32
Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน และอาจเลื ่อนไปเป็น มี.ค. 2014 เนื่องจากถึงแม้ความเสี่ยง ทางการคลังในระยะสั้นจะลดลง แต่ปัญหาด้านการคลังของสหรัฐฯ ยังไม่หมดไป และจะกลับมาอีกครั้งในช่วงต้นปีหน้า การขยายตัวทางเศรษฐกิจในภาพรวมของกลุ่มประเทศยุโรป ยังคงฟื้นตัวขึ ้นอย่างช้าๆ แต่เมื ่อพิจารณารายประเทศพบว่า การขยายตัวของประเทศเล็กยังไม่แข็งแกร่งนัก ขณะที ่มาตรการปฏิรูประบบสถาบันการเงินมีความคืบหน้ามากขึ ้น เศรษฐกิจจีนปรับดีขึ้นต่อเนื ่อง นอกจากนี้ ในช่วงที ่ผ่านมา ทางการจีนได้ออกมาตรการปฏิรูประบบเศรษฐกิจอย่างต่อเนื ่อง และน่าจะช่วยสนับสนุนให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่างยั ่งยืนในระยะต่อไป เครื่องชี้เศรษฐกิจญี่ปุ ่น มีแรงส่งของการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง ทั้งภาคการผลิต การใช้จ่ายเพื ่ออุปโภคบริโภคภาคเอกชน ตลอดจน ภาคอสังหาริมทรัพย์ ขณะที่เงินเฟ้อเริ่มทรงตัว จากผลของเงินเยนอ่อนค่าเริ ่มทยอยลดลง ส่งผลทำาให้ธนาคารกลางญี ่ปุ ่นยังคง ตัดสินใจไม่ปรับเปลี ่ยนนโยบายการเงินแต่อย่างใด เศรษฐกิจบราซิล คาดว่าจะเผชิญกับระดับเงินเฟ้อที ่มีแนวโน้มสูงขึ ้นอีกในอนาคต ส่งผลให้มีการปรับขึ ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย อย่างต่อเนื ่อง แม้ว่าสภาพเศรษฐกิจยังคงอ่อนแอ เศรษฐกิจอินเดียเริ่มปรับตัวดีขึ้นจากนโยบายทางการเงินของผู ้ว่าการธนาคารกลางคนใหม่ ค่าเงินรูปีกลับมารักษาระดับได้ และการค้าขาดดุลลดลง ขณะที่ยังมีปัญหาเงินเฟ้อและขาดดุลการคลัง เครื่องชี้เศรษฐกิจไทยในรอบเดือนที่ผ่านมาสูญเสียแรงส่ง ทั้งภาคการผลิต การส่งออก ตลอดจนการใช้จ่ายภาคเอกชน นอกจากนี เศรษฐกิจไทยยังเผชิญปัจจัยเสี่ยงที่สูงขึ้น จากการประท้วงต่อต้านพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม ส่งผลทำาให้ TISCO ESU ปรับลดประมาณการอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP) ปีนี้ลงเหลือ 3.5% แต่ GDP มีแนวโน้มฟื ้นตัวขึ ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป สอดคล้องกับทิศทางเงินเฟ้อที่เริ่มขยับสูงขึ ้น เราจึงคาดว่าจะไม่มีการเปลี ่ยนแปลงนโยบายการเงินในการประชุมวันที่ 27 พ.ย. นี้ NOVEMBER 2013 TISCO Economic Strategy Unit

GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

Global EconomicReview

ตลาดเริ่มคาดว่าFedจะชะลอการหยุดทำาQEออกไปก่อนและอาจเลื่อนไปเป็นมี.ค.2014เนื่องจากถึงแม้ความเสี่ยงทางการคลังในระยะสั้นจะลดลงแต่ปัญหาด้านการคลังของสหรัฐฯยังไม่หมดไปและจะกลับมาอีกครั้งในช่วงต้นปีหน้า

การขยายตัวทางเศรษฐกิจในภาพรวมของกลุ่มประเทศยุโรปยังคงฟื้นตัวขึ้นอย่างช้าๆแต่เมื่อพิจารณารายประเทศพบว่าการขยายตัวของประเทศเล็กยังไม่แข็งแกร่งนักขณะที่มาตรการปฏิรูประบบสถาบันการเงินมีความคืบหน้ามากขึ้น

เศรษฐกิจจีนปรับดีขึ้นต่อเนื่องนอกจากนี้ในช่วงที่ผ่านมาทางการจีนได้ออกมาตรการปฏิรูประบบเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและน่าจะช่วยสนับสนุนให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่างยั่งยืนในระยะต่อไป

เครื่องชี้เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแรงส่งของการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องทั้งภาคการผลิตการใช้จ่ายเพื่ออุปโภคบริโภคภาคเอกชนตลอดจนภาคอสังหาริมทรัพย์ขณะที่เงินเฟ้อเริ่มทรงตัวจากผลของเงินเยนอ่อนค่าเริ่มทยอยลดลงส่งผลทำาให้ธนาคารกลางญี่ปุ่นยังคงตัดสินใจไม่ปรับเปลี่ยนนโยบายการเงินแต่อย่างใด

เศรษฐกิจบราซิลคาดว่าจะเผชิญกับระดับเงินเฟ้อที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอีกในอนาคตส่งผลให้มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่องแม้ว่าสภาพเศรษฐกิจยังคงอ่อนแอ

เศรษฐกิจอินเดียเริ่มปรับตัวดีขึ้นจากนโยบายทางการเงินของผู้ว่าการธนาคารกลางคนใหม่ค่าเงินรูปีกลับมารักษาระดับได้และการค้าขาดดุลลดลงขณะที่ยังมีปัญหาเงินเฟ้อและขาดดุลการคลัง

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทยในรอบเดือนที่ผ่านมาสูญเสียแรงส่งทั้งภาคการผลิตการส่งออกตลอดจนการใช้จ่ายภาคเอกชนนอกจากนี้เศรษฐกิจไทยยังเผชิญปัจจัยเสี่ยงที่สูงขึ้นจากการประท้วงต่อต้านพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมส่งผลทำาให้TISCOESUปรับลดประมาณการอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจ(GDP)ปีนี้ลงเหลือ3.5%แต่GDPมีแนวโน้มฟื้นตัวขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปสอดคล้องกับทิศทางเงินเฟ้อที่เริ่มขยับสูงขึ้นเราจึงคาดว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการเงินในการประชุมวันที่27พ.ย.นี้

NOVEMBER 2013

TISCO Economic Strategy Unit

Page 2: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

ข้อมูลบทความบทวิเคราะห์และการคาดหมายรวมทั้งการแสดงความคิดเห็นทั้งหลายที่ปรากฏอยู่ในรายงานฉบับนี้ทำาขึ้นบนพื้นฐานของแหล่งข้อมูลที่ดีที่สุดที่ได้รับมาและพิจารณาแล้วเห็นว่าน่าเชื่อถือ

แต่ทั้งนี้ไม่อาจรับรองความถูกต้องความสมบูรณ์แท้จริงของข้อมูลดังกล่าวความเห็นที่แสดงไว้ในรายงานฉบับนี้ได้มาจากการพิจารณาโดยเหมาะสมและรอบคอบแล้วและอาจเปลี่ยนแปลงได้โดยไม่จำาเป็น

ต้องแจ้งล่วงหน้าแต่อย่างใดรายงานฉบับนี้ไม่ถือว่าเป็นคำาเสนอหรือคำาชี้ชวนให้ซื้อหรือขายหลักทรัพย์และจัดทำาขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่อประโยชน์แก่บุคคลที่เกี่ยวข้องกับบริษัทเท่านั้นมิให้นำาไปเผยแพร่ทาง

สื่อมวลชน หรือโดยทางอื่นใด ทิสโก้ไม่ต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายใดๆ ที่เกิดขึ้นโดยตรงหรือเป็นผลจากการใช้เนื้อหาหรือรายงานฉบับนี้ การนำาไปซึ่งข้อมูล บทความ บทวิเคราะห์ และการคาดหมาย

ทั้งหลายที่ปรากฏอยู่ในรายงานฉบับนี้เป็นการนำาไปใช้โดยผู้ใช้ยอมรับความเสี่ยงและเป็นดุลยพินิจของผู้ใช้แต่เพียงผู้เดียว

สรุปภาวะและแนวโน้มเศรษฐกิจ 3

เศรษฐกิจสหรัฐฯ 4

เศรษฐกิจยุโรป 7

เศรษฐกิจจีน 11

เศรษฐกิจญี่ปุ่น 13

เศรษฐกิจละตินอเมริกา 17

เศรษฐกิจอินเดีย 21

เศรษฐกิจไทย 26

ดร.กำาพลอดิเรกสมบัติคมศรประกอบผลเอกชัยบุญยะพงศ์ไชยศรันต์สุนันท์สถาพร

ธนวัฒน์รื่นบันเทิงวีโกวิทยาอภิญญาขนุนทองสิริกัญญ์เลิศศักดิìวิมาน

Global EconomicReview

NOVEMBER 2013

Global EconomicReview

NOVEMBER 2013

TISCO Wealth Strategy Time

TISCO Economic Strategy Unit

ตลาดเริ่มคาดว่าFedจะชะลอการหยุดทำาQEออกไปก่อนและอาจเลื่อนไปเป็นมี.ค.2014เนื่องจากถึงแม้ความเสี่ยงทางการคลังในระยะสั้นจะลดลงแต่ปัญหาด้านการคลังของสหรัฐฯยังไม่หมดไปและจะกลับมาอีกครั้งในช่วงต้นปีหน้า

การขยายตัวทางเศรษฐกิจในภาพรวมของกลุ่มประเทศยุโรปยังคงฟื้นตัวขึ้นอย่างช้าๆแต่เมื่อพิจารณารายประเทศพบว่าการขยายตัวของประเทศเล็กยังไม่แข็งแกร่งนักขณะที่มาตรการปฏิรูประบบสถาบันการเงินมีความคืบหน้ามากขึ้น

เศรษฐกิจจีนปรับดีขึ้นต่อเนื่องนอกจากนี้ในช่วงที่ผ่านมาทางการจีนได้ออกมาตรการปฏิรูประบบเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและน่าจะช่วยสนับสนุนให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่างยั่งยืนในระยะต่อไป

เครื่องชี้เศรษฐกิจญี่ปุ่นมีแรงส่งของการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องทั้งภาคการผลิตการใช้จ่ายเพื่ออุปโภคบริโภคภาคเอกชนตลอดจนภาคอสังหาริมทรัพย์ขณะที่เงินเฟ้อเริ่มทรงตัวจากผลของเงินเยนอ่อนค่าเริ่มทยอยลดลงส่งผลทำาให้ธนาคารกลางญี่ปุ่นยังคงตัดสินใจไม่ปรับเปลี่ยนนโยบายการเงินแต่อย่างใด

เศรษฐกิจบราซิลคาดว่าจะเผชิญกับระดับเงินเฟ้อที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอีกในอนาคตส่งผลให้มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่องแม้ว่าสภาพเศรษฐกิจยังคงอ่อนแอ

เศรษฐกิจอินเดียเริ่มปรับตัวดีขึ้นจากนโยบายทางการเงินของผู้ว่าการธนาคารกลางคนใหม่ค่าเงินรูปีกลับมารักษาระดับได้และการค้าขาดดุลลดลงขณะที่ยังมีปัญหาเงินเฟ้อและขาดดุลการคลัง

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทยในรอบเดือนที่ผ่านมาสูญเสียแรงส่งทั้งภาคการผลิตการส่งออกตลอดจนการใช้จ่ายภาคเอกชนนอกจากนี้เศรษฐกิจไทยยังเผชิญปัจจัยเสี่ยงที่สูงขึ้นจากการประท้วงต่อต้านพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมส่งผลทำาให้TISCOESUปรับลดประมาณการอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจ(GDP)ปีนี้ลงเหลือ3.5%แต่GDPมีแนวโน้มฟื้นตัวขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปสอดคล้องกับทิศทางเงินเฟ้อที่เริ่มขยับสูงขึ้นเราจึงคาดว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการเงินในการประชุมวันที่27พ.ย.นี้

Page 3: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

3

สรุปภาวะและแนวโน้มเศรษฐกิจ

ตัวเลขตลาดแรงงานของสหรัฐฯกลับมาประกาศอีกครั้งแต่กลับอ่อนแอกว่าที่คาดประกอบกับแม้ความเสี่ยงทางการคลังในระยะสั้นจะลดลง แต่ปัญหาด้านการคลังของสหรัฐฯ ยังไม่หมดไป และจะกลับมาอีกครั้งในช่วงต้นปีหน้า ส่งผลให้ตลาดเริ่มคาดว่าFedจะชะลอการหยุดทำาQEออกไปก่อนและอาจเลื่อนไปเป็นมี.ค.ปีหน้า

การขยายตัวทางเศรษฐกิจในภาพรวมยังคงฟื้นตัวขึ้นอย่างช้าๆแต่เมื่อพิจารณารายประเทศพบว่าการขยายตัวของประเทศเล็กยังไม่แข็งแกร่งนักเนื่องจากความบิดเบี้ยวในตลาดการเงินยังมีอยู่แม้จะมีสัญญาณดีขึ้นขณะที่มาตรการปฏิรูประบบสถาบันการเงินมีความคืบหน้ามากขึ้น

เศรษฐกิจจีนปรับดีขึ้นต่อเนื่อง โดยGDPเร่งขึ้นมาอยู่ที่ 7.8%ในไตรมาสที่ 3และคาดว่าน่าจะพ้นจุดต่ำาสุดไปแล้วนอกจากนี้ในช่วงที่ผ่านมาทางการจีนได้ออกมาตรการปฏิรูประบบเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและน่าจะช่วยสนับสนุนให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่างยั่งยืนในระยะต่อไป

ในรอบเดือนที่ผ่านมาเครื่องชี้เศรษฐกิจมีแรงส่งของการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องทั้งภาคการผลิตการใช้จ่ายเพื่ออุปโภคบริโภคภาคเอกชนตลอดจนภาคอสังหาริมทรัพย์ขณะที่เงินเฟ้อเริ่มทรงตัวจากผลของเงินเยนอ่อนค่าเริ่มทยอยลดลงส่งผลทำาให้ธนาคารกลางญี่ปุ่นยังคงตัดสินใจไม่ปรับเปลี่ยนนโยบายการเงินแต่อย่างใดอย่างไรก็ดีนักเศรษฐศาสตร์เริ่มคาดการณ์กันถึงการผ่อนคลายนโยบายการเงินเพิ่มเติมเนื่องจากไม่แน่ใจว่านโยบายปัจจุบันจะมีศักยภาพเพียงพอที่จะทำาให้เงินเฟ้อบรรลุเป้าหมาย2%ภายในครึ่งแรกของปี2015

เศรษฐกิจบราซิลคาดว่าจะเผชิญกับระดับเงินเฟ้อที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอีกในอนาคตส่งผลให้มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่องแม้ว่าสภาพเศรษฐกิจยังคงอ่อนแอขณะที่ด้านเม็กซิโกมีการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงต่ำาสุดเป็นประวัติการณ์รวมถึงการเสนอแผนปฏิรูปทางด้านการคลังและพลังงานเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจที่มีความเสี่ยงขาลง

เศรษฐกิจอินเดียเริ่มปรับตัวดีขึ้นจากนโยบายทางการเงินของผู้ว่าการธนาคารกลางคนใหม่่ค่าเงินรูปีกลับมารักษาระดับได้และการค้าขาดดุลลดลงขณะที่ยังมีปัญหาเงินเฟ้อและขาดดุลการคลัง

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทยในรอบเดือนที่ผ่านมาสูญเสียแรงส่งทั้งภาคการผลิตการส่งออกตลอดจนการใช้จ่ายภาคเอกชนนอกจากนี้เศรษฐกิจไทยยังเผชิญปัจจัยเสี่ยงที่สูงขึ้นจากการประท้วงต่อต้านพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมส่งผลทำาให้TISCOESUปรับลดประมาณการอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจ(GDP)ปีนี้ลงเหลือ3.5%(จาก4.5%)อย่างไรก็ดีแม้จะปรับลดประมาณการรายปีลงแต่ภาพรายไตรมาสเราคาดว่าGDPได้ผ่านพ้นจุดต่ำาสุดไปแล้วและมีแนวโน้มฟื้นตัวขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปสอดคล้องกับทิศทางเงินเฟ้อที่เริ่มขยับสูงขึ้นหลังจากปรับลดลง9เดือนติดต่อกันด้วยปัจจัยแวดล้อมดังกล่าวเราจึงคาดว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการเงินในการประชุมวันที่27พ.ย.นี้

Page 4: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

4

Global Economic Review

NOVEMBER 2013

ตัวเลขตลาดแรงงานของสหรัฐฯ กลับมาประกาศอีกครั้ง แต่กลับอ่อนแอกว่าที่คาด ประกอบกับแม้ความเสี่ยงทางการคลังในระยะสั้นจะลดลงแต่ปัญหาด้านการคลังของสหรัฐฯยังไม่หมดไปและจะกลับมาอีกครั้งในช่วงต้นปีหน้าส่งผลให้ตลาดเริ่มคาดว่าFedจะชะลอการหยุดทำาQEออกไปก่อนและอาจเลื่อนไปเป็นมี.ค.ปีหน้า

เศรษฐกิจสหรัฐฯ

หน่วยงานของรัฐบาลกลับมาเป�ดดำาเนินการอีกครั้ง หลังป�ดลงตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. หลังจากรัฐสภาสหรัฐฯไม่สามารถตกลงกันได้ในเรื่องแผนงบประมาณชั่วคราว(ContinuingResolution)ทำาให้หน่วยงานรัฐบาลบางส่วนต้องปิดทำาการลงชั่วคราวอย่างไรก็ดีภายหลังการเจรจาอย่างยาวนานสภาคองเกรสของสหรัฐฯได้ขอสรุปร่วมกันว่าจะผ่านกฏหมายให้หน่วยงานของรัฐบาลกลับมาเปิดทำาการได้อีกครั้งจนถึงวันที่7ม.ค.2013รวมถึงยกเว้นการบังคับใช้เพดานหนี้จนถึงวันที่7ก.พ.2013อีกด้วยนอกจากนี้สภาคองเกรสยังขีดเส้นตายให้ทั้งพรรคเดโมแครตและรีพับลิกันตกลงผ่านร่างงบประมาณปี2014ให้ได้ภายในวันที่ 13ธ.ค.2013อีกด้วยซึ่งผลของข้อตกลงดังกล่าวทำาให้หน่วยงานรัฐบาลกลับมาเปิดดำาเนินการได้อีกครั้ง

ผลกระทบของการหยุดงานคาดว่ามีไม่มากนัก แม้รัฐบาลจะหยุดงานไปกว่า2สัปดาห์แต่คาดว่าผลกระทบต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจจะมีไม่มากนักเนื่องจากจำานวนพนักงานรัฐที่หยุดงานไปมีไม่มาก(จากการประมาณการของสำานักงบประมาณของสหรัฐฯ(CongressionalBudgetOffice:CBO)คาดว่าจะมีทั้งสิ้น8แสนรายแต่ถัดมาอีกไม่กี่วันกระทรวงกลาโหมของสหรัฐฯเรียกพนักงานจำานวน4แสนรายกลับเข้ามาทำางานเหมือนกันทำาให้เหลือพนักงานที่หยุดงานจริงๆไม่ถึง 4แสนราย)ประกอบกับพนักงานที่หยุดงานไปยังได้รับค่าจ้างตามปกติ ดังนั้นผลกระทบต่อเศรษฐกิจในภาพรวมน่าจะมีไม่มากนัก

Page 5: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

5

Nonfarm payrolls

050

100150200250300350

Jan-

11Fe

b-11

Mar

-11

Apr-

11M

ay-1

1Ju

n-11

Jul-1

1Au

g-11

Sep-

11O

ct-1

1N

ov-1

1D

ec-1

1Ja

n-12

Feb-

12M

ar-1

2Ap

r-12

May

-12

Jun-

12Ju

l-12

Aug-

12Se

p-12

Oct

-12

Nov

-12

Dec

-12

Jan-

13Fe

b-13

Mar

-13

Apr-

13M

ay-1

3Ju

n-13

Jul-1

3Au

g-13

Sep-

13

'000s

Disapproval rating74

70

63 6161

56 535150

25-29 Sep 2-6 Oct 9-13 Oct

Republicans

Democrats

President Obama

แผนภาพที่ 1: คะแนนนิยมของพรรคการเมืองต่างๆ แย่ลง หลังหน่วยงานรัฐบาลถูกปิด

ที่มา: Washington Post-ABC news, Deutsche Bank, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

แผนภาพที่ 2: การจ้างงานนอกภาคเกษตรอ่อนแอลงในเดือน ก.ย.

ที่มา: Bloomberg, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

แต่ความเสี่ยงด้านการคลังยังไม่ได้หมดไป แม้ในระยะสั้นสภาคองเกรสจะตกลงกันได้แต่มาตรการที่ออกมานั้นเป็นเพียงการแก้ปัญหาชั่วคราวเท่านั้นตามที่กล่าวไว้ข้างต้นดังนั้นภายในช่วงปลายปีนี้สภาคองเกรสต้องมาเจรจาผลักดันแผนงบประมาณปีหน้าให้สำาเร็จให้ได้อีกทั้งในช่วงต้นปีหน้าสภาคองเกรสจะต้องหาข้อสรุปเกี่ยวกับการขึ้นเพดานหนี้อีกรอบ นอกจากนี้ ต้นปีหน้า พรรคเดโมแครตอาจจะใช้โอกาสในการเจรจาเรื่องเพดานหนี้ ขอเจรจาผ่อนผันเรื่องSequester(การตัดลดงบประมาณอัตโนมัติ)ด้วยก็เป็นได้และอาจทำาให้การเจรจามีความซับซ้อนขึ้น

แต่เชื่อว่าการเจรจารอบนี้ จะสำาเร็จได้ง่ายกว่าครั้งที่ผ่านมา การเจรจาที่ยืดเยื้อจนทำาให้หน่วยงานของรัฐบาลบางแห่งต้องปิดทำาการลง สร้างความไม่พอใจให้กับประชาชนชาวสหรัฐฯ สะท้อนจากการสำารวจความนิยมของพรรคการเมืองในช่วงที่รัฐบาลปิดงานพบว่าความนิยมของทั้งสองพรรคและของประธานาธิบดีีลดลงขณะที่พรรครีพับลิกันคะแนนนิยมลดลงมากที่สุดเนื่องจากท่าทีที่แข็งกร้าวในการเจรจาดังนั้นการเจรจาที่ยืดเยื้อสร้างผลเสียให้กับทุกฝ่ายด้วยเหตุนี้ทั้งสองพรรคน่าจะโอนอ่อนให้กับอีกฝ่ายมากขึ้นและการเจรจาน่าจะราบรื่นกว่าในครั้งที่ผ่านมา

ตัวเลขตลาดแรงงานอ่อนแอกว่าที่ตลาดคาด ตำาแหน่งงานนอกภาคเกษตรและอัตราการว่างงานกลับมารายงานอีกครั้งหลังจากหยุดรายงานไปตามการหยุดทำาการของหน่วยงานสหรัฐฯแต่ปรากฏว่าตัวเลขตำาแหน่งงานนอกภาคเกษตรในเดือนก.ย.ปรับเพิ่มขึ้นเพียง148,000ตำาแหน่งน้อยกว่าที่ตลาดคาดว่าจะปรับเพิ่มขึ้น180,000และแม้อัตราการว่างงานจะปรับลดลงจาก7.3%ในเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ระดับ7.2%ในเดือนนี้แต่ก็เป็นผลมาจากแรงงานไม่กลับเข้ามาหางานมากกว่าส่งผลให้ภาพรวมภาวะตลาดแรงงานในเดือนล่าสุดยังคงไม่แข็งแกร่งนัก

Page 6: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

6

NOVEMBER 2013Global Economic Review

นางเจเน็ท เยเลน ได้รับการเสนอชื่อให้เป็นประธาน Fed คนต่อไป ประธานาธิบดีสหรัฐฯนายบารัค โอบามา ได้เสนอชื่อนางเจเน็ท เยเลนขึ้นเป็นประธานFedคนต่อไปต่อจากนายเบอร์นันเก้ที่จะหมดวาระลงในวันท่ี31ม.ค. ปีหน้าอย่างไรก็ดีนางเยเลนจะต้องรอการรับรองจากสภาคองเกรสอีก ก่อนท่ีจะรับตำาแหน่งอย่างเป็นทางการและคาดว่าการประชุมในเดือนมี.ค.จะเป็นการประชุมครั้งแรกของนางเยเลนดังนั้นจะยิ่งเพิ่มโอกาสที่Fedจะปรับเปลี่ยนนโยบายQEในการประชุมครั้งนี้เพื่อสื่อสารต่อตลาดถึงจุดยืนของประธานFedคนใหม่

แผนภาพที่ 4: นางเจเน็ท เยเลนได้รับเลือกเป็นประธาน Fed คนใหม่

ที่มา: Deutsche Bank, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

แผนภาพที่ 3: คาดว่า Fed จะเริ่มชะลอการทำา QE ในเดือน มี.ค. ปีหน้า

ที่มา: Bloomberg, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

เพิ่มความหวังให้กับตลาดว่า Fed จะไม่ลด QE เร็วæ นี้ จากเดิมที่ตลาดคาดว่า ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Federal Reserve: Fed) จะเริ่มปรับลดการเข้าซื้อสินทรัพย์ (QE) ภายในปีนี้ แต่จากความอ่อนแอของตลาดแรงงานส่งผลให้ตลาดเริ่มหวังว่าFedจะดำาเนินQEต่อไปอย่างน้อยถึงปีนี้และจะเริ่มปรับลดในปีหน้าแทนเนื่องจากในปีนี้จะเหลือการประชุมอีกเพียงครั้งเดียวเท่านั้น และตัวเลขทางเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปี ไม่น่าจะแข็งแกร่งพอ และให้ความเชื่อมั่นแก่Fedได้ว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯสามารถฟื้นตัวได้อย่างแข็งแกร่งแล้วจนความจำาเป็นของQEหมดลงไป

เราคาดว่า Fed จะเริ่มลดการทำา QE ในการประชุมเดือน มี.ค. ปีหน้า จากตัวเลขทางเศรษฐกิจที่อ่อนแอกว่าที่คาด ประกอบกับความไม่แน่นอนทางการเมืองในช่วงที่เหลือของปีนี้และต้นปีหน้า น่าจะทำาให้Fedคงนโยบายการเงินแบบผ่อนคลายต่อไปและตัวเลขทางเศรษฐกิจในช่วงที่เหลือของปีไม่น่าจะแข็งแกร่งมากพอที่จะทำาให้FedตัดสินใจลดQE ในการประชุมครั้งสุดท้ายของปี ในเดือน ธ.ค. นี้ ขณะเดียวกัน ในช่วงต้นปีหน้า การประชุมเดือน ม.ค. จะไม่มีแถลงข่าวต่อสื่อมวลชนดังนั้นFedไม่น่าจะใช้การประชุมครั้งนี้ในการเปลี่ยนแปลงนโยบายที่สำาคัญยิ่งอย่างQEด้วยเหตุนี้การประชุมครั้งถัดไปในเดือนมี.ค.น่าจะเหมาะสมกว่าหากFedจะเริ่มทยอยลดการทำาQEเพราะการประชุมครั้งนี้มีแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน

Page 7: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

7

แผนภาพที่ 5: เศรษฐกิจยุโรปขยายตัวดีขึ้นต่อเนื่อง

ที่มา: Bloomberg, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

Eurozone Composite PMI

52.2

40

45

50

55

60

Jan-

11Fe

b-11

Mar

-11

Apr-

11M

ay-1

1Ju

n-11

Jul-1

1Au

g-11

Sep-

11O

ct-1

1N

ov-1

1D

ec-1

1Ja

n-12

Feb-

12M

ar-1

2Ap

r-12

May

-12

Jun-

12Ju

l-12

Aug-

12Se

p-12

Oct

-12

Nov

-12

Dec

-12

Jan-

13Fe

b-13

Mar

-13

Apr-

13M

ay-1

3Ju

n-13

Jul-1

3Au

g-13

Sep-

13

Index

การขยายตัวทางเศรษฐกิจในภาพรวมยังคงฟ้ืนตัวข้ึนอย่างช้าๆแต่เม่ือพิจารณารายประเทศพบว่าการขยายตัวของประเทศเล็กยังไม่แข็งแกร่งนักเนื่องจากความบิดเบี้ยวในตลาดการเงินยังมีอยู่แม้จะมีสัญญาณดีขึ้นขณะที่มาตรการปฏิรูประบบสถาบันการเงินมีความคืบหน้ามากขึ้น

เศรษฐกิจยังคงขยายตัวต่อเนื่อง อย่างค่อยเป็นค่อยไป เครื่องชี้เศรษฐกิจของยุโรปยังคงขยายตัวได้ดีอาทิดัชนีภาคการผลิตอย่างCompositePMIเดือนก.ย.ที่ขยายตัว52.2เร่งขึ้นจาก51.5ในเดือนก่อนหน้านับเป็นระดับสูงสุดในรอบ2ปีกว่าและเมื่อพิจารณาถึงดัชนีCompositePMIในไตรมาสที่3สะท้อนว่าGDPของกลุ่มยุโรปในภาพรวมน่าจะขยายตัวได้ในระดับ0.2%QoQ

เศรษฐกิจยุโรป

Page 8: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

8

NOVEMBER 2013Global Economic Review

แผนภาพที่ 7: ความบิดเบี้ยวในตลาดเงินเห็นได้ชัดในประเทศเล็ก และเป็นตัว©ุดให้เศรษฐกิจประเทศเหล่านี้ขยายตัวต่ำา

ที่มา: IMF, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

แผนภาพที่ 6: การฟ„œนตัวในประเทศเล็กยังคงอ่อนแอ

ที่มา: Bloomberg, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

แต่เศรษฐกิจประเทศเล็ก แม้จะปรับดีขึ้น แต่ยังคงอ่อนแอ แต่เมื่อพิจารณาในรายประเทศยังพบว่าการขยายในประเทศเล็กแม้จะปรับดีขึ้นต่อเนื่องแต่ในภาพรวมยังคงอ่อนแออยู่อาทิอัตราการว่างงานของประเทศเล็กยังคงสูงมากในหลายประเทศและยังมีแนวโน้มปรับขึ้นต่อเนื่องสะท้อนว่าการขยายตัวทางเศรษฐกิจยังไม่สูงพอที่จะสามารถสร้างตำาแหน่งงานในประเทศจนสามารถช่วยเพิ่มตำาแหน่งงานและทำาให้ประชาชนมีงานทำามากขึ้นได้

แต่เศรษฐกิจประเทศเล็ก แม้จะปรับดีขึ้น แต่ยังคงอ่อนแอ แต่เมื่อพิจารณาในรายประเทศยังพบว่าการขยายในประเทศเล็กแม้จะปรับดีขึ้นต่อเนื่องแต่ในภาพรวมยังคงอ่อนแออยู่อาทิอัตราการว่างงานของประเทศเล็กยังคงสูงมากในหลายประเทศและยังมีแนวโน้มปรับขึ้นต่อเนื่องสะท้อนว่าการขยายตัวทางเศรษฐกิจยังไม่สูงพอที่จะสามารถสร้างตำาแหน่งงานในประเทศจนสามารถช่วยเพิ่มตำาแหน่งงานและทำาให้ประชาชนมีงานทำามากขึ้นได้

ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจาก “ความบิดเบี้ยว” ในตลาดเงิน เหตุผลสำาคัญอย่างหนี่งที่ทำาให้เศรษฐกิจประเทศเล็กยังขยายตัวได้อย่างไม่แข็งแกร่งนัก เนื่องจากความบิดเบี้ยวในตลาดเงิน (Fragmen-tation) ยังคงกดดันให้ประเทศเล็กๆ ขยายตัวได้อย่างไม่เต็มศักยภาพ อาทิ แม้ประเทศในกลุ่มยูโรโซนจะใช้อัตราดอกเบี้ยนโยบายการเงินร่วมกันแต่บริษัทขนาดใหญ่ที่มักจะไม่มีปัญหาความเสี่ยงผิดนัดชำาระหนี้ในประเทศสเปนและอิตาลีกลับถูกเก็บอัตราดอกเบี้ยเงินกู้แพงกว่าบริษัทในประเทศเยอรมนีและฝรั่งเศสและจากการศึกษาของIMFพบว่าSMEsในกลุ่มประเทศเล็ก(อิตาลีสเปนและโปรตุเกส)ประสบปัญหาเข้าไม่ถึงบริการทางการเงินซึ่งSMEsในประเทศเหล่านี้มีบทบาทในการจ้างงานในประเทศของตนสูงมากด้วยเหตุนี้ปัญหาการว่างงานในประเทศดังกล่าวจึงสูงตามไปด้วย

Page 9: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

9

แต่เริ่มมีสัญญาณการปรับตัวในบางภาคส่วน อย่างไรก็ดีประเทศเล็กๆเริ่มปรับตัวรับภาวะดังกล่าวได้ดีขึ้นอาทิภาคธุรกิจของประเทศเล็กเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตต่อเนื่องสะท้อนจากต้นทุนแรงงานในการผลิตต่อหน่วยของประเทศสเปนปรับลดลงต่อเนื่องขณะที่ของประเทศอิตาลีแม้จะปรับเพิ่มอยู่แต่เริ่มชะลอลงเมื่อเทียบกับก่อนวิกฤตปี2008ผลของประสิทธิภาพการผลิตที่ดีขึ้นส่งผลให้ประเทศเหล่านี้เริ่มส่งออกสินค้าได้มากขึ้นและทำาให้ดุลบัญชีเดินสะพัดปรับดีขึ้นตามมา

มาตรการความช่วยเหลือระบบสถาบันการเงินของยุโรปมีความคืบหน้ามากขึ้น จะเห็นได้ว่าปัญหาสำาคัญที่สุดของยุโรปคือความบิดเบี้ยวในตลาดเงินซึ่งผู้ดำาเนินนโยบายในยุโรปเห็นว่าต้นเหตุเกิดจากความอ่อนแอของงบดุลของธนาคารพาณิชย์เป็นสำาคัญดังนั้นจึงผลักดันให้เกิดแนวคิดความช่วยเหลือในระบบธนาคารพาณิชย์อย่างครบวงจรหรือที่เรียกว่าBankingUnionโดยให้กองทุนความช่วยเหลือของยุโรปอย่างEuropeanStabilityMechanism(ESM)เข้ามาอัดฉีดสภาพคล่องให้กับธนาคารพาณิชย์ที่มีปัญหาโดยตรงและให้ธนาคารกลางยุโรป(EuropeanCentralBank:ECB)เป็นคนกำาดับดูแลภาพรวมของธนาคารพาณิชย์ของยุโรปทั้งระบบแต่เพียงผู้เดียว(เรียกกรอบนี้ว่าSingleSupervisoryMechanism:SSMโดยในระยะเริ่มต้นจะกำากับดูแลเฉพาะธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ก่อนเท่านั้น)

ECB จะเข้าเริ่มตรวจสอบงบดุลของธนาคารพาณิชย์ ก่อนที่จะเข้ารับหน้าที่อย่างเต็มตัวECBจะขอเข้าตรวจสอบระบบธนาคารพาณิชย์โดยจะเข้าดูในสามกรอบสำาคัญคือ1.)การตรวจสอบความเสี่ยงทั่วๆ ไป (Supervisory Risk Assessment) รวมถึงความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ด้านการเพิ่มความเสี่ยง (Leverage) และด้านจัดหาเงินทุน(Funding)2.)การประเมินคุณภาพสินทรัพย์ของธนาคารพาณิชย์ (AssetQualityReview:AQR)และ3.)การทดสอบในภาวะวิกฤต(StressTest)

ตลาดให้ความสนใจกับ AQR/Stress Test ค่อนข้างมาก สิ่งหนึ่งที่ทำาให้ระบบธนาคารพาณิชย์ของยุโรปไม่ทำางานในช่วงที่ผ่านมา คือความไม่เชื่อมั่นในความปลอดภัยของเงินกู้ที่จะปล่อยออกไปเพราะไม่แน่ใจว่า ธนาคารพาณิชย์ต่างๆ มีความแข็งแกร่งพอที่จะใช้หนี้คืนหรือไม่ ด้วยเหตุนี้ การทำา AQR/Stress Test จึงมีความสำาคัญมากเพราะถ้าดำาเนินไปอย่างโปร่งใสและเพิ่มความมั่นใจให้ตลาดได้และจะทำาให้ธุรกรรมการกู้ยืมกลับมาอีกครั้งและจะช่วยให้การฟื้นตัวของเศรษฐกิจยุโรปแข็งแกร่งขึ้นในระยะต่อไป

แต่คาดว่า AQR/Stress Test จะใช้เวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี กว่าจะแล้วเสร็จ ECBจะวางกรอบและออกแบบการทดสอบทั้งหมดและมอบหมายให้ธนาคารกลางของประเทศต่างๆเข้าไปดำาเนินงานกับธนาคารพาณิชย์ที่ต้องเข้ารับการตรวจสอบของประเทศของตนและรายงานผลกลับมายังECBเนื่องจากกระบวนการดังกล่าวอาจต้องใช้เวลานานเพราะจำานวนธนาคารที่ต้องตรวจสอบมีมากและเป็นสิ่งที่ทางECBยังไม่เคยทำามาก่อนดังนั้นECBคาดว่ากว่าผลของAQR/StressTestจะแล้วเสร็จน่าจะใช้เวลาถึง1ปีเต็มหรืออาจนานกว่านั้นดังนั้นในปีหน้าเรื่องของAQR/StressTestน่าจะอยู่ในความสนใจของตลาดตลอดปี2014

แผนภาพที่ 8: เริ่มมีสัญญาณการปรับตัวในประเทศเล็กบ้าง

ที่มา: IMF, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

Page 10: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

10

NOVEMBER 2013Global Economic Review

ด้วยเหตุนี้ การฟ„œนตัวของประเทศที่มีปัญหาในยุโรปอาจใช้เวลานานกว่าที่คาดไว้ ความเข้มแข็งของภาคธนาคารพาณิชย์เป็นปัจจัยสำาคัญสำาหรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศดังนั้นหากธนาคารของประเทศที่มีปัญหาในยุโรปยังคงอ่อนแอเหมือนในปัจจุบันการฟื้นตัวของประเทศที่มีปัญหาในยุโรปอาจใช้เวลานานกว่าที่คาดไว้และเมื่อพิจารณาถึงมาตรการความช่วยเหลือในภาคธนาคารแม้จะมีความคืบหน้ามากขึ้นแต่กว่าจะแล้วเสร็จอาจใช้เวลาอีกหลายปี

และยุโรปอาจใช้เวลาอีกหลายปี กว่า Banking Union จะเสร็จสมบูรณ์ หลังจากกระบวนการการจัดตั้งSSMแล้วเสร็จนั้นทางผู้ดำาเนินนโยบายของยุโรปจะต้องวางแผนกำาหนดให้มีผู้ช่วยเหลือระบบธนาคารพาณิชย์เวลาเกิดปัญหาหรือที่เรียกว่าSingleResolutionMechanism(SRM)ซึ่งตามกำาหนดเดิมอาจใช้เวลาไม่ต่ำากว่า5ปีกว่าSRMจะเสร็จสมบูรณ์หรืออาจล่าช้ากว่านั้นเนื่องจากในอดีตผู้นำาชาติต่างๆมักมีปัญหาขัดแย้งกันในเรื่องเม็ดเงินที่จะเข้ามาใช้แก้ปัญหาดังนั้นการจัดตั้งSRMอาจใช้เวลานานกว่าที่เคยคาดไว้เดิม

ที่มา: Deutsche Bank, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

แผนภาพท่ี 9: กว่ามาตรการช่วยเหลือภาคธนาคารจะเสร็จสมบูรณ์ก็น่าจะในปี 2018

Page 11: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

11

China GDP (% YoY)

10.610.19.0

6.86.2

7.99.1

10.711.9

10.39.6 9.8 9.7 9.5 9.1 8.9

8.1 7.6 7.4 7.9 7.7 7.5 7.8

1Q08

2Q08

3Q08

4Q08

1Q09

2Q09

3Q09

4Q09

1Q10

2Q10

3Q10

4Q10

1Q11

2Q11

3Q11

4Q11

1Q12

2Q12

3Q12

4Q12

1Q13

2Q13

3Q13

แผนภาพที่ 10: GDP จีนเร่งขึ้นในไตรมาส 3

ที่มา: Bloomberg, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

เศรษฐกิจจีนขยายตัว 7.8% ในไตรมาสที่ 3 GDPของจีนในไตรมาสที่3เร่งขึ้นจาก7.5%YoYในไตรมาสที่2มาอยู่ที่7.8%ในไตรมาสนี้หรือขยายตัว2.2%QoQsaเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้าเร่งขึ้นจาก1.9%ในไตรมาสที่2เมื่อเทียบกับไตรมาสที่1แม้ทางการจีนจะยังไม่ได้เปิดเผยรายละเอียดของการขยายตัวแต่พิจารณาถึงเครื่องชี้ต่างๆพบว่าการขยายตัวเป็นไปในเกือบทุกภาคส่วนอาทิอุปสงค์ในประเทศน่าจะปรับดีขึ้นสะท้อนจากยอดค้าปลีกที่เร่งขึ้นต่อเนื่องในไตรมาสที่2ขณะเดียวกันยอดส่งออกแม้จะไม่ได้ปรับดีขึ้นมากนักในไตรมาสนี้แต่ก็ไม่ได้แย่กว่าในไตรมาสก่อนมากนัก

เศรษฐกิจจีนปรับดีขึ้นต่อเนื่องโดยGDPเร่งขึ้นมาอยู่ที ่7.8%ในไตรมาสที่3และคาดว่าน่าจะพ้นจุดต่ำาสุดไปแล้วนอกจากนี้ในช่วงที่ผ่านมาทางการจีนได้ออกมาตรการปฏิรูประบบเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและน่าจะช่วยสนับสนุนให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่างยั่งยืนในระยะต่อไป

เศรษฐกิจจีน

Page 12: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

12

NOVEMBER 2013Global Economic Review

แผนภาพที่ 12: จีนและประเทศอื่นๆ ในเอเชียมีแนวโน้มจะเข้าร่วม TPP

ที่มา: Deutsche Bank, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)China's off icial PMI

51.1

48

49

50

51

52

53

54

Jan-

11Fe

b-11

Mar

-11

Apr-

11M

ay-1

1Ju

n-11

Jul-1

1Au

g-11

Sep-

11O

ct-1

1N

ov-1

1D

ec-1

1Ja

n-12

Feb-

12M

ar-1

2Ap

r-12

May

-12

Jun-

12Ju

l-12

Aug-

12Se

p-12

Oct

-12

Nov

-12

Dec

-12

Jan-

13Fe

b-13

Mar

-13

Apr-

13M

ay-1

3Ju

n-13

Jul-1

3Au

g-13

Sep-

13

Index

แผนภาพที่ 11: เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจปรับดีขึ้นต่อเนื่อง

ที่มา: Bloomberg, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจชี้ว่า เศรษฐกิจจีนน่าจะพ้นจุดต่ำาสุดไปแล้วในไตรมาสที่ 2 เคร่ืองช้ีเศรษฐกิจของจีนในเดือนต.ค.ก็ยังปรับดีข้ึนต่อเน่ืองอาทิดัชนีPMIทั้งที่จัดทำาโดยภาครัฐและHSBCต่างเร่งขึ้นต่อเนื่องและDBคาดว่าปัจจัยสนับสนุนต่างๆยังคงมีอยู่อาทิกระบวนการสะสมสินค้าคงคลัง(Re-StockingProcess)ยังคงดำาเนินต่อไปสะท้อนจากดัชนีสินค้าคงคลังยังปรับเพ่ิมข้ึนต่อเน่ืองดังน้ันDBคาดว่าเศรษฐกิจจีนน่าจะยังขยายตัวได้ดีในไตรมาสที่ 4 นั่นหมายความว่า เศรษฐกิจจีนน่าจะพ้นจุดต่ำาสุดไปแล้วณไตรมาสที่2ที่ผ่านมา

จีนออกมาตรการเป�ดเสรีต่างæ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจในระยะปานกลาง ในช่วงเดือนที่ผ่านมาจีนมีความคืบหน้าในการเปิดเสรีทางด้านต่างๆอาทินายกรัฐมนตรีลี่เคิงเฉียงได้ยกเลิกมาตรการดำารงเงินทุนขั้นต่ำา(RegisteredCapitalRequirement)สำาหรับบริษัทเปิดใหม่ซึ่งมาตรการนี้จะช่วยลดต้นทุนให้กับภาคธุรกิจของจีนโดยเฉพาะธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก(SMEs)เน่ืองจากต่อไปบริษัทเหล่าน้ีไม่จำาเป็นต้องไปกู้ยืมมาเพื่อรักษาสัดส่วนดังกล่าวให้เท่ากับที่ทางการกำาหนดมาตรการนี้จะช่วยจูงใจให้บริษัทต่างๆเข้ามาสู่ระบบเศรษฐกิจมากขึ้น

รวมถึงจีนพิจารณาอาจเป�ดเสรีทางการค้ามากขึ้น ด้วยการเข้าร่วม TPP ในช่วงที่ผ่านมาทางการจีนกล่าวว่าจีนกำาลังพิจารณาถึงข้อดีและข้อเสียของการเข้าร่วมความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก(TransPacificPartnership:TPP)ซึ่งการเข้าร่วมTPPจะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจจีนอย่างน้อย2ประการคือประการที่1การเข้าร่วมTPPจะทำาให้ภาษีขาเข้าและขาออกรวมถึงการกีดกันที่มิใช่ภาษีลดลงและช่วยเพิ่มอุปสงค์แก่สินค้าจีนมากขึ้นและประการที่2การเข้าร่วมTPPจะบังคับให้จีนต้องเร่งเปิดเสรีภายในประเทศเพื่อรองรับการแข่งขันที่จะมีมากขึ้นดังนั้นจะช่วยส่งผลดีต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของจีนในระยะปานกลาง

คาดว่าจะมีมาตรการอ่ืนæ ออกมาอีก หลังการประชุมพรรคคอมมิวนิสต์ในเดือน พ.ย. การประชุมสมัชชาพรรคคอมมิวนิสต์จีนครั้งที่18รอบที่3จะจัดขึ้นในสุดสัปดาห์นี้ โดย DB คาดว่าจะมีการประกาศแผนปฏิรูปขนาดใหญ่สำาหรับ10ปีข้างหน้าอาทิลดการควบคุมจากรัฐบาลส่วนกลาง(Deregulation)และเปิดโอกาสให้นักลงทุนต่างชาติในหลายภาคส่วนการปฏิรูปภาคการเงิน(ลดการแทรกแซงอัตราดอกเบ้ียเงินฝากใน2-3ปีและให้เปิดเผยบัญชีทุนใน3-5ปี)การปฏิรูปที่ดินและการปฏิรูปตลาดหุ้น(จดทะเบียนรัฐวิสาหกิจที่ยังไม่ได้อยู่ในตลาดหุ้นในปัจจุบัน)มาตรการเหล่านี้จะช่วยส่งเสริมการปฏิรูปทางเศรษฐกิจของจีนและจะสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระยะปานกลางต่อไป

Page 13: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

13

แผนภาพที่ 13: เครื่องชี้ภาคการผลิตยังคงปรับตัวขึ้นแข็งแกร่ง

Manufacturing Purchasing Manager Index

54.2

44464850525456

Jan-

11

Apr-

11

Jul-1

1

Oct

-11

Jan-

12

Apr-

12

Jul-1

2

Oct

-12

Jan-

13

Apr-

13

Jul-1

3

Oct

-13

Index

Expansion

Contraction

Industrial production

5.4

-15-10-505

101520

Jan-

11

Apr-

11

Jul-1

1

Oct

-11

Jan-

12

Apr-

12

Jul-1

2

Oct

-12

Jan-

13

Apr-

13

Jul-1

3

Oct

-13

% YoY

ที่มา: Ministry of Economic Trade and Industry, Bloomberg, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

ในรอบเดือนที่ผ่านมาเครื่องชี้เศรษฐกิจมีแรงส่งของการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องทั้งภาคการผลิตการใช้จ่ายเพื่ออุปโภคบริโภคภาคเอกชนตลอดจนภาคอสังหาริมทรัพย์ขณะที่เงินเฟ้อเริ่มทรงตัวจากผลของเงินเยนอ่อนค่าเริ่มทยอยลดลงส่งผลทำาให้ธนาคารกลางญี่ปุ่นยังคงตัดสินใจไม่ปรับเปลี่ยนนโยบายการเงินแต่อย่างใดอย่างไรก็ดีนักเศรษฐศาสตร์เริ่มคาดการณ์กันถึงการผ่อนคลายนโยบายการเงินเพิ่มเติมเนื่องจากไม่แน่ใจว่านโยบายปัจจุบันจะมีศักยภาพเพียงพอที่จะทำาให้เงินเฟ้อบรรลุเป้าหมาย2%ภายในครึ่งแรกของปี2015

สรุปภาวะเศรษฐกิจ

ดัชนีการผลิตภาคอุตสาหกรรมขยายตัวแข็งแกร่ง ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม(IndustrialProduction)เดือนก.ย.ขยายตัว5.4%YoYขยายตัวมากที่สุดนับตั้งแต่พ.ย.2010ขับเคลื่อนโดยการผลิตอุตสาหกรรมยานยนต์อิเล็กทรอนิกส์และอุปกรณ์การสื่อสารเป็นสำาคัญนอกจากนี้เครื่องชี้แนวโน้มภาคการผลิตในระยะถัดไปส่งสัญญาณปรับขึ้นเช่นกันโดยดัชนีผู้จัดการจัดซื้อภาคอุตสาหกรรม(ManufacturingPurchasingManagerIndex)เดือนต.ค.อยู่ที่54.2สูงที่สุดนับตั้งแต่พ.ค.2010และอยู่ในเขตการผลิตขยายตัว(ดัชนีมากกว่า50)ติดต่อกันเป็นเดือนที่8

เศรษฐกิจญี่ปุ่น

Page 14: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

14

NOVEMBER 2013Global Economic Review

ส่งผลให้ธนาคารกลางญี่ปุ†นยังไม่เปลี่ยนแปลงนโยบายการเงิน ในวันที่ 31 ต.ค. ที่ผ่านมา ด้วยปัจจัยเศรษฐกิจที่ปรับตัวดีขึ้นในทุกภาคส่วนส่งผลทำาให้ธนาคารกลางญี่ปุ่น(BankofJapan:BoJ)มีมติเป็นเอกฉันท์ให้คงนโยบายขยายปริมาณเงิน60-70ล้านล้านเยนต่อปีในการประชุมนโยบายการเงินเมื่อวันที่31ต.ค.ที่ผ่านมาโดยระบุว่าเศรษฐกิจญี่ปุ่นในขณะนี้ฟื้นตัวขึ้นได้ในระดับปานกลาง (Moderate Recovery) ขณะที่การขึ้นภาษีอุปโภคบริโภคจะกระทบอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจเพียงระยะสั้น แต่จะไม่กระทบศักยภาพในระยะยาว(Long-termPotentialGrowth)โดยBoJประเมินว่าการปรับขึ้นภาษีจะเพิ่มGDPปีงบประมาณ2013(เม.ย.2013–มี.ค.2014)ราว0.3percentagepoint(ppt)จากผลของแรงซื้อล่วงหน้า(Front-LoadedDemand)แต่จะทำาให้GDPปีงบประมาณ2014ลดลงราว0.7pptก่อนจะช่วยเพิ่มGDPปีงบประมาณ2015ราว0.2pptโดยภาพรวมผลกระทบจากการขึ้นภาษีจึงมีผลลบสุทธิเพียง0.2pptในช่วง3ปีงบประมาณดังกล่าว

-40-20

020406080

100

Jan-

11

Apr-

11

Jul-1

1

Oct

-11

Jan-

12

Apr-

12

Jul-1

2

Oct

-12

Jan-

13

Apr-

13

Jul-1

3

Oct

-13

% YoY

-15-10-5051015202530

% YoYTokyo condominium salesHousing starts (RHS)

10-year JGB yield

0.94

0.60

0.40.50.60.70.80.91.0

4-Ja

n-13

4-Fe

b-13

4-M

ar-1

3

4-Ap

r-13

4-M

ay-1

3

4-Ju

n-13

4-Ju

l-13

4-Au

g-13

4-Se

p-13

4-O

ct-1

3

4-N

ov-1

3

4-D

ec-1

3

%

แผนภาพที่ 15: ตลาดอสังหาริมทรัพย์ยังคงปรับตัวดีขึ้น ท่ามกลางภาวะการเงินที่ยังคงผ่อนปรน

ที่มา: Ministry of Land Infrastructure Transport and Tourism, Real Estate Economy Research Institute, Bloomberg, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

Unemployment rate

4.0

3.5

4.0

4.5

5.0

5.5

Jan-

10

Jul-1

0

Jan-

11

Jul-1

1

Jan-

12

Jul-1

2

Jan-

13

Jul-1

3

% s.a.Retail sales

3.1

-10

-5

0

5

10

Jan-

10

Jul-1

0

Jan-

11

Jul-1

1

Jan-

12

Jul-1

2

Jan-

13

Jul-1

3

% YoY

แผนภาพที่ 14: เครื่องชี้การบริโภคฟ„œนตัวขึ้นต่อเนื่อง

ที่มา: Ministry of Economic Trade and Industry, Bloomberg, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

เครื่องชี้การบริโภคปรับตัวดีขึ้นเกินคาด และแนวโน้มปรับขึ้นต่อ ยอดค้าปลีก(RetailSales)เดือนก.ย.ขยายตัวเกินคาด3.1%YoY(สูงสุดในรอบ3เดือน)สอดคล้องกับการปรับตัวดีขึ้นของตลาดแรงงานโดยในเดือนก.ย.มีจำานวนการจ้างงานเพิ่มขึ้นสุทธิ1.9แสนตำาแหน่งขณะกำาลังแรงงานมีจำานวนเพิ่มขึ้น1.1แสนตำาแหน่งส่งผลทำาให้อัตราการว่างงานปรับตัวลดลงเล็กน้อยสู่4%(จาก4.1%ในเดือนส.ค.)ด้วยแรงกระตุ้นภาครัฐบวกกับแรงซื้อก่อนหน้าการปรับขึ้นภาษีอุปโภคบริโภคจะเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้การใช้จ่ายเพื่ออุปโภคบริโภคภาคเอกชนปรับตัวดีขึ้นในระยะ6เดือนข้างหน้า

ตลาดอสังหาริมทรัพย์ยังคงปรับตัวดีขึ้น ท่ามกลางปัจจัยแวดล้อมทางการเงินที่ยังคงเอื้อต่อการฟ„œนตัวต่อไป ในเดือน ก.ย. เครื่องชี้ภาคอสังหาริมทรัพย์ยังคงปรับตัวขึ้นแข็งแกร่งทั้งด้านอุปสงค์และอุปทาน สะท้อนจากยอดขายอาคารชุดในกรุงโตเกียวขยายตัว77.3%YoY(สูงที่สุดตั้งแต่เม.ย.2012)เช่นเดียวกับตัวเลขการเริ่มก่อสร้าง(HousingStarts)ที่เติบโตสูงถึง19.4%YoYนอกจากนี้ภาวะการเงินในปัจจุบันยังคงผ่อนปรนและเอื้อให้การฟื้นตัวของภาคอสังหาฯยังคงมีแรงส่งต่อเนื่องในระยะถัดไปโดยอัตราผลตอบแทนพันธบัตรอายุ10ปีปรับตัวลดลงต่อเนื่องสู่ระดับ0.6%ต่อปี

Page 15: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

15

แผนภาพที่ 17: มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติมจะช่วยลดทอนผลกระทบจากการขึ้นภาษีได้เพียงบางส่วน

ที่มา: Ministry of Finance, Deutsche Bank, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

Measures Amount (JPY, bn)Supplementary Budget 5,000I. Cash payouts to low-income earners 300II. Cash payouts to home buyers 310III. Public works 2,000IV. Reconstruction works 1,300V. Special corporate tax for reconstruction to be terminated 1 year early 900Tax cuts 1,000I. Tax breaks for corporate investment 730II. Tax breaks for companies willing to increase employees’ wages 160III. Mortgage tax breaks 110Total packages (one-off) 6,000% of GDP 1.30%

แผนภาพที่ 16: BoJ ยังคงนโยบายขยายปริมาณเงิน 60-70 ล้านล้านเยนต่อปี

ที่มา: Bank of Japan (BoJ), Bloomberg, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

BoJ's total assets290

164

212

120140160180200220240260280300

Jan-

12

Apr-

12

Jul-1

2

Oct

-12

Jan-

13

Apr-

13

Jul-1

3

Oct

-13

Jan-

14

Apr-

14

Jul-1

4

Oct

-14

Jan-

15

JPY, trn

Quantitativ e & Qualitative Easing

Japan's monetary base270

146

186

100120140160180200220240260280

Jan-

12

Apr-

12

Jul-1

2

Oct

-12

Jan-

13

Apr-

13

Jul-1

3

Oct

-13

Jan-

14

Apr-

14

Jul-1

4

Oct

-14

Jan-

15

JPY, trn

Quantitativ e & Qualitativ e Easing

แนวโน้มเศรษฐกิจ

มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม 6 ล้านล้านเยน จะช่วยลดทอนผลกระทบจากการขึ้นภาษีอุปโภคบริโภคได้เพียงบางส่วน ภายหลังรัฐบาลของนายชินโสะอาเบะตัดสินใจปรับขึ้นภาษีสินค้าอุปโภคบริโภค(ConsumptionTax)ตามแผน(จาก5%เป็น8%ในเดือนเม.ย.2014)ก็ได้อนุมัติมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจวงเงิน6ล้านล้านเยน(แผนภาพที่17)โดยจะเปิดเผยรายละเอียดในช่วงต้นเดือนธ.ค.อย่างไรก็ดีมาตรการกระตุ้นดังกล่าวจะช่วยบรรเทาผลกระทบจากการขึ้นภาษีได้เพียงบางส่วนเท่านั้นเนื่องจากงบประมาณมีขนาดราว1.3%ของGDPและเป็นการใช้จ่ายครั้งเดียว (One-OffSpending)ขณะที่การปรับขึ้นภาษีดังกล่าวจะช่วยให้รัฐบาลจัดเก็บภาษีได้เพิ่มขึ้น (หรืออีกนัยหนึ่งเป็นการลดกำาลังซื้อผู้บริโภค)7.5ล้านล้านเยนต่อปี(ราว1.6%ของGDP)

BoJ ปรับเพิ่มประมาณการ GDP ปีงบประมาณ 2014 เป็นขยายตัว 1.5% (จากเดิม 1.3%) BoJปรับเพิ่มประมาณการGDPปีงบประมาณ2014 เป็นขยายตัว 1.5% (จาก1.3% ในเดือนก.ค.) แต่คงประมาณการGDPปีงบประมาณ2015ไว้เท่าเดิมที่1.5%สำาหรับประมาณการเงินเฟ้อ(ไม่รวมอาหารสด)ซึ่งหักผลของการปรับขึ้นภาษีBoJคงประมาณการไว้ตามเดิมที่1.5%และ1.9%ในปีงบประมาณ2014และ2015ตามลำาดับอย่างไรก็ดีมีกรรมการ3ท่านจากทั้งหมด9คนที่ไม่เห็นด้วยกับประมาณการใหม่น้ีโดยกรรมการ1ท่านกังวลต่อความเส่ียงด้านล่าง(Downsiderisk)ของเศรษฐกิจท้ังจากเศรษฐกิจโลกและจากผลกระทบของการปรับขึ้นภาษีในเดือนเม.ย.2014ในขณะที่กรรมการอีก2ท่านไม่แน่ใจในความสามารถ(Ability)ของนโยบายการเงินในปัจจุบันว่าจะทำาให้เงินเฟ้อเข้าสู่เป้าหมาย2%ภายในครึ่งแรกของปี2015เนื่องจากเชื่อว่าผลของเงินเยนอ่อนค่าที่มีต่อเงินเฟ้อ(ผ่านราคาสินค้านำาเข้า)จะค่อยๆหมดไป(แผนภาพที่19)นอกจากนี้กรรมการทั้ง2ท่านนี้ยังกังวลอีกว่าประมาณการใหม่ของBoJสูงกว่าตลาดมากเกินไปซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือของBoJโดยนักเศรษฐศาสตร์คาดGDPและเงินเฟ้อในปีงบประมาณ2014จะอยู่ที่0.7%และ0.8%ตามลำาดับ

Page 16: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

16

NOVEMBER 2013Global Economic Review

แผนภาพที่ 19: เงินเฟ้อเริ่มทรงตัว หลังจากผลของเงินเยนอ่อนค่าต่อเงินเฟ้อทยอยลดลง

-1.0

-0.5

0.0

0.5

1.0

Jan-

11

Apr-

11

Jul-1

1

Oct

-11

Jan-

12

Apr-

12

Jul-1

2

Oct

-12

Jan-

13

Apr-

13

Jul-1

3

Oct

-13

%

707580859095100105

JPY/USDInflation (excl. fresh food) Yen (RHS)

Appear to stabilize

ที่มา: Ministry of Internal Affairs and Communication, Bloomberg, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

แผนภาพที่ 18: BoJ ปรับเพิ่มประมาณการ GDP ปีงบประมาณ 2014 เป็นโต 1.5% แต่คงมุมมองเงินเฟ้อเท่าเดิมที่ 1.3% (ไม่รวมผลการขึ้นภาษี)

BoJ's Japan GDP grow th forecast

2.8

1.3

2.7

1.5 1.51.5

Fiscal 2013 Fiscal 2014 Fiscal 2015

Jul'13 forecast Oct'13 forecast

BoJ's Japan CPI forecast

0.6

1.3

0.7

1.3

1.91.9

Fiscal 2013 Fiscal 2014* Fiscal 2015*

Jul'13 forecast Oct'13 forecast

หมายเหตุ: * ประมาณการเงินเฟ้อ (ไม่รวมอาหารสด) ในปีงบประมาณ 2014 และ 2015 ไม่รวมผลการปรับขึ้นภาษีอุปโภคบริโภค ที่มา: BoJ, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

Page 17: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

17

เศรษฐกิจบราซิลคาดว่าจะเผชิญกับระดับเงินเฟ้อที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอีกในอนาคตส่งผลให้มีการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอย่างต่อเนื่องแม้ว่าสภาพเศรษฐกิจยังคงอ่อนแอ ขณะที่ด้านเม็กซิโก มีการปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงต่ำาสุดเป็นประวัติการณ์ รวมถึงการเสนอแผนปฏิรูปทางด้านการคลังและพลังงานเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจที่มีความเสี่ยงขาลง

จากข้อมูลล่าสุดโดยกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) เมื่อวัดขนาดเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคละตินอเมริกาและแคริบเบียน(32ประเทศ)ด้วยผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ(GDP)พบว่าประเทศบราซิลสูงเป็นอันดับแรกตามมาด้วยเศรษฐกิจประเทศเม็กซิโกเป็นอันดับที่สองทั้งนี้ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเป็นเวลากว่า2ทศวรรษGDPของทั้ง2ประเทศรวมกันอยู่ที่ประมาณ60%ของGDPรวมทั้งภูมิภาคด้วยเหตุนี้เศรษฐกิจของบราซิลและเม็กซิโกจึงเป็นตัวชี้สภาวะเศรษฐกิจของภูมิภาคได้ดี

เศรษฐกิจละตินอเมริกา

ที่มา: IMF World Economic Outlook Database: October 2013, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

แผนภาพที่ 20: ประเทศบราซิลและเม็กซิโก มีขนาดผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) ใหญ่เป็น 2 อันดับแรก ในภูมิภาคละตินอเมริกาและแคริบเบียน

0

1,000

2,000

3,000

4,000

5,000

6,000

1980

1984

1988

1992

1996

2000

2004

2008

2012

USD, billion

Others (25)PeruChileColombiaVenezuelaArgentinaMexicoBrazil

Page 18: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

18

NOVEMBER 2013Global Economic Review

ที่มา: Bloomberg, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

แผนภาพที่ 21: ค่าเงินเÎอัลแข็งค่าขึ้นหลังจาก Fed ประกาศยังไม่ลดขนาดการทำา QE

Brazilian REAL against USD

1.4

1.6

1.8

2.0

2.2

2.4

2.6

Jan-

09

Apr-

09

Jul-0

9

Oct

-09

Jan-

10

Apr-

10

Jul-1

0

Oct

-10

Jan-

11

Apr-

11

Jul-1

1

Oct

-11

Jan-

12

Apr-

12

Jul-1

2

Oct

-12

Jan-

13

Apr-

13

Jul-1

3

Oct

-13

ที่มา: Bloomberg, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

แผนภาพที่ 22: อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Selic rate) เคลื่อนไหวสอดคล้องกับ ระดับเงินเฟ้อ (IPCA) ที่คาดการณ์

0369

12151821

Jan-

05

Jul-0

5

Jan-

06

Jul-0

6

Jan-

07

Jul-0

7

Jan-

08

Jul-0

8

Jan-

09

Jul-0

9

Jan-

10

Jul-1

0

Jan-

11

Jul-1

1

Jan-

12

Jul-1

2

Jan-

13

Jul-1

3

%

0123456789

%Selic rate (LHS) IPCA Expected IPCA 12 months

สรุปภาวะเศรษฐกิจ

ºÃÒซิÅค่าเงินของบราซิล (Brazilian Real) เริ่มกลับมาแข็งค่า หลังจาก Fed เลื่อนการลดขนาด QE ในเดือน ก.ย. ออกไป ค่าเงินเÎอัลของบราซิล (Brazilian Real) เป็นอีกหนึ่งสกุลเงินที่ได้รับผลกระทบจากการดำาเนินนโยบายการเงินของสหรัฐฯ ในช่วงเวลาที่FedมีการทำาQEโดยหลังจากFedประกาศเล่ือนการลดขนาดQEเม่ือเดือนก.ย.ออกไปส่งผลให้ค่าเงินเÎอัลเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯกลับมาแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ในผลสำารวจของธนาคารกลางบราซิล(BancoCentraldoBrasil:BCB)เผยว่าตลาดคาดว่าค่าเงินเÎอัลณสิ้นปีค.ศ.2013จะอยู่ที่2.25BRL/USDและคาดว่าสิ้นปี2014จะอ่อนตัวลงมาอยู่ที่2.40BRL/USDโดยค่าเงินบราซิลเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯมีแนวโน้มผันผวนได้อีกขึ้นอยู่กับการประกาศการทำาQEของFedว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใด

ด้านเงินเฟ้อคาดว่าจะปรับตัวสูงขึ้นอีกในอนาคต... แม้ว่าดัชนีราคาผู้บริโภค(IPCA)จะชะลอตัวลงต่อเนื่องในช่วง3เดือนที่ผ่านมา(ก.ค.-ก.ย.2013โดยณเวลาที่เขียนต้นฉบับตัวเลขเดือนต.ค.ยังไม่ออกมา)ทว่าดัชนีราคาผู้บริโภคที่คาดการณ์(ExpectedIPCA)ล่วงหน้า12เดือนปรับสูงขึ้นจากผลสำารวจของBCBตลาดคาดว่าในปี2013IPCAจะเร่งขึ้นเป็น5.83%(BCBคาดที่5.80%)และในปี2014ปรับลงเป็น5.94%(BCBคาดที่5.70%)จากการคาดการณ์ครั้งก่อน ทั้งนี้บราซิลมีดัชนีวัดระดับเงินเฟ้อหรือConsumerPriceIndexอื่นอีกอาทิIGP-Mแต่IPCAเป็นดัชนีชี้วัดระดับเงินเฟ้อหลักของบราซิลซึ่งวัดราคาสินค้าและบริการมาตรฐานที่ครัวเรือนบราซิลจับจ่ายเพื่อบริโภค

Page 19: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

19

ที่มา: Bloomberg, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

แผนภาพที่ 23: ธนาคารกลางเม็กซิโกปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง 25bps ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายต่ำาสุดในประวัติศาสตร์

Mexico's policy rate

0

2

4

6

8

10

Oct

-05

Apr-

06

Oct

-06

Apr-

07

Oct

-07

Apr-

08

Oct

-08

Apr-

09

Oct

-09

Apr-

10

Oct

-10

Apr-

11

Oct

-11

Apr-

12

Oct

-12

Apr-

13

%

...ส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายปรับขึ้นอย่างต่อเนื่อง แม้สภาพเศรษฐกิจยังคงอ่อนแอ เนื่องจากอัตราเงินเฟ้อที่คาดว่าจะอยู่ในระดับสูงจึงทำาให้ COPOM ต้องปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นเพื่อควบคุม แม้เศรษฐกิจยังไม่ฟื้นตัวดีและBCBมีการปรับคาดการณ์เศรษฐกิจปี2013ลงจาก+2.7%(คาดการณ์เดือนก.ค.2013)มาอยู่ที่+2.5%(คาดการณ์เดือนส.ค.)โดยครั้งล่าสุดในเดือนต.ค.คณะกรรมการนโยบายการเงิน(Comitê de Política Monetária: COPOM)ของBCBปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย(Sistema Especial de Liquidação e Custodia: SELIC rate)อีก50bpsเป็น9.5%ติดต่อกันเป็นครั้งที่5นับจากเดือนเม.ย.ปี2013(COPOMประชุม8ครั้งต่อปี)และมีทีท่าว่าจะปรับขึ้นได้อีกในการประชุมครั้งถัดไปในเดือนพ.ย.

เม็กซิโกธนาคารกลางเม็กซิโก ปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง ล่าสุดในเดือนต.ค.ธนาคารกลางเม็กซิโก(Banxico)ปรับลดดอกเบี้ยนโยบายลง25bpsมาอยู่ที่3.50%จากมุมมองต่อภาวะเศรษฐกิจที่มีความเสี่ยงขาลงทว่าธนาคารกลางยังเผยอีกว่าจะไม่มีการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงอีกในช่วงหลายเดือนข้างหน้านี้โดยมองว่าภาวะทางการเงินณเวลานี้สอดคล้องกับระดับเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับ3%และมีแนวโน้มที่จะปรับขึ้นจากแรงกดดันของเงินเฟ้อในปีหน้าที่คาดว่าจะสูงขึ้นทั้งนี้อัตราดอกเบี้ยนโยบายที่3.50%นับเป็นอัตราดอกเบี้ยต่ำาสุดเท่าที่เคยมีมา

อย่างไรก็ตาม รัฐบาลเม็กซิโก ได้เสนอแผนปฏิรูปด้านการคลังและพลังงาน ซึ่งจะเป็นผลดีต่อเศรษฐกิจหลังจากนี้ หลังจากมาตรการทางการเงินที่ใช้สามารถควบคุมระดับเงินเฟ้อได้แล้วในระยะต่อไปรัฐบาลมีแผนที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจที่ชะลอตัวผ่านมาตรการทางการคลัง โดยมีการเสนอแผนปฏิรูปทั้งด้านการคลัง และแผนปฏิรูปพลังงาน ซึ่งจะช่วยเพิ่มรายรับ เพื่อให้มีงบประมาณมาใช้ในมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจโดยแผนด้านการคลังนั้นมีกำาหนดเส้นตายเพื่อหาข้อสรุปสุดท้ายในวันที่15พ.ย.2013ขณะที่แผนด้านพลังงานจะมีการพิจารณาและผลักดันให้เป็นรูปเป็นร่างหลังจากนี้

ที่มา: Deutsche Bank, Financial Times, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

แผนภาพที่ 24: ข้อเสนอในการปฏิรูปแผนด้านการคลัง สำาหรับรายรับภาครัฐ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มหลัก

ขอเสนอหลัก 3 กลุม เพ่ิมรายได

ปรับปรุงโครงสรางการจัดเก็บภาษีมูลคาเพ่ิม (VAT) 0.3% ของ GDP

เปลี่ยนแปลงโครงสรางการจัดเก็บภาษีเงินไดท้ังบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล

1.0% ของ GDP

คาธรรมเนียมและภาษีพิเศษ 0.1% ของ GDP

Page 20: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

20

NOVEMBER 2013Global Economic Review

ที่มา: Deutsche Bank, Financial Times, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

แผนภาพที่ 25: ข้อเสนอในก®หมายรายรับภาครัฐ ที่สำาคัญ ได้รับอนุมัติแล้ว(บางส่วน) ในวันที่ 20 ต.ค. จากสภาผู้แทนราษ®ร

มาตรการกระตุนเศรษฐกิจ

รายไดตอป (Mexican Peso)

อัตราภาษีเงินไดขั้นกาวหนา

>500,000 31%>750,000 32%

>1,000,000 34%>3,000,000 35%

- ยกเลิกการเก็บ VAT ในราคาบานและคาใชจายการศึกษาภาคเอกชน

+ เพ่ิมการจัดเก็บภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาในอัตรากาวหนา สําหรับผูท่ีเสียภาษีใน

อัตราสูงสุดจากเดิม 30% ดังนี้

+ จัดเก็บภาษีพิเศษ ในอาหารท่ีมีแคลอรี่สูง 5%

มาตรการเพ่ิมรายรับรัฐบาล

- คงสิทธิประโยชนทางภาษี สําหรับอุตสาหกรรมท่ีนําเขาสินคาขั้นกลาง

เพ่ือการผลิต

ทั้งนี้แผนปฏิรูปด้านการคลังมีกำาหนดการพิจารณาภายในวันที่20,30ต.ค.และ15พ.ย.

แนวโน้มเศรษฐกิจ

ºÃÒซิÅ แม้เงินเฟ้อจะชะลอลงในเดือนที่ผ่านมาแต่ตลาดคาดการณ์ว่าระดับเงินเฟ้อในอีก12เดือนข้างหน้าจะสูงขึ้นโดยมองว่าที่ผ่านมาอัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับที่ไม่มีเสถียรภาพ เนื่องจากระดับราคาสินค้าที่ไม่ได้ถูกควบคุมยังคงอยู่ในระดับสูง ขณะที่สินค้าที่มีการควบคุมโดยรัฐบาลอยู่ในระดับต่ำามากซึ่งเป็นผลมาจากการควบคุมและลดราคาสาธารณูปโภคอาทิค่าไฟฟ้าและค่ารถโดยสารสาธารณะสืบเนื่องมาจากการประท้วงของประชาชนต่อรัฐบาลในเดือนมิ.ย.เป็นต้นมาทำาให้รัฐบาลต้องประกาศไม่ขึ้นสาธารณูปโภคเพื่อตอบรับประชาชนทั้งนี้หากมองไปข้างหน้าการเลือกตั้งรัฐบาลครั้งใหม่ในเดือนต.ค.ปี2014ที่จะถึงอาจเป็นไปได้ว่ารัฐบาลมีแนวโน้มที่จะใช้นโยบายประชานิยมสูงซึ่งจะสร้างแรงกดดันต่อเงินเฟ้อเพิ่มเติมและจะยิ่งส่งผลให้ธนาคารกลางอยู่ห่างไกลจากกรอบเป้าหมายเงินเฟ้อที่เป้า 4.5%±2%เข้าไปอีกและน่าจะส่งผลให้มีการปรับSelicRateขึ้นได้อีกในอนาคต

เม็กซิโก รัฐบาลเม็กซิโก ปรับลดคาดการณ์เศรษฐกิจปีหน้าลงเมื่อเดือนที่แล้ว โดยคาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวเพียง 1.7% ในปีนี้ จากที่คาดไว้เมื่อต้นปีที่3.5%สาเหตุหลักมาจากการส่งออกและรายจ่ายภาครัฐที่ชะลอตัวลงรวมถึงผลกระทบจากพายุเÎอร์ริเคนสองลูกที่กระทบต่ออุปสงค์และการลงทุนภายในประเทศ ด้านธนาคารกลางเม็กซิโกมีแนวโน้มว่าจะไม่ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงอีก จากแรงกดดันเงินเฟ้อที่น่าจะเพิ่มสูงขึ้นในปีหน้าและแผนปฏิรูปด้านการคลังและพลังงานที่จะช่วยเพิ่มงบประมาณเพื่อใช้ในการกระตุ้นเศรษฐกิจได้มากขึ้นซึ่งน่าจะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจเม็กซิโก

Page 21: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

21

สรุปภาวะเศรษฐกิจ

ก่อนหน้านี้อินเดียได้ชื่อว่าเป็นประเทศเกิดใหม่ในกลุ่มBRICที่ถือเป็นหนึ่งใน“ปาฏิหาริย์”ของเอเชียโดยเศรษฐกิจเติบโตเฉลี่ย6.4%เป็นเวลาถึง3ทศวรรษโดยมีทั้งทรัพยากรมนุษย์ที่มีจำานวนมากและเงินทุนที่หลั่งไหลเข้าอย่างมากมายอีกทั้งอินเดียยังเป็น“ภาคบริการ”ฐานใหญ่ของประเทศพัฒนาแล้วอาทิอเมริกายุโรปอีกด้วย

แต่เหตุการณ์เริ่มพลิกผันเมื่อการเติบโตเริ่มชะลอตัวลงตั้งแต่ปี2011ผิดกับจีนที่เติบโตมาคู่กันและกลายเป็นมหาอำานาจแห่งใหม่ของโลก อีกทั้งอินเดียยังประสบปัญหาเงินทุนไหลออกและเงินอ่อนค่าต่อเนื่อง และเกิดปัญหารุนแรงเมื่อธนาคารกลางสหรัฐฯ(Fed)ออกมาส่งสัญญาณว่าจะเริ่มลดเงินอัดฉีดลงตั้งแต่ช่วงต้นปี2013ซ้ำายังขาดดุลบัญชีเดินสะพัดส่งผลให้เงินรูปีอินเดียอ่อนค่าลงแตะจุดต่ำาสุดในเดือนส.ค.และเศรษฐกิจของอินเดียขยายตัวเหลือเพียงเฉลี่ย4%

ในช่วงที่ผ่านมาอินเดียประสบปัญหาเศรษฐกิจชะลอตัวเงินรูปีอ่อนค่าการขาดดุลการค้าเงินเฟ้อและขาดดุลการคลัง และยังมีปัญหาด้านโครงสร้าง ทั้งด้านการบริหาร การขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐาน กฎหมายแรงงานที่ซับซ้อนความขัดแย้งในการครอบครองที่ดิน และโครงสร้างภาคแรงงานที่เป็นปัญหามาเป็นเวลานานซึ่งเป็นปัจจัยที่ยิ่งเป็นอุปสรรคซ้ำาเติมการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในยามซบเซา

ในรอบเดือนที่ผ่านมา เศรษฐกิจอินเดียเริ่มปรับตัวดีขึ้นจากนโยบายทางการเงินของผู้ว่าการธนาคารกลางคนใหม่ ค่าเงินรูปีกลับมารักษาระดับได้และการค้าขาดดุลลดลงขณะที่ยังมีปัญหาเงินเฟ้อและขาดดุลการคลัง

เศรษฐกิจอินเดีย

Page 22: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

22

NOVEMBER 2013Global Economic Review

ปัจจุบันแม้เศรษฐกิจอินเดียกำาลังอยู่ในช่วงฟื้นตัวทั้งจากการขาดดุลการค้าที่เริ่มลดลงค่าเงินที่เริ่มมีเสถียรภาพอีกครั้งและนโยบายใหม่จากธนาคารกลางที่เข้ามาแก้ปัญหาด้านการเงินหากแต่ความผันผวนอาจกลับมาอีกได้ในภายหลังเมื่อFedส่งสัญญาณจะลดQEครั้งใหม่ดังนั้นอินเดียยังคงต้องการความแข็งแกร่งจากพื้นฐานภาคเศรษฐกิจจริงอยู่อีกมาก

GDP ยังคงลดลงอย่างต่อเนื่อง ในช่วงครึ่งปีแรกของปี2013เศรษฐกิจอินเดียขยายตัวเฉลี่ย5%ซึ่งนับเป็นอัตราต่ำาสุดในรอบทศวรรษอีกทั้งในไตรมาสที่2เศรษฐกิจอินเดียขยายตัวเพียง4.4%(ต่ำากว่า5%เป็นไตรมาสที่3ติดต่อกัน)ต่ำาที่สุดตั้งแต่ปี2010ซึ่งมีแนวโน้มลดลงมาอย่างต่อเนื่องอย่างไรก็ตามธนาคารกลางอินเดียตั้งเป้าเศรษฐกิจขยายตัว5%ในปีงบประมาณนี้

-10-505

10152025

Jun-

06

Dec

-06

Jun-

07

Dec

-07

Jun-

08

Dec

-08

Jun-

09

Dec

-09

Jun-

10

Dec

-10

Jun-

11

Dec

-11

Jun-

12

Dec

-12

Jun-

13

% YoY

024681012

% YoYIndustrial production GDP (RHS)

แผนภาพที่ 26: GDP ลดลงต่อเนื่อง

ที่มา: Bloomberg, TISCO ESU

Indian Rupee68.8

61.3

50

55

60

65

70

Jan- 13 Feb-

13 Mar

-13 Ap

r-13 May

-13 Ju

n- 13 Jul-

13

Aug- 13 Sep- 13 Oct

-13

INR/USD

แผนภาพที่ 27: เงินรูปีกลับมาที่ระดับเดิมอีกครั้งหลังจากอ่อนค่าเร็วที่สุดในเอเชีย

ที่มา: Bloomberg, TISCO ESU

ภาคอุตสาหกรรมเริ่มฟ„œนตัว จากผลผลิตของอุตสาหกรรมหลัก(Coreinfrastructureproduction)ที่กลับมาขยายตัวเร่งขึ้นถึง8%YoYในเดือนก.ย.ทำาให้ค่าเฉลี่ยในไตรมาสนี้เพิ่มขึ้นเป็น4.9%YoYจาก1.6%โดยเฉลี่ยของไตรมาสที่2และหากปรับผลของฤดูกาลจะทำาให้เดือนก.ย.มีผลผลิตเพิ่มขึ้น3.5%MoMซึ่งเป็นการขยายตัวแข็งแกร่งที่สุดนับตั้งแต่เดือนก.พ.2012 ภาคอุตสาหกรรมที่มีการปรับตัวดีขึ้นในเดือนก.ย.อาทิไฟฟ้า(12.6%YoYvs.6.6%เดือนส.ค.)ถ่านหิน(12.5%vs.5.4%)และปูนซีเมนต์(11.5%vs.5.4%)

เงินรูปีกลับมาทรงตัวอีกครั้ง ปัญหาเงินทุนไหลออกจนเงินรูปีอ่อนค่าอย่างหนักเมื่อเดือน ส.ค. โดยค่าต่ำาสุดอยู่ที่ 68.825 รูปีต่อดอลลาร์สหรัฐฯ กลายเป็นประเทศที่เงินอ่อนค่ามากที่สุดในเอเชียก่อนการประชุม Fed เดือนก.ย. แต่หลังจากนั้นปัญหาเริ่มคลี่คลายและเงินรูปีกลับมารักษาค่าได้ที่ระดับเดิมอีกครั้งในช่วง2เดือนอย่างไรก็ดีตั้งแต่ต้นปีเงินรูปีอ่อนค่าลงถึง11.4%และยังคงมีราคาต่ำากว่ามูลค่าพื้นฐาน(Undervalue)ซึ่งมีแนวโน้มที่จะแข็งค่าขึ้นอีกได้

Page 23: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

23

India Merchandise trade balance

-20

-15

-10

-5

0

5

Mar

-04

Sep-

04

Mar

-05

Sep-

05

Mar

-06

Sep-

06

Mar

-07

Sep-

07

Mar

-08

Sep-

08

Mar

-09

Sep-

09

Mar

-10

Sep-

10

Mar

-11

Sep-

11

Mar

-12

Sep-

12

Mar

-13

Sep-

13

USD, bn

แผนภาพที่ 28: การขาดดุลการค้าลดลงในเดือน ส.ค.

ที่มา: Bloomberg, TISCO ESU

ปัญหาขาดดุลบัญชีเดินสะพัดต่อเนื่องจากการนำาเข้าพลังงาน แต่ดีขึ้นในช่วงหลัง อินเดียเป็นผู้นำาเข้าพลังงานรายใหญ่ทั้งน้ำามันและถ่านหินโดยได้รับผลกระทบจากราคาน้ำามันโลกที่พุ่งสูงในช่วงที่ผ่านมาและจากการที่เงินอ่อนค่าตามที่กล่าวข้างต้นส่งผลเสียหายซ้ำาแก่ดุลบัญชีเดินสะพัดและยังมีการนำาเข้าทองคำาเป็นจำานวนมากเพื่อป้องกันความเสี่ยงในช่วงที่เศรษฐกิจไม่แน่นอนจากเงินเฟ้อ อย่างไรก็ดีดุลการค้าเดือนก.ย.มียอดขาดดุลน้อยลงอยู่ที่-6.8พันล้านเหรียญสหรัฐฯนับเป็นการขาดดุลที่น้อยที่สุดในรอบ30เดือนเป็นผลจากการนำาเข้าสินค้าที่ลดลงด้านการส่งออกขยายตัวอย่างแข็งแกร่งเป็นเดือนที่ 3 โดยในเดือนก.ย.ขยายตัวถึง11.2%YoYทำาให้ความคลายความกังวลเรื่องขาดดุลบัญชีเดินสะพัดได้บ้างและยังชี้ถึงความต้องการของตลาดโลกที่ฟื้นตัวอย่างไรก็ตามการฟื้นตัวในดือนต.ค.อาจได้รับผลกระทบจากพายุไต้ฝุ่นไพลินส่วนการนำาเข้าลดลงถึง18.1%YoYโดยสินค้าที่ไม่ใช่น้ำามัน(non-oil)ลดลงถึง24.2%YoYจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หดตัวลงในเดือนก.ย.ที่ได้กล่าวไปข้างต้น

ปัญหาเงินเฟ้อยังคงอยู่ในระดับสูง แต่ธนาคารกลางมองแนวโน้มดีขึ้น และเริ่มใช้นโยบายเพิ่มสภาพคล่อง

ปัญหาเงินเฟ้อสูงขึ้นตั้งแต่เดือนกรกฎาคมเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง จากแรงกดดันด้านต้นทุนพลังงาน และราคาอาหาร โดยราคาอาหารในเดือนก.ย.ปรับเพิ่มขึ้นถึง18.4%YoYสูงสุดตั้งแต่ปี2010ทำาให้ดัชนีราคาขายส่ง(Wholesalepriceindex)เดือนก.ย.ขยายตัวที่6.46%YoYสูงที่สุดในรอบ7เดือนขณะที่ดัชนีราคาผู้บริโภคสูงขึ้นถึง9.84%YoY

อย่างไรก็ตาม ตามรายงานล่าสุดของธนาคารกลางอินเดีย มีมุมมองว่าเงินเฟ้อน่าจะทรงตัว ธนาคารกลางจึงมีมติให้ผ่อนคลายนโยบายด้วยการ 1.ปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบาย25bpsเป็น7.75% 2.ลดMSFRate(MarginalStandingFacilityRate)ลง25bpsเหลือ8.75% 3.อัดฉีดสภาพคล่องโดยผ่านกลไกการซื้อคืนพันธบัตร7วันและ14วัน ซึ่งมติดังกล่าวทำาให้เงื่อนไขทางการเงินในเดือนพ.ย.ผ่อนคลายและเอื้อต่อสภาพคล่องมากกว่าเดือนที่ผ่านมา

ที่มา: Bloomberg, TISCO ESU

แผนภาพที่ 29: อัตราเงินเฟ้อและอัตราดอกเบี้ยนโยบาย

-202468

1012

Apr-

05

Oct

-05

Apr-

06

Oct

-06

Apr-

07

Oct

-07

Apr-

08

Oct

-08

Apr-

09

Oct

-09

Apr-

10

Oct

-10

Apr-

11

Oct

-11

Apr-

12

Oct

-12

Apr-

13

Oct

-13

% YoY

0

2

4

6

8

10

%Wholesale price index (LHS) Repo rate (RHS)

Page 24: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

24

NOVEMBER 2013Global Economic Review

ในระยะยาว อินเดียยังคงต้องการการปฏิรูปเพื่อแก้ปัญหาด้านโครงสร้าง เพื่อดึงดูดการลงทุนมากขึ้นและรักษาเสถียรภาพของเศรษฐกิจ เศรษฐกิจอินเดียในขณะนี้กำาลังเผชิญกับปัญหาด้านโครงสร้างหลายประการที่รัฐบาลชุดปัจจุบัน(รับตำาแหน่งปี2004)ละเลยการปฏิรูปเมื่อครั้งที่เศรษฐกิจเติบโตประกอบกับการที่รัฐบาลเริ่มโครงการจ่ายเงินเพื่อช่วยเหลือประชาชนเมื่อครั้งที่รัฐมีรายรับมากโดยที่มิได้คำานึงถึงผลที่จะตามมาคือการขาดดุลทั้งด้านการคลังนอกจากนี้ดุลการค้าที่จะได้รับผลกระทบจากภาวะเงินเฟ้อที่ถูกกระตุ้นโดยนโยบายดังกล่าวดังนั้นปัญหาพื้นฐานต่างๆจึงกลายเป็นอุปสรรคและทำาให้เศรษฐกิจผันผวนหนักเมื่อเกิดวิกฤตได้แก่

1.ปัญหาภาคแรงงาน •เศรษฐกิจอินเดียมีการพัฒนาแตกต่างจากประเทศกำาลังพัฒนาปกติคืออิงกับแรงงานฝีมือราคาแพงจำานวนน้อยมากกว่าที่จะใช้แรงงาน ไร้ฝีมือราคาถูกจำานวนมหาศาลที่มีในประเทศและเข้าสู่ตลาดแรงงานเดือนละ1ล้านคน •อีกทั้งโครงสร้างของเศรษฐกิจยังเป็นภาคบริการ(56.5%ของGDP)โดยเป็นOutsourceด้านCallCenter,เขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์,และบริการหลังการขายให้แก่บริษัทต่างชาติเช่นอเมริกาและยุโรปแตกต่างจากโครงสร้างของเศรษฐกิจที่พัฒนาแล้ว เช่นจีนไต้หวันเกาหลีใต้ที่มีภาคอุตสาหกรรมเป็นกำาลังหลักของประเทศเมื่อครั้งเริ่มพัฒนาซึ่งจะสร้างงานให้กับคนจนจำานวนมาก ได้ดีกว่า •ค่าแรงของแรงงานมีฝีมือในภาคบริการมีราคาแพงจากภาวะเงินเฟ้อทำาให้อินเดียเริ่มเสียความสามารถในการแข่งขันในการเป็น Outsourceให้กับประเทศที่มีค่าแรงถูกกว่าและพูดภาษาอังกฤษได้เช่นฟิลิปปินส์

Agricultural sector, 17.4%

Industrial sector, 26.1%

Services sector, 56.5%

แผนภาพที่ 30: โครงสร้างเศรษฐกิจอินเดีย

ที่มา: CIA world factbook

2.ปัญหาการลงทุนและภาคอุตสาหกรรม •อินเดียไม่สามารถดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศได้เนื่องจากปัญหาสำาคัญคือขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานเช่นถนนปัญหาความไม่ เสถียรของพลังงานที่จ่ายเข้าโรงงานและกฎหมายแรงงานที่ซับซ้อนทำาให้ธุรกิจทดแทนแรงงานไร้ฝีมือด้วยเครื่องจักร •นอกจากนี้ยังมีอีกหนึ่งปัญหาสำาคัญที่ทำาให้การลงทุนและขยายโรงงานทำาได้จำากัดคือปัญหาการครอบครองที่ดิน(LandAcquisition) โดยเอกชนไม่สามารถซื้อที่ดินเพิ่มเติมได้มากนักเนื่องจากมักจะมีปัญหาขัดแย้งกับชาวอินเดียในพื้นที่

3.ปัญหาการบริหารจัดการ •รัฐบาลอินเดียมีการจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อการยังชีพของประชาชนที่ยากจนถึง2.7%ของGDPแต่การคอรัปชั่นและการบริหารที่ไม่ดี ทำาให้เม็ดเงินไม่สามารถลงไปกระตุ้นภาคเศรษฐกิจจริงได้ดีนักทั้งยังก่อให้เกิดการขาดดุลการคลัง •ขณะที่โครงการอุดหนุนเงินยังเป็นปัจจัยให้ค่าแรงสูงขึ้นและส่งผลต่อเงินเฟ้อ

Page 25: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

25

แนวโน้มเศรษฐกิจและนโยบาย

เศรษฐกิจอินเดียอยู่ในช่วงขยายตัวลดลงซึ่งยังคงเป็นอัตราต่ำาสุดในรอบทศวรรษและธนาคารกลางอินเดียคาดว่าเศรษฐกิจในปีงบประมาณนี้จะขยายตัวได้ 5% อย่างไรก็ตาม การกลับมาขยายตัวของอุตสาหกรรมหลักในเดือน ก.ย. ทำาให้เรามองว่าจะเป็นแรงส่งให้เศรษฐกิจโดยรวมกลับมาขยายตัวในไตรมาสที่3

นอกจากนี้ปัญหาขาดดุลการค้ามีแนวโน้มที่จะฟื้นตัวได้ในปี2014และ2015โดยมีการนำาเข้าทองคำาลดลงและส่งออกได้มากขึ้นและนโยบายที่รัฐบาลกำาลังริเริ่มทั้งแผนการจัดตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์และการผลิตถ่านหินและแร่เหล็กส่งออกที่มีปริมาณสำารองในประเทศมหาศาลเป็นอันดับต้นๆของเอเชียจะช่วยให้ดุลการค้าและดุลบัญชีเดินสะพัดของอินเดียให้ฟื้นตัวได้ดีในระยะยาว

ภาคการเงินอัตราแลกเปลี่ยนจะมีเสถียรภาพมากขึ้นและอาจแข็งค่าขึ้นเนื่องจากยังมีราคาต่ำากว่าพื้นฐาน(Undervalued)อยู่ในระดับปัจจุบัน

ด้านนโยบายการเงินเรามองว่าธนาคารกลางของอินเดียจะไม่ปรับอัตราดอกเบี้ยเพิ่มอีกและจะคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ช่วง6.75%-7.75%-8.75%(ReverseRepo,Repo,และMSFตามลำาดับ)ต่อไปจนสิ้นปีงบประมาณแม้ว่าดอกเบี้ยในตลาดอาจจะลดลงเนื่องจากสภาพคล่องที่จะเพิ่มขึ้นจากนโยบายของธนาคารกลางในเดือนนี้ อย่างไรก็ตามภาวะเงินเฟ้อพื้นฐานมีการปรับตัวดีขึ้นเพียงเล็กน้อยแม้เศรษฐกิจขยายตัวได้ไม่ดีนักเราจึงคาดว่าเงินเฟ้อจะยังคงเป็นปัญหาต่อไป

มองไปข้างหน้าการตัดสินใจเริ่มลดQEรอบต่อไปอาจส่งผลต่ออินเดียอีกครั้งไม่ว่าจะเป็นเดือนธ.ค.ปีนี้หรือเดือนมี.ค.ปีหน้าดังนั้นความผันผวนยังไม่ได้หมดไปเพียงแต่ถูกเลื่อนออกไปเท่านั้น

Page 26: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

26

Global Economic Review

NOVEMBER 2013

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทยในรอบเดือนที่ผ่านมาสูญเสียแรงส่งทั้งภาคการผลิตการส่งออกตลอดจนการใช้จ่ายภาคเอกชนนอกจากนี้เศรษฐกิจไทยยังเผชิญปัจจัยเสี่ยงที่สูงขึ้นจากการประท้วงต่อต้านพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมส่งผลทำาให้TISCOESUปรับลดประมาณการอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจ(GDP)ปีนี้ลงเหลือ3.5%(จาก4.5%)อย่างไรก็ดีแม้จะปรับลดประมาณการรายปีลงแต่ภาพรายไตรมาสเราคาดว่าGDPได้ผ่านพ้นจุดต่ำาสุดไปแล้วและมีแนวโน้มฟื้นตัวขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไปสอดคล้องกับทิศทางเงินเฟ้อที่เริ่มขยับสูงขึ้นหลังจากปรับลดลง9เดือนติดต่อกันด้วยปัจจัยแวดล้อมดังกล่าวเราจึงคาดว่าจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายการเงินในการประชุมวันที่27พ.ย.นี้

สรุปภาวะเศรษฐกิจ

อุปสงค์ภาคเอกชนโดยเ©พาะการบริโภคอ่อนแอเกินคาด ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน(PCI)เดือนก.ย.หดตัว6.1%YoY(vs.+0.7%YoYในเดือนก่อนหน้า)ซึ่งนับเป็นการหดตัวรุนแรงที่สุดนับตั้งแต่เริ่มเก็บข้อมูลในเดือนม.ค.2000ตามการหดตัวของยอดขายรถยนต์และการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มที่มีผลของฐานในปีก่อนสูงกว่าปกติอย่างมากดัชนีการลงทุนภาคเอกชน(PII)ทรงตัวอยู่ที่-3.3%YoY(vs.-3.4%ในเดือนก่อนหน้า)โดยดัชนีหมวดก่อสร้าง(พื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้างและยอดขายซีเมนต์) ยังคงขยายตัวได้ดี แต่ถูกหักล้างด้วยดัชนีหมวดเครื่องจักรและอุปกรณ์ (ยอดนำาเข้าสินค้าทุน, ยอดขายเครื่องจักรและรถกระบะ)

ดัชนีภาคอุปทานทั้งภาคเกษตรและอุตสาหกรรมก็อ่อนแรงลง ยกเว้นยอดนักท่องเที่ยวที่ยังเติบโตในอัตราสูง ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม(MPI)เดือนก.ย.หดตัว2.9%YoY(vs.-2.8%ในเดือนก่อนหน้า)ซึ่งนับเป็นการหดตัว6เดือนติดต่อกันปัจจัยถ่วงยังมาจากการหดตัวของยอดผลิตรถยนต์และอาหารและเครื่องดื่มด้านรายได้เกษตรกรเดือนก.ย.หดตัวลง2.6%YoY(vs.ทรงตัวในเดือนก่อนหน้า)ผลจากการหดตัวของผลผลิตภาคเกษตร (จากปัญหาการขาดแคลนกุ้ง รวมถึงราคาสินค้าเกษตรชะลอตัวลง ตามการปรับลงของราคาข้าวขาว(-20%YoYสู่8,480บาทต่อตันvs.ราคารับจำานำาที่15,000บาทต่อตัน)สำาหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติในเดือนก.ย.มีจำานวน2.06ล้านคนเพิ่มขึ้นถึง27.6%YoYทำาให้ยอดนักท่องเที่ยวตั้งแต่ต้นปีรวมเป็น19.5ล้านราย(+22%YoY)ทั้งนี้นักท่องเที่ยวจีนยังคงมีอัตราขยายตัวมากที่สุดรองลงมาคือนักท่องเที่ยวชาวยุโรป

เศรษฐกิจไทย

Page 27: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

27

การส่งออกหดตัวเกินคาด สาเหตุหนึ่งมาจากทองคำา มูลค่าการส่งออกเดือนก.ย.หดตัว7.1%YoYอยู่ที่19,304ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ(vs.+3.9%เดือนก่อนหน้า)ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการส่งออกทองคำาที่ลดลงอย่างมากอยู่ที่326ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ(vs.1,685ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ)อย่างไรก็ดีหากไม่นับรวมทองคำาการส่งออกหดตัวเพียง-0.6%YoY

ส่งออกสินค้าเกษตรพลิกกลับมาขยายตัวอย่างแข็งแกร่ง นำาโดยการส่งออกข้าวเป็นหลัก การส่งออกสินค้าเกษตรขยายตัว4.4%YoYนับเป็นการขยายตัวครั้งแรกในรอบ6เดือนโดยยอดส่งออกข้าวขยายตัวอย่างมากทั้งในแง่มูลค่า(+8.7%YoY)และปริมาณ(+27.2%YoY)เนื่องจากราคาข้าวของไทยปรับตัวลงมาใกล้เคียงกับประเทศคู่แข่งในเดือนก.ย.นอกจากนี้การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมเกษตรก็กลับมาขยายตัวได้บ้างหลังหดตัวตลอดหลายเดือนที่ผ่านมาขณะที่การส่งออกภาคอุตสาหกรรม(ไม่รวมทองคำา) กลับมาหดตัวหลังจากขยายตัวดีในเดือนก่อน ตามการชะลอตัวเกือบทุกหมวด ยกเว้นแผงวงจรไฟฟ้า และเครื่องปรับอากาศ สำาหรับตลาดส่งออกการส่งออกของไทยไปยังสหรัฐฯสหภาพยุโรปและญี่ปุ่นชะลอตัวลงอย่างไรก็ดีการส่งออกไปยังอาเซียน9ประเทศและจีนยังขยายตัวได้อยู่

Export grow th by major products (% YoY)

-7.1

4.41.0 -0.2

-12.3

-5.2 -5.0

5.4

-6.8

0.0

Total Agricultural Agro-industrial Manufacturing* Mining and fuel

Sep'13 YTD

% share 100.0 10.2 7.9 72.3 6.7

แผนภาพที่ 32: การส่งออกสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรปรับตัวดีขึ้น

หมายเหตุ: การส่งออกหมวดสินค้าอุตสาหกรรม (Manufacturing) ไม่รวมทองคำา ที่มา: Ministry of Commerce (MoC), TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

-6.1

-3.3

-20

-10

0

10

20

30

Jan-

12

Apr-

12

Jul-1

2

Oct

-12

Jan-

13

Apr-

13

Jul-1

3

Oct

-13

% YoY Private Consumption IndexPrivate Investment Index

-2.9

-2.6

27.6

-40

-20

0

20

40

60

80

Jan-

12

Apr-

12

Jul-1

2

Oct

-12

Jan-

13

Apr-

13

Jul-1

3

Oct

-13

% YoY MPIFarm incomeNo.of tourist arrivals

แผนภาพที่ 31: เครื่องชี้เศรษฐกิจไทยเดือน ก.ย. สูญเสียแรงส่ง ทั้งในด้านอุปสงค์และอุปทาน

ที่มา: Bank of Thailand (BoT), Office of Industrial Economics (OIE), Office of Agricultural Economics (OAE), Department of Tourism, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

Page 28: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

28

NOVEMBER 2013Global Economic Review

Export grow th by major destinations (% YoY)

-7.1

6.6

-13.6

-0.7 -0.9

1.20.0

6.3

-5.1

-0.1 2.1

-2.5

Total ASEAN (9) Japan US EU (27) China

Sep'13 YTD

% share 100.0 24.6 10.2 9.9 11.79.5

แผนภาพที่ 33: การส่งออกไปยังประเทศ G3 หดตัวลงถ้วนหน้า

ที่มา: MoC, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

Import grow th by major products (% YoY)

-5.2 -5.8-12.4

-4.5

4.7

-17.1

2.2 1.5

-1.8 -2.2

7.13.1

Total Fuel lubricants Capital goods Raw material* Consumer Vehicles

Sep'13 YTD

% share 100.0 19.1 27.9 33.6 6.38.6

แผนภาพที่ 34: การนำาเข้าหดตัวเกือบทุกหมวด ยกเว้นสินค้าอุปโภคบริโภค

หมายเหตุ: การนำาเข้าหมวดวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางไม่รวมทองคำา ที่มา: MoC, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

การนำาเข้าหดตัวเกือบทุกหมวด ยกเว้นสินค้าอุปโภคบริโภค การนำาเข้าหดตัว5.2%YoYมีมูลค่า18,830ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ(vs.-2.1%YoYเดือนก่อนหน้า)โดยหดตัวเกือบทุกหมวดสินค้ายกเว้นสินค้าอุปโภคบริโภค(+4.7%YoY)ส่งผลให้ดุลการค้าพลิกกลับมาเกินดุล473ล้านดอลลาร์สหรัฐฯจากที่ขาดดุล95ล้านดอลลาร์สหรัฐฯในเดือนก่อนหน้าทั้งนี้การส่งออกและการนำาเข้ารวม9เดือนขยายตัวเพียง0.05%และ2.2%YoYตามลำาดับ

เรายังคงเป้าส่งออกปี 2556 ขยายตัว 2% ประเทศไทยจะต้องส่งออกต่อเดือนคิดเป็นมูลค่าเดือนละ2.07หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯใน3เดือนสุดท้ายของปีเพื่อให้บรรลุเป้าการส่งออกที่คาดว่าจะขยายตัว2%ซึ่งสัญญาณการฟื้นตัวของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจหลักG3ทำาให้เราเชื่อว่ายอดส่งออกรายเดือนนี้มีความเป็นไปได้ที่จะบรรลุเป้าทั้งนี้การส่งออกทองคำาเดือนต.ค.-ธ.ค.2012คิดเป็นมูลค่าเฉลี่ย214ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ(vs.1.7พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯในเดือนก.ย.2012)ด้วยเหตุนี้ฐานสูงจากการส่งออกทองคำาจะหมดไป

เงินเฟ้อเดือน ต.ค. ปรับเพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบ 10 เดือน; คาดเงินเฟ้อเร่งขึ้นต่อในเดือน พ.ย. อัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือน ต.ค. ปรับขึ้นสู่ 1.46% (vs. 1.42% เดือนก่อนหน้า) ด้านอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานก็ปรับตัวขึ้นเช่นกัน อยู่ที่0.71%(vs.0.61%เดือนก่อนหน้า)สอดคล้องกับที่ตลาดคาดตั้งแต่ต้นปีทั้งอัตราเงินเฟ้อทั่วไปและพื้นฐานลดลงเล็กน้อยอยู่ที่2.27%และ1.03% ตามลำาดับ มองไปข้างหน้า เราคาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะเร่งขึ้นต่อในเดือน พ.ย. ก่อนที่จะแผ่วลงอีกครั้งในเดือน ธ.ค. แต่คาดว่าเงินเฟ้อพื้นฐานจะทรงตัวอยู่ที่ระดับปัจจุบันในช่วง2-3เดือนถัดจากนี้ดังนั้นเราจึงคงประมาณการเงินเฟ้อทั่วไปและเงินเฟ้อพื้นฐานทั้งปี2013ที่ 2.2%และ 1.0%ตามลำาดับ สอดคล้องกับประมาณการของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) สำาหรับปี 2014 เรายังคงคาดการณ์เดิมที่3.0%สำาหรับเงินเฟ้อทั่วไปและ1.2%สำาหรับเงินเฟ้อพื้นฐานจากการทยอยส่งผ่านต้นทุนตามราคาก�าซหุงต้มที่ปรับขึ้นต่อเนื่องรวมถึงแรงกดดันเงินเฟ้อด้านอุปสงค์จะค่อยๆเพิ่มสูงขึ้นตามการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ

Page 29: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

29

TISCO ESU forecasts

0.0

1.0

2.0

3.0

4.0

Jan-

12

Apr-

12

Jul-1

2

Oct

-12

Jan-

13

Apr-

13

Jul-1

3

Oct

-13

Jan-

14

Apr-

14

Jul-1

4

Oct

-14

Jan-

15

%Headline inflation Core inflation

แผนภาพที่ 35: เงินเฟ้อเดือน ต.ค. ปรับเพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบ 10 เดือน; คาดเร่งขึ้นต่อในเดือน พ.ย.

ที่มา: MoC, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

GDP growth and its components 2012 Previous New Previous New GDP growth 6.5% 4.0% 3.5% 4.5% 4.6% Private consumption expenditures 6.7% 2.8% 2.6% 3.1% 3.1% Government consumption expenditures 7.5% 4.8% 4.8% 7.1% 7.1% Gross Fixed Capital Formation 13.2% 3.5% 3.3% 12.0% 10.3% - Private investment 14.4% 2.4% 2.2% 11.9% 10.8% - Public investment 8.9% 7.6% 7.6% 12.4% 8.7% Nominal exports in USD (f.o.b.) 3.2% 2.0% 2.0% 9.0% 9.0% Nominal imports in USD (f.o.b.) 7.8% 4.5% 4.5% 10.0% 9.0% Trade balance (USD, bn) 6 1.0 0.6 0.4 0.7 Current account balance (USD, bn) -1.5 -6.0 -6.0 -3.8 -3.3 Current account to GDP -0.4% -1.5% -1.5% -1.0% -0.8% Headline Inflation 3.00% 2.2% 2.2% 3.0% 3.0% Core Inflation 2.1 1.0% 1.0% 1.2% 1.2% Average Dubai crude price (USD/bbl) 112 105 105 110 110

2013F 2014F

แผนภาพที่ 36: เราปรับลดประมาณการ GDP ปีนี้ ลงเหลือ 3.5%

ที่มา: NESDB, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

แนวโน้มเศรษฐกิจไทย

เราปรับลดประมาณการ GDP ไตรมาส 3 ลงเหลือ 3% YoY และ GDP ของปี 2013 เหลือ 3.5% จากตัวเลขทางเศรษฐกิจไตรมาสที่3ที่ออกมาต่ำากว่าคาดเราจึงปรับลดคาดการณ์การขยายตัวของGDPไตรมาสที่3(กำาหนดประกาศอย่างเป็นทางการในวันที่ 18พ.ย.) เป็น3%YoY (จากเดิม4.5%)และGDPทั้งปี 2013ลดลงเหลือ3.5% (จากเดิม4%)อย่างไรก็ตามเราคาดว่าGDPหลังจากปรับผลของฤดูกาลจะขยายตัวที่2.3%QoQsaชี้ว่าเศรษฐกิจไทยจะออกจากภาวะถดถอยทางเทคนิคที่เกิดในไตรมาสก่อน(-1.7%QoQsa)

คาดกนง. คงดอกเบี้ยนโยบายในการประชุมวันที่ 27 พ.ย. และจะทรงตัวจนถึงครึ่งแรกของปี 2014 แม้จะมีการปรับคาดคารณ์ GDP ขยายตัวลดลง แต่เรายังคงคาดว่า คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) จะมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่2.5%ในการประชุมกนง.ครั้งสุดท้ายของปีนี้ในวันที่27พ.ย.เนื่องจาก1)เศรษฐกิจไทยน่าจะผ่านจุดต่ำาสุดไปแล้วในไตรมาส2จากมุมมองของทั้งเราและธปท.2)ตามรายงานการประชุมวันที่16ต.ค.กนง.เชื่อว่านโยบายการเงินในปัจจุบันอยู่ในระดับเพียงพอที่จะเอื้อต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจและกล่าวว่าการใช้นโยบายผ่อนคลายมากขึ้นจะให้ผลที่ค่อนข้างจำากัดและ3)การลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงจะช่วยเร่งให้เงินทุนไหลออก

การเปลี่ยนแปลงสมาชิก กนง. ไม่น่าจะส่งผลต่อการดำาเนินนโยบายการเงินในภาพรวม คณะกรรมการธปท.ประกาศแต่งตั้งนายอาคมเติมพิทยาไพสิฐเลขาธิการสภาพัฒน์เป็นสมาชิกคนใหม่ในคณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.)แทนดร.อำาพนกิตติอำาพนที่ลาออกจากตำาแหน่งและปัจจุบันดำารงตำาแหน่งประธานบอร์ดธปท.โดยจะมีวาระดำารงตำาแหน่งจนถึงวันที่31ต.ค.2014ทั้งนี้การดำาเนินนโยบายการเงินในภาพรวมไม่น่ามีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากทั้ง2ท่านมีมุมมองต่อการดำาเนินนโยบายคล้ายกัน

Page 30: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

30

NOVEMBER 2013Global Economic Review

มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นที่จะปรับลด GDP ลงอีก จากความไม่แน่นอนทางการเมืองที่สูงขึ้น ตัวเลขประมาณการ GDP ไตรมาส 4 และทั้งปี 2013 ของเรา มีความเสี่ยงที่จะถูกปรับลดลงอีก หากการประท้วงต่อต้านพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมยืดเยื้อและรุนแรงยิ่งขึ้นซึ่งจะส่งผลกระทบต่อภาคการท่องเที่ยวมากที่สุดเนื่องจากไตรมาสสุดท้ายของปีถือเป็นฤดูกาลท่องเที่ยวโดยในปีนี้ตัวเลขการส่งออกภาคบริการมีอัตราขยายตัวสูงและถือเป็นภาคส่วนสำาคัญที่ช่วยพยุงเศรษฐกิจไทยในช่วงที่อุปสงค์ในประเทศและการส่งออกสินค้าชะลอตัวนอกจากนี้การบริโภคและการลงทุนอาจได้รับผลกระทบเช่นกันจากความเชื่อมั่นที่ลดลง

-40

-20

0

20

40

60

80

1Q00

1Q01

1Q02

1Q03

1Q04

1Q05

1Q06

1Q07

1Q08

1Q09

1Q10

1Q11

1Q12

1Q13

1Q14

% YoY No.of tourist arrivals Exports of Services

Correlation 0.85

Exports of Services contribution to GDP grow th

-4

-2

0

2

4

6

8

1Q00

1Q01

1Q02

1Q03

1Q04

1Q05

1Q06

1Q07

1Q08

1Q09

1Q10

1Q11

1Q12

1Q13

1Q14

ppt

แผนภาพที่ 37: การส่งออกภาคบริการมีอัตราขยายตัวสูงและถือเป็นภาคส่วนสำาคัญที่ช่วยพยุงเศรษฐกิจไทยในปีนี้

ที่มา: NESDB, TISCO Economic Strategy Unit (ESU)

Page 31: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

31

ดร.กำาพล อดิเรกสมบัต ิHeadofEconomicStrategyUnit • ปริญญาเอกเศรษฐศาสตร์ MichiganStateUniversity • ปริญญาโทเศรษฐศาสตร์ NationalUniversityofSingapore (ทุนAsianDevelopmentBank) • ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์(เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประสบการณ์:ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ด้านเศรษฐศาสตร์NanyangTechnologicalUniversityประเทศสิงคโปร์และเคยร่วมงานกับกระทรวงการคลัง

คมศร ประกอบผลSeniorStrategist • ปริญญาโทบริหารธุรกิจ(การเงิน) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ประสบการณ์:ที่ปรึกษาการลงทุนบลจ.ทิสโก้กว่า5ปี

เอกชัย บุญยะพงศ์ไชยStrategist •ปริญญาโทบริหารธุรกิจ(การเงิน) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ •ปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยประสบการณ์:วิศวกรบริษัทด้านพลังงานกว่า4ปีวานิชธนกิจและที่ปรึกษาการลงทุน2ปี

ศรันต์ สุนันท์สถาพรSeniorEconomist • ปริญญาโทเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ประสบการณ์:ด้านวิเคราะห์วิจัยด้านเศรษฐกิจกว่า7ปี

ธนวัฒน์ รื่นบันเทิงEconomist • ปริญญาโทบริหารธุรกิจสาขาการจัดการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • ปริญญาตรีบริหารธุรกิจสาขาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ประสบการณ์:เศรษฐกรสายนโยบายการเงินธนาคารแห่งประเทศไทยกว่า5ปีวี โกวิทยาResearchAssistant • ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อภิญญา ขนุนทองResearchAssistant •ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์(เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สิริกัญญ์ เลิศศักดิ์วิมานResearchAssistant • ปริญญาตรีเศรษฐศาสตร์ภาคภาษาอังกฤษ(เกียรตินิยม)มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

TISCO Economic Strategy Unit

Page 32: GlobalEconomic Nov2013 TT · Global Economic Review ตลาดเริ่มคาดว่า Fed จะชะลอการหยุดทำา QE ออกไปก่อน

ข้อมูลบทความบทวิเคราะห์และการคาดหมายรวมทั้งการแสดงความคิดเห็นทั้งหลายที่ปรากฏอยู่ในรายงานฉบับนี้ทำาขึ้นบนพื้นฐานของแหล่งข้อมูลที่ดีที่สุดที่ได้รับมาและพิจารณาแล้วเห็นว่าน่าเชื่อถือ

แต่ทั้งนี้ไม่อาจรับรองความถูกต้องความสมบูรณ์แท้จริงของข้อมูลดังกล่าวความเห็นที่แสดงไว้ในรายงานฉบับนี้ได้มาจากการพิจารณาโดยเหมาะสมและรอบคอบแล้วและอาจเปลี่ยนแปลงได้โดยไม่จำาเป็น

ต้องแจ้งล่วงหน้าแต่อย่างใดรายงานฉบับนี้ไม่ถือว่าเป็นคำาเสนอหรือคำาชี้ชวนให้ซื้อหรือขายหลักทรัพย์และจัดทำาขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่อประโยชน์แก่บุคคลที่เกี่ยวข้องกับบริษัทเท่านั้นมิให้นำาไปเผยแพร่ทาง

สื่อมวลชน หรือโดยทางอื่นใด ทิสโก้ไม่ต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายใดๆ ที่เกิดขึ้นโดยตรงหรือเป็นผลจากการใช้เนื้อหาหรือรายงานฉบับนี้ การนำาไปซึ่งข้อมูล บทความ บทวิเคราะห์ และการคาดหมาย

ทั้งหลายที่ปรากฏอยู่ในรายงานฉบับนี้เป็นการนำาไปใช้โดยผู้ใช้ยอมรับความเสี่ยงและเป็นดุลยพินิจของผู้ใช้แต่เพียงผู้เดียว

เปิดทำ�ก�รทุกวันสย�มพ�ร�กอนชั้น4 : 026109575 เดอะมอลล์ท่�พระชั้นB : 024779934 เดอะมอลล์บ�งแคชั้น1 :024549854

เดอะมอลล์บ�งกะปิช้ัน2 : 023633454 เซ็นทรัลเวิลด์ชั้น4 : 026461571 เซ็นทรัลพระร�ม3ชั้น2:026737017

เซ็นทรัลบ�งน�ชั้น2 : 027456360 เซ็นทรัลล�ดพร้�วชั้น2: 029370909 เซ็นทรัลแจ้งวัฒนะชั้น4 :021938080

เซ็นทรัลปิ่นเกล้�ชั้น4 : 028845161 เซ็นทรัลร�มอินทร�ช้ัน3: 029706006 ซีคอนสแควร์ชั้น3 :027219556

ซีคอนบ�งแคชั้น3 : 024582636 แฟชั่นไอส์แลนด์ชั้น2 : 029475315 ดิโอลด์สย�มชั้น1 : 026239141

ฟิวเจอร์พ�ร์ครังสิตชั้นB : 029580820 เกตเวย์เอกมัยชั้นM :021082998

จันทร์-ศุกร์ เพชรบุรีตัดใหม่ :023183717 อ�ค�รภคินท์ :026334333 ศรีนครินทร์ :027586269

รัตน�ธิเบศร์ :029655844 รังสิต :029592166 วรจักร :026210141

เย�วร�ช :026232212 ร�ชวงศ์ : 026228220

TISCO Wealthบริการใหคำาปรึกษาการลงทุนครบวงจร สำาหรับกลุมลูกคาคนพิเศษที่มีพอรตลงทุนกับกลุมทิสโก ตั้งแต 5 ลานบาทขึ้นไป ติดตอรับบริการไดที่ธนาคารทิสโกทุกสาขาทั่วประเทศ

สาขาธนาคารในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล

สาขาธนาคารในเขตภูมิภาค

นครปฐม :034212277 ร�ชบุรี : 032327010 สมุทรส�คร : 034811383 สระบุรี : 036222449

อยุธย� :035235155 จันทบุรี : 039346688 ชลบุรี :038784522 พัทย� :038416525

ระยอง :038808555 ศรีร�ช� : 038771471 เชียงใหม่ :053211112 นครสวรรค์ : 056331511

พิษณุโลก:055211388 ขอนแก่น : 043324966 นครร�ชสีม� :044271711 โลตัสโคร�ช : 044262326

สุรินทร์ :044521531 อุดรธ�นี : 042326333 อุบลร�ชธ�นี :045284633 กระบี่ :075632989

ตรัง :075223277 ภูเก็ต : 076261929 สงขล� :074343111 สุร�ษฏร์ธ�นี:077275633