายแลวไมมีผล (นตฺถิ ทินฺนํ) 2. การบูชาไมมีผล (นตฺถิ ยิฏฐํ) 3. การสักการะไมมีผล (นตฺถิ หุตํ) 4. ไมมีผลแหงกรรมดีกรรมชั่ว (นตฺถิ สุกฏทุกฺกฏานํ กมฺมามนํ ผลํ วิปาโก) 5. ไมมีโลกนี้ (นตฺถิ อยํ โลโก) 6. ไมมีโลกหนา (นตฺถิ ปรโลโก) 7. พระคุณของแมไมมี (นตฺถิ มาตา) 8. พระคุณของพอไมมี (นตฺถิ ปตา) 9. ไมมีสัตวที่จะไปเกิด (เชื่อวาตายแลวสูญ) (นตฺถิ สตฺตา โอปปาติกา) 10. ไมมีสรณะพราหมณผูปฏิบัติดีจนบรรลุเปนพระอริยะ

(นตฺถิ โลเก สมณพฺรหฺมณา สมฺมาปฏิปนฺนา) องคประกอบของกรรม ในวงจรแหงกรรมวัฏฏะ ทานแสดงถึงการเวียนวายตายเกิดเพราะ องคประกอบ 3 อยาง คือ กิเลส กรรม และวิบาก แตเม่ือมองในรายละเอียด การทํากรรมทั้งกุศลและอกุศล ไมไดเกิดมาจากกิเลสอยางเดียว เพราะมีแรงผลักในจิตที่เรียกวาเจตสิก สวนกุศลเปนตัวผลักใหเกิดกุศลกรรมอยูดวย ดังนั้นจึงจะแสดงใหเห็นชัดองคประกอบดังนี้ 1. สังขารเจตสิก แรงผลักดันในจิต (Mental Drives) แรงกระตุนในจิตใจ ใหเกิดการกระทํา ( สังขารเจตสิกอื่น ๆ ) แบงเปน 2 ฝาย คือ

4 พระราชวรมุนี ( ป.อ.ปยุตตโต ) , พุทธธรรม , ( กรุงเทพฯ : คณะระดมธรรม , 2525 ) , หนา 205 . 5 ที. สี . 9/72/96; พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). กรรม การเวียนวายตายเกิด. ( กรุงเทพฯ :

สํานักพิมพสยาม 2535). หนา 6 - 7.

Page 137: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 132 ฝายกุศล : เกิดจาก อโลภะ อโทสะ อโมหะ ฯลฯ เปนตน ฝายอกุศล : เกิดจากโลภะ โทสะ โมหะ เปนตน กิเลสตัวหลักคือ อวิชชา 2. เจตนา (Volition) ความจงใจ ต้ังใจ ก็เปนสังขารเจตสิกตัวหนึ่ง แตสําคัญกวาเจตสิกตัวอื่นดังพระพุทธเจาตรัสวา “เจตนาเปนตัวกรรม เพราะคนคิด ต้ังใจจึงแสดงพฤติกรรม” มีลักษณะ 2 อยาง 1. ความรูสึกตัว ไมหลับไมเผลอ รูตัววาจะทําหรือกําลังทําอะไร 2. ความมีเปาหมายแนนอนในการกระทํา ถาไมมีเปาหมายแนนอน เปนกรรมกลาง ๆ ถาผลผิดไปจากเปาหมาย เปนกรรมไมสมบูรณ 3. การกระทํา : การแสดงออกทางกาย วาจา ใจ 1. กายกรรม : การกระทําทางกาย 2. วจีกรรม : การกระทําทางวาจา การพูด 3. มโนกรรม : การกระทําทางใจ มโนกรรมสําคัญมาก เพราะสาเหตุคือ 1. ทํางาย ไมตองใชอุปกรณ 2. จิตเปนนาย กายเปนบาว 4. ผลของกรรม ( กัมมวิปากะ ) แบงออกเปน 2 อยาง คือ 1. ผลโดยตรง : เกิดขึ้นทันที ไดแก คุณภาพจิตใหม หรือ พลังกรรมที่เกิดขึ้นในใจทันที ไมวาผูทําจะรูหรือไมรู จะเชื่อหรือไมเชื่อก็ตาม เปนธรรมชาติเปนสากล ถาดีเรียกวาบุญ และชั่วเรียกวาบาป 2. ผลโดยออม เปนผลพลอยได อาจจะเกิดขึ้นก็ได ไมเกิดก็ได แลวแตเหตุปจจัย แบงออกเปนประเภทยอย ๆ ไดอีก คือ 2.1 ผลทางอารมณ ผลทางใจ : ความรูสึกสุขใจ หรือ ทุกขใจ หลังจากทํากรรมแลวตามปกติ ทํากรรมดีแลว สุขใจ ทํากรรมชั่วแลว ทุกขใจ 2.2 ผลทางกาย : ความแปรปรวนทางกายซึ่งเปนผลมาจากสภาพจิต 2.3 ผลทางสังคม : ปฏิกิริยาจากคนอื่นหรือจากกลไกของสังคม

ตารางแสดงผลกระทบทางสังคม ผลแหงกรรมดี ผลแหงกรรมชั่ว ลาภ เสียลาภ โลกธรรม ยศ เสียยศ สรรเสริญ นินทา

Page 138: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 133 สุข ทุกข

*ผลทางสังคม แมแตพระพุทธเจาก็ตองไดรับ เชน พระพุทธเจาถูกนางจิญจมาณวิกาใสรายโดยการทําเปนแสรงมีครรภกับพระพุทธองค 6

องคประกอบที่ทําใหกรรมผลิตผลสมบูรณหรือบกพรอง 1. สมบัติ สมบัติ แปลวา ขอดี หมายถึง ความเพียบพรอมแหงองคประกอบตางที่ชวยเสริมใหกรรมมีผลสมบูรณ มี 4 อยาง 7 คือ 1. คติสมบัติ ถึงพรอมดวยคติ คือ เกิดในภพ ภูมิ ถิ่น ประเทศที่เจริญ เหมาะ เกื้อกูล อยูในถิ่นที่อํานวย 2. อุปธิสมบัติ ถึงพรอมดวยรางกาย สุขภาพแข็งแรง มีรูปรางสวย รางกายสงางาม หนาตาทาทางดี นารัก นานิยมเล่ือมใส 3. กาลสมบัติ ถึงพรอมดวยกาลเวลา คืออยูในสมัยที่บานเมืองมีความสงบสุข ผูปกครองดี ผูคนมีศีลธรรม ยกยองคนดี ไมสงเสริมคนชั่ว ทําอะไรถูกกาล ถูกจังหวะ 4. ปโยคสมบัติ ถึงพรอมดวยการประกอบ คือ ตรงเรื่องกิจการที่ตองการ ตรงกับความถนัดและความสามารถของตน ทําการถึงและครบถวนตามเกณฑหรือเต็มอัตรา ทําถูกเรื่อง พอดี พอเหมาะ ครบถวน 2. วิบัติ วิบัติ คือขอเสีย หรือจุดออน หมายถึง ขอบกพรองแหงองคประกอบ ทําใหกรรมไมอาจสงผลสมบูรณ มี 4 ประการ คือ 1. คติวิบัติ ถิ่น ประเทศเสีย สภาพแวดลอมที่ไมอํานวย 2. อุปธิวิบัติ รูปกายเสีย สุขภาพไมดี 3. กาลวิบัติ กาลเสีย ไมถูกจังหวะ 4. ปโยควิบัติ กิจการเสีย ทําไมถูกตอง ไมตรงความถนัดของตน ไมครบถวน ขอสังเกต คนมักสงสัยวา ทําดีไมเห็นผลดีตอบ ทําชั่วไมเปนผลชั่วตอบ เพราะ

1. ทําดีไมถูกดี (หนาที่) 2. ทําดีไมถึงดี (ขาดการตอเนื่อง) และ 3. ทําดีไมใหพอดี (มากหรือนอยเกินกําลัง)

หนาที่ของพลังกรรม

6 ดู ชา. อ. 6/130, ธ.อ. 6/46. 7 พระราชวรมุนี (ป. อ. ปยุตโต). พุทธธรรม. หนา 191.

Page 139: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 134 1. กระตุนใหทํากรรมนั้น ๆ ซ้ําอีก พลังกรรมจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนกลายเปนคุณภาพพื้นฐานเรียกวา อุปนิสัย จริต สันดาน หรือ บารมี ทําใหคนมีอุปนิสัยแตกตางกัน จริต ( ลักษณะอุปนิสัยพ้ืนฐานของบุคคล ) จําแนกได 6 ประเภท คือ 1. ราคจริต : คนรักสวยรักงาม ศิลปน 2. โทสจริต : คนขี้โมโหโทโส ฆาตกร 3. โมหจริต : หลงงมงาย ไรเหตุผล 4. ศรัทธาจริต : คนเชื่องาย งมงาย เครง 5. พุทธิจริต : ชอบคิดเหตุผล ปญญาชน 6. วิตกจริต : คิดมาก กังวล โลเล 2. รักษากระแสชีวิตไว ทําใหเกิดใหมเชนเดียวกับพลังกาย รักษากายไว 3. กําหนดอนาคต ทั้งในชาตินี้ และชาติหนา พลังกรรมจะเปนผูกําหนด 1. จริต หรือ อุปนิสัย 2. สภาพทางรางกาย 3. สติปญญา 4. สภาพครอบครัว 5. ถิ่นกําเนิด 6. สภาพแวดลอม 7. เหตุการณบางอยางในชีวิต กรรม 3 ประเภท 1. กุศลกรรม กรรมดี เกิดจากกุศลเจตนา 2. อกุศลกรรม กรรมชั่ว เกิดจากอกุศลเจตนา 3. อัพยากตกรรม กรรมกลาง เกิดจากเจตนาที่ไมเปนฝายกุศลและอกุศล เกณฑวัดคุณภาพกรรม 4

1. สังขารเจตสิก : แรงกระตุนใจ น้ําหนัก 10 % 2. เจตนา : ความจงใจ “ 40 % 3 . การกระทํา : ทํา พูด คิด “ 20 % 4 . วิบาก : ผลที่เกิดขึ้น “ 30 %

ดี % แรงกระตุน เจตนา กรรม วิบาก ชั่ว % 100 ด ด ด ด 0 75 ด ด ด ช 25 50 ด ด ช ช 50 25 ด ช ช ช 75 0 ช ช ช ช 100

Page 140: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 135 เรื่องที่ควรรูเกี่ยวกับกรรมและวิบากของกรรม 1. บาปที่ทําแลวจะลบลางไดหรือไม ? 1. ศาสนาพราหมณ ลางบาปไดดวยน้ํา ในแมน้ําศักดิ์สิทธิ์ (แมน้ําคงคา) 2. ศาสนาคริสต ลางบาปได ดวยพระหรรษทาน (grace) ของพระเจา 3. พุทธศาสนา สอนใหละบาปไดดวยการประกอบกุศลใหมากยิ่ง ดังบาลีวา “ยสฺส ปาป กตํ กมฺมํ กุสเลน ปหียติ

โสมํ โลกํ ปภาเสติ อพฺภา มุตฺโตว จนฺทิมา” 8

แปลวา “ผูใดละบาปที่ตนทําแลวดวยกุศล ผูนั้น ยอมบริสุทธิ์ดุจพระจันทรพนจากเมฆบัง”

2. การใหผลของกรรม และระยะเวลาใหของกรรม การใหผลของกรรมที่ทํานั้น จะใหผลทุกอยางไปหรือไม ขึ้นอยูกับแรงหนักเบาของกรรมนั้น ซึ่งจะบงบอกถึงหนาที่การใหผลและระยะเวลาตามลําดับ ดังนี้

2.1 กรรมแบงตามแรงหนักเบา มี 4 คือ 9

2.1.1 ครุกรรม คือ กรรมหนัก ทั้งฝายดีและฝายไมดี ฝายดี หมายถึง ฌาน วิปสสนา มรรค ผล ฝายชั่ว หมายถึง อนันตริยกรรม 5 คือ ฆามารดา ฆาบิดา ฆาพระอรหันต ทําพระพุทธเจาใหหอโลหิต และทําสงฆผูสามัคคีกันใหแตกกัน

2.1.2 อาจิณณกรรม หรือพหุลกรรม คือ กรรมที่ทําจนเคยชิน หรือทํามาก ทําสม่ําเสมอ กรรมนี้จะใหผลยั่งยืนมาก

2.1.3 อาสันนกรรม คือ กรรมที่บุคคลทําเมื่อจวนสิ้นชีวิต มีอานุภาพใหบุคคลไปสูสุคติหรือทุคติได ถาเขาหนวงเอากรรมนั้นเปนอารมณ เม่ือจวนตาย

2.1.4 กตัตตากรรม หรือกตัตตาวาปนกรรม คือ กรรมสักแตวาทํา คือ ทําโดยไมเจตนา 2.2 กรรมแบงตามหนาที่ มี 4 คือ 10

2.2.1 ชนกกรรม คือ กรรมที่กอใหเกิด หรือสงใหเกิดในกําเนิดตาง ๆ เปรียบเสมือนมารดาของทารก ชนกกรรมนี้เปนผลของอาจิณณกรรมบาง ของอาสันนกรรมบาง

2.2.2 อุปถัมภกกรรม คือ กรรมอุปถัมภ เปนเสมือนพี่เล้ียงนางนม มีทั้งฝายดีและฝายไมดี 2.2.3 อุปปฬกกรรม คือ กรรมบีบคั้น มีหนาที่บีบคั้น กรรมดีหรือชั่วใหเพลาลง 2.2.4 อุปฆาตกกรรม หรือ อุปจเฉทกกรรม คือ กรรมตัดรอน มีหนาที่ตัดรอนกรรมทั้งฝาย

กุศล

8 ขุ.ธ. 25/38/23. 9 สงฺคห. สงฺคห. ฎีกา. (อภิธัมมัตถวิภาวินี) หนา 164. 10 ม.อ. (ปปญจสูทนี 4) 184/290.

Page 141: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 136

และอกุศล 2.3 กรรมแบงตามเวลาที่ใหผล มี 4 คือ 11

2.3.1 ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม คือ กรรมที่ใหผลในปจจุบัน 2.3.2 อุปปชชเวทนียกรรม คือ กรรมที่ใหผลในชาติตอไปถัดจากชาติปจจุบัน 2.3.3 อปราปรเวทนียกรรม คือ กรรมที่ใหผลหลังจากอุปชชเวทนียกรรม คือ ใหผลเรื่อยไป

สบโอกาสเมื่อใด ก็ใหผลเมื่อนั้น 2.3.4 อโหสิกรรม คือ กรรมที่ไมใหผล เลิกแลวตอกัน เปรียบเหมือน ทุนระเบิดดาน

ทํางานไมได 12

กระแสพลังกรรมจะไหลตามกระแสชีวิตไป ถาไมมีโอกาสใหผลตามแรงหนักเบา และจะใหผลตามหนาที่ เทาที่กลาวมาขางตน เปนการมองการใหผลของกรรมในระยะยาวที่ขามภพขามชาติ แตวาตามที่จริงแลว การทํากรรมอยางหนึ่ง ไดใหผลแกผูกระทํากรรมขณะนั้นแลว

4. แบบอยางการใหผลของกรรม ในจูฬกัมมวิภังคสูตร 13 แสดงกรรมและวิบากกรรมจับเปนคูได 7 คู ดังนี้

คู กรรม ผลของกรรม

1 ชอบฆาสัตว อายุสั้น เวนฆาสัตว อายุยืน 2 ชอบทรมานสัตว โรคมาก ไมเบียดเบียนสัตว โรคนอย 3 ไมเขาหานักปราชญ เปนคนโง คบบัณฑิต ถามปญหา ฉลาด สติปญญาดี 4 ใจราย มักโกรธ รูปรางขี้เหร ไมสวยงาม ใจดี ไมโกรธ รูปรางสวยงาม 5 ตระหนี่ ไมรูจักแบงปน ยากจน ขัดสน อนาถา บริจาค ทําบุญ มีลาภ ร่ํารวย 6 ริษยา เพงโทษ ยศต่ํา ไมมีคนนับถือ มีมุทิตา ไมริษยา ยศสูง ไดรับเกียรติ 7 ถือตัว หยาบกระดาง เกิดในตระกูลตํ่า ออนนอม ยกยองผูอื่น เกิดในตระกูลสูง

11 ม.อ. (ปปญจสูทนี 3) 246/352. 12 วศิน อินทสระ. หลักกรรมและการเวียนวายตายเกิด. (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 8/2532) หนา 14-16. 13 ม.อุ. 14/375-385/579-597.

Page 142: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 137 5. เหตุการณในชีวิตเปนผลกรรมเกาหรือไม ? 1. บางอยางเปนผลของกรรมเกา 2. บางอยางเปนผลของกรรมใหม

3. บางอยางเปนผลของกรรมทั้งสอง 4. บางอยางเปนผลของสิ่งแวดลอม

6. การอุทิศสวนบุญแกผูตาย ผูตายจะไดรับหรือไม ? ถาประกอบดวยเงื่อนไขดังตอไปนี้ : 1. ผูตายไปเกิดในภูมิที่อาจรับรูได เชน เทพชั้นตํ่า เปรต (ปรทัตตูปชีวี ) 2. ทั้ง 2 ฝายยังมีความรักตอกัน 3. ทําบุญ (บุญกิริยาวัตถุ) อยางใดอยางหนึ่งใน 10 อยาง14 คือ 1. ทาน ทําบุญดวยการใหเพื่อ อนุเคราะห ตอบแทนคุณ บูชาคุณ หรือเสียสละ

2. ศีล ทําบุญดวยการรักษาศีล 5 ศีล 8 เปนตน 3. ภาวนา ทําบุญดวยการอบรมจิตดวยสมถภาวนา อบรมปญญาดวย วิปสสนา

ภาวนา 4. อปจายนะ ทําบุญดวยการออนนอมถอมตน

5. เวยยาวัจจะ ทําบุญดวยการบริการ บําเพ็ญประโยชน 6. ปตติทานมัย ทําบุญดวยการเฉลี่ยสวนแหงความดีใหแกผูอื่น

7. ปตตานุโมทนามัย ทําบุญดวยการทําใจยินดีในความดีของผูอื่น 8. ธัมมัสสวนมัย ทําบุญดวยการฟงธรรมศึกษาหาความรู

9. ธัมมเทสนามัย ทําบุญดวยการสั่งสอนธรรม ใหความรู 10. ทิฏุชุกรรม ทําบุญดวยการทําความเห็นใหถูกตอง เปนสัมมาทิฐิ

4. ต้ังใจอุทิศ : ทําใจใหสงบนิ่งต้ังใจกลาวทําอุทิศ เปนภาษาไทยก็ได คําอุทิศภาษาบาลี “อิทํ โน ?าตีนํ โหตุ สุขิตา โหนฺตุ ?าตโย” 15

ภาษาไทย “ผลของทานนี้ จงสําเร็จแกหมูญาติของขาพเจาดวยเถิด ขอหมูญาติทั้งหลายของขาพเจาจงเปนสุขเปนสุขเถิด”

5. กรวดน้ํา พิธีกรรมที่ทําใหชวยเห็นเจตนาชัดแจง เพียงแคการนึกอุทิศในใจ ดูเหมือนจะไมมั่นใจ

มองไมออกวาจะใหจริงหรือไม ดังนั้น การกรวดน้ํา จึงเปนพฤติกรรมการแสดงออกถึงเจตนาอยางชัด

14 บุญกิริยาวัตถุ 10. ที. อ. 3/246 อางใน พระธรรมปฎก (ป. อ. ปยุตโต ) , พจนานุกรมพุทธศาสตร , หนา 110 . 15 ขุ.ขุททก. 25/10/8; ขุ.วิมาน. 26/159/90; 210/112.

Page 143: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 138 แจง เชน เรานึกวาจะใหเงินเพื่อนเรา และนึกในใจ เพื่อนคงไมรูและมองเห็นวาเรากําลังนึกจะใหเงินแกเขา แตถาแสดงออกคือหยิบเงิน หรือเพียงแตออกปากวาจะมอบเงินให เพื่อนก็จะเขาใจ นี่เปนเพียงการเปรียบเทียบอยางหยาบ อันที่จริง ในโลกตางมิติ หรือระหวางมนุษยกับสัตวเดียรัจฉาน แคความคิดเทานั้น เขาก็ทราบแลว

6. ผูตายรับรูและอนุโมทนา ผูที่ตายละสังขารรางกายไปแลว ทางพระพุทธศาสนา เรียกวา “เปรต” ทั้งนั้น แต “ผี

เปรต” อยางที่เราเขาใจกัน เปนสัตวในอบายภูมิ ทีเสวยทุกขเพราะเศษบาปที่ทํามา และเปรตที่จะสามารถรับรูและอนุโมทนา ก็เปนเพียงเปรตโชคดีประเภทเดียวอกุศลกรรมเบาบางมากแลวคือ “ปรทัตตูปชีวี” 16 ที่เรามักกลาววา “เปรตรอรับสวนบุญ หรือ เปรตขอบุญ” ปรทัตตูปชีวีเปรต รอรับสวนบุญจากญาติที่จะอุทิศให จึงเที่ยวเซซังไปมาแสวงหาวาญาติของตนเปนใครบาง อยูที่ไหน ครั้นนึกไดและไปพบ ก็จะคอยทารอรับสวนบุญอยูใกล ๆ ดวยความหวังวา “เม่ือใด ญาติของเราจะทําบุญ ครั้นทําบุญทํากุศลเขาคงอุทิศใหเราบาง” ครั้นญาติทําบุญ แตไมไดนึกและอุทิศสวนบุญแกเปรตนั้น หรือไปอุทิศใหผูอื่นเสีย เปรตก็หมดหวัง หมนหมอง เศราสรอย แตก็ยังมีหวังวา “ครั้งตอไป เขาคงไมลืมเรา เขาคงอุทิศใหแกเราบาง” “ครั้งตอไป เขาคงไมลืมเรา เขาคงมีแกใจอุทิศใหแกเราบาง” เม่ือญาติอุทิศสวนบุญแกเขาโดยตรง เขาก็ไดอนุโมทนา เปน “ปตตานุโมทนามัย” คือ บุญที่เกิดเพราะการอนุโมทนาบุญที่คนอื่นทําให ไดแก การยินดีและรับรูวา ญาติทําเพื่อตน เพราะผลบุญนั้นทําใหเปรตพนทุกข ดังเรื่อง เปรตญาติของพระเจาพิมพิสารที่แอบกินของสงฆ เปนตัวอยาง 17

ขอสังเกต เรื่องการทําบุญอุทิศแกผูตาย มีประเด็นที่ควรพิจารณา ดังนี้ 1. ไมมี “บุญ” ลอยจากผูใหไปยังผูรับ แต “บุญ” เกิดจากการอนุโมทนาของผูที่ตาย (เปรต) 2. ผูทําบุญและอุทิศสวนบุญ จะไดบุญ 2 เทา เพราะไดทําบุญ 2 ครั้ง คือ 1) ครั้งแรก ทานมัย ( หรือบุญกิริยาอยางอื่น ) เปนบุญเกิดเพราะการบริจาคแลว 2) ครั้งที่สอง ปตติทานมัย บุญเกิดเพราะการแบงปนอุทิศสวนบุญแกผูอื่น 3. เปนการแสดงออกถึง กตัญูกตเวที รูความดีที่คนอื่นเคยทําแกตนแลว และแสดงการตอบแทนดวยการอุทิศบุญแบงปนให

16 พระธรรมมธีรราชมหามุนี (วิลาศ ญาณวโร ), ภูมวิลาสินี , (กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพมิตรสยาม, 2535) หนา 135

. 17 ดู ขุททก. อ. (ปรมัตถโชติกา) 176-191/30-43.

Page 144: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 139 4. เปนการพัฒนาความใจกวาง ไมเห็นแกตัว เพราะการแบงบุญ ไมไดทําใหบุญของตนหมดไป มีแตจะเพิ่มขยายออก ดุจดังเรามีไฟที่ไดจากเทียนเลมเดียวของเรา แตเราก็ตอไฟใหกับเทียนเลมอื่น ๆ ของผูอื่น ไฟที่เทียนของเราไมหมด มีแตจะขยายวงออกไปมากขึ้นเทาจํานวนเทียนที่ขอตอไฟ 5. พระพุทธเจาเคยสอนไวในสิงคาลกสูตร ในตอนที่วาดวยหนาที่ที่บุตรธิดาพึงทําแกบุพการี คือ เม่ือทานสิ้นชีวิต ตองทําบุญอุทิศสวนกุศลไปให เปนหนาที่ควรปฏิบัติ เปนธรรมของบัณฑิต 6. คนที่ยังไมตาย เราก็สามารถอุทิศบุญใหได ถาเขารูและอนุโมทนา จะอุทิศสวนบาปใหผูอื่นไดหรือไม มนุษยเราทําทั้งบุญและบาปควบคูกัน และเรารูมาวา บุญสามารถแบงอุทิศใหคนอื่นได ถาอยางนั้น ในกรณีคลายกัน จะอุทิศบาปแกผูอื่นไดหรือไม ? คําตอบ โปรดพิจารณาเงื่อนไขตาง ๆ ของการอุทิศสวนบุญที่กลาวมาแลวเปนหลัก ประการสําคัญ คือ พลังบาปมีพลังนอยกวาพลังบุญ คงไมมีผูใดอนุโมทนาบาป หลักกรรมกับคุณคาทางจริยธรรม พระราชวรมุนี แสดงใหเห็นคุณคาหลักกรรม มีคุณคาตอการปลูกฝงจริยธรรม ดังนี้ 18

1. ใหเปนผูหนักแนนในเหตุผล รูจักมองเห็นการกระทําและผลของการกระทําตามแนวทางของเหตุปจจัย ไมเชื่อสิ่งงมงาย ต่ืนขาว เชน เรื่องแมน้ําศักดิ์สิทธิ์ เปนตน 2. ใหเห็นวาผลสําเร็จที่ตนตองการ จุดหมายที่ปรารถนาจะเขาถึงได สําเร็จไดดวยการลงมือทํา คือ พึ่งตนเอง ไมตองรอโชคชะตาหรือหวังการชวยเหลือจากปจจัยภายนอก 3. ใหมีความรับผิดชอบตอตนเอง ที่จะงดเวนการทําชั่ว ใหรับผิดชอบตอบุคคลอื่น ดวยการทําความดีตอเขา 4. ใหถือวาบุคคลมีสิทธิ์โดยธรรมชาติ ที่จะทําการตาง ๆ เพื่อแกไขปรับปรุง สรางเสริมตัวเองใหดีขึ้นโดยเทาเทียมกัน 5. ใหถือวาคุณธรรม ความสามารถ ความประพฤติปฏิบัติเปนเครื่องวัดความทรามความประเสริฐของมนุษย 6. ในแงกรรมเกาใหถือเปนบทเรียน ใหเขาใจตนเองตามแนวทางเหตุผล ไมคอยเพงโทษผูอื่น รูจักที่จะแกไข ปรับปรุง 7. ใหความหวังในอนาคตสําหรับคนทั่วไป

18 พระราชวรมุนี (ป.อ. ปยุตโต), พุทธธรรม, หนา 213 - 214 .

Page 145: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 20 พุทธธรรม : หลักความเชื่อ ( ตอ ) : การเวียนวายตายเกิด ความคิดเกี่ยวกับการตายการเกิด คําถามเกี่ยวกับชีวิตหลังการตาย มนุษยถามกันมาตั้งแตโบราณ ที่เริ่มสงสัยความเปนมาเปนมาจนกระทั่งปจจุบันและยังจะถามตอไปอีก เพราะคําตอบไมวาจะมาจากนักคิด นักสอนศาสนาทั้งหลาย ตางก็ยังไมเปนที่พอใจอยูดี ทุกคนทราบวา เกิดมาแลวตองตายแนนอน ไดแก ประเด็นในคําถามตอไปนี้ 1. ตายแลวไปไหน ? ชีวิตหลังการตายจะเปนอยางไร ? 2. ตายแลวจะหายลับดับสูญไป ไมมีการเกิดอีกตอไปหรืออยางไร ? 3. ตายแลวจะเกิดอีกไหม ถาเกิดอีก จะเกิดในภูมิที่ดีหรือชั่วอยางไรบาง ? ตอคําถามวา ตายแลวไปไหน ชีวิตหลังความตายเปนอยางไร พอประมวลขอสงสัยได 5 ขอ คือ 1) ตายไปแลว จะเกิดหรือไม 2) ตายไปแลว จะสูญหายไปหรืออยางไร ? 3) ตายไปแลว ถาเกิดอีก จะเกิดเปนอะไร ? 4) ตายไปแลว ถาเกิดอีก จะมีรูปพรรณสัณฐานเกิดเปนอยางไร ? 5) ตายไปแลว จะเปนอยางไร และจะเปนอยางไรตอ ๆ ไปอีก ? พระเจาปายาสิ นักวิจัยเชิงวิทยาศาสตรชีวิตหลังการตาย และหาตัววิญญาณและผลบุญผลบาป ในอดีตมีนักคิดทานหนึ่งเปนเจาครองเสตัพพยะนคร ชื่อวา พระเจาปายาสิ เปนคนชางคิด ชางสงสัย และเพื่อพิสูจนความสงสัย จึงแสวงหาคําตอบเพื่อพิสูจนดวยวิธีการตาง ๆ สุดทายของการพิสูจน พระเจาปายาสิไดคําตอบและแนใจ ถึงกับประกาศเปนปรัชญาของตน 3 ขอ วา 1. ผลแหงบาปและผลแหงบุญไมมี 2. คนเราตายแลวไมเกิดอีก (สูญ) วิญญาณ (ชีวะ) ในรางกายมนุษยทั้งกอนตายและหลังตายไมมี เพราะไมมีตัวตนใหเห็น 3. โลกหนา เทวดา หรือสัตวโอปปาติกะไมมี ขั้นตอนการวิจัย ในเมื่อต้ังขอสังเกตอยางนี้ ขอใหมาดูกระบวนการวิจัยของพระเจาปายาสิ เราจะเห็นวา แมจะเปนวิธีแบบโบราณ แตก็ใหขอคิดหลายประการ

Page 146: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 142

ขอสมมุติฐานที่วา “ไมมีผลตอบสนองการทําบุญ หรือ ทําบาป” ขั้นที่ 1 เก็บรวบรวมขอมูล 1. ส่ังใหคนจะตายกลับมาบอก 1.1 สั่งคนที่ทําบาปมาก ถาตายไปแลวตองตกนรกแน ๆ ใหกลับมาบอก

1.2 สั่งใหคนที่ทํากุศลมาก ถาตายไปแลวตองขึ้นสวรรคแน ๆ ใหกลับมามาบอก

1.3 ถาคนทําดีแลวขึ้นสวรรคจริง ๆ เพราะเหตุใด นักบวชที่ตัวเองประพฤติดีแลวไมรีบฆาตัวตายไปเสวยในสวรรค

ขอสมมุติฐานที่วา “ชีวะหรือวิญญาณในรางกายเราไมมี” ขั้นที่ 2 ลงมือพิสูจนและตรวจสอบ (อาศัยนักโทษประหารเปนเครื่องมือคนควา) 1. ใหตมทั้งเปนเพื่อดูวิญญาณแยกออกจากรางกาย 2. ใหทุบตีจนตายอยาใหมีบาดแผล 3. ใหตัดเปนชิ้นแลทีละชิ้นเพื่อคนหาวิญญาณ 4. ใหทดสอบดวยน้ําหนัก โดยชั่งกอนตายและหลังการตาย

ขอสมมุติฐานที่วา “โลกหนา และสัตวผูเกิดแบบโอปปาติกะ เชน เทวดา ไมมี” ขั้นที่ 3 พิสูจนโลกหนา และเทวดา 1. ถาโลกหนาและเทวดามีจริง ก็ตองมีคนเห็น สิ่งใดคนไมเห็น สิ่งนั้นยอมไมมี ขอโตแยงของ “พระกุมารกัสสปเถระ” ตอทฤษฎีของปายาสิ ขั้นที่ 1 การรวบรวมขอมูลบกพรอง 1.1 เขาไมอนุญาตใหมาบอก (คนตองโทษไมไดรับสิทธิพิเศษออกมาได) 1.2 เพลินไปลืมมาบอก หรือไมอยากมาบอก (สวรรคสุขสบายและเวลาชาวามนุษย) 1.3 อยาชิงสุกกอนหาม (ยังไมถึงเวลา ใจเร็วดวนได เสียคนและเสียของ) ขั้นที่ 2 พิสูจนผิดวิธี ใชเครื่องมือผิดประเภท 2.1 วิญญาณ (ชีวะ) ไมใชรูปธรรมเหมือนนก เหมือนพยาธิจะตองแตะตองสัมผัสได 2.2 เขาใจผิดวาชีวะคือรางกายเปน ๆ และมีความรูสึก 2.3 ไมเขาใจวิธีคนหา เสียเวลาและเสียของ ขั้นที่ 3 เพราะไมเห็นจึงไมมี 3.1 สิ่งที่ไมเห็น ไมอาจกลาวไดวา ไมมี ดังคนตาบอด ปฏิเสธสีแสง

3.2 ตัวเองเปนเกณฑวัดที่สมบูรณ เชื่อไดแลวหรือ ขอสังเกตอื่น ๆ ที่ไมเห็นดวย เชน 1. วิญญาณมาแตไหน เพราะเหตุไรประชากรจึงเพิ่มจํานวนมากเปนทวีคูณ 2. เพราะเหตุไร มนุษยจึงไมสามารถระลึกชาติไดทุกคน

Page 147: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 143 หลักยืนยันการตายแลวเกิด 1. หลักทั่วไป

1) ชีวิตเปนกระแสที่ไหลไปในกาล-อวกาศตามกฎแหงสาเหตุ - ผล หรือกฎแหงกรรม 2) ไมมีใครกําหนดรูจุดเริ่มตนชีวิตวามีมาตั้งแตเม่ือใด แตชีวิตจะสิ้นสุดเมื่อถึง นิพพาน 3) ชีวิตในโลกนี้ เปนชวงหนึ่ง ของชวงตาง ๆ ของชีวิตที่ผานมาในอดีต และจะมี ตอไปอีกในอนาคต

2. เหตุผลยืนยันและสนับสนุนการตายแลวเกิด 1) มีหลักฐานอางอิงในพระไตรปฎก (เรื่องชาดกที่เลาเรื่องการเกิดในอดีตชาติ) 2) พระพุทธเจาตรัสไวจากประสบการณ ดวยบุพเพนิวาสานุสติญาณ 3) การปฏิบัติตามหลักจริยธรรมเพื่อการหลุดพนจะไรความหมาย ถาตายแลวสูญ 4) ทุกชีวิตมีกลไกเพื่อการสืบตอสายชีวิตเอาไวโดยธรรมชาติ 5) ความยุติธรรมตามกฎแหงกรรมจะไมมีในโลก ถาคนทําดีหรือชั่ว ตองสิ้นชีวิตเสีย กอน จึงจะไดรับผลกรรมนั้น 6) มีคนบางคนระลึกชาติกอนไดอยางถูกตอง

(1) จําชาติกอนไดเอง ดังที่ Dr.Ian Stevenson จิตแพทยแหง มหาวิทยาลัย เวอรจีเนีย ศึกษาเรื่องนี้อยางจริงจัง (2) จําไดเพราะถูกสะกดจิต (Bridy Murphy) (3) ระลึกไดดวยญาณวิเศษ (บุพเพนิวาสานุสติญาณ) 7) คนเราเกิดมาไมเหมือนกัน มีทฤษฎีอธิบาย 4 คือ (1) ทฤษฎีเทวลิขิต (Divine Predestination) (2) ทฤษฎีพันธุกรรม (Heredity) อธิบายไดแตความแตกตางทางกายภาพ (3) ทฤษฎีสิ่งแวดลอม (Environment) (4) ทฤษฎีกฎแหงกรรม (The Laws of Karma) 8) ปรากฎการณทางจิตวิญญาณ (Psychic Phenomena) แบบตาง ๆ เชน (1) การฝนเห็นผูตาย ติดตอกันไดอยางเขาใจกันและมีความหมาย (2) การติดตอกับผูตาย โดยการเขาทรง (3) การเลนผีถวยแกว (Ouija board) (4) การปรากฎตัวของผูตายดวยอาการตาง ๆ กระบวนการตายแลวเกิด 1. พระพุทธเจาทรงพบรายละเอียดของขั้นตอนการตายแลวเกิด

Page 148: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 144 2. เม่ือจวนจะตาย อวิชชา สังขาร (พลังกรรม) ภวตัณหาและอุปาทาน จะเปนปจจัยใหเกิดการสืบตอปฏิสนธิวิญญาณ (วิญญาณํ พีช ) คันธัพพะ หรือ สัมภเวสี) ขึ้น 3. ปฏิสนธิวิญญาณจะถูกนามรูป (รูปชีวิตเบื้องตนในครรภมารดา) ดึงดูดไปเกิด ปฏิจจสมุปบาทแนวขามภพ - ชาติ

ชาตินี้ ชาติหนา

กอนตาย จวนตาย ตายแลว ในครรภ นอกครรภ อวิชชา สังขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชาติ ชรา มรณะ ฯลฯ

สังขาร (พลังกรรม ) ตัณหา อุปาทาน

ปฏิสนธิวิญญาณ วิญญาณ คันธัพพะ สัมภเวสี

ภพ ( 3 ) ชาติ ( กายใน) นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ

ชาติ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข ฯลฯ

กําเนิด 41

สัตวทั้งหลายที่ถือกําเนิด ตามหลักพระพุทธศาสนากลาววา มี 4 แบบ อยางใดอยางหนึ่ง คือ 1. อัณฑชะ เกิดในฟองไขกอน แลวออกมาฟกเปนตัวขางนอกครรภ เชน เปด ไก

2. ชลาพุชะ เกิดในครรภ เปนตัวเต็มตัว เชน มนุษย โค แมว ชาง 3. สังเสทชะ เกิดเพราะความชื้นแฉะหมักหมม ดังหนอนบางชนิด 4. โอปปาติกะ เกิดผุดขึ้นทันทีเปนตัวตน เชน เทวดา เปรต ครั้นตายไปก็จะไมมีซากเหลือ ดังที่พระพุทธเจาตรัสถึงกําเนิดทั้ง 4 แกพระสารีบุตรวา

“ดูกรสารีบุตร กําเนิด 4 ประการเหลานี้แล 4 ประการเปนไฉน ? คือ อัณฑชะกําเนิด ชลาพุชะกําเนิด สังเสทชะกําเนิด โอปปาติกะกําเนิด

ดูกรสารีบุตร ก็อัณฑชะกําเนิดเปนไฉน ? สัตวทั้งหลายเหลานั้น ชําแรกเปลือกแหงฟองเกิด นี้เราเรียกวา อัณฑชะกําเนิด

1 ที. ปา. 11/263/242.

Page 149: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 145 ดูกรสารีบุตร ชลาพุชะกําเนิดเปนไฉน ?

สัตวทั้งหลายเหลานั้นใด ชําแรกไส [มดลูก] เกิด นี้เราเรียกวา ชลาพุชะกําเนิด ดูกรสารีบุตร สังเสทชะกําเนิดเปนไฉน ?

สัตวทั้งหลายเหลานั้นใด ยอมเกิดในปลาเนา ในซากศพเนา ในขนมบูด หรือในน้ําครํา ในเถาไคล [ของสกปรก] นี้เราเรียกวา สังเสทชะกําเนิด

ดูกรสารีบุตร โอปปาติกะกําเนิดเปนไฉน? เทวดา สัตวนรก มนุษยบางจําพวก และเปรตบางจําพวก นี้เราเรียกวา โอปปาติกะกําเนิด” 2

กําเนิดมนุษยในครรภ ปจจัยที่ทําใหมนุษยเกิด หรือต้ังครรภ มี 3 ประการ คือ 1. มารดาบิดารวมกัน คือ การผสมระหวางไขของมารดาและน้ําเชื้อของบิดา ( มาตาปตโร จ สนฺนิปติตา โหนฺติ) 2. มารดามีระดู อยูในวัยเจริญพันธุ (มาตา จ อุตุนี โหติ) 3. ปฏิสนธิวิญญาณเขาเกิด ในไขที่ผสมเชื้อแลว (คนฺธพฺโพ ปจฺจุปฏฐิโต โหติ)

ดังพระบาลีที่ตรัสแสดงแกหมูพราหมณในอัสสลายนสูตร ตอนหนึ่งวา “การต้ังครรภจะมีไดดวยอาการอยางไร คือ ในโลกนี้ มารดาและบิดาอยูรวมกัน 1 มารดามีระดู 1

สัตวผูจะเกิดในครรภปรากฏ 1 การตั้งครรภยอมมีไดเพราะความประชุมพรอมแหงเหตุ 3 ประการนี้” 3

คําถาม : การโคลนมนุษย (การปลูกถายชีวพันธุกรรม) จะอธิบายปจจัยการเกิดที่เกิดไดอยางไร ขั้นตอนการพัฒนาการของชีวิตมนุษยที่อยูในครรภมารดา มนุษยอยูในครรภมารดา ประมาณ 42 สัปดาห แตละชวงนับแตการถือปฏิสนธิ ทานแสดงการพัฒนาการของตัวออนในครรภ ดังนี้ 4 สัปดาหที่ ระยะพัฒนาการ

1 กลละ น้ําใส ( เปนเมือก ) 2 อัพพุทะ เปนเมือกขนสีเหมือนสีลางเนื้อ 3 เปสิ เปนชิ้นเนื้อเยื่อ 4 ฆนะ เปนกอนเนื้อ 5 ปญจสาขา หรือ ปสาขา กอนเนื้องอกออกเปน 5 ปุม ศีรษะ แขนและขา

6 - 8 สวนประกอบอื่น ๆ เกิดขึ้น 9 - 10 มีกระดูกสันหลัง

14 มีกลามเนื้อชัดเจน

2 ม. มู. 12 /169/147. 3 ม. ม. 13/571/628. 4 สํ. ส. อ.1/235/284 - 286; วิมุตติมรรค. หนา 165 - 166 และ หนา 333 - 334.

Page 150: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 146

17 มีผิวหนังหุม 20 ปรากฏทวารทั้ง 9 ( ตา หู จมูก ปาก เพศของทารกปรากฏ ) 28 มีขนปรากฏ 42 คลอด (10 เดือน) อาจคลอดกอนกําหนดไดต้ังแต 31-35 สัปดาห (7-9 เดือน)

ดังบาลีในอินทกสูตรวา “สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคประทับอยูบนภูเขาอินทกูฏ ซึ่งอินทกยักษครอบครอง เขตกรุงราชคฤห ฯ ครั้งนั้นแล อินทกยักษเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแลวไดกราบทูลดวยคาถาวา

"[ถา] ทานผูรูทั้งหลายกลาววา รูปหาใชชีพไม สัตวนี้ จะประสพ รางกายนี้ไดอยางไรหนอ กระดูกและกอนเนื้อ จะมาแตไหน สัตวนี้จะติดอยูในครรภไดอยางไร"

พระผูมีพระภาคตรัสวา "รูปนี้เปนกลละกอน จากกลละเปนอัพพุทะ จากอัพพุทะเกิดเปนเปสิ จากเปสิเกิดเปนฆนะ

จากฆนะเกิดเปน ๕ ปุม (ปญจสาขา) ตอจากนั้น มีผมขน และเล็บ (เปนตน) เกิดขึ้น มารดาของสัตวในครรภบริโภค ขาวน้ําโภชนาหารอยางใด สัตวผูอยูในครรภมารดา ก็ยัง อัตภาพใหเปนไปดวยอาหารอยางนั้นในครรภนั้น” 5

ภพหรือภูมิพรอมดวยสาเหตุที่พาไปเกิด

ภพ 3 ภูมิ 31 เปนทฤษฎีจักรวาลวิทยาของพระพุทธศาสนา (Buddhist Cosmology) 1. พุทธปรัชญา มองเอกภพ (Universe) คลายดาราศาสตรสมัยใหม เอกภพ (สากลจักรวาล) ประกอบดวยโลก (Planet) จักรวาล (Solar System) โลกธาตุ (Galaxy) มีขนาดตาง ๆ คืออยางเล็ก อยางกลาง อยางใหญ

2. มีสัตวหลายประเภทอยูในเอกภพ ภพ ภูมิ ลักษณะ การเสวย คติ

1. อรูปภพ อรูปพรหม 4 พลังงานจิต สุขในฌาน สุคติ 2. รูปภพ รูปพรหม 16 สสารละเอียด สุขในฌาน สุคติ เทวดา 6 สสารละเอียด กามทิพย สุคติ มนุษย 1 สสารหยาบ กามหยาบ สุคติ 3. กามภพ ดิรัจฉาน 1 สสารหยาบ กามหยาบ ทุคติ

5สํ.ส. 15/303/801-803.

Page 151: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 147 อสุรกาย 1 สสารละเอียด กามละเอียด ทุคติ เปรต 1 สสารละเอียด กามละเอียด ทุคติ นรก 8 (457) สสารละเอียด กามละเอียด ทุคติ ภพ 3 1. กามภพ ภพ เปนอยูของสัตวผูเสพกาม ( สิ่งที่นาใครนาพอใจ ) 2. รูปภพ ภพเปนที่อยูของพรหมผูที่บรรลุฌาน มีรูปรางกายที่ละเอียดที่สุดกวาเทวดา 3. อรูปภพ ภพเปนที่อยูของพรหมที่ไมมีรูปราง มีแตนามขันธ 4 (พลังงานจิต) ภูมิ 31 ภูมิ คือถิ่นที่อาศัยของสัตวที่จะไปถือกําเนิดอยูอาศัย เปนสิ่งเดียวกันกับภพ เพียงแตขยายรายละเอียดออกเปนชั้น ๆ ได 31 ชั้น 1. กามภูมิ 11 ชั้น แบงยอยเปน 3 ชั้น 1.1 อบายภูมิ (แดนที่ปราศจากความเจริญ) หรือทุคติ มี 4 แดน

1.1.1 นรก แดนไรสุข (โทสจิต) นรก มี 457 ขุม (นรกใหญ 8 ขุม) 1.1.2 เปรต แดนอดอยากทรมาน (โลภจิต) 1.1.3 อสุรกาย แดนเศราหมอง (โทสจิต) 1.1.4 ติรัจฉาน แดนที่ลําบาก ที่อยูอาศัย การดําเนินชีวิต (โมหจิต)

หมายเหตุ “เม่ือจิตเศราหมอง ตายลงตองไปเกิดแดนทุคติแนนอน” 6

1.2 มนุษยภูมิ 1 (มนุษยธรรม เบญจศีล) สุคติภูมิ มนุษย 4 จําพวก 1. มืดมามืดไป เกิดเพราะผลกรรมไมดี และยังทํากรรมชั่ว 2. มืดมาสวางไป เกิดเพราะผลกรรมไมดี แตทํากรรมดี 3. สวางมามืดไป เกิดมาดวยกรรมดี แตหลงทําชั่ว 4. สวางมาสวางไป เกิดมาดวยกรรมดี และตั้งมั่นทําความดี 7

ในโลกมนุษย มนุษยมีเสวยความสุขที่สุด คือ พระเจาจักรพรรดิ 8 เพราะมีคุณสมบัติ 4 ขอคือ 1. รูปรางงดงาม 2. อายุยืนกวามนุษยธรรมดา 3. มีอาพาธ โรคนอย สุขภาพดี

6 ม.มู. 12/64/92. 7 สํ.สคาถ. 15/136/394. 8 พระธรรมธีรราชมหามุนี ( วิลาส ญาณวโร), ภูมิวิลาสินี , หนา 351 - 357 .

Page 152: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 148 4. เปนที่รักและเคารพของพสกนิกร และมีสมบัติที่เปนมงคลดีเลิศดุจดังแกว 7ประการ คือ 1. จักรแกว 2. ชางแกว 3. มาแกว 4. แกวมณี 5. นางแกว (มเหสี) 6. ขุนคลังแกว และ 7. ปริณายกแกว 9

1.3 เทวภูมิ 6 ชั้น (มหากุศลจิตที่ประกอบในสุจริต 3 โดยธรรมพรอมการอธิษฐาน) ในโลกของเทวดา เปนภูมิที่ดีเลิศวามนุษยทุกชั้น เปนขั้นของการเสวยผลของความดี ดวยของที่เปนทิพย 10 อยาง 10 คือ 1. อายุ 2. วรรณะ 3. สุข 4. ยศ 5. อธิปไตย 6. รูป 7. เสียง 8. กลิ่น 9. รส และ 10. โผฏฐัพพะ (ผัสสะที่ละเอียดออน) 1.3.1 จาตุมหาราชิกา มีอายุ 500 ปทิพย 1.3.2 ดาวดึงส มีอายุ 1,000 ปทิพย 1.3.3 ยามา มีอายุ 2,000 ปทิพย 1.3.4 ดุสิต มีอายุ 4,000 ปทิพย 1.3.5 นิมมานรดี มีอายุ 8,000 ปทิพย 1.3.6 ปรนิมมิตวสวัสดี มีอายุ 16,000 ปทิพย หมายเหตุ “เม่ือจิตไมเศราหมอง ตายลงตองไปเกิดแดนสุคติโลกสวรรคแนนอน” 11

2. รูปภูมิ 16 ชั้น (รูปฌานกุศลจิต) แบงตามลําดับการไดฌานเปน 4 ชั้น คือ

2.1 ปฐมฌานภูมิ 3 มีอายุสูงสุด 1 มหากัลป 2.1.1 พรหมปาริสัชชา 2.1.2 พรหมปุโรหิตา 2.1.3 มหาพรหมา

2.2 ทุติยฌานภูมิ 3 มีอายุสูงสุด 8 มหากัลป 2.2.1 ปริตตาภา 2.2.2 อัปปมาณาภา 2.2.3 อาภัสสรา

2.3 ตติยฌานภูมิ 3 มีอายุสูงสุด 64 มหากัลป 2.3.1 ปริตตสุภา 2.3.2 อัปปมาณสุภา 2.3.3 สุภกิณหา

2.4 จตุตถฌานภูมิ 7 ชั้นแบงเปนพรหมดังนี้ 2.4.1 เวหัปผลา 1 มีอายุ 500 มหากัลป

9 ที.ปา. 11/51/34. 10 องฺ อฏฐก. ขอ 126 หนา 245 และ พระธรรมธีรราชมหามุนี ( วิลาส ญาณวโร ) , ภูมิวิลาสินี , หนา 261 . 11 ม.มู. 12/64/92.

Page 153: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 149 2.4.2 อสัญญีพรหม 1 ไมมีจิต มีแตรางกาย (พรหมลูกฟก) มีอายุ 500 มหากัลป 2.4.3 สุทธาวาส 5 ชั้น ที่อยูของผูบริสุทธิ์ (อนาคามีบุคคล)

2.4.3.1 อวิหา มีอายุ 1,000 มหากัลป 2.4.3.2 อตัปปา มีอายุ 2,000 มหากัลป 2.4.3.3 สุทัสสา มีอายุ 3,000 มหากัลป 2.4.3.4 สุทัสสี มีอายุ 4,000 มหากัลป 2.4.3.5 อกนิฏฐา มีอายุ 5,000 มหากัลป

3. อรูปภูมิ 4 ชั้น (อรูปฌานกุศลจิต) 1. อากาสานัญจายตนะ มีอายุ 20,000 มหากัลป 2. วิญญาณัญจายตนะ มีอายุ 40,000 มหากัลป 3. อากิญจัญญายตนะ มีอายุ 60,000 มหากัลป 4. เนวสัญญานาสัญญายตนะ มีอายุ 84,000 มหากัลป 12

หมายเหตุ : การนับอายุเทวดาและพรหม มีหลักฐานปรากฏในอรรถกถา และภูมิวิลาสินี13

สัตวตาง ๆ ในเอกภพ ตามทัศนะของ Isacc Assimov (ไอแซกซ อัซซิมมอฟ) ชาวรัสเซีย ไอแซกซ อัซซิมมอฟ ชาวรัสเซีย ใหความเห็นวา ในสุริยจักรวาล ยอมมีสัตวอาศัยอยูไมใชเฉพาะในโลก (the Earth) นี้เทานั้น ในดาวดวงอื่น ยอมมีสัตวที่อยูในรูปแบบอื่นอาศัยอยู เชน

ชนิดสัตว ภูมิที่อาศัยอยู

1 . Fluorosilicone (ฟลูโอซิลิโคลน) Fluorosilicon อุณหภูมิรอนมาก ( ดาวพุธ ) 2 . Fluorocarbon (ฟลูโอคารบอน) Sulfur กํามะถันเดือด ( ดาวศุกร ) 3 . NA / protein (O) (โปรตีน) Water ( โลกเรา ) 4 . NA / protein (N) Ammonia (แอมโมเนียเหลว) หนาวจัด พฤหัส 5 . Lipid Methane (กาซมีเธนเหลวเปนน้ํา) เสาร 6 . Lipid Hydrogen ไฮโดรเจนเหลว (ยูเรนัส)

สัตวที่อาจมีได

1. Metal Beings ( สัตวโลหะ ) อยูในพลังงาน อะตอม ( atomic energy ) 2. Vaporous Beings ( สัตวตัวเบา ) อยูในกาซรอน ( Gas ) 3. Energy Beings ( สัตวพลังงาน ) อยูในดวงดาว ( Star ) 4. Mental Beings ( สัตวมีแตจิต ) อยูในอวกาศ ( Space )

12 ม.มู. 12/519-527/482-486. 13 พระธรรมธีรราชมหามุนี. ภูมิวิลาสินี. หนา 346 - 349 และ หนา 402 - 405.

Page 154: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 150

Page 155: Fundamentals of Buddhism

A การสนทนาระหวางพระเจาปายาสิกับกุมารกัสสปเถระ

ปรัชญา การวิจัย/พิสูจน ขอโตแยง

1. โลกหนาไมมี **พระจันทรและพระอาทิตยอยูในโลกนี้หรือโลกหนา ? อยูในโลกหนา

2.ไมมีผลบุญ/บาป คนทําชั่ว ตองตกนรก อบายภูมิ ขอรองใหกลับมาบอก แตไมมา

ไมไดรับอนุญาตใหกลับมา เหมือนนักโทษ

คนทําดี ยอมข้ึนสวรรค ไมกลับมาบอก มนุษยไมสะอาด มีกลิ่นเหม็นฟุงไปรอยโยชน เปรียบคนตกหลุมคูถ

คนทําดี มีศีล 5 บริบูรณ เกิดในสวรรคชั้นดาวดึงส 100 ปของโลกมนุษย เทากับ 1 คืน 1 วัน ของดาวดึงส

ใครกับบอกทาน ทานรูไดไงวา เทวดาชั้นดาวดึงสมีอายุเทานั้น

มีผูรูไดญาณพิเศษบอกเอาไว เปรียบคนตาบอดแตกําเนิด ไมเคยสีตาง ๆ จึงบอกวาสีตาง ๆ ไมมี

คนมีศีลทําไมไมฆาตัวตายเสียละ? ถางั้น -ไมชิงสุกกอนหาม

-ไมบมผลที่ยังไมสุกใหรีบสุก

-ยอมรูจักรอผลที่สุกเอง

-ย่ิงอยูนาน ก็ย่ิงทําประโยชนไดมาก

-ย่ิงอยูนาน จึงประสพบุญมาก

-อุปมา พราหมณมีภรรยา 2 คน ภรรยาคนหนึ่งมีลูก 10 ป แต

อีกคนหนึ่งตั้งครรภจวนคลอด ผาทองเพื่อพิสูจนวาเปนชาย/

หญิง

3. วิญญาณไมมี ตมในหมอ เหมือนฝนเที่ยวชมสวน ทามนางสนม

ชั่งน้ําหนัก ระหวางคนตายกับคนเปน ถามีจริงคนเปนตองหนักกวา?

-คนที่มีชีวิตอยูประกอบดวยอายุ ไออุน วิญญาณ จึงมีน้ําหนัก

เบากวา -เปรียบ เหล็กแทงกับเหลว (ไฟและลม)

ฆาโดยใหชอกช้ํา เพื่อดูวิญญาณ คนเปาสังข เกิดเสียง (คน/ความพยายาม/ลม)

เชือดผิวทีละชิ้นเปนชั้น ๆ ไป เพื่อดูวิญญาณ อุปมาเด็กที่อยูกับชฎิลหาไฟโดยไมถูกวิธี ดวยการผาไมเปนซีก ๆ

Page 156: Fundamentals of Buddhism

บทที่ 21 บทสรุป : ลักษณะสําคัญของพุทธธรรม

ลักษณะสําคัญของพุทธธรรม หลักพระพุทธศาสนา หรือพุทธธรรม ตามที่เราไดศึกษามา ทําใหเราทราบลักษณะที่สําคัญของพระพุทธศาสนา ถาจะพิจารณาเนื้อหาของพุทธธรรมโดยใชกรอบแนวความคิดทางปรัชญาหรือแนวความคิดทางตะวันตก พระพุทธศาสนาจะมีลักษณะสําคัญโดยสรุป ดังนี้ คือ 1. เปนเหตุผลนิยม (Rationalism) สอนตามหลักเหตุผล เคารพเหตุผล 2. เปนปญญานิยม (Reasoning) เนนปญญามากกวาศรัทธา 3. เปนมนุษยนิยม (Humanism) เปนศาสนาโดยมนุษย เพ่ือมนุษย ของมนุษย 4. เปนปฏิบัตินิยม (Pragmatism) เนนการปฏิบัติและสอนสิ่งที่ปฏิบัติได ทําเอาไดดวยตนเอง 5. เปนธรรมชาตินิยม (Naturalism) สอนตามความเปนจริงในธรรมชาติ 6. เปนสากลนิยม (Universal) วาดวยความจริงสากล ใคร ๆ ก็ปฏิบัติได มีอยูทุกเมื่อและทุกแหง 7. เปนประชาธิปไตย (Democratic) ใหเสรีภาพทางใจแกตน ใหเกียรติและเคารพ ภูมิปญญา 8. เปนสันตินิยม (Pacifism) สอนความรัก ความเห็นใจที่มีสิ่งประจักษคือ ทุกขเปนฐาน ไมเคยมีสงครามในพระนามของพระพุทธเจา 9. เปนศาสนาสมบูรณ (Complete Religion) เพราะสอน : 9.1 ประโยชนปจจุบัน 9.2 ประโยชนเบื้องหนา 9.3 ประโยชนสูงสุด

Page 157: Fundamentals of Buddhism

เอกสารอางอิง

กรมการศาสนา. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ : กระทรวง ศึกษาธิการ, 2540.

กีรติ บุญเจือ. สารานุกรมปรัชญา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2522. คณาจารยแหงโรงพิมพเล่ียงเชียง. พุทธศาสนาสุภาษิต เลม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเล่ียงเชียง, 2535. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. “พุทธศาสนศึกษา ปที่ 4 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2540 จํานงค ทองประเสริฐ. ปรัชญาตะวันตกสมัยโบราณ. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2533. ไต ตามทาง. “ธรรมะใตธรรมาสน”. หนังสือพิมพขาวสด ปที่ 8 ฉบับที่ 2796 วันที่ 27 กรกฎาคม

2541

ทอง หงศลดารมภ. ธรรมนีติ (แปล). กรุงเทพฯ : มปท, 2533. ปฐมสมโพธิ (ภาษบาลี). ฉบับคัดลอกจากคัมภีรใบลานอักษรขอม. สหธรรมิก. 2537.

ประพัฒน โพธ์ิกลางดอน,ผศ. จริยธรรมกับชีวิต. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตรและ

สังคมศาสตร สถาบันราชภัฏเชียงใหม. 2542. ประเวศ วะสี. พุทธธรรมกับสังคม 1. กรุงเทพ ฯ : หมอชาวบาน, 2539. พระไตรปฎก ฉบับสยามรัฐ (ฉบับบาลีอักษรไทย). กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2525.

พระไตรปฎก ฉบับคอมพิวเตอร ชุดภาษาไทย พรอมอรรถกถาและฎีกา. (Budsir/tt for windows). กรุงเทพฯ : สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยมหิดล.

พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย, 2533.

พระธรรมปฎก (ประยุทธ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพ ฯ : มหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2535.

พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธธรรม. กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2532.

พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). ทําไมคนไทยจึงเรียนพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม,

2533.

พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พระไตรปฎกและอรรถกถาฉบับคอมพิวเตอร. โครงการพัฒนาระบบ

คอมพิวเตอรเพื่อการศึกษาพระไตรปฎกและอรรถกถา ตามพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระ

เจาอยูหัว สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัย มหิดล. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,

2535. พระราชวรมุนี (ป.อ.ปยุตโต). พุทธธรรม. กรุงเทพฯ : คณะระดมธรรม, 2525.

Page 158: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 153

พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). กรรม การเวียนวายตายเกิด. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสยาม,

2535. พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). พุทธประวัติ. พิมพในชื่อวันวิสาขบูชาและแนวทางในการ

ปฏิบัติ. กรุงเทพ ฯ : สนง. คณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ, 2536. พระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารีมหาเถระ ร.บ.). พุทธประวัติทัศนศึกษา. กรุงเทพฯ : กองทุนบุญนิธิหอ

ไตร, 2539.

พระธรรมมธีรราชมหามุนี (วิลาศ ญาณวโร). ภูมวิลาสิน.ี กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพมิตรสยาม, 2535. พญาลิไทย. ไตรภูมิกกถาหรือไตรภูมิพระรวง, ฉบับตรวจสอบชําระใหม ของ กรมศิลปากร. กรุงเทพฯ

: กรมศิลปากร, 2526.

พญาลิไทย. ไตรภูมิกถา ฉบับวรรณกรรมเอเชีย เลม 1 พากยไทย อังกฤษ พิมพ 1985. พิสิฏฐ โคตรสุโพธ์ิ. ศาสนาเบื้องตน. เชียงใหม: บี.เอส. การพิมพ, 2540. พุทธทาส ภิกขุ. พุทธประวัติจากพระโอษฐ. กรุงเทพ ฯ : ธรรมทานมูลนิธิ 2523.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกประวัติและความสําคัญ. กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลัย, 2535.

วศิน อินทสระ. หลักกรรมและการเวียนวายตายเกิด. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 8/2532.

วิสุทธิมรรค แปล ภาค 3. กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 3/2527.

สนั่น ชยานุกูล. หลักธรรมและแนวปฏิบัติของเถรวาทและอาจริยวาท. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพการ

ศาสนา, 2523.

สมเด็จพระสังฆราช (ปุสฺสเทว). ปฐมสมโพธิ ธรรมสมบัติ หมวดที่ 1. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, 21/2531.

สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. ธรรมวิจารณ. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย,

20/2501.

สมภาร พรมทา. พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร. กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2534.

สุชีพ ปุญญานุภาพ. พระไตรปฎกฉบับสําหรับประชาชน. กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2535.

สุชีพ ปุญญานุภาพ. ประวัติศาสตรศาสนา. กรุงเทพฯ : รวมสาสน, 2511.

เสฐียร พันธรังษี. ศาสนาเปรียบเทียบ. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2534.

แสง มนวิทูร. ศาสนวงศหรือประวัติศาสนา (งานแปล). กรุงเทพ ฯ : รุงเรืองธรรม, 2506. แสง จันทรงาม. ศาสนศาสตร. กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2535. แสง จันทรงาม. วิธีสอนของพระพุทธเจา. กรุงเทพ ฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2540. แสวง อุดมศรี. การปกครองคณะสงฆไทย. กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, มปป.

Page 159: Fundamentals of Buddhism

หลักพระพุทธศาสนา (Fundamentals of Buddhism) 154

หนังสือพิมพมติชนรายวัน. ปที่ 21 ฉบับที่ 7383 วันที่ 26 พฤษภาคม 2541 หนังสือพิมพมติชน. ฉบับวันอาทิตยที่ 31 พฤษภาคม 2541 ปที่ 21 ฉบับที่ 4388 หนา 8

อรรถกถาพระไตรปฎก ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย,2534.

อุดม รุงเรืองศรี. เทวดาพุทธ. เชียงใหม : มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 2523.

http://www.mahidol.ac.th/budsir/ http://www.mahidol.ac.th/budsir/history.html http://www.mahidol.ac.th/budsir/contents2.htm http://www.mcu.ac.th/mcu10a.html http://www.mcu.ac.th/mcu10p.html K . R . Sundararajan and Friends. Hinduism. Patiala : Punjabi University. 1969. Phra Rajavaramuni (P.A.). Thai Buddhist World. Bangkok : Mahachulalongkorn Press,

2533. P.V.Bapat. 2500 Years of Buddhism. Delhi : Buplication Division, Ministry of Information

and Broadcasting, 1956. Ruth Reyna. Introduction to Indian Philosophy. New Delhi : Tata McGraw - Hill

Publisshing Co. Ltd., 1971. S. Radhakrishnan. Indian Philosophy, Vol. One. London : George Allen & Unwin, 1989

S.N.Sharma. A History of Vedic Literature. Varanasi : Chowhamba Sanskrit Series Office, 1973.

The Ramakrishna Mission of Culture. The Cultural Heritage of India, Vol. I. Calcutta :

The Ramakrishna Mission, Institute of Culture, 1982.

Page 160: Fundamentals of Buddhism

แกไขคําผิด ในหนังสือ หลักพระพุทธศาสนา หนา บรรทัด ขอความที่ผิด แกเปน

ฉ 26 …ไดนํามาอาง… …ไมไดนํามาอาง…

26 2 ...ตอการเดินชีวิต… ...ตอการดําเนินชีวิต… 29 20 (เชิงอรรถ) (18) …เต็มมเปนรอง (18)…เต็ม ไมเปนรอง 39 29 (เชิงอรรถ) กตฺอชลี… กตอ ฺชลี … 50 31 “พระสารีบุตร” (ลูกนางโมคคัลลี)….. “พระสารีบุตร” (ลูกนางสารี) เปนอัครสาวกฝายขวา เลิศทางมี

ปญญา โกลิตะ รูจักกันในนามวา “พระโมคคัลลานะ” (ลูกนางโมคคัลลี) เปนอัครสาวกฝายซาย เลิศทางมีฤทธิ์

96 11 …รวมเปนระดับคือ… …รวมเปนสามระดับคือ… 98 24 …การเคลื่อนไหรูความหมาย… …การเคลื่อนไหวใหรูความหมาย… 100 4 …สภาพที่ปรุงแตงใหจิตใหดี… …สภาพที่ปรุงแตงจิตใหดี… 100 20 1) ปกิณณกเจตสิก 6… 2) ปกิณณกเจตสิก 6… 106 19 1.2 อรูปาวจรภูมิวิญญาณ 4… 1.3 อรูปาวจรภูมิวิญญาณ 4… 109 7,8

…แตละอยางไมตัวตันของมันเองเปนอิสระลวนเกิดดับตอกันไปเร่ือง ไมคงที่…

...แตละอยางไมมีตัวตนของมันเองเปนอิสระลวนเกิดดับตอกันไปเร่ือย ๆ ไมคงที่…

109 12 ...เที่ยงแทคงทีอยางหนึ่ง… ...เที่ยงแทคงที่อยางหนึ่ง… 109 26 ...แสดงในคนละแงหรือคนละแนว… ...แสดงในคนละแงหรือคนละแนว… 110 15 3. ตาวดาลิโก เพราะ… 3. ตาวกาลิโก เพราะ… 112 2 …มีสภาพที่ขึ้นปจจัย… …มีสภาพที่ขึ้นอยูกับปจจัย… 131 9 ….หรือ เหตุวาท… …หรือ อเหตุวาท… 115 7 …ไมตัวตนอยูตางหายที่จะ… ...ไมมีตัวตนอยูตางหากที่จะ… 116 9 ...เชน ลัทธิฮินดู)… ...เชน ลัทธิฮินดู…

116 18 …คามถือตัวถือตน… …ความถือตัวถือตน… 119 4 ...ภาวะทีอายตนะที่เกี่ยวของ... …ภาวะที่อายตนะที่เกี่ยวของ…

119 10 …ย่ันยืนตอลดไป อยากใหดังสุญ… …ย่ังยืนตลอดไป อยากใหดับสูญ…

119 21 …การเกิดมีตัวปรากฏของ… …การเกิดมีตัวปรากฎของ…

120 11 …แมตัวอวิชชาเอง… …แมตัวอวิชชาเอง… 121 22 …ในสวนที่กลาวมาขางตนร้ัน… …ในสวนที่กลาวมาขางตนนั้น…

121 28 ...จึงมีาลภะ (การได) อษัยลาภะ... ...จึงมีลาภะ (การได) อาศัยลาภะ...

121 29 ...อาศัยมัจฉระยะ.... ...อาศัยมัจฉริยะ....

121 30 ...สือเนื่องจากอารักขะ... ...สืบเนื่องจากอารักขะ...

123 25 …ขอใหมาพิจารณา “ธรรมนิยม”… …ขอใหมาพิจารณา “ธรรมนิยาม”…

123 28 …หรือปรากฎการณธรรมชาติ”… …หรือปรากฏการณธรรมชาติ…

หนา บรรทัด ขอความที่ผิด แกไขเปน

125 2 …ฆามารดา ฆาบิด… ...ฆามารดา ฆาบิดา…

136 4 …ทําสมะเสมอ… …ทําสม่ําเสมอ…

136 10 …คือกรรที่กอใหเกิด… …คือกรรมที่กอใหเกิด…

136 11 …ชนกกรรมนี้เผลของอาจิณณกรรม… …ชนกกรรมนี้เปนผลของอาจิณณกรรม…

136 18 2.3.2 อุปปชชเทนียกรรม… 2.3.2 อุปปชชเวทนียกรรม…

136 เชิงอรรถ …หลักกรรมและการวเยนวายตายเกิด.. …หลักกรรมและการเวียนวายตายเกิด…

137 25 ....เปรต (ปรทัตตูปชี) ....เปรต (ปรทัตตูปชีวี)

138 7 7. ปตตานโมทนามัย..... 7. ปตตานุโมทนามัย.....

138 23 …ทีเสวยทุกข เพราะเศษบาปที่ทํามา… …ที่เสวยทุกข เพราะเศษบาปที่ทํามา…

Page 161: Fundamentals of Buddhism

138 12 อิทํ โน ญาตีนํ โหตุ สุขิตา โหนฺตุ ญาตโย อิทํ โน � าตีนํ โหตุ สุขิตา โหนฺตุ � าตโย

140 8 …โชคชะตาหรือหวังการชั่วเหลือ…. …โชคชะตาหรือหวังการชวยเหลือ…. 145 22 ...(มาตาปตุนํ สํวาโส)... ...(มาตาปตูนํ สํวาโส)... 145 24 ... (คนฺธพฺโพ ปจฺจุปฏฐิโต)... ...(คนฺธพฺโพ ปจฺจุปฏฐิโต)... 146 เชิงอรรถ สํ.ส. 15/235/248… สํ.ส. 15/303/801-803…

147 5-6 (ในตาราง มีเสนกั้นขางบน 3. กามภพ) ใหตัดเสนออก 148 12 1.1.2 เปรต แดนอดหยากทรมาน (โลภจิต) 1.1.2 เปรต แดนอดอยากทรมาน (โลภะจิต) 149 16 2.1.2 พรหมปุโรหิตา 2.1.2 พรหมปโรหิตา 153 33 แสง จันทรงาม, แสง จันทรงาม.