48
FUSION วารสารมากสาระ ในโลกวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนิวเคลียร Vol.1 / 2557 FREE COPY Magazine อาหาร ฉายรังสี ปลอดภัย จริงหรือ ? รูหรือไม ในอาหารก็มีรังสี Do you know หนีรอนออกไปดูโลก มหานครนิวยอรกซิตี้ Voyage Scan to Visit official website

FUSION MAGAZINE Vol.1

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Thai Nuclear Technology Science

Citation preview

Page 1: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSIONวารสารมากสาระ ในโลกวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนิวเคลียร

Vol .1 / 2557FREE COPY

M a g a z i n e

อาหาร ฉายรังสีปลอดภัยจริงหรือ?

รูหรือไม ในอาหารก็มีรังสี

Do you know

หนีรอนออกไปดูโลก มหานครนิวยอรกซิตี้

Voyage

Scan to Visit offfiicial website

Page 2: FUSION MAGAZINE Vol.1

2 FUSION MAGAZINE

Editor’s Talk

Editor’s Talk

สวัสดีทานผูอานทุกทาน Fusion Magazine (ฟวชัน)

นิวเคลียรฟวชัน เปนกระบวนการที่ทำใหเกิดพลังงาน

ในดวงอาทิตยและดาวฤกษ ที่แกนกลางของดวงอาทิตย

มีอุณหภูมิ 10-15 ลานเคลวิน ทำใหไฮโดรเจนกลายเปน

ฮีเลียมจากปฏิกิริยาฟวชัน และทำใหดวงอาทิตยมีพลังงาน

สูงมากพอ ที่จะทำใหเกิดการเผาไหมไดอยางตอเนื่อง

ซึ ่งสงผลทำใหสิ ่งมีชีวิตบนโลกดำรงอยู ได ในขณะที่

นักวิทยาศาสตรกำลังคิดคนวิธีการที่จะนำพลังงานจาก

ปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชันมาใชในโลกเรา ซึ่งคาดกันวา

ประมาณ 50 ป ตอจากน้ีจะเปนผลสำเร็จ Fusion จึงถูก

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

นำมาใชเปนชื่อของนิตยสารเผยแพรความรู ความเขาใจ

เรื่องนิวเคลียรและการใชประโยชน นิตยสารฉบับนี้ไมใช

ฉบับแรกท่ีสถาบันฯ จัดทำข้ึน แต Fusion เปนพัฒนาการ

ทางการสื่อสารความรูดานนิวเคลียรสูผูอาน ซึ่งนิตยสาร

เลมนี้ มีทั้งสาระความรูและความบันเทิง ฉบับแรกนี้

Fusion จึงขอนำเสนอประโยชนของเทคโนโลยีนิวเคลียร

กับอาหาร ซึ่งเปนหนึ่งในปจจัยสี่สำหรับการดำรงชีวิต

ของคนเรา หากทานอานและทำความเขาใจ บางทีอาจจะ

เห็นวานิวเคลียรไมใชสิ่งนากลัว ถาใชประโยชนจากมัน

และก็อยูรอบ ๆ ตัวเรานี่เอง

กองบรรณาธิการ

คณะผูจัดทำ / เจาของ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)บรรณาธิการบทความ ฝายสื่อสารองคการกองบรรณาธิการ ชนิสรา ปะระไทย นักเขียน สุรศักดิ์ พงศพันธุสุข • วรลักษณ เลิศอนันตตระกูล • ดวงฤทัย ปงใจ พิสูจนอักษร ชลาลัย อรุณรัตนศิลปกรรม บราวนแบร (ฺBrownbear)กราฟคดีไซน วรรษชล ธรรมวันชางภาพ / ตกแตง ประวิทย กิ้มถองพิมพที่ บริษัท อีเกิ้ล เปเปอร จำกัดจัดทำโดย บริษัท ไดดี โปรดักชั่น จำกัด 328 ถนนประเสริฐมนูกิจ 29 แยก 8 แขวงจรเขบัว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ 10230 Tel : 02-943-5334 Mobile : 092-758-7977

Page 3: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE

Contents

Contents04 Social Surround06 Do you know รูหรือไม ในอาหารก็มีรังสี08 Idea Design Thinkk Studio10 Cover Story อาหารฉายรังสีปลอดภัยจริงหรือ ?16 Science Tech ประโยชนของการฉายรังสีอาหาร18 Machinery Sight เครื่องฉายรังสีโคบอลต-6020 Voyage ลัดเลาะมหานครนิวยอรก22 Activities News ความเคลื่อนไหว สทน.

24 Edutainment เรียน รู เลน เทคโนโลยี28 Chill Out รานไหนดี ?30 Interview อาหารฉายรังสีชนิดแรกของไทย36 On the Earth 10 สุดยอดเมนูอาหารชั้นเลิศ40 เรื่องเลา Blogger 2 บุคคลสำคัญแหงเมืองแมนเชสเตอร42 Health มาทำ Detox กันเถอะ44 Workshop บอลลูนอวกาศ !

3

In thisissue

JOIN OUR COMMUNITY ON Thainuclearclub

2

11

3 4

Hilight

Cover Story : อาหารฉายรังสีปลอดภัยจริงหรือCover Story : อาหารฉายรังสีปลอดภัยจริงหรือ

LIKESHARE& FOLLOW

ติดตามและรวมกิจกรรมกับพวกเราไดที่

Health : Detox by Yourself

Do you know :รูหรือไม รังสีก็มีอยูในอาหาร

Voyage : ลัดเลาะมหานครนิวยอรก

Page 4: FUSION MAGAZINE Vol.1

4 FUSION MAGAZINE

Social SurroundSoc

ial Sur

roun

d

Social Surroundจักรยานไฟฟา Dezien ไอเดียสุดเจงที่เราอยากใหมีจริง ๆ กับเจา Concept Bike หนาตาสุดล้ำตัวนี้ ที่มีชื่อวา “Dezien's Levitation” ถึงแมตอนนี้จะอยูในขั้นทดสอบประสิทธิภาพ แตเราเชื่อวามันจะเปนจักรยานที่เจิดสุด ๆ ที่เหนือกวาจักรยานธรรมดาแนนอน ออกแบบใหทำจากอะคริลิก Hi-MAG (วัสดุหินสังเคราะห) เพื่อความเบาและทนทาน แถมยังทำความสะอาดไดงาย นอกจากนี้ยังสามารถปนไปแลวชารจแบตไดดวย USB Portระบบทัชสกรีนและจอแสดงผลแบบ LED อีกดวยCredit : http://dezien.com/projects/levitation/

อัจฉริยะนิวเคลียรวัยกระเตาะ !!!หนูนอยวัย 13 ป เจมี เอ็ดเวิรดส สรางปรากฎการณเปนผูที่สามารถทำการทดลอง ปฏิกิริยา "นิวเคลียรฟวชัน" ที่มี "อายุนอยที่สุดในโลก" จิม ฮูริแกน อาจารยใหญของสถาบัน เพนเวอรธัม พริออรี กลาววา "ผมรูสึกอึ้งนิดหนอย และตองขอบอกวาผมประหมาเล็กนอย ตอนที่เจมีบอกเรื่องการทดลองนี้ แตเขาสัญญากับผมวาเขาจะไมระเบิดโรงเรียน" อาจารยใหญผูนี้จึงมอบทุนแกเจมีเปนเงิน 2,000 ปอนด (ราว 1 แสนบาท) หลังจากไดทุนมาเจมีก็ส่ังซ้ือช้ินสวนและอุปกรณสำหรับการทดลองจากหลายประเทศ ทั้งลิทัวเนีย สหรัฐอเมริกาและอังกฤษ โดยทำการทดลองในชวงพักกลางวันและหลังเลิกเรียนทุกวัน เทคนิค Inertial Electrostatic Confinementเปนเทคนิคการหลอมนิวเคลียสประเภทหนึ่ง คิดคนในชวงทศวรรษที่ 1960 ใชสนามไฟฟาแรงสูงประจุพลังงานในอนุภาค (ไอออน หรืออีเล็กตรอน) ใหความรอนพวกมันจนเกิดการฟวชันในอุณหภูมิระดับที่สูงกวาพื้นผิวดวงอาทิตยCredit : Dailymailnews

ชาเขียวใคร ๆ ก็ดื่มชา นับวาเปน เทรนดใหมเลยทีเดียว ไมวาจะเดินยานแหลงชอปปง หรือรานอาหารตาง ๆ ในเมนูเครื่องดื่มหลากหลายก็หนีไมพนชาเขียว ดวยคุณประโยชนนานับประการไมวาจะแอนตี้อนุมูลอิสระก็ดี หรือตานเชื้ออักเสบในลำไส อืม.. ดีตอสุขภาพจริง ๆ แตบอกสักนิดเผื่อใครไมทราบ ชาเขียวที่ดีตองดื่มรอน ๆ นะคะ หากดื่มแบบเย็นจะเปลี่ยนสรรพคุณเปนโทษเลยละ

Page 5: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE

Social Surround

5

Social S

urround

มอสบอล มาริโมะสาหรายสัญชาติญี่ปุนที่กำลังเปนที่นิยมในบานเรามาไดสักพักแลวละ รูจักกันในชื่อ “มาริโมะ” หรือ “Moss Ball” อันที่จริงคนญี่ปุนเขาถือวาเจาสาหรายตัวน้ีเปนเคร่ืองรางนำโชค ท้ังดานความรักและโชคลาภดวยนะ ดวยสาเหตุนี้จึงทำใหหลาย ๆ คนอยากจะครอบครองเจาสาหรายหนาตานารักตัวน้ีเปนอยางมาก จึงทำใหยอดการเก็บถลมทลาย ท่ีแมกระท่ังคนไทยก็นิยมสั่งซื้อทางอินเตอรเน็ตมาเชยชม จนปจจุบันทางรัฐบาลของประเทศญี่ปุนไดมีคำสั่งหามนำมาริโมะขึ้นมาจากใตน้ำในทะเลสาบอะคังแลว เน่ืองจากเกรงวาจะสูญพันธุน่ันเองคะ ทีน้ีแหละ หากจะซ้ือมาริโมะสังเกตสักนิดนะคะ วาเปนของจริงหรือเปนแคตะไครน้ำกันแนCredit : http://www.marimo-web.org

ปลามากุโรอีกหนึ่งประเภทอาหารที่เปนที่นิยมอยางมาก นั่นคือ “ซูชิ” ซึ่งนับวาเปนอาหารญี่ปุนที่ถูกปากคนไทย โดยมีวัตถุดิบจากปลาทะเลและที่นิยมอยางมาก นั่นคือ ปลาทูนา หรือมากุโร สำหรับพันธุที่มีรสชาติเยี่ยมมาก ๆ นั่นคือ “Bluefin” ถึงแมจะมีราคาสูงกวาพันธุอื่น แตก็นับวาคุมคะ โดย 3 สวนหลักที่นำมาทำซูชิ ก็คือ โอโทโร (เนื้อทองสวนหนา) ชูโทโร (ทองสวนหลัง) และ อากามิ นั่นเอง เคล็ดลับความอรอยของซูชินั้นอยูที่ความสดสวนใครที่ไมชอบปลาดิบ ซูชิก็มีหนาอื่น ๆ ดวยคะ หรือหากอยากลิ้มลองรสชาติของเนื้อปลาจะเลือกทานเปน ซูชิเบิรนไฟ ก็ไดนะ

ซูเปอรประติมากรรม Emerson College Los Angelesตระการตากับฝมือการออกแบบอาคาร หองเรียน หองปฏิบัติการ ที่จอดรถใตดิน และที่พักนักศึกษา สูง 10 ชั้น พรอมดวยอุปกรณอำนวยความสะดวก ล้ำดวยเทคโนโลยีอันครบครัน ไมธรรมดาในแบบฉบับของสถาบันสอนศิลปะอันเลื่องชื่อทางดานครีเอทีฟ โดดเดนสุด ๆ ดวยดีไซนแปลกตา ท่ีสามารถการันตีคุณภาพนักศึกษาและอาจารยผูสอนไดเลยนะ ดูแคอาคารสิ คูล!! สุด ๆ ไปเลย ออกแบบโดย Thom Mayne’s Los Angeles Firm Morphosis

Thainuclearclub

Your Space : สำหรับนองๆ คนไหนมีเรื่องราวนาสนใจหรือมีอะไรอยากเลา ทางพ่ีๆ ทีมงานยินดีจะนำบทความที่สงกันเขามาลงวารสารท่ี [email protected]หรือติดตามพวกเราจาก Social ไดที่นี่

YourSpace

Page 6: FUSION MAGAZINE Vol.1

6 FUSION MAGAZINE

Do you knowD

o yo

u kn

ow

รูหรือไม รังสีก็ม

ีอยู ในอาหาร

ที่มีโดยธรรมชาติ

เนื้อแดงตัวการยังคงเปนโพแทสเซียมนั่นเองสเต็กเน้ือช้ินน้ันจะไปเพ่ิมปริมาณรังสีในรางกายคุณ3,000 พิโคคูรี / กก. โดยประมาณ

เพราะทำมาจากโพแทสเซียมคลอไรดแทนท่ีจะเปนโซเดียมลวน ๆ เกลือแกงมีรังสีประมาณ 3,000 พิโคคูรี / กก.

ถ่ัวบราซิลครองตำแหนงอาหารท่ีมีกัมมันตภาพรังสีสูงสุดท่ีคนท่ัวไปรับประทาน เพราะรากของมันมีเรเดียมอยูเปนจำนวนมาก รวมท้ังโพแทสเซียม แตไมตองกลัวนะเพราะรางกายคนเรา แทบจะไมไดเก็บรังสีไวเลยตรงกันขามกลับมีประโยชน เพราะมันชวยปองกันโรคมะเร็งเตานมและมะเร็งตอมลูกหมาก เพราะถ่ัวพวกน้ีมีปริมาณซิลิเนียมสูง

เกลือแกง

ถั่วบราซิล

Page 7: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE

Do you know

7

Do you know

ถ่ัวลิมามีรังสีประมาณ 4,640 พิโคคูรี / กก.เปนอาหารท่ีมีโพแทสเซียมสูงและมีเรเดียมผสมอยูบางเล็กนอย

หน่ึงในอาหารท่ีเรารับประทานมากกวาอาหารชนิดอ่ืน ๆ ในชีวิตประจำวันมีรังสีประมาณ 3,520 พิโคคูรี / กก.

ท่ีมา : www.chemistry.about.com/10 common naturally radioactive food

ท้ังแครอทและมันฝร่ังมีรังสีประมาณ 3,400 พิโคคูรี / กก.เม่ือทานอาหารท้ังสองอยางรวมกันแลวจะมีรังสีประมาณ 6,800 พิโคคูรี / กก.

ไมตองกลัวสำหรับคนชอบทานเบียรเพราะมีรังสีนอยมาก เพียง 390 พิโคคูรี / กก. เทาน้ันซ่ึงนอยกวากลวยถึง 10 เทา

ถั่วลิมา

กลวย

มันฝรั่ง / แครอท

เบียร

pCi หรือ พิโคคูรี : หนวยวัดความแรงของสารรังสี และอัตราการสลายตัว

Page 8: FUSION MAGAZINE Vol.1

8 FUSION MAGAZINE

Idea Design

Idea

Des

ign

Idea Design

Merging Top

CementWood-lamp

The Const Lamp

Page 9: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE

Idea Design

9

THINKK STUDIO7/8 Yenakard RoadChongnonsri YannawaBangkok 10120Thailand

Tel. 02 6719317Fax. 02 672 [email protected]

Weight Vases

ARMS chair

1-2-3 sit

Where is it ?

THINKK STUDIO

Page 10: FUSION MAGAZINE Vol.1

10 FUSION MAGAZINE

Cover StoryC

over

Sto

ry

อาหาร คือ ยาอายุวัฒนะอยางหน่ึง ท่ีในปจจุบันทุกคน

หันมาใหความสนใจและดูแลเรื่องนี้กันมากขึ้นคะ สังเกต

ไดจากหลายทานมีการคำนวณแคลอรีกอนการเลือกซื้อ

เลือกบริโภค และหลายทานอานฉลากตรวจดูวัตถุดิบ

สวนประกอบกอน น่ันนับเปนผลดีอยางมาก เพราะจะทำให

เรารูไดวา อะไรเปนสิ่งที่กำลังจะผานเขาสูรางกายของเรา

และสงผลอยางไรตอสุขภาพรางกายของเราบาง มาดูกัน

เกริ่นมาขนาดนี้เดาไดไมยาก วันนี้เราจะนำสาระอะไร

มาเลาสูกันฟง น่ันคือ “อาหาร” น่ันเอง อยาเพ่ิงตกใจกันไป

วาเรื่องธรรมดาใกลตัวแบบนี้ จะมีอะไรพิเศษเพิ่มเติมไหม

แนนอนคะ ตองไมธรรมดาอยูแลว เพราะเราจะกลาวถึง

“อาหารฉายรังสี” เช่ือคะ หลายคนตกใจกันนะ อาหารอะไร

ฉายรังสี แลวฉันจะตกอยูในอันตรายไหม? คำตอบอยูใน

สาระตอไปนี้ ที่จะทำใหคุณ ๆ คลายกังวล

อาหาร ฉายรังสีปลอดภัยจริงหรือ?

Page 11: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE

Cover Story

11

Page 12: FUSION MAGAZINE Vol.1

Cover Story

12 FUSION MAGAZINE

Cov

er S

tory

แลวทำไมเราจึงนำอาหารบางชนิดไปฉายรังสี ?แลวทำไมเราจึงนำอาหารแลวทำไมเราจึงนำอาหาร

?

อันที่จริงแลว การฉายรังสีอาหาร ไมมีผลอันตรายตอเราเลยคะ เพราะมันเปนเพียงกระบวนการหนึ่ง

ในการถนอมอาหาร โดยผานพลังงานเทานั้น ไมไดฉายรังสีสูอาหารโดยตรง ซึ่งวิธีนี้ไดมีการทดลองและวิจัย

ทั้งในและตางประเทศ และไดรับการยอมรับจากหลายประเทศดวยคะ ทำใหเรามั่นใจไดเลยวาอาหาร

ฉายรังสีท่ีเรากำลังจะทานเขาไปนะ ไมมีอันตรายแนนอน เพราะอาหารฉายรังสีทุกชนิดตองไดรับอนุญาตจาก

องคการอาหารและยา (อย.) กอน จึงจะสามารถนำมาฉายรังสีได เห็นไหมละไมอันตรายอยางที่คิดเลย

หากอยูในการควบคุมปริมาณที่ใชอยางพอเหมาะ

อาหารที่เรากินเปนประจำ เชน กุง เนื้อไก ก็สามารถนำมาฉายรังสีได

ก็เพื่อฆาเชื ้อและยืดอายุของอาหาร สถาบัน

เทคโนโลยีน ิวเคลียร แหงชาติ (องคการมหาชน)

ไดทำการสุมตรวจเนื้อสัตวทั้งสดและแชแข็งบางชนิด

ก็ไดพบ “เชื้อชาลโมเนลา” ที่เปนสาเหตุหนึ่งของโรค

ทองรวง ดวยเหตุนี้เองทางสถาบันฯ จึงเกิดความคิด

ที่ตองการใหผู บริโภคอยางเรา ๆ ทานอาหารกันได

อยางปลอดภัยหางไกลพวกเชื้อโรค เชื้อรา การวิจัย

เรื่องการฉายรังสีอาหารจึงเกิดขึ้น บางคนอาจสงสัยวา

ทำไมความรอนเพียงอยางเดียวไมสามารถกำจัดหรือ

ลดปริมาณเชื้อเหลานี้ได อันที่จริงก็สามารถทำไดคะ

แตทำไดกับอาหารที ่มีน้ำเปนองคประกอบเทานั ้น

ความรอนจึงไมเพียงพอสำหรับการฆาเชื้อใหอาหาร

สดและอาหารแชแข็งคะ ลองคิดดูกันเลน ๆ อาหาร

ที่เรานำไปแชแข็งจะเพื่อสาเหตุใดก็ตามแนนอนคะ

มันตองคางคืน ทำใหสารอาหารบางชนิดหายไปแน ๆ

ที่สำคัญการเนาเสียก็มีมากขึ้นดวยนะ ซึ่งคุณจะรูได

อยางไร พิสูจนไดอยางไร และหากคุณนำอาหารสด

ไปผานความรอนเพื่อฆาเชื้อโรค มันจะทำใหลดอายุ

ของอาหารลง เพราะความสุกพรอมทานของอาหาร

นั่นแหละ ซึ่งคุณตองทานทันทีไมสามารถเก็บไดหรือ

คางคืนได ดวยเหตุผลนี้เอง การฉายรังสีจึงเปนอีก

ทางเลือกหนึ ่งที ่คงไวซึ ่งคุณประโยชนของการเก็บ

ยืดอายุอาหารคะ นอกจากนี้ยังชวยกระตุนเศรษฐกิจ

การสงออกดวยนะ ซึ ่งแนนอนหากอาหารฉายรังสี

ไมปลอดภัย ตางประเทศไมมีทางยอมใหเรานำเขา

ประเทศเขาแน ๆ และดวยเหตุนี้ ทำใหเรามั่นใจไดวา

ปลอดภัย ไมมีสารรังสีตกคาง

Page 13: FUSION MAGAZINE Vol.1

Cover Story

FUSION MAGAZINE 13

Cover S

tory

มังคุด ผลไมของไทยที่ทุกคนชอบทานก็นำมาฉายรังสีเพื่อฆาเชื้อโรคไดดีทีเดียว

แหนมฉายรังสี อาหารแปรรูปอีกประเภทท่ีสามารถทานสดๆ ได เม่ือผานกระบวนการ

Page 14: FUSION MAGAZINE Vol.1

Cover Story

14 FUSION MAGAZINE

Cov

er S

tory

หัวหอม เครื่องปรุงของไทยที่มีการปนเปอนของเชื้อโรคคอนขางมากจากขั้นตอนในการเพาะปลูกจึงมีความจำเปนตองฉายรังสีเพื่อฆาเชื้อโรคเหลานี้

Page 15: FUSION MAGAZINE Vol.1

Cover Story

FUSION MAGAZINE 15

Cover S

tory

นอกจากอาหารแลว เคร่ืองปรุงรสของเราหลายชนิด

ก็ผานการฉายรังสีนะ อยางเชน ออริกาโน อบเชย

รวมทั้งสมุนไพรหลากหลายชนิดเลยคะ ที ่ตองผาน

การฉายรังสีกอนสงออก เพื่อเปนมาตรฐานการสงออก

เห็นไหมคะ เปนเรื่องใกลตัวเรามาก ๆ ทั้งเรายังคุน

เคยกันมานานแลวทีเดียว และบางทานติดใจกับกลิ่น

รสของเครื ่องปรุงเหลานี ้มากดวย มาถึงตรงนี ้แลว

ทำใหนึกถึงไขพะโลหอมกรุน รสนุมลิ ้นฝมือคุณแม

เปนกับขาวที่แทบจะเปนอาหารติดบานไมแพไขเจียว

เลยก็วาได ใครที่เคยเขาครัว หรือทำกับขาวเปนประจำ

คงจะทราบกันดีคะ เครื่องเทศสำหรับทำพะโลสามารถ

เก็บไดนานเลยทีเดียว แถมยังไมมีเชื้อราดวย บางบาน

เก็บกันหลายเดือนกลายเปนของติดครัวกันไปแลว

ถาตองฉีกซองบรรจุอาหารแลวผงะกับเชื้อรานี่ก็ไมไหว

นะคะ คงกลัวการซื ้ออาหารชนิดนั ้นไปเลยทีเดียว

หรือตองเผชิญกับการทองเสีย และเช้ือโรคตาง ๆ ท่ีเรา

ตองรับเขาสูรางกายโดยตรง แคคิดก็นากลัวแลวคะ

ดีนะที่มีการฉายรังสีอาหารเกิดขึ้นเราเลยสบายใจได

ในระดับหนึ่ง จะวาไปแลว การฉายรังสีอาหาร ก็คือ

การยืดอายุของอาหาร หรือการถนอมอาหารที่คลาย

กับการแชแข็ง หรือสตาฟอายุของอาหารนี่แหละคะ

ท่ีสำคัญไมไดทำลายกล่ิน สี หรือรสชาติดวยนะ มันทำให

เราเก็บของโปรดหรือวัตถุดิบไวใชไดในระยะหนึ่งเลย

แหม! แบบนี ้ก ็ประหยัดไมตองเสียเงินซื ้อบอย ๆ

หากอาหารเกิดการเนาเสียกอนการบริโภคดวยนะ

แถมยังหางไกลเช้ือโรคอีกดวย ระหวางท่ีกำลังเดินหยิบ

สินคาลงตระกราในซูเปอรมารเกตอยางสบายใจนั้น

ก็คิดอะไรขึ้นมาคะ ถาหากวาหมูยอที่เลือกวันนี้ไมได

ผานการฉายรังสี เราจะทราบไดอยางไรนะ วามัน

ปลอดเชื ้อ คิดเลน ๆ แตก็เริ ่มกลัวขึ ้นมาแลวละสิ

แบบนี้เราตองดูฉลาก และสังเกตสัญลักษณมาตรฐาน

*RADULA (อธิบายเรื่องสัญลักษณในภาพประกอบ)

ดีกวา เพื่อความปลอดภัยของเราวาไดผานกรรมวิธี

และกระบวนการอยางถูกตอง สังเกตที่ฉลากดวยนะ

ทั ้งนี ้ ก็เพื ่อความมั่นใจยิ ่งขึ ้นวาไดผานการควบคุม

จากกระทรวงสาธารณสุข ท ั ้งสะดวก ประหยัด

และปลอดภัย อาหารมื้อนี้เพื่อคนที่เรารักจริง ๆ คะ

เห็นไหมคะ อาหารฉายรังสีไมนากลัวและไมอันตรายเลย

เราสามารถรับประทานไดแบบไมตองหวงเรื ่องของ

รังสีตกคาง และอุนใจไดเลยคะ เนื่องจากไดรับการ

ควบคุมปริมาณและชนิดของรังสีอยางดีจากองคการ

อาหารและยา และกระทรวงสาธารณสุข แตทั ้งนี ้

อยาลืมสังเกตฉลากและสัญลักษณนะคะ ทานอาหาร

ใหปลอดภัยและดีตอสุขภาพเพื่ออายุที่ยืนยาว

สำหรับฉบับหนา เราจะแนะนำสาระอะไรใหคุณ

โปรดติดตามกันตอไปนะคะ

สัญลักษณของการฉายรังสี ซ่ึงองคการอาหารและยา หรือ FDA กำหนดใหแสดงสัญลักษณและขอความบนหีบหอของอาหาร กลองที่บรรจุ บนใบโฆษณาและบนใบรายการสินคา สำหรับผลิตภัณฑที่มีสวนผสมผานการฉายรังสี

Page 16: FUSION MAGAZINE Vol.1

16 FUSION MAGAZINE

Science TechSci

ence

Tec

h

ขอโอกาสหอม(แดง)บาง

หอมแดงจะปลูกมากในภาคเหนือและภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ โดยแหลงผลิต

สวนใหญ อยูในจังหวัดเชียงใหม เชียงราย ลำพูน

พะเยา อุตรดิตถ ศรีสะเกษ ชัยภูม ิ เปนตน

พันธุที ่นิยมปลูกมาก ไดแก 1) พันธุศรีสะเกษ

2) พันธุเชียงใหม 3) พันธุพื้นเมือง มีลักษณะเดน

ที ่เปลือกสีขาวหรือขาวอมเหลือง กลิ ่นไมฉุน

รสหวาน ในป 2550 จากขอมูลของสำนักงาน

เศรษฐกิจการเกษตร มีพื้นที่ปลูกหอมแดงรวมทั้ง

ประเทศ 108,763 ไร ผลผลิตถึง 208,995 ตัน

ผลผลิตเฉลี่ย 1,922 กิโลกรัมตอไร หอมแดงไดรับ

ความนิยมในการบริโภคมาก เห็นไดจากทุกครัว

ไทยจะตองมีหอมแดงเตรียมไวเสมอ หอมแดง

เปนองคประกอบสำคัญของอาหารไทยแทบทุกชนิด

ทั้งประเภทแกงเผ็ด แกงเลียง ตมยำ หลน ยำ

ลาบ น้ำพริกตางๆ เครื่องเคียงขาวซอย หรือใน

ขนมหวาน เพราะเหตุผลท่ีหอมแดงชวยดับกล่ินคาว

และเพิ ่มรสชาติของอาหารนั ่นเอง

จากขอมูลพบวามีสัดสวนการบริโภคหอมแดง

ในประเทศ คิดเปนรอยละ 65 และสงออกในรูป

หอมแดงสด หอมแดงแหง และผลิตภัณฑอื่น ๆ

รอยละ 35 โดยประมาณ หอมแดงที่มีชื่อเสียงวา

เปนหอมแดงคุณภาพดี ไดแก หอมแดงจากจังหวัด

ศรีสะเกษ ตลาดสงออกรายใหญไดแก อินโดนีเชีย

มาเลเซีย สิงคโปร ฮองกง ญี ่ปุ น ไตหวัน

และประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง คิดเปน

มูลคาไมนอยกวา 500 ลานบาทตอป อานดูแลว

อยากจะปลูกหอมแดงขายหรือเปนพอคาหอมแดง

แลวใชไหมละ ขอเท็จจริงที ่พบก็คือ หอมแดง

ก็เหมือนกับสินคาเกษตรทั ่วไป ราคาหอมแดง

จะขึ้นอยูกับปริมาณผลผลิตที่ผลิตไดในแตละป

หากปไหนผลผลิตนอยราคาก็จะสูง แตปไหน

ผลผลิตมากหรือชวงเวลาที่ผลผลิตออกมาพรอม

กันหลายพื้นที่เปนปริมาณมาก ๆ ราคาก็จะตกต่ำ

ขาดทุนไปตาม ๆ กัน ทั้งนี ้ เนื ่องจากหอมแดง

ไมสามารถเก็บไดนานเพราะจะงอกและเนาได

เกษตรกรหรือผูประกอบการจึงจำเปนตองขาย

อยางไมมีทางเลือกแมราคาจะถูก นอกจากนี ้

ทราบหรือไมวาในชวงเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม

ของท ุกป ประเทศไทยต องนำเข าหอมแดง

จากประเทศเพื่อนบาน เพื่อมาบริโภคในประเทศ

เนื่องจากผลผลิตในประเทศไมเพียงพอตอความ

ตองการ คิดเปนมูลคาหลายลานบาทตอปเชนกัน

จากปญหาขางตน ศูนยฉายรังสี สถาบันเทคโนโลยี

นิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) พบวาการ

ฉายรังสีเพื ่อยับยั ้งการงอกของพืชหัวระหวาง

การเก็บรักษา โดยฉายรังสีปริมาณไมเกิน 0.15

กิโลเกรย จะหยุดการเจริญเติบโตของเซลล

ที่ทำใหเกิดการงอก โดยรวมกับการเก็บรักษาดวย

การแชเย็น (Cold Storage) ทำใหสามารถเก็บ

รักษาผลผลิตไดนานหลายเดือน โดยไมงอกหรือ

งอกเล็กนอย ทำใหเก็บรักษาคุณภาพผลผลิต

ไดดียิ่งขึ้น

Page 17: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE

Science Tech

17

“การฉายรังสีหอมแดงชวยยับยั้งการงอกและเก็บรักษาหอมแดงใหอยูในสภาพดีเปนระยะเวลาประมาณ 3-5 เดือน ทำใหหอมแดงไมขาดตลาด และลดการนำเขาจากตางประเทศ”

ในป 2557 ศูนยฉายรังสี สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) จึงเร่ิมทำการศึกษาทดสอบการฉายรังสี เพื่อยับยั้งการงอกของหอมแดงในเชิงพาณิชย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อยับยั ้งการงอกและเก็บรักษาหอมแดงใหอยู ในสภาพดีเปนระยะเวลาประมาณ 3-5 เดือน หลังการเก็บเกี ่ยว หากผลการศึกษาทดสอบเปนไปตามเปาหมาย การฉายรังสีหอมแดงและเก็บรักษา แลวทยอยนำออกมาขายในชวงนอกฤดูทำใหเงินตราไมรั ่วไหลออกนอกประเทศ จะสามารถลดการนำเขาหอมแดงจากตางประเทศในชวงเวลาที ่ไมมีผลผลิตหอมแดงภายในประเทศได เขาทำนองที่วาปลูกเอง ซื้อเอง กินเอง และนาจะทำใหราคาหอมแดงไมตกต่ำ มีเสถียร สม่ำเสมอ สามารถควบคุมได ทำใหเกษตรกรไมถูกเอารัดเอาเปรียบจากพอคาคนกลาง สามารถเจรจากับผูนำเขา-สงออกและลดความเสี่ยงทุกภาคสวน ตั้งแตผูปลูกจนถึงผูบริโภคในประเทศนั่นเอง

Science Tech

Page 18: FUSION MAGAZINE Vol.1

18 FUSION MAGAZINE

Machinery SightM

achi

nery

Sig

ht

เครื่องฉายรังสีแกมมา รังสีแกมมา เปนรังสีชนิดคลื่นแมเหล็กไฟฟา (Electro Magnetic Radiation หรือ EMR)

ที่มีพลังงานและการทะลุทะลวงสูงมาก ในธรรมชาติเกิดจากการสลายของนิวไคลดกัมมันตรังสี

มักเกิดรวมกับรังสีแอลฟาและรังสีบีตา รังสีแกมมามีพลังงานสูงมากในสเปกตรัมของคลื่น

แมเหล็กไฟฟา ตามปกติจะมีพลังงานมากกวา10 กิโลอิเล็กตรอนโวลต (keV) ข้ึนไป เปรียบเทียบกับ

รังสีอัลตราไวโอเลตจะมีพลังงานในชวง 2 - 3 eV เทาน้ัน หรือเทียบกับรังสีเอกซก็จะมีพลังงาน

ในชวง 100 eV ถึง 100 keV ความสามารถในการทะลุทะลวงสูงของรังสีแกมมา ถูกนำมาใช

ประโยชนอยางมากมาย จากตนกำเนิดรังสีแกมมาหลายชนิด เชน

• ซีเซียม-137 ใชวัดและควบคุมการไหลของของเหลว ควบคุมปริมาณบรรจุอาหารและเคร่ืองด่ืม

วัดความหนาแนนของดินในพื้นที่กอสราง

• โคบอลต-60 ใชปลอดเชื้อเครื่องมือแพทย ใชพาสเจอไรสอาหารและเครื่องเทศบางชนิด

ใชวัดความหนาในการผลิตเหล็กแผน ฉายรังสีเพื่อเปลี่ยนสีอัญมณี

• เทคนีเชียม-99เอ็ม ซึ่งมีครึ่งชีวิตสั้นมากสามารถใชวินิจฉัยความผิดปกติอวัยวะสำคัญ (สมอง

กระดูก ตับ ไต) ไดโดยมีผลกระทบนอยที่สุด

• อะเมริเซียม-241 ใชมากในกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม เชน ใชวัดระดับของเหลว ใชวัด

ความหนาแนนของของเหลว ใชวัดความหนา ใชวัดระดับเชื้อเพลิงของเครื่องบิน

ผลไมขึ ้นชื่อของไทยผานการฉายรังสีเพื่อสงออกไปยังประเทศสหรัฐอเมริกาสรางรายเขาสูประเทศปละหลายรอยลานบาท

ปจจุบันสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) มีเคร่ืองฉายรังสีแกมมา จำนวน

2 เครื ่อง ซึ ่งทำหนาที ่แตกตางกันไป เครื ่องแรกเปนเครื ่องฉายรังสีแกมมา ซึ ่งอยู ภายใต

การควบคุมและดูแลของศูนยฉายรังสี ต้ังอยูในเทคโนธานี คลองหา ปทุมธานี โดยศูนยฉายรังสี

ใหบริการฉายรังสีดวยรังสีแกมมา โดยผลิตภัณฑที่นำมาฉายรังสีนั้น

มีหลากหลายชนิด เชน อาหารสัตว สมุนไพร ผลไมสงออก 6 ชนิด

และเวชภัณฑทางการแพทย

โรงงานฉายรังสีแกมมา มีการออกแบบที่ไดมาตรฐานปจจุบัน

ศูนยฉายรังสีใชเคร่ืองฉายรังสีแบบ Carrier Type รุน JS 8900 IR-155

ออกแบบโดยบริษัท Nordion International Inc. จากประเทศแคนาดา

ตู ท ี ่ ใช บรรจุส ินคาเพื ่อนำเขาไปฉายรังสีน ั ้น แบงเปน 2 สวน

(Compartment) คือ บนและลาง โดยแตละ Compartment มีขนาด

กวาง 60 เซนติเมตร ยาว 120 เซนติเมตร สูง 120 เซนติเมตร

Page 19: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE

Machinery Sight

19

Machinery S

ight

ตัวเครื่องฉายรังสีแกมมา ใชตนกำเนิดรังสีโคบอลต-60 จำนวนทั้งหมด 6 แทง ซึ่งแตละแทงมีความแรง

ประมาณ 12,000 คูรี ความแรงรังสีรวมทั้งหมด 70,500 คูรี ปจจุบันความแรงรังสีลดลงเหลือ

49,374 คูร ี ผลิตโดยบริษัท Paul Stephens Consultancy Ltd. ประเทศอังกฤษ

เครื ่องฉายรังสีแบบ Carrier type รุ น JS 8900 IR-155 ออกแบบโดย บริษัท Nordion International Inc. แคนาดา

สำหรับเครื่องฉายรังสีแกมมาอีกเครื่องหนึ่งอยูในความดูแลของศูนยฉายรังสี ติดตั้งอยูที่ศูนยฉายรังสีอัญมณี สำนักงานใหญ อ.องครักษ จ.นครนายก ใชสำหรับฉายรังสีอัญมณีตัวเครื่องฉายรังสีแกมมา ใชตนกำเนิิดรังสีโคบอลต-60 ทั้งหมด 6 แทง ซึ่งแตละแทงมีความแรงประมาณ 12,000 คูรี ความแรงรังสีรวมทั้งหมด 70,500 คูรี ปจจุบันความแรงรังสีลดลงเหลือ 49,374 คูรี ผลิตโดย บริษัท Paul Stephens Consultancy Ltd. ประเทศอังกฤษ ปริมาณรังสีที่วัดไดปจจุบันที่ตำแหนง Center ไดเทากับ 12 kGy/hr ตำแหนงอื่น ๆ ลดลงตามระยะทางที่หางจากตนกำเนิดรังสี แทงของตนกำเนิดรังสีจัดเก็บแบบแหง ในที่กำบังรังสีซึ่งทำจากตะกั่วหนา ขณะที่ไมไดใชงาน ในขณะใชงานแทงตนกำเนิดรังสีจะถูกดันดวยลมออกจากตัวกำบังรังสี เพื่อใหรังสีแผออกมา ประโยชนของเครื ่องฉายรังสีแกมมาโดยไอโซโทปรังสีโคบอลต-60 เครื ่องนี ้ สามารถนำมาใชในการฉายรังสีอัญมณีเพื่อเปลี่ยนสีหรือใชในการปรับปรุงวัสดุอื่น ๆ สำหรับงานบริการหรืองานวิจัย โดยภายในหองฉายรังสีแกมมา สามารถฉายรังสีไดทุกบริเวณ ในกรณีฉายรังสีอัญมณีหรือฉายงานวิจัย ที่ตองการปริมาณรังสีสูงและใชเวลาฉายไมนาน ฉายบริเวณใกลตนกำเนิดรังสีโคบอลต-60 (บริเวณ Center) และสามารถหมุนไดขณะฉายรังสี เพื่อใหไดรับปริมาณความสม่ำเสมอ รังสีแกมมาจากไอโซโทปโคบอลต-60 เปนคลื ่นแมเหล็กไฟฟา การฉายอัญมณีดวยรังสีแกมมา ไมกอใหเกิดไอโซโทปรังสีใด ๆ ภายในเนื้ออัญมณี

Page 20: FUSION MAGAZINE Vol.1

20 FUSION MAGAZINE

NewYorkCity

ชวงนี้อุณหภูมิของอากาศในเมืองไทย

ก็ไดพุ งทะยานแตะความรอนถึงขีดสุด

ไปเปนที่เรียบรอยแลว วันนี้เราชวนคุณ

หนีรอนไปพักผอนตากอากาศสบาย ๆ

กันท่ี มหานครนิวยอรก New York City

(NYC) กันดีกวาคะ

นิวยอรก ไดรับสมญานามวา เปนมหานครศูนยกลาง

ของความทันสมัยและศิวิไลซ ที่ยิ่งใหญที่สุดในสหรัฐ-

อเมริกา เปนท่ีต้ังของสำนักงานใหญองคการสหประชาชาติ

อีกท้ังยังเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ การเงิน วัฒนธรรม

บันเทิง ที่สำคัญที่สุด จึงไมแปลกใจที่นิวยอรกจะกลาย

เปนมหานครเอกของโลก โดยไมมีเมืองใดเทียบเคียง

สำหรับเรื่องสถานที่ทองเที่ยวของนิวยอรกก็ไมแพที่ใด

วันนี ้เราจึงขอแนะนำ 5 สถานที่หนีรอน เมื ่อไปถึง

นิวยอรกตองไมพลาดไปสัมผัส

บอรดเวย (Broadway) สถานที่ที่มีชื่อเสียงในดาน

ของโรงละคร เปนท่ีมาของช่ือถนนบอรดเวย เหมาะสำหรับ

ผู ท ี ่ช ื ่นชอบศิลปะการแสดง นอกจากศิลปะแลว

คุณยังสามารถไปชอปปงที่ฟฟท อเวนิว (5th Avenue)

พรอมชมความงามของ โบสถทรินิตี้ กอนจะไปสัมผัส

ความเปนไปของชาวนิวยอรกเกอรที่ไทมสแควร

อนุสาวรียเทพีเสรีภาพ (Statue of Liberty) 1 สัญลักษณของ "เสรีภาพ" ของชาวอเมริกา 1 ในสิ่ง

กอสรางมหัศจรรยของโลกชิ้นหนึ่ง อนุสาวรียที่ทาง

ฝรั่งเศสมอบใหกับชาวอเมริกัน เพื่อเปนของขวัญฉลอง

ครบรอบ 100 ป ในวันประกาศอิสรภาพจากประเทศ

อังกฤษ ถามาถึงนิวยอรกแลวไมถายภาพคูกับอนุสาวรีย

เทพีเสรีภาพ คงจะไมสามารถไปอวดใครได

พิพิธภัณฑศิลปะ เมโทรโพลิทัน (Metropolitan Museum of Art) เสริมสรางแรงบันดาลใจจากการเที่ยวชมพิพิธภัณฑ

ศิลปะที่ยอดเยี่ยมอีกแหงหนึ่งของโลก สถานที่รวบรวม

จัดแสดงผลงานอันเลื่องชื่อของเหลาศิลปนในตำนาน

เชน เซซาน, โมเนต, ปกัสโซ แคนดินสกี้ เดอะ โมมา

หนีรอนจากเมืองไทย ไปตากอากาศสบายๆ

Metropolitan Museum of Artพิพิธภัณฑศิลปะ ที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก

Page 21: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE

Voyage

21

Voyage

NewYorkCityสวนสาธารณะ เซ็นทรัล พารค (Central Park) หลบหนีความวุนวายมาพักผอนภายใตสวนสาธารณะ

ที่มีขนาดใหญถึง 460 สนามฟุตบอล สวนสาธารณะ

ที่มีทั้งสวนสัตว รูปปน รานอาหาร มาหมุน ลานน้ำพุ

หรือแมกระทั่งลานสเก็ต ใหคุณไดเลือกพักผอนตาม

ไลฟสไตลของคุณ

หมูบานกรีนวิช (Greenwich Village) หมู บานที ่เคยเปนเขตอุตสาหกรรมที ่สำคัญในอดีต

ปจจุบันกลายเปนชุมชนศิลปะที่ทรงสเนห อยูใกลกับ

มหาวิทยาลัยนิวยอรกอันโดงดัง ดึงดูดใหนักทองเที่ยว

มากมายไดเขามาเยี่ยมชมอยางไมขาดสายแตกอนที่

จะแพ็กกระเปาแลวออกไปสัมผัสกับความศิวิไลซของ

นิวยอรกน้ัน เราก็ตองศึกษากฎขอบังคับกอนท่ีจะเดินทาง

เขาไปยังประเทศสหรัฐอเมริกาใหดีเสียกอน โดยเฉพาะ

การนำเขาผักผลไมสดมายังประเทศสหรัฐอเมริกานั้น

ไมใชวาใครก็จะหิ้วเขามากันซื้อขายกันงาย ๆ เพราะ

ประเทศน้ีมีกฎระเบียบดานสุขอนามัยพืชคอนขางเขมงวด

เรามีเกร็ดความรูเล็ก ๆ นอย ๆ เก่ียวกับกฎระเบียบในการ

จดทะเบียนผูสงออก และโรงงานแปรรูปสินคาที่จะ

สงออกไปยังสหรัฐอเมริกามาฝากคะ สำหรับสินคา

อาหารกลุมเส่ียง ไดแก กลุมอาหารกระปอง อาหารท่ีมี

ความเปนกรดต่ำ ตองมีการจดทะเบียนเปนพิเศษ

และตองให USFDA พิจารณาอนุญาตถึงกระบวนการ

ผลิตเสียกอน สวนน้ำผลไม อาหารทะเล ก็ตองผาน

กฎหมายวาดวยการปรับปรุงความปลอดภัยทางดาน

อาหารใหทันสมัย (Food Safety Modernization Act)

และไดรับการรับรองระบบจาก Hazard Analysis and

Critical Control Point (HACCP) จึงจะสงออกไดเชนกัน

ซึ่งกฎหมายนี้ไดลงนามโดยประธานาธิบดี และมีการ

เผยแพรสาระสำคัญของกฎหมายนี้เปนภาษาตาง ๆ

รวมท้ังภาษาไทย ต้ังแตวันท่ี 4 มกราคม 2554 เปนตนมา

สำหรับผลไมสดในประเทศไทยที่สามารถสงออกได

ในปจจุบัน มีเพียง 7 ชนิดเทานั้น ไดแก ลำไย ลิ้นจี่

มังคุด เงาะ มะมวง สับปะรด และแกวมังกร แตทุกชนิด

ตองผานการฉายรังสี รวมทั้งการตรวจรับรองโดยกรม

วิชาการเกษตร กอนทำการสงออก และพืชของไทย

บางชนิดท่ีตองผานการทำ Treatment ดวยการรมเมธิล

โบรไมด กอนสงออก ไดแก พืชตระกูล Allium spp.

(bulb) ไดแก หนอไมฝร่ัง พืชตระกูล Basil ไดแก เผือก

ผักชีฝร่ัง ขา ทุเรียน เปนตน

ตองขอบคุณกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่ทำให

ประเทศของเราสามารถสงออกพืช และผลไมขึ้นชื่อ

ของไทยใหชาวตางชาติท่ัวโลกไดล้ิมลองและสรางรายได

ใหกับประเทศมากมาย นอกจากเราจะไดทราบถึงสถานท่ี

ทองเที่ยวหนีรอนที่ New York City กันอยางจุใจถึง

5 ที ่แลว ยังไดเกร็ดความรู เกี ่ยวกับสุขอนามัยพืช

ในการนำเขาผักผลไมสด รวมไปถึงกระบวนการกอนสง

ผลไมสดไปยังตางประเทศ ความรูเหลานี้มีพกติดตัวไว

กอนออกเดินทางไมเสียหาย ในเมื่อจุดหมายปลายทาง

พรอม ความรูแนน ! ไดเวลาแพ็กกระเปาไปเท่ียวกันแลว !

Photograph : Sean Pavone / Shutterstock.com Photograph : Sean Pavone / Shutterstock.com

Central Park สวนสาธารณะที่มีขนาดเทียบเทาสนามฟุตบอล 5 สนามเลยทีเดียว

Broadway มีชื่อเสียงในดานความบันเทิงและโรงละครระดับโลก

เทพีเสรีภาพ (Statue of Liberty) สัญลักษณสำคัญแหงมหานครนิวยอรก ยิ่งใหญตระการตา

Page 22: FUSION MAGAZINE Vol.1

22 FUSION MAGAZINE

Activities NewsAct

ivitie

s N

ews

สทน. ลงนามความรวมมือกับ มจธ. รวมพัฒนาคนดานวิศวกร สทน. ไดรับความไววางใจในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที ่จะเปนวิศวกรในอนาคต โดย สทน.ไดลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือทางวิชาการ ระหวาง สทน. และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี หรือ มจธ. ซึ่งไดเล็งเห็นถึงความสำคัญของเทคโนโลยีนิวเคลียรและการใชประโยชน ทาง มจธ. และคณะวิศวกรรมศาสตรไดมีการปรึกษาหารือกันในเรื ่องนี ้กับผูเช่ียวชาญจากหลายแหง รวมไปถึงผูเช่ียวชาญจากญ่ีปุน ซ่ึงไดใหคำแนะนำถึงหัวใจสำคัญของเทคโนโลยีนิวเคลียร ขณะนี้ มจธ. มีความพรอมดวยกำลังคน ไมวาจะเปน นักศึกษา อาจารย และนักวิจัย ของ มจธ. ขาดเพียงผูสนับสนุนที่มีองคความรูอยางแทจริง ซึ่งก็ไดทาง สทน. เขามารวมมือกัน เพื่อใหคำแนะนำและรวมสรางงานวิจัยและพัฒนาตอยอดเทคโนโลยีของการดำเนินงานตามบันทึกขอตกลง หรือกิจกรรมนิวเคลียรใหเกิดประโยชนสูงสุดแกประเทศ

การจัดงานในครั้งนี้ จัดขึ้นเพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการในชวง 3 ปที่ผานมา ซึ่งประกอบดวยโครงการยอย 3 โครงการ คือ : Geochemical Mapping and Mineral Exploration, Monitoring of Food Contamination และ Monitoring of Pollutants in Marine Sediments ในประเทศไทยเขารวมในโครงการยอยดานการวิเคราะหการปนเป อนในอาหาร ในปที ่ผานมา ประเทศไทย โดย สทน. ไดทำการวิเคราะหตัวอยางปลาที ่นิยมบริโภค จำนวน 10 ชนิด ดวยเทคนิค NAA โดยใชรังสีนิวตรอนจากเครื ่องปฏิกรณปรมาณูวิจัย ปปว.-1/1 ในงานวิจัยนี ้ไดเนนศึกษาธาตุโลหะหนักและมีความเปนพิษ ไดแก As, Hg, Cr และ Cd ในโอกาสนี ้ ดร.สมพร จองคำ ผสทน. ไดบรรยายพิเศษในหัวขอ Strategic Plan for New Research Reactor in Thailand ดวย

สทน. รวมกับญี่ปุน จัดการประชุมการประชุมเชิงปฏิบัติการ NAA

ขอบเขตความรวมมือของแตละฝายมีเน้ือหาท่ีนาสนใจ

เชน การถายทอดความรูพ้ืนฐานดานวิศวกรรมเคร่ือง

ปฏิกรณ การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการโดยใชเครื่อง

ปฏิกรณปรมาณูวิจัย ปปว.-1/1 การฝกอบรมทางดาน

การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการคำนวณเชิง

นิวเคลียร ความรวมมือในดานงานวิจัยและพัฒนา

ที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีนิวเคลียร การประยุกตใช

เทคโนโลยีนิวเคลียร ในดานตาง ๆ เรียกไดวา

กาวไปอีกขั้นกับการพัฒนาบุคลากรทางนิวเคลียร

Page 23: FUSION MAGAZINE Vol.1

194917 January

FUSION MAGAZINE

Activities News

23

Activities N

ews

วพ. เปดหองทดลองโครงการวิจัยรวมกับ IAEA

Nuclear In History

เนื่องดวย วพ. มีโครงการวิจัยรวมกับ IAEA ในหัวขอ Supporting

Radiation Processing for the Development of Advanced

Grafted Materials for Industrial Applications and Environmental

Preservation (RAS1014) โดย ดร.เกศินี เหมวิเชียร ในฐานะผูประสานงาน

โครงการฯ ของประเทศไทย ไดดำเนินการขอผูเชี่ยวชาญจาก IAEA

เพื่อมามอบคำแนะนำเรื่องโครงการวิจัยเปนเวลา 1 สัปดาห ระหวาง

วันที่ 20 – 24 มกราคม 2557 โดยมีความประสงคใหผู เชี ่ยวชาญ

ใหคำปรึกษาและคำแนะนำทางเทคนิค โดยผูเชี่ยวชาญ คือ Dr. Noriaki

Seko จาก JAEA Takasaki ท่ีมีความเช่ียวชาญเร่ือง Radiation Grafting

of Polymers for Environmental Applications ทั ้งนี ้ในวันที ่

23 มกราคม 2557 วพ. มีกิจกรรม Journal Club จึงไดเปดโอกาส

ใหเจาหนาที่ สทน. รับฟงการบรรยายจาก Dr. Seko ในหัวขอ

“Current Status of Radiation Grafting Technique and Industrial

Applications” โดยการบรรยายไดพูดถึงการมีสวนรวมในปฏิบัติการ

Fukushima Contribution Using Grafted Adsorbent

ของ Dr. Seko และทีมงานจาก IAEA Takasaki ดวยผูเชี่ยวชาญ

มาปฏิบัติงานรวมกับนักวิจัยของ วพ. เพื่อติดตั้งและออกแบบอุปกรณ

สำหรับการทำปฏิกิริยากราฟตพอลิเมอไรเซชัน โดยไดติดต้ังและออกแบบ

ระบบสุญญากาศ สำหรับการเตรียมตัวอยางภายหลังการฉายรังสีแบบ

Preirradiation และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักวิจัยของ วพ.

ในการทำวิจัย การเตรียมตัวดูดจับโลหะไอออนสำหรับการประยุกต

ใชงานทางดานสิ่งแวดลอม และการเตรียมไฮโดรเจนสำหรับใชงาน

ทางการแพทย นอกจากนี้ ผูเชี่ยวชาญไดปฏิบัติงานรวมกับนักวิจัย

ของ วพ. เพื่อออกแบบและติดตั้งเครื่องเก็บสารละลายแบบอัตโนมัติ

สำหรับใชในการทดสอบความสามารถในการดูดจับโลหะไอออน

ของตัวดูดจับโลหะไอออน

Wilhelm Roentgenนักวิทยาศาสตรชาวเยอรมัน ไดคนพบรังสีเอกซ เขาไดสงสำเนาตนฉบับแกเพ่ือน ๆ และนักฟสิกสท่ีมีช่ือเสียงหลายคน โดย 4 วันตอมา Die Presseไดตีพิมพการคนพบน้ีและไดถือกำเนิดรังสีใหมท่ีนำไปใชวินิจฉัยในการแพทยวาเปนแสงท่ีใชในการถายภาพท่ีสามารถสองทะลุเน้ือไม ผิวหนัง และเส้ือผา

เปนครั้งแรกที่มีการปลดปลอยพลังงานจาก Synchrotron เครื่องแรกถูกออกแบบโดย Edwin Mattison ใชสำหรับเรงอิเล็กตรอน ซ่ึงมีประจุลบโดยใชแมเหล็กแบบ Bebatron ที่มีน้ำหนักประมาณ 8 ตัน

118961 January

Edwin Mattison

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

1965 3 April

เครื่องปฏิกรณนิวเคลียรในอวกาศเครื่องแรก ไดถูกสงขึ้นไปยังอวกาศใหกำลัง 500 กิโลวัตตตอช่ัวโมง สามารถทำงานไดท้ังส้ิน 10,000 ช่ัวโมงเคร่ืองปฏิกรณไดปดตัวลงหลังจากการใชงาน 45 วัน เน่ืองจากระบบไฟฟาขัดของ SNAP 10A นับเปนเคร่ืองปฏิกรณเคร่ืองเดียวของสหรัฐอเมริกา

SNAP 10A

. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

Page 24: FUSION MAGAZINE Vol.1

24 FUSION MAGAZINE

Edutainment

Edu

tain

men

t

Hapiforkเห็นแลวตองรองวาว! หากคุณ ๆ ตองการควบคุมน้ำหนัก ดวยเซนเซอรสั่นเตือนเมื่อคุณเคี้ยวเร็วเกินไป โดยการทำงานของเจาสอมตัวนี้ จะจับบันทึกพฤติกรรมการรับประทานอาหารของคุณ ดวยความเร็วในการชอนอาหารเขาปากและปร�มาณของอาหารในแตละคำ เพื่อชวยระบบการยอย โดยแสดงผลบนสมารทโฟนของคุณผานบลูทูธ ดวยแอพพลิเคชั่น HAPILABS หร�อแสดงผลทาง PC ผาน USB สำหรับตรวจวัดขอมูลดวย hapilabs.com โดยเจาสอมตัวนี้ สามารถควบคุมไดเพียงการเคี้ยวเพื่อระบบยอยที่ดีเทานั้น

หากชอบปารต้ีท่ีบาน แตก็ไมเคยจำสูตรค็อกเทลตัดปญหากังวลไปเลยคะ ถาคุณมี Perfect Drink Smart Bartender ท่ีจะเปล่ียนคุณใหกลายเปนบารเทนเดอรสุดเจงไดในทันที เพราะมันคืออุปกรณท่ีเช�อ่มตอสมารทโฟน หร�อแทบเล็ต กับตราช่ังดิจ�ตอล ท่ีไมวาคุณตองการเมนูไหนก็สามารถดูสูตร และช่ังตวงน้ำหนักสวนผสมผานหนาจอไดเลย แคน้ีก็ปารต้ีใหสนุกไดแลวละ

Perfect Drink Smart Bartender

Smartphone Desk Stand เมื่อเทคโนโลยีมาจับคูกับงานไมที่ดูเปนเอกลักษณดุจหนึ่งในช�้นงานศิลปะที่บรรจงสรางอยางประณีตข�้นมาเพื่อสมารทโฟน ที่ผลิตมาจากไมโอคชั้นดีชั้นวางสมารทโฟนสุดเกตัวนี้ ชวยใหคุณวางมันเพื่อรับชมภาพและเสียงไดอยางมีอรรถรสหร�อในขณะที่คุณกำลังจ�บไวนอยางสบายใจ แถมยังวางไดทั้งแนวตั้งและแนวนอน แบบนี้ ไมมีไมไดแลวละสิ !

Secure USB Keyอีกหนึ่ง Gadget ที่เห็นแลวตองทึ่ง กับเชาอันแสนร�บเรงและแนนอนสิ่งที่คุณจะขาดไมไดเลยคือ อาหารเชาสุดว�เศษ เพียงคุณใสไอเดียจับคูกับไมวาจะเปนอิงลิชมัฟฟน หร�อขนมปงเบอรเกอร จับคูกับไข แฮม โรยเบคอนลูกเตา แคนี้ก็งายแถมยังรวดเร็วดวยนะ เพราะเจาเคร�่องนี้สามารถทำทุกอยางใหสุกกรุนภายในครั้งเดียว แบบนี้ไมรองวาว! ไมไดอีกแลว

เมื่อการทำงานบนคอมพิวเตอรของคุณจำเปนตองมีการเก็บขอมูลสำคัญไวมากมาย จนทำใหกลัววาถาเจา USB ตัวโปรดของคุณที่ Backup ขอมูลลับไวจะหายและถูกขโมยตองนี่เลย Secure USB Key ที่จะทำใหคุณปลอดภัยไรกังวลกับการเขารหัสแบบที่ใครก็ไมสามารถเดาได

Hamilton Beach Toaster

ความชอบของแตละคนไมเหมือนกัน และแนนอนความกรอบของขนมปงปงท่ีคุณชอบยอมตางกัน ตัดปญหาเร�อ่งน้ีไปไดเลย เพียงคุณมีท่ีปงขนมปงกระจกใสแจวตัวน้ี คุณจะไดความกรอบอยางท่ีคุณพอใจ ย่ัวยวนดวยสีทองของเน้ือขนมปง อืม เห็นแลวชางเปนม้ือเชาท่ีแสนว�เศษ กระตุนไฟในการทำงานยามเชาเสียจร�งๆ

Transparent Toaster

Gadget

Credit : Terryswoodworking

Found on inspirationfeed.com

Found on babble.com

Found on ebay.com

Found on theawesomer.comCredit : bestproductsgadgets.com

Page 25: FUSION MAGAZINE Vol.1

Movie

FUSION MAGAZINE

Edutainment

25

Edutainm

ent

transcendence : (Sci-fi Thrillers)เขาฉาย 17 เมษายน 2557กำกับโดย Wally Pfisterการพลิกบทบาทของ จอนหนี่ เดปป ใหเปนนักว�ทยาศาสตรดานคอมพิวเตอร ที่สรางสุดยอดความฉลาดเหนือมนุษย พรอมกับความรูสึก ดวยโปรแกรมอัจฉร�ยะที่เช�่อมสมองของเขากับระบบปฎิบัติการ แตเกิดพลิกผันเมื่อเขากลับถูกตามลาดวยกลุมคนกลุมหนึ่ง เร�่องราวจะดำเนินไปอยางไร เขาจะกลายเปนคอมพิวเตอร หร�อคอมพิวเตอรจะกลายเปนเขา หร�อทั้งสองสิ่งจะกลายเปนสิ่งเดียวกัน ตองไมพลาด !

X-Men Days of Future Past (Action Sci-fi)เขาฉาย 22 พฤษภาคม 2557กำกับโดย Bryan Singer(ผูกำกับ X-MEN ภาคแรก และ Super Man Returns) เมื่อความหวังไมอาจคงอยูไดตราบนานเทานาน เหลาฮีโร ตางพากันสิ้นหวังการรวมตัวตอสูกับสงครามครั้งยิ่งใหญของเหลา X-MEN จ�งกอตัวข�้น เพื่อหาทางเอาตัวรอดจากสายพันธุที่มีอายุขามสองยุคสมัยในภาพยนตรเร�่อง X-MEN : DAYS OF FUTURE PAST เหลาตัวละครโปรดจากภาพยนตรไตรภาค "X-Men" ตนฉบับกลับมาผนึกกำลังรวมกับตัวเองในอดีตจาก "X-Men: First Class" ในการตอสูครั้งยิ่งใหญที่ตองเปลี่ยนแปลงอดีตเพื่อรักษาอนาคตของพวกเขาไว เร�่องราวนี้กำลังรอใหคุณติดตามชม หามพลาด!

Page 26: FUSION MAGAZINE Vol.1

EdutainmentEdu

tain

men

t

26 FUSION MAGAZINE

Talking Glossary of Genetics HD App ที่เต็มไปดวยงานชีววิทยาตาง ๆ ชวยเพิ่มเติมความรู หรือคนหาขอมูลไดอีกดวยนะ ที่สำคัญฟรี!พกพาติดตัวไดเสมอเลยนะ เพียงคุณมี สมารทโฟน

Nuclear Science Glossary Terms App นี้ เหมาะสำหรับคนที่อยากรูเรื่องของรังสีนิวเคลียรเลยคะ และยังอธิบายดวยนะวาแตละสวนของรังสีมาจากไหน มีองคประกอบอะไรบาง เยี่ยมยอดจริง ๆ

ผูคนพบระบบการไหลเวียนของโลหิต “วิลเลี่ยม ฮารวี่” (William Harvey) กำเนิดที่เมืองฟอลคสโตน ประเทศอังกฤษ

13 มีนาคม ค.ศ. 1738 27 มีนาคม ค.ศ. 1845 23 เมษายน ค.ศ. 18584 เมษายน ค.ศ. 1578

นักฟสิกสเคมีคนพบกาซออกซิเจน

ไนโตรเจนไดออกไซด แอมโมเนีย

ไนตรัส ฯลฯ “โจเซฟ พริสตลีย”

(Joseph Priestley)

(Wilhelm Conrad RöÖntgen) ผูคนพบรังสีเอ็กซ (X-rays) บางคนเรียกวา รังสีรีนตเกิน และยังเปนศาสตราจารยทางฟสิกสอีกดวย

ผูคนพบทฤษฎีควอนตัม (แสงที่วัตถุรอนเปลงออกมานั้น มีความเขมและความยาวคลื่นที่ขึ้นกับอุณหภูมิของวัตถุอยางไร) “แมกซ แพลงค”(Max Planck) โนเบลสาขาฟสิกส

Page 27: FUSION MAGAZINE Vol.1

EdutainmentEdutainm

ent

FUSION MAGAZINE 27

Exhibition

Website เลมนี้เราพิเศษหนอยคะ นอกจากเราจะแนะนำเว็บไซตแลว เรายังอยากเชิญชวนผูปกครองพานอง ๆ หรือบุตรหลานของคุณรวมกิจกรรมตาง ๆ ท่ี Kidzania เพราะท่ีน่ีเสริมสรางประสบการณอาชีพใหนอง ๆ ไดคนหาความฝนที่ตัวเองตองการ เอาละ โตขึ้นหนูอยากเปนอะไร?เขาไปดูที่ bangkok.kidzania.com

9.05.2014 งานบุญบั้งไฟยโสธรสวนสาธารณะ อ.เมือง จ.ยโสธรตื่นตากับการแขงขันบั้งไฟ สืบสาน

วัฒนธรรมประเพณีมาแตชานาน

แบบวิถีพื้นเมืองชาวยโสธร

พรอมความหลากหลายของแสงสี

และรูปทรง งานนี้มีดีแบบไมอั้น

รับชมดวยความระมัดระวังนะคะ

11.05.2014 ประเพณีงานบวชชางวัดแจงสวาง จ.สุร�นทรสืบทอดศิลปวัฒนธรรมแบบ

พื้นบาน "ประเพณีบวชนาคชาง"

รวมขบวนแหนาคชางนับรอยเชือก

และขอขมาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ งานแบบนี้

ตองเรียกวา งานชาง จริง ๆ คะ

5.06.2014 งานเทศกาลเท่ียวเมืองไทย 2557ชาเลนเจอร 1-3 อิมแพ็คอาร�นา เมืองทองธานี ปนี้ไมธรรมดานอกจาก

จะประชาสัมพันธเที่ยวเมืองไทยแลว

ยังรวมประชาสัมพันธประเทศ

ที่เขารวม AEC+6 อีกดวยนะ

สำหรับใครที่ตองการขอมูล

งานนี้พลาดไมไดคะ

14.06.2014 เทศกาลเงาะทุเร�ยน ของดีศร�สะเกษกิจกรรมดี ๆ มากมาย อาทิ สินคา

OTOP การประกวดธิดาชาวสวน

แขงขันการกินเงาะ ทุเรียน

รวมถึงกิจกรรมทางดานการเกษตร

อีกมากมาย นอกจากนี้ ยังมีแรลลี่

ทองเที่ยวการเกษตรเชิงอนุรักษ

ดวยนะคะ พลาดไมไดทีเดียวสำหรับ

คนรักเงาะและทุเรียน

Page 28: FUSION MAGAZINE Vol.1

28 FUSION MAGAZINE

Chill OutC

hill

Out

Chill Out เย็นย่ำ ค่ำตะวันตก กองทัพที่ดีตองเดินดวยทองคะ อีกรานเด็ดที่พรอมเติมเต็มทั้งความอบอุนฉบับครอบครัว สังสรรคกับเพื่อนฝูง หรือโรแมนติกกับคนที่คุณรัก หวานฉ่ำ เปรี ้ยวซา ไปกับหลากเมนูสไตลฟวชันฟูด ที่ 2 FOR Bistro Bar ไมวาจะเบา ๆ แบบ แซลมอนยำแอปเปลไทย ๆ กับตมขาไก หรือหนักขึ้นมาอีกหนอยกับพาสตาเสนดำหอยเชลล และตบทายดวยของหวานที่เด็ก ๆ และคุณผูหญิงตองไมพลาดกับ ทีรามิสุ ครบท้ังรสและบรรยากาศแบบน้ี สตารทเคร่ืองพบกันไดที่นี่เลยนะคะ สำหรับทุกวัน พุธ ศุกร และเสาร ออ ! เคายังมีดนตรีสดดวยนะ

สำรองที่นั่ง โทร. 084-918-5555 www.facebook.com/2for.bistrobar คริสตัล ดีไซน เซ็นเตอร (CDC) เฟส2

Page 29: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE

Chill Outเรื่อง : Multiknes

29

Chill O

ut

ตอนรับ ASEAN กันสักหนอยคะ ตอนนี้หลายคนนาจะศึกษาวัฒนธรรมของประเทศตาง ๆ กันบางแลว และบางคนก็เตรียมวางแผนแวะเวียนไปประเทศเพื่อนบาน เลมนี้เรามีเกร็ดเล็กนอยของวัฒนธรรมอาเซียนคะ

Tips

เรื่องนารู ตอนรับอาเซียน

Thaiไมควรแตะตองศีรษะหากบังเอิญไปสัมผัสเขา ควรรีบกลาวคำขอโทษ

MyanmarLao

CambudiaBrunei

เรื่องการเมืองนี่สำคัญนะคะ ไมควรคุยกับคนที่คุณไมสนิท

ขับรถตองชิดทางขวา

หากจำเปนตองอยูเกิน 3 เดือน แนะนำใหฉีดวัคซีนปองกันโรคไทฟอยด และไวรัสตับอักเสบเอและบี

หากจะจับมือรวมลงทุนศึกษาขอกฎหมาย การจดทะเบียนภาษี และแรงงานใหดี ๆ นะ

ผูที่นับถือศาสนาอิสลามจะไดรับสิทธิพิเศษ อาทิ ดานการศึกษา การมีบุตร งานแตงงาน

หามพกหมากฝรั่งเขาประเทศโดยเด็ดขาดจา

Vietnam

Malaysia

Singapore

PhilipineIndonesia

หามถายภาพในสถานที่ของรัฐนะ

ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผาสีเหลืองเพราะเปนสีของกษัตริยบรูไน

การใชมือซายถือเปนเรื่องไมสุภาพคะ จะทำอะไร ใชมือขวาดีกวา

ที่มา www. thai-acc.com/m-culture.go.th

Page 30: FUSION MAGAZINE Vol.1

30 FUSION MAGAZINE

“อาหารฉายรังสี” ดู เป นเร ื ่องที ่คนสวนใหญยังไมกลายอมรับ เพราะดวยความไม เข าใจในเทคโนโลยี บวกกับอาหารที่ใชวิธีการฉายรังสียังไมมีมากพอในทองตลาด อีกทั้งความเชื่อผิด ๆ ที่วาบริโภคอาหารที่ใชเทคโนโลยีเขามามีสวนเกี ่ยวในกระบวนการผลิต จะตองเปนอันตรายตอรางกาย

วันนี้เราจึงไดเชิญ คุณภาคภูมิ หอมสุวรรณ กรรมการผูจัดการ บริษัท สุทธิลักษณ อินโนฟูด จำกัด มาพูดคุยถึงผลิตภัณฑ แหนมฉายรังสี เจาแรกในประเทศไทย ที ่ไดรับความนิยมจากผูบริโภควาอรอย สะอาด และปลอดภัยจากเชื้อจุลินทรียมาเปนเวลากวา 20 ป ภายใตชื่อ“แหนมสุทธิลักษณ”

ปรับมุมมองใหมกับ “อาหารฉายรังสี”

คุณภาคภูมิ หอมสุวรรณกรรมการผูจัดการบริษัท สุทธิลักษณ อินโนฟูด จำกัด

คุณภาคภูมิ หอมสุวรรณกรรมการผูจัดการบริษัท สุทธิลักษณ อินโนฟูด จำกัด

คุณภาคภูมิ หอมสุวรรณกรรมการผูจัดการบริษัท สุทธิลักษณ อินโนฟูด จำกัด

Page 31: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE

Interview

31

Interview

ปรับมุมมองใหมกับ “อาหารฉายรังสี”

“แหนมของเรามีรสชาติท่ีอรอย กลมกลอม และเปนเอกลักษณ ไดรับการยอมรับจากผูบริโภคมากวา 30 ป”สำหรับ บริษัท สุทธิลักษณ อินโนฟู ด จำกัด เปนผู ผลิตและจัดจำหนายผลิตภัณฑหลักอยาง แหนมรูปแบบตาง ๆ กับแหนมฉายรังสี โดยใชชื ่อ “สุทธิลักษณ' และ 'แหนมดอนเมือง กม. 26” เราใสใจในทุกขั ้นตอนของกระบวนการผลิต คัดเลือกแตวัตถุดิบที ่สด สะอาด ถูกหลักอนามัย จากชื่อเสียงที่ขยายไปในวงกวางนี้เอง จึงทำใหสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ กระทรวงวิทยาศาสตร เลือกใหแหนมดอนเมืองเปนโรงงานนำรองในโครงการ "อาหารฉายรังสี” เจาแรกของเมืองไทย

“เรามีการคนควาและนำเทคโนโลยีใหม ๆ มาประยุกตใชกับผลิตภัณฑ

อยูเสมอ” ผลิตภัณฑท ี ่ เราตองการให เป นที ่ร ู จ ักในวงกวางคือ

“แหนมสุทธิลักษณ” ซึ่งเปนแหนมที่ใชเทคโนโลยีใหม โดยเฉพาะการ

ฉายรังสีเขามามีสวนรวมในขั้นตอนกระบวนการผลิต และปรับหนาตา

ของบรรจุภัณฑใหดึงดูดความสนใจ เผยใหเห็นลักษณะของเน้ือผลิตภัณฑ

สีสัน เนนคำวา แหนมพรอมทาน เขามาเปนจุดขายหลัก เพื่อจับกลุม

ผูบริโภคที่มีกำลังซื้อมากขึ้น โดยเพิ่มชองทางการจัดจำหนายไปยัง

Modern Trade และ Convenience Store ใหผู บริโภคสามารถ

เลือกซื้อไดสะดวก รวมทั้งไดนำไปวางจำหนายที่ 7-11 เพื่อตอบสนอง

Lifestyle ของผู ท ี ่ม ีช ีว ิตเร งรีบและตองการความสะดวกสบาย

เพื่อใหมีการยอมรับแหนมฉายรังสีมากขึ้น

“แหนมเปนอาหารชนิดเดียวที่ใชสวนผสมดิบและทานดิบได”

แหนมเปนอาหารชนิดเดียวที่ใชสวนผสมดิบและทานดิบได มีสวนผสม

หนังหมูตมสุก ขาวสุก กระเทียม เกลือ พริกและเครื่องปรุงอื่น ๆ

โดยมีเนื้อหมูดิบเปนสวนประกอบหลัก ซึ่งเปนที่ทราบกันดีวาเนื้อหมูดิบ

มีความเสี ่ยงในการปนเป อนคอนขางสูง และผู บริ โภคแหนมนั ้น

มักนิยมทานดิบ เพื่อสัมผัสกับรสชาติที่เปรี้ยว และกลิ่นเฉพาะที่มีแตใน

แหนมเทานั้น เมื่อไมผานการปรุงใหสุก ผูบริโภคจึงมีโอกาสเสี่ยงที่จะ

ไดรับอันตรายจากพยาธิ พยาธิตัวกลม (Tr ichinel la spi ral is )

พยาธิตัวตืด (Taemia solium) และเชื ้อซัลโมเนลลา (Salmonella)

ที่ทำใหเกิดโรคทองรวงและอาหารเปนพิษ

ความเสี ่ยงของผูบริโภคก็คือความเสี ่ยงของผูผลิต เราเห็น

ความเส ี ่ยงน ั ้นจ ึงนำเทคโนโลย ีการฉายร ังส ี ในอาหารท ี ่ ได ร ับ

การยอมรับอยางเปนสากล มาเปนสวนหน่ึงในข้ันตอนกระบวนการผลิต

ของแหนมสุทธิลักษณ เพื ่อทำใหแหนมนั้นสะอาด ปลอดจากพยาธิ

และเชื้อจุลินทรียตาง ๆ ที่จะนำไปสูโรค สรางความมั่นใจใหกับผูบริโภค

ณ ปจจุบันคิดวายังไมมีอาหารชนิดไหนที ่คิดวาจะเหมาะใชกับการ

ฉายรังสีแลวสามารถทำไดดี เพราะอาหารอ่ืน ๆ เชน หมูยอ ไสกรอกอีสาน

ปลารา ปลาสม ผูบริโภคนั้นก็นิยมที่จะปรุงสุกกอนที่จะนำไปรับประทาน

อยูแลว หากไปฉายรังสี อาจมีผลตอรสชาติ แตสำหรับอาหารพื้นบาน

ที่นิยมทานดิบ เชน กุงจอม ปลาจอม อาจจะฉายรังสีฆาเชื้อได แตก็ยัง

เปนอาหารที่ยังไมนิยมรับประทานอยางแพรหลาย จึงอาจไมคุมคาหาก

จะนำมาฉายรังสี อีกอยางที่สำคัญ คือ แหนมนั้นนอกจากทานดิบ ๆ

ไดทันที ก็ยังสามารถเปนสวนประกอบของอาหารหลากหลายเมนูไดอีกดวย

“แหนมเปนอาหารชนิดเดียวที่ใชสวนผสมดิบและทานดิบได”

Page 32: FUSION MAGAZINE Vol.1

32 FUSION MAGAZINE

Inte

rvie

w

“เรามีการคนควา และนำเทคโนโลยี มาประยุกตใช กับผลิตภัณฑ อยูเสมอ”

“ทุกวันน้ีผูบริโภคจึงม่ันใจในการเลือกรับประทาน แหนมสุทธิลักษณ”ซึ่งเปนแหนมฉายรังสี มากวา 20 ปแลว ในชวงแรก ๆ เราทำแหนมอัดแทง และสกรีนบรรจุภัณฑโดยใชคำวา “แหนมฉายรังสี” ก็สามารถขายไดแคเฉพาะกลุมผูบริโภคที่มีความเขาใจถึงเทคโนโลยีการฉายรังสีเทานั้น เชน หมอ บุคลากรในโรงพยาบาล หรือนักวิชาการตาง ๆ โดยไมตองอธิบายอะไรเพิ่มเติม เพราะเขาเชื่อมั่นในความปลอดภัยและสารตกคาง แตการทำลักษณะนั ้นเราก็ขายไดแค คนกลุ มเด ิม และขายดีเฉพาะช วงเทศกาล เมื่อคำวา “ฉายรังสี” ยังเปนคำที่ดูนากลัวและไกลตัวเกินไปสำหรับผูบริโภค ที่ไมมีความเขาใจวา เทคโนโลยีนี้เปนตัวชวยใหปลอดภัยมากกวาอันตราย เราจึงปรับกลยุทธใหม ใชคำวา “แหนมพรอมทาน” แทนคำวา “แหนมฉายรังสี” และใชโลโกการฉายรังสีสกรีนในดานหลัง ทุกวันนี้ผูบริโภคจึงมั่นใจที่จะเลือกรับประทาน “แหนมสุทธิลักษณ” ซ่ึงเปนแหนมฉายรังสีท่ีมีมากวา 20 ป บวกกับทุกวันนี้องคกรทางวิทยาศาสตรตาง ๆ และภาครัฐ ก็มีสวนชวยประชาสัมพันธถึงเทคโนโลยีที่ใชในอาหาร จึงชวยปรับทัศนคติของผูบริโภคตออาหารฉายรังสี จึงสามารถขยายฐานของผูบริโภคไดมากกวาเดิม

บวกกับทุกวันนี้องคกรทางวิทยาศาสตรตาง ๆ และภาครัฐ ก็มีสวนชวยประชาสัมพันธถึงเทคโนโลยีที่ใชในอาหาร จึงชวยปรับทัศนคติของผูบริโภคตออาหารฉายรังสี จึงสามารถขยายฐานของผูบริโภคไดมากกวาเดิม

ผลิตภัณฑ แหนมฉายรังสีที่มีขายมานานกวา 20 ป

Page 33: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE 33

“เราเลือกใชเทคโนโลยีท่ีดีท่ีสุดในการทำแหนมฉายรังสี เพราะคำนึงถึงความปลอดภัยของผูบริโภคเปนสำคัญ” บริษัท สุทธิลักษณ อินโนฟูด จำกัด ไดรับคัดเลือกใหเปนโรงงานนำรองในโครงการ "อาหารฉายรังสี" จากสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร เราเลือกใชเทคโนโลยีที่ดีที่สุดในการทำแหนมฉายรังสี เพราะคำนึงถึงความปลอดภัยของผูบริโภคเปนสำคัญ จึงมั่นใจไดวา ทุกครั้งที่บริโภค “แหนมสุทธิลักษณ” นั้น นอกจากจะไดรับความอรอยจากรสชาติท่ีกลมกลอมแลว เร่ืองมาตรฐานความปลอดภัยก็มั่นใจไดแนนอน “หากเรารวมกลุมกัน มันจะมีความหนักแนนมากพอท่ีจะทำลายความเช่ือเดิม ๆ ของอาหารฉายรังสีท่ีคิดวาอันตรายลงไปได” อาหารฉายรังสีไม ใช เร ื ่องใหมสำหรับคนไทย แตสำหรับผูประกอบการที ่ทำอาหารฉายรังสีนั ้นถือวามีนอยมาก หากเรารวมตัวผูผลิตแหนมใหไดเปนกลุมเริ่มแรกจาก 10 รายขึ้นไป โดยภาครัฐ และองคกรที่เกี่ยวของเขามาสนับสนุนหลักในการฉายรังสีชวยผลักดัน ก็จะทำใหเทคโนโลยีน้ีเปนท่ีแพรหลายในวงกวาง เปนท่ียอมรับ

ของผูบริโภค ลำพังเราทำแคเจาเดียวก็ยังไมมีน้ำหนักมากพอที่คนสวนใหญจะเชื่อ แตหากเรารวมกลุมกัน มันจะมีความหนักแนนมากพอที่จะทำลายความเชื่อเดิม ๆ ของอาหารฉายรังสีที่คิดวาอันตรายลงไปไดเทคโนโลยีตาง ๆ นั้น เกิดขึ้นมาเพื่อทำประโยชนมากมายใหกับโลก ไมวาจะนำมาใชกับดานใด ก็ลวนแตชวยใหทุกอยางพัฒนามากกวาเดิม ในความเปนจริงแลวการฉายรังสีในอาหาร เปนสิ่งที่ชวยใหเราปลอดภัยจากโรคตาง ๆ ที่จะเกิดจากเชื้อจุลินทรีย แตที ่ยังไมถูกการยอมรับอยางกวางขวาง เพราะเราฝงใจกับขาวสารอุบัติเหตุนิวเคลียรที่เกิดจากความมักงาย ผู ใช ในทางที ่ ไม ถ ูกตองมาเป นเวลานาน แตว ันนี ้ “แหนมสุทธิลักษณ” แหนมฉายรังสีเจาแรกของประเทศไทย ไดพิสูจนใหเห็นแลววา อาหารฉายรังสีน้ันไมเปนอันตราย

Page 34: FUSION MAGAZINE Vol.1

34 FUSION MAGAZINE

อธิบายประโยชนของรังสี ที่เกี่ยวของดานอาหารการกิน ประโยชนของรังสี ที ่เกี ่ยวของดานอาหารการกิน คือ1. ชวยยับยั้งการงอกในพืชหัว เชน หอมหัวใหญ หอมแดง กระเทียม มันฝรั่ง เปนตน เพื่อใหสามารถเก็บรักษาอาหารไวได นานขึ ้น (รวมกับการเก็บรักษาที ่อ ุณหภูมิเหมาะสม)2. ควบคุมการแพรพันธุของแมลงในผลไม หรือธัญพืชตาง ๆ3. ลดปริมาณเชื้อจุลินทรีย และทำลายเชื้อกอโรคที่ปนเปอนในอาหาร เชน อาหารหมักดอง อาหารแชแข็ง เครื ่องเทศ และสมุนไพร เปนตนประเทศไทยมีการฉายรังสีอาหารมานานแคไหน เริ่มมีการฉายรังสีทางการคาที่ศูนยฉายรังสี คลองหาปทุมธานี ในป 2532 ซึ่งเปนเวลาประมาณ 25 ปมาแลวการยอมรับอาหารฉายรังสีทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ ในประเทศไดรับการยอมรับจากสำนักงานอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ปจจุบันมีประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องอาหารฉายรังสี ป 2553 ในสวนตางประเทศ หนวยงาน WHO/ FAO / IAEA และ CODEX ใหการยอมรับการฉาย

รังสีอาหารที่ปริมาณรังสีสูงสุดไมเกิน 10 kGy และไดรับการรับรองโรงงานฉายรังสีผลไมเพื ่อการสงออกประเทศสหรัฐอเมริกาเปนแหงแรกของประเทศไทย สามารถฉายรังสีผลไม 6 ชนิด นำเขาประเทศสหรัฐอเมริกา ไดใน ป 2550สทน. ใหบริการฉายรังสีแกสินคาประเภทใดบาง • ผลิตผลทางการเกษตร เชน ธัญพืช หอมแดง กระเทียม มันฝรั ่ง เปนตน • ผลไมสดและผลไมแหง • อาหารแหง• อาหารหมักดอง เชน แหนม ปลารา กุงจอม • อาหารแชแข็ง • เครื่องเทศสมุนไพร• อาหารสัตว และขนมขบเคี้ยวของสัตว (Dog chewing)• วัสดุทางการแพทย (ถุงมือ ขวดยา จุกยาฉีด สายน้ำเกลือ)ฝากถึงผูบริโภค อาหารที่ผานการฉายรังสี ทางสถาบันฯ ขอรับรองวาอาหารฉายรังสีมีความปลอดภัยไมมีการตกคางของกัมมันตภาพรังสี เนื ่องจากพลังงานของรังสีแกมมาที ่ ใชไดรับการวิจัยและยอมรับวาเปนระดับพลังงานท่ีไมกอใหผลิตภัณฑน้ัน ๆ เกิดเปนสารกัมมันตภาพรังสี โดยไดรับการยอมรับจาก หนวยงาน CODEX มากวา 30 ป

Page 35: FUSION MAGAZINE Vol.1

Interview

FUSION MAGAZINE 35

ผูประกอบการ หรือผูที่สนใจสอบถามรายละเอียดที่ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)ศูนยฉายรังสี คลอง 5 จ.ปทุมธานี โทร. 02-4019889 ตอ 6102-3

ถนนคลองหลวง

ถนนรังสิต-นครนายก

ถนนเล

ียบคลองห

ถนนลำลูกกา

ม.ธรรมศาสตร (รังสิต)

ไปปทุมธานี ดรีมเวิรด

ฟวเจอรปารครังสิต

เซียรรังสิต

ไปลำลูกกา

ไปนครนายก

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แหงประเทศไทย (วว.)

วัดธรรมกาย

อาคารอนุรักษพลังงาน

อาคารพิพิธภัณฑวิทยาศาสตร

ศูนยฉายรังสี

เทคโนธานี

“เราไมตองไปกลัวนิวเคลียรเลย

เพราะมันอยูรอบตัวเราอยูแลวนำมันมาใช

ประโยชนดีกวา”

และมีการวิจัยและยอมรับวาไมมีการเปลี่ยนแปลงในสวนของสารอาหารตาง ๆ รวมถึงสารออกฤทธิ์ที่มีผลตอผูบริโภคแตอยางใด ในดานอาหารที ่ เหมาะสมกับการฉายรังสีค ือ อาหารแหง หรือประเภทวัตถุดิบ แตไมเหมาะกับอาหารที่มีน้ำ โปรตีนและไขมันเปนสวนประกอบสูง เนื่องจากอาจเกิดกลิ่นเหม็นหืนจากปฏิกิริยาออกซิเดชั่น และการฉายรังสีจัดเปนการลดปริมาณเชื้อแบบ “Cold Pasteurization” และไมมีอันตราย วัตถุดิบผสมอาหาร (แปงขาวเจา) ฝากถึงผูประกอบการและผูบริโภคอาหารฉายรังสี สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) เปนหนวยงานหลักในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร เพื่อใชประโยชน และใหบริการแกประชาชน ลูกคาทั ้งภาครัฐ และเอกชน อยากฝากถึงผูประกอบการ คือ การฉายรังสีในผลิตภัณฑจะชวยลดการสูญเสียท่ีเกิดข้ึนจาก แมลง จุลินทรีย ที ่เกิดขึ ้นกับผลิตภัณฑ อีกทั ้งสามารถเก็บไดยาวนานกวา สามารถควบคุมจุลินทรียไดตามมาตรฐานท่ีกำหนด และปราศจากเชื้อกอโรคที่กอใหเกิดปญหากับผูบริโภค

ดร.สมพร จองคำ ผูอำนวยการ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

Interview

Page 36: FUSION MAGAZINE Vol.1

36 FUSION MAGAZINE

On The EarthO

n th

e Ear

th

EXCLUSIVEFOODON THE EARTH

เช่ือวาหลาย ๆ ทานนาจะผานหู ผานตา สำหรับอาหารชนิดน้ีมาบางแลวคาเวียรที่แสนแพงนั้นแทจริงแลวคือ ไขของปลาสเตอรเจียน (Sturgeon) ที่ผานการหมัก และปรุงรสมาแลว ซึ่งคาเวียรมาจากภาษาเปอรเซีย หมายความวา ไขปลาท่ีปรุงรส น่ันเอง ในอดีต “คาเวียร” นับเปนอาหารโปรดสำหรับจักรพรรดิรัสเซีย และชาหแหงอิหราน รวมท้ังชนช้ันสูงในรัสเซียเพราะมีความเชื่อวาเปนอาหารอายุวัฒนะ คาเวียรที่ไดรับความนิยมและมีช่ือเสียงมาจากฝงทะเลแคสเปยน แถบอาเซอรไบจัน อิหราน และรัสเซีย *ปจจุบันองคการ CITES (Convention on International Trade in Endangerd Species)

ซึ่งมีหนาที่ควบคุมการคาสัตวและพืชที่ใกลสูญพันธุทั้งหมดราว 30,000 สปชีส

ไดเขามาควบคุมการทำรายปลา Sturgeon ดวย เพื่อไมใหปลาชนิดนี้สูญพันธุ

อีกหนึ่งเมนูที่เชื่อวาหากไดลิ้มรส ตองติดใจกันเลยทีเดียวคะ นั่นคือ หอยนางรมสด ๆ โดยขึ้นชื่อที่สุดตองมาจากมหาสมุทรแอตแลนติค ไมวาจะเปนดาน ฝงตะวันตกของยุโรป หรือดานชายฝงตะวันออกของอเมริกา เนื่องจากสายพันธุ และความหนาวเย็นของกระแสน้ำ ทำใหเนื้อหอยมีความมัน รสหวาน นุมนวล ดวยเหตุน้ีจึงทำใหชาวฝร่ังเศส ยกใหหอยนางรมเปนอาหารขึ้นโตะสุดหรูหราในวันคริสตมาส อีฟดวยนะ *การกินหอยนางรมของชาวตะวันตก จะยึดถือความสดใหม จะกินแบบสดๆ โดยมีมะนาวผากลาง

เกลือปน และเนยสดเปนเครื่องเคียง

Oysters: หอยนางรม

Beluge Caviar: ไขปลาคาเวียร• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

Page 37: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE

On The Earth

37

On the E

arth

ตับหาน ไดจากการขุนหานใหอวนดวยการตอทอตรงถึงกระเพาะ เพื่อปอนธัญพืชปน เพื่อใหตับมีขนาดใหญกวาปกติ ฟวกราสไดชื่อวาเปนอาหารฝรั่งเศสที่ดีที่สุด เชนเดียวกับทรัฟเฟล มีลักษณะนุมมัน และมีรสชาติที่แตกตางจากตับของเปดหรือหานธรรมดา และเปนหนึ่งในอาหารฝรั่งเศสที่ทั่วโลกรูจักมากที่สุดนอกเหนือจาก ไขปลาคาเวียร การทำฟวกราสสวนใหญใชหาน Moulard ขุน และเมืองที่ขึ้นชื่อเรื่องการทำตับหานมากที่สุดคือ เมือง Strassburg เนื่องจากเมืองนั้นเปนผูผลิตหลักของผลิตภัณฑอาหารชนิดนี้ *ปจจุบันบางประเทศมีการประกาศหามนำเขา เนื่องจากถือเปนการทารุณสัตวอยางมาก

อีกหนึ่งเมนูเด็ดที่พลาดไมได หากจะเปรียบก็เหมือนราชาแหงกุงก็เปรียบไดเลย จะกลาวไปแลวนับวา Lobster ถือเปนอาหารที่มีราคาแพง

แตรสชาติอรอยสมราคาเลยทีเดียว แตเชื่อหรือไมคะแตเดิมกุงชนิดนี้ถือไดวาเปนอาหารชั้นต่ำ ในทวีปอเมริกาเหนือ

กอนศตวรรษที ่ 20 ซึ ่งการกินกุ งนี ้ถือเปนสัญลักษณของความยากจน และชาวนาของแคนาดายังเคยใชกุงทะเลทำปุย หรือใชเปนอาหารสำหรับพวกทาสหรือคนระดับลาง แตในปจจุบันกุงชนิดนี้

กลายเปนสินคาสงออกที่มีชื่อเสียงของอเมริกา โดยแพงที่สุดก็คือAudresselles ซึ่งนับวาแพงและหายาก อีกทั้งยังเปนที่นิยมของ

บรรดาราชวงศและชนชั้นสูงในฝรั่งเศสและเนเธอแลนด

ใครจะเชื่อละคะ วาเจาเห็ดหนาตาแบบนี้จะหายากและเปรียบเสมือนทองคำเลยเชียว บางคนถึงกับใหฉายาวาเปน “อัญมณีสีดำ” และ “อัญมณีสีขาว” ใชแลวคะ มันคือเห็ดทรัฟเฟล ที่มีผิวขรุขระเปนปุมหนาม ขนาดเพียงลูกกอลฟ แข็งเหมือนทอนไม แตมีกลิ่นหอมสดชื่นคลายผลไมสุก อาศัยและเจริญเติบโตใตดิน ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม เชน บริเวณตนโอก เกาลัด และตนสน นอกจากนี้ ยังมีวิธีการเก็บไมเหมือนใครคะ ตองขุดลึกลงไปใตดิน เสมือนหาแหลงน้ำกันเลยทีเดียว สำหรับเห็ดทรัฟเฟลที่มีราคาแพงที่สุด จะเปนเห็ดที่มาจาก ยอดเขาอุมเบรีย (Umbria) ทำใหมันไดรับขนานนามวาเปนหัวใจสีเขียวของอิตาลีเลยทีเดียว เพียงแคไดกลิ่นก็ตองมนตของเจาเห็ดทรัฟเฟลนี่แลวคะ *เห็ดทรัฟเฟลดำ และเห็ดทรัฟเฟลขาวถือเปนราชาแหงเห็ด ซึ่งมีถิ่นกำเนิดในแถบ Langhe แหงแควนปเอมอนเต ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี

Lobster: ล็อบสเตอรหรือกุงทะเลใหญ

White Truffles: เห็ดทรัฟเฟล

Foie gras: ฟวกราส (ฝรั่งเศส : Foie gras หรือ Fat liver) • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

Page 38: FUSION MAGAZINE Vol.1

On The EarthO

n th

e Ear

th

38 FUSION MAGAZINE

เนื้อวัวที่ขึ้นชื่อวาอรอยนุม ฉ่ำ แทบไมตองเคี้ยว อันเลื่องชื่อ ทราบไหมคะ นั ่นคือเนื ้อที ่ ไดจากวัวโคทาจิมะ ซึ ่งเปนสายพันธุ หนึ ่งของวางิว (Wagyu) นั ่นเองคะ ซึ ่งมีอยู ดวยกันถึง 4 สายพันธุ แตที ่ ไดขึ ้นชื ่ออยางมากนั ่นคือ Japanese Black ซึ่งเปนที่มาของ Kobe beef และ Matsusaka beef ซึ่งนับวาคุณภาพดีที ่สุดในโลก มีความนุ ม และที ่สำคัญไขมันเปนชนิดที ่ปลอดภัยตอสุขภาพอีกดวยคะ เนื้อโคโกเบเริ่มเปนที่รูจักของชาวโลกก็ตอนที่เมืองโกเบ เริ่มทำการเปดทาเรือพาณิชยเปนครั้งแรกในเดือนธันวาคม

ป 1868 และร่ำลือกันวาเปนเนื้อชั้นดีที่นุม นารับประทาน ถึงขนาดไดชื่อวาเปนราชินีแหงเนื้อ ซึ่งเกษตรกรเลี้ยงวัว

ดวยเบียร และเหลาสาเก และยังมีการนวด และแปรงขน ทำใหโคขุนสงบและไมเครียด ทำใหขบวนการเผาผลาญ

ในรางกายสมบูรณ นอกจากนี้เนื้อโกเบยังมีโคเลสเตอรอลต่ำอีกดวยนะ

อาหารชนิดนี้ไมกลาวถึงคงไมได ซึ่งเคยมีนักชิมกลาวไววา “เปนความอรอยที่หากตองแลกดวยความตาย..ก็ยังยอม” หากพูดถึงปกเปาแลว ทุกคนก็จะนึกถึงปลาชนิดหนึ่งที่สามารถพองลมไดเวลามีอันตราย และมีหนามแหลมรอบตัว จากรูปลักษณภายนอกไมนาเชื่อเลยคะ วาเปนอาหารชั้นเลิศที่ไดรับความนิยมมากเชนกัน โดยนิยมรับประทานเปนซาซิมิ ซึ่งการรับประทานฟุหงุจะอันตรายหรือไมขึ ้นอยูกับเชฟ เนื่องจากพิษของฟุหงุอยูที ่ตับและน้ำดี กรรมวิธีนั ้นตองควักตับและระวังไมใหแตกคะ ไมเชนนั้นพิษในน้ำดีจะกระจายสูเนื ้อปลา เชฟที่จะทำฟุหงุตองมีการสอบ และตองไดรับใบประกาศนียบัตรกอนนะคะ จึงจะสามารถประกอบอาหารใหเราทานกันได และเชื่อหรือไม เชฟที่เกงจริงตองแลฟุหงุโดยใหมีพิษติดเนื้อเล็กนอย นั่นถือเปนสุดยอดในการลิ้มรสเลย*พิษของฟุหงุแรงกวาไซยาไนดประมาณสิบเทา หากใครโดนพิษเขาไปจะรูสึกชาที่ริมฝปาก

และปลายลิ้น ตอจากนั้นจะเริ่มปวดหัว ปวดตามมือและเทา ปวดทองและอาเจียนรุนแรง

จนกระทั่งรางกายจะเปนอัมพาตและเสียชีวิตในที่สุด

Fugu: ปลาฟูหงุ หรือปลาปกเปาทะเล

Kobe Beef: เนื ้อวัวโกเบ

• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

Page 39: FUSION MAGAZINE Vol.1

On The EarthO

n the Earth

FUSION MAGAZINE 39

เดิมยุคจักรพรรดิจีนมีความเชื่อวาหากไดกินรังนกที่ทำจากน้ำลายนก จะชวยใหปอด และหลอดลมของคนที่กินแข็งแรง หรือชวยรักษาโรคปอด จึงมีการสงคนมาทางใต (เขตรอนแหลมมาลายู) เพื่อเสาะหารังนกไปถวายฮองเต โดยการนำไปตมกับน้ำตาลกรวด ซึ่งคนสามัญชนไมมีสิทธ์ิล้ิมรส นอกจากน้ี ยังมีอาหารอีกประเภทหน่ึง ที่ไมคิดวาจะมีราคาแพงติดอันดับ นั่นก็คือ น้ำลายของนกนางแอน หรือรังนกนั่นเอง ซึ่งชนิดที่แพงที่สุด คือ รังนกสีแดง ที่เกิดจากปฏิกิริยาทางเคมีกับสารประกอบประเภททองแดงบนผนังถ้ำ ซึ่งจะพบไดในถ้ำที่มีระบบนิเวศนที่สมบูรณ *ปจจุบันมีการทำฟารมเลี้ยงทางภาคใตของไทยและจีน

นับไดวาเปนราชาเห็ดแหงฤดูใบไมรวง ซึ่งจะมีกลิ่นเยายวนใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อนำไปทำน้ำซุปจะไดกลิ่นกลมกลอม พบไดตามตนสนในภูเขา ซึ่งไดรับความนิยมในประเทศญี่ปุน และเปนของดีเมืองทัมบะชาวบานที่นี่จะเก็บเห็ดในชวงตนเดือนตุลาคม วากันวาเห็ดชนิดนี้ไมสามารถปลูกเองได ทำใหผูผลิตบางรายยึดภูเขาสำหรับปลูกไวขายโดยเฉพาะ

สุดยอดเครื่องเทศที่มีราคาแพงที่สุดในโลก คุณภาพดีที่สุดตองเปนของประเทศอิหราน เปนเครื่องเทศสีแดง ที่ผลิตจากเกสรดอกแซฟเริ่น (Saffron Crocu) โดยนำสวนเกสรมาตากใหแหง โดย กวาจะได 0.45 กิโลกรัมนั้นตองใชดอกไมถึง 50,000 – 75,000 ดอก หรือท้ังสนามฟุตบอลเลยทีเดียว หญาฝรั่นจะมีกลิ่นเหมือนหญาหรือฟางแหง ทางยุโรป เปอรเซีย อาหรับ และตุรกี นิยมผสมในลูกกวาดและเครื่องดื่มแอลกอฮอล ซึ่งคุณสมบัติของหญาฝรั่นนี้เปนสารตานอนุมูลอิสระ (สามารถตานมะเร็ง) ไดดวยนะ

Matsutake: เห็ดมัทซึตาเกะ

Saffron: แซฟเริน หรือหญาฝรั่น

Bird’s Nest: รังนก

• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

Page 40: FUSION MAGAZINE Vol.1

40 FUSION MAGAZINE

เรื่องเลา Bloggerเรื่อง : สุรศักดิ์ พงศพันธุสุข

Blo

gger

ที่เมืองแมนเชสเตอรประเทศอังกฤษ ผมมีวีรบุรุษในดวงใจอยู

สองคน คนแรกคือนักวิทยาศาสตรผูยิ่งใหญของโลก เออรเนสต

รัทเทอรฟอรด (Ernest Rutherford) ที ่ความชื ่นชมของผม

เกิดจากหนาที่การงานเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียรที่ทำใหรูจักเขา

อีกคนคือผู จ ัดการทีมฟุตบอลที่ถ ึงว ันนี ้ยิ ่งใหญที ่ส ุดในโลก

อเล็กซ เฟอรกูสัน (Alexander Ferguson) ที่ผมมีความชื่นชอบ

กีฬาฟุตบอลเปนการสวนตัว

วีรบุรุษในดวงใจของผมสองคนน้ีมีความคลายคลึงกันหลายดาน

ซึ่งที่แน ๆ ก็คือ ทั้งคูเกี่ยวของกับเมืองแมนเชสเตอร โดยไมใช

ชาวเมืองแมนเชสเตอรโดยกำเนิด

รัทเทอรฟอรดเปนชาวนิวซีแลนดท่ีมาสรางช่ือในประเทศอังกฤษ

เขาไดรับรางวัลโนเบลสาขาเคมีเมื่อป 1908 แตมีผลงานเดนที่สุด

ก ับมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร (Victoria University of

Manchester) ที่เมืองแมนเชสเตอร ไดแก การคนพบนิวเคลียส

ของอะตอม ในป 1911 อันเปนจุดต้ังตนของการคนพบและใชงาน

พลังงานนิวเคลียร

สำหรับเฟอรกูสันก็เปนชาวสกอตท่ีมาสรางช่ือท่ีเมืองแมนเชส-

เตอรเชนกัน จากการเปนผูจัดการทีมฟุตบอลแมนเชสเตอร ยูไนเต็ด

โดยเปนผูจัดการทีมฟุตบอลที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในโลก

ที่แปลกก็คือ ที่จริงพอของรัทเทอรฟอรดก็เปนชาวสกอตที่อพยพ

จากเมืองเพิรททางตอนกลางของสกอตแลนดลงเรือเดินทางไปตั้ง

รกรากที่นิวซีแลนด ดังนั้น ทั้งรัทเทอรฟอรดและเฟอรกูสันตาง

ก็มีสายเลือดสกอตอยูในตัวทั้งคู จากความสำเร็จในวิชาชีพของ

ทั้งสองคนซึ่งสรางชื่อเสียงใหกับประเทศอังกฤษ ทั้งคูจึงไดรับการ

ตอบแทนโดยรัทเทอรฟอรดไดรับเกียรติในฐานะ ลอรดรัทเทอร

ฟอรดแหงเนลสัน (The Lord Rutherford of Nelson ซ่ึงเนลสัน

คือเมืองเกิดของเขาในประเทศนิวซีแลนด) มีสิทธิ์เขาประชุมใน

รัฐสภา สวนเฟอรกูสันก็ไดรับเครื่องราชอิสริยาภรณโดยลำดับ

จนถึงชั ้นอัศวินที ่เรียกวา เซอรอเล็กซ เฟอรกูสัน (Sir Alex

Ferguson, CBE Kt) ทั้งคูคือความภูมิใจอยางสูงของสถาบัน

ท่ีตนเองสังกัด โดยมีการจัดสรางถาวรวัตถุประดับไว ไดแก สำหรับ

รัทเทอรฟรอดที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอรไดทำแผนจากติดไว

ที ่ผนังอาคารคุปแลนด มีคำจารึกวาเปนผู บุกเบิกดานฟสิกส

นิวเคลียร คนแรกที ่ผาอะตอมสำเร็จและไดรับรางวัลโนเบล

สาขาเคมี ประจำป 1908 และสำหรับเฟอรกูสัน สโมสรแมนเชส-

เตอร ยูไนเต็ดไดสรางรูปปนสำริดสูง 9 ฟุต ในทายืนกอดอก

ตั้งไวที่ดานทิศเหนือดานนอกของสนามเพื่อเปนเกียรติในโอกาส

ท่ีเปนผูจัดการทีมเปนเวลานานถึง 25 ป ในเดือนพฤศจิกายน 2011

โดยมีพิธีเปดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2012

รัทเทอรฟอรดมาอยูที่แมนเชสเตอรในฐานะครู และไดปน

ลูกศิษยเกง ๆ ไวหลายคน ท่ีแน ๆ คือ ฮันส ไกเกอร (Hans Geiger)

และเออรเนสต มารสเดน (Ernest Marsden) ที ่เปนลูกมือ

ทำการทดลองที่คนพบนิวเคลียสของอะตอม ซึ่งในเวลาตอมา

ไกเกอรยังไดประดิษฐเครื่องวัดรังสีที่มีชื่อเรียกตามชื่อของเขาคือ

เครื่องนับรังสีไกเกอร (Geiger counter) รัทเทอรฟอรด ยังมี

ลูกศิษยเกงชนิดไดรับรางวัลโนเบลดวย เชน นีลส โบร (Niels Bohr)

รัทเทอรฟอรดกับเฟอรกูสัน

2 บุคคลสำคัญ แหงเมืองแมนเชสเตอร

Page 41: FUSION MAGAZINE Vol.1

94131 December

871

FUSION MAGAZINE

เรื่องเลา Blogger

41

Blogger

Phot

ogra

pher

: M

itch

Gun

n / S

hutte

rsto

ck.com

Manchester - city in North West England (UK). City Hall.

คนแรก ๆ ที่เสนอโมเดลของอะตอม จอหน คอกครอฟต (John Cockcroft) ผูรวมประดิษฐเครื่องเรงอนุภาค และเจมส แชดวิก

(James Chadwick) ผูคนพบนิวตรอน เฟอรกูสันในฐานะผูจัดการทีมและโคชก็ในทำนองเดียวกัน เขาไดสรางนักฟุตบอลเกง ๆ

ไวมากมายโดยเฉพาะกลุมที่เรียกวา คลาสสออฟไนนตีทู (Class of 92) ซึ่งเปนเด็กที่ฝกฝนจากโรงเรียนฟุตบอลของสโมสรเอง

แลวป นจนเกงและมาโดงดังในทศวรรษ 1990 นักเตะพวกนี้คือ เดวิด เบ็กแฮม (David Beckham) นิกกี ้ บัตต (Nicky Butt)

ไรอัน กิกก (Ryan Giggs) แกรี เนวิลล (Gary Neville) ฟลิป เนวิลล (Philip Neville) และ พอล สโคลส (Paul Scholes)

นอกจากนี้ เฟอรกูสันยังสรางนักเตะอื่น ๆ ที่ซื ้อจากทีมอื่นมาปนจนเกง เชน เอริก คันโทนา และ คริสเตียโน โรนัลโด

เกียรติสูงสงในลำดับสุดทายท่ีรัทเทอรฟอรดไดรับก็คือ

เม่ือเขาถึงแกกรรมในขณะอายุได 66 ป เถากระดูกของเขา

ไดถูกนำไปฝงท่ีวิหารเวสตมินเตอร (Westminster Abbey)

ใกล ๆ กับที่ฝง เซอรไอแซก นิวตัน (Isaac Newton)

และนักวิทยาศาสตรผูมีช่ือเสียงคนอ่ืน ๆ ของอังกฤษน่ันเอง

194131 December

87130 August

Phot

ogra

pher

: M

itch

Gun

n / S

hutte

rsto

ck.com

187130 August

87130 August

Sir Alex FergusonThe Lord Rutherford of Nelson

Page 42: FUSION MAGAZINE Vol.1

Health

42 FUSION MAGAZINE

Healthเรื่อง : Multiknes

Hea

lth

DETOX Yourselfifby

หลังจากเหนื่อยลากับการทำงานมาพอสมควร

วันหยุดสุดสัปดาหทั้งที แบงเวลาดูแลตัวเองกันสักนิด

บางคนใหรางวัลตัวเองดวยอาหาร หรือชอบตามใจปาก

จริง ๆ แลวก ็เป นการผอนคลายไดด ีอ ีกวิธีหนึ ่งนะ

แตวาอาหารหลายประเภทก็มีดีและโทษตอรางกาย

แตกตางกันออกไป แลวเราจะทราบไดอยางไร วาส่ิงท่ีอยูใน

ทองของเราน้ัน ไมถูกสะสมดวยสารพิษ และกอใหเกิดโทษ

ใหเราในวันขางหนา

การท่ีไขมันเกาะตามผนังลำไส กระเพาะอาหารนั้น

ทำใหเกิดโรคตาง ๆ มากมาย หากเจาไขมันไปเกาะที่

ถุงน้ำดีมากเกินไป จะสงผลใหสายตาเสื่อม ฉุนเฉียวงาย

นอนไมหลับ ปวดเม่ือยตามรางกาย หากเกาะท่ีลำไสเล็ก

ก็จะทำใหไมสามารถดูดซึมวิตามินซีไดคะ ทำใหเราเปน

ไขหวัดไดงาย บางรายก็เปนภูมิแพ จามทุกเชา นั่นเอง

แคเกร่ินไปเล็กนอยสำหรับโทษของไขมัน แบบนี้แลว

เราจะปลอยใหไขมันทำรายเราตอไปไมไดอีกแลว

วันนี ้เราเลยอยากชวนคุณ มาทำดีท็อกซลำไสกันคะ

ไมยุงยากหรือนากลัวเลย แถมยังถูกใจคุณสาว ๆ ดวย

อีกทั้งยังใชเปนเทคนิคของการลดไขมันหนาทองไดอีกนะ

Page 43: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE

Health

43

Health

เมื่อวัตถุดิบพรอมแลวนำมาผสมใหเขากันเลยคะ

ด่ืมตอนเชากอนอาหารท้ิงไวประมาณ 15 – 30 นาที

แลวดื่มน้ำตาม 1 – 2 แกว หากสังเกตจะเห็น

ไดเลยวา อุจจาระจะเปนสีดำและแกสในกระเพาะ

จะระบายดีมาก ๆ แนะนำวา หากทำครั้งแรก

ทดลองเปนวันหยุดก็ดีนะคะ เพื่อใหลำไสของเรา

ไดปรับตัวสักนิด ไมเชนน้ัน ขณะเดินทางหรือไปทำงาน

ในสภาวะเรงรีบรถติด ๆ อาจจะแยไดนะ ^^

1

4 โยเกิรตรสจืด

มะนาวสด 1 ลูก

น้ำผ้ึงแท 1 ชอนโตะ

นมสดจืด 250 ml.

2

อยาเสียเวลา เริ่มกันเลยดีกวาคะ

เห็นไหมคะ สุขภาพรางกายดี สุขภาพจิตก็ดี แถมยังชวยใหผิวพรรณ

หนาตาเปลงปลั่งอีกดวยนะ

3

Page 44: FUSION MAGAZINE Vol.1

44 FUSION MAGAZINE

WorkshopCredit : Steve Spangler Science

Wor

ksho

p

นอง ๆ หลายคนสงสัยกันแลวสิ วันนี้เราจะทำอะไร วันนี้เราจะมาทำการทดลองทางวิทยาศาสตรกันคะ เพื ่อใหเขาใจถึงหลักการทั ้งหมดกันนะคะ (การทดลองนี ้แนะนำวาควรอยู ภายใตการดูแลของผูใหญคะ)

มาเตรียมอุปกรณกัน !มีดังนี้1. ลูกโปง แบบใสและแบบทึบแสง2. น้ำแข็งแหง (Dry ice)3. ภาชนะเล็ก ๆ สำหรับใส4. ถุงมือยาง หรือ ที่คีบ

เมื่อของพรอมแลว มาลุยกันเลยนะ

(เด็ก ๆ ควรอยูภายใตการ

ดูแลของผูปกครองนะ)

เมื่อของพรอมแลว

1. ลูกโปง แบบใสและแบบทึบแสง1. ลูกโปง แบบใสและแบบทึบแสง

Page 45: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE

Workshop

45

Workshop

น้ำแข็งแหง (Dry ice) เปนคารบอนไดออกไซดในสถานะของแข็ง เรียกอีกชื่อหนึ่งวาคารบอนไดออกไซดแข็ง หรือ Solid Carbon Dioxide ไดจากการนำกาซคารบอนไดออกไซดมาผานกระบวนการอัดและทำใหเย็นลง ผลที่ไดคือ เจา Dry ice นี้ จะทำการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO) นี้ออกมาเมื่อสัมผัสอากาศที่อุนกวาทำใหลูกโปงขยายตัวตามความหนาแนนของกาซที่ปลอยออกมาดันเจาลูกโปงจึงขยายออกมา

จะมีอะไรเกิดขึ้นเรามาดูกันดีกวานะ

ทำไมน้ำแข็งแหง (Dry ice) ทำใหลูกโปงใหญขึ้น ?

6. ถาอยากทราบวาเกิดอะไรขึ้นในลูกโปง แนะนำใหใชเปนลูกโปงแบบใส ก็ไดนะ

2. นำใสลงไปในลูกโปง ขั้นตอนนี้ นอง ๆ ควรสวมถุงมือนะ

3. ใสลงไปแลว ก็รัดปากลูกโปง เพื่อไมใหควันไหลออกมานะ

1. นำน้ำแข็งแหงใสภาชนะที่เตรียมไว 4. ทิ้งลูกโปงไวสักครู......

5. วาว!!! เปนยังไงละ ลูกโปงคอย ๆ พองโตขึ้น วาววว.. จะแตกไหมนะ ?

Page 46: FUSION MAGAZINE Vol.1

46 FUSION MAGAZINE

*สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ 02-401-9889 หรือ www.tint.or.th

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) สำนักงานใหญ9/9 หมูที่ 7 ต.ทรายมูล อ.องครักษ จ.นครนายก 26120 โทร. 02-401-9889 โทรสาร 037-392-913 www.tint.or.th

การใหบริการจำแนกสายพันธุเชื้อจุลินทรียและวิเคราะหเชื้อจุลินทรียดวยวิธีชีวเคมี by VITEK� 2 System

1. ผลท่ีไดมีความเท่ียงตรงแมนยำสูงมาก สามารถขจัดปญหา Human Error โดยเครื่อง VITEK® 2 system จะดำเนินการใสตัวอยางภายในเครื่อง ทำการบมโดยเคร่ืองจะทำการอานผลทุก 15 นาที และประเมินผล ซ่ึงท้ังหมด ดำเนินการ โดยอัตโนมัติภายในเคร่ือง และประเมินผลสุดทายดวยคอมพิวเตอร2. เปนเครื่องที่พัฒนาจากการอางอิงขอมูลมากกวา 100,000 References3. มีชนิดเชื้อจุลินทรียมากกวา 2,000 ชนิด อยูในฐานขอมูลของเครื่อง จึงครอบคลุมการวิเคราะห4. การวิเคราะหใชเวลาเพียง 6-12 ช่ัวโมง เม่ือนำเขาเคร่ือง5. การรายงานผลจะรายงานเปอรเซ็นตความเปนไปได (% Probability) ท่ีมีความแมนยำสูง 5.1 Excellent Identifififfiication 96-99% Probability 5.2 Very good Identifififfiication 93-95% Probability 5.3 Good Identifififfiication 89-92% Probability 5.4 Acceptable Identifififfiication 85-88% Probability6. รายงานผลการวิเคราะหมีรายละเอียดของผลการทดสอบทางชีวเคมี ท่ีเปนประโยชน เชน การทดสอบความสามารถในการใชน้ำตาล การสรางเอนไซม การสรางโปรตีน การทดสอบ INDOLE เปนตน

VITEK® 2 system เปนเครื่องที่ใชในการตรวจยืนยันชนิดของแบคทีเรีย โดยใชหลักการทดสอบทางชีวเคมี ซึ่งเครื่องจะอานผลจากการด และเทียบกับฐานขอมูลท่ีอยูในเคร่ืองวาผลทางชีวเคมีตรงกับแบคทีเรียชนิดใด โดยจำแนกออกมาเปน Genus species และยืนยันผลเปนเปอรเซ็นต ซึ่งจะตองมีการเลือกใชการดตามกลุมของแบคทีเรียที่ตองการยืนยัน

ตารางเปรียบเทียบจุดเดนและจุดดอยของแตละวิธีคุณลักษณะ

VITEK� APIConventional Biochemistry

testคุณลักษณะ

การเตรียมอาหารเล้ียงเช้ือสำหรับทดสอบ

การจัดการทดสอบดวยคน

การจัดการดวยเคร่ืองมือระบบอัตโนมัติ

การอานผลดวยเคร่ือง

ระยะเวลาในการอานผลส้ันภายใน 6 ชม.

การรายงานผลเปนเปอรเซ็นตความเปนไปได (% Probability)

ความนาเช่ือถือ

No

No

มากที่สุด

No

No

No

No

ปานกลาง

No

No

No

No

มาก

√√

√ √

Page 47: FUSION MAGAZINE Vol.1

FUSION MAGAZINE

*สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ 02-401-9889 หรือ www.tint.or.th

47

ขอกำหนดประเภทอาหาร ปลากระปอง อาหารทะเล น้ำตาล ขาวสาร

เครื่องเทศ สมุนไพร ถั่ว กาแฟ เปนตน

น้ำดื่ม น้ำผลไม เปนตนประเภทเครื่องดื่มบริการตรวจวัดกัมมันตภาพรังสีสินคาสงออก/นำเขา

ปจจุบันการดำเนินการกิจกรรมทางนิวเคลียรทั ่วโลกอาจมี

การแพรกระจายของสารกัมมันตรังสีผานหวงโซอาหาร ซ่ึงอาจมี

ผลกระทบตอสุขภาพของผูบริโภคหากรับประทานอาหารที่มี

การปนเปอนสารกัมมันตรังสีเขาไป ดังน้ันตองมีมาตรการประกัน

ความปลอดภัยทางรังสีในอาหารและผลิตภัณฑอ่ืน ๆ ซ่ึงประเทศ

คูคาบางประเทศไดต้ังขอกำหนดเก่ียวกับปริมาณกัมมันตภาพรังสี

ในผลิตภัณฑตาง ๆ เพื่อความปลอดภัย

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) จึงจัดใหมี

หนวยงานบริการตรวจวัดกัมมันตภาพรังสีในตัวอยางสินคา

สงออกและนำเขา เพื่อทำหนาที่วิเคราะหและออกใบรับรอง

ปริมาณกัมมันตภาพรังสีในตัวอยางสินคาที่จะสงจำหนายไปยัง

ตางประเทศเพ่ือเปนการเพ่ิมมูลคาของสินคา

• ไดผลการตรวจวิเคราะห ภายใน 15 วันทำการ• ตรวจไดทั้ง รังสีแกมมา และ รังสีบีตา• แยกวิเคราะหธาตุได เชน ไอโอดีน 131, ซีเซียม 134, ซีเซียม 137• ดำเนินการตรวจวัดกัมมันตภาพรังสีในตัวอยางสินคาสงออก และนำเขา ม่ันใจวาอาหารปลอดภัยจากรังสี เรามีมาตรฐาน ใบรับรองใหบริการ• สงออกและนำเขาอาหารอยางสะดวกสบายและมั่นใจ เพียงทานไดใบรับรองจาก สทน.• การตรวจวัดไดมาตรฐานเปนที่ยอมรับระดับสากล

ใบรับรองจากสถาบันสามารถใชรับรองสินคาสงออกไปประเทศปลายทางได เชน ประเทศตะวันออกกลาง เชน โอมาน สหรัฐ-อาหรับเอมิเรตส จอรแดน เยเมน อิรัก อิหราน ซาอุดิอาระเบีย เลบานอน ซีเรีย คูเวต อิสราเอล เปนตนประเทศในทวีปแอฟริกา เชน อียิปต สาธารณรัฐแอฟริกาใต ซูดาน ตูนิเซีย ลิเบีย แอลจีเรีย แองโกลา ไนจีเรีย กานา เปนตน ประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต เชน บังคลาเทศ ปากีสถาน ศรีลังกา เปนตนประเทศในทวีปยุโรป เชน ฝรั่งเศส นอรเวย เปนตนประเทศอื่น ๆ เชน รัสเซีย คิวบา เวเนซูเอลา เปนตน

*นำสงตัวอยางขั้นต่ำ 1.5 กิโลกรัม / ตัวอยาง / 1 ชุดการผลิต

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) สำนักงานใหญ9/9 หมูที่ 7 ต.ทรายมูล อ.องครักษ จ.นครนายก 26120 โทร. 02-401-9889 โทรสาร 037-392-913 www.tint.or.th

งานบริการตรวจกัมมันตภาพรังสีสินคาสงออก - นำเขาImport/Export Products Radiological Monitoring

Page 48: FUSION MAGAZINE Vol.1

ขับเคลื่อนทุกความรู ไปกับFusion Magazine

JOIN OUR COMMUNITY ON Thainuclearclub

LIKESHARE& FOLLOW

ติดตามและรวมกิจกรรมกับพวกเราไดที่

ebook.in.th ookbee

FREEissue

เทคโนโลยีนิวเคลียรคือ? หาคำตอบกันไดที่นี่

Available ON APP STORE

ดาวนโหลดผาน Applicationebook.in.th และ ookbee ไดแลววันนี้