74
Hypertension Educator’s Handbook ภาพประกอบการให ความร เร องโรคความด นโลห ตส

hypertenion educator

Embed Size (px)

DESCRIPTION

hypertenion educator

Citation preview

Page 1: hypertenion educator

Hypertension Educator’sHandbook

ภาพประกอบการใหความรูเรื่องโรคความดันโลหิตสูง

Page 2: hypertenion educator

2

สารบัญบทที่ หนา

1.ความสําคัญของการใหความรูเรื่องโรคความดันโลหิตสูง………………………………………………………3

2.ความรูเบื้องตนโรคความดันโลหิตสูงและการวินิจฉัยโรค………………………………………………………17

3.อาหารและการออกกําลังกายของผูปวยความดันโลหิตสูง……………………………………………………..314.ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง…………………………………………………………………………………..385.คําแนะนําทั่วไปในการใชยาลดความดันโลหิต………………………………………………………………….60

Page 3: hypertenion educator

3

บทที่1ความสําคัญของการใหความรูเรื่องโรคความดันโลหิตสูง

Page 4: hypertenion educator

4

ภาวะแทรกซอนจากโรคความดันโลหิตสูง

โรคแทรกซอนทางสมอง เกิดเสนเลือดในสมองตีบตัน หรือแตกไดงาย จึงมีโอกาสเปนอัมพฤกษ หรืออัมพาตไดงายกวาคนปกติ

Page 5: hypertenion educator

5

ภาวะแทรกซอนจากโรคความดันโลหิตสูง

โรคแทรกซอนทางหัวใจ เกิดหัวใจโต ถาเปนมากอาจทําใหหัวใจวายไดเนื่องจากหัวใจตองทํางานหนักขึ้น

Page 6: hypertenion educator

6

ภาวะแทรกซอนจากโรคความดันโลหิตสูง

โรคแทรกซอนทางไต เกิดภาวะไตวายเรื้อรัง เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงไตไมเพียงพอ

Page 7: hypertenion educator

7

ภาวะแทรกซอนจากโรคความดันโลหิตสูง

โรคแทรกซอนทางตา เกิดความผิดปกติของเลนสตา และจอประสาทตา ทําใหตามัว ตาบอด

Page 8: hypertenion educator

8

ปวดหัว เวียนหัว ปสสาวะไมออก2-3 วัน

หนามืดเปนลมบอย

บวมตามปลายมือ ปลายเทา

อาการที่ควรไปพบแพทย

ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงหากมีอาการตามัวลง ปวดหัว เวียนหัว ปสสาวะไมออก 2-3 วัน บวมตามปลายมือ ปลายเทา หนามืด เปนลมบอย ควรไปพบแพทย เนื่องจากเปนอาการเริ่มตนกอนที่จะเกิดภาวะแทรกซอน

ตามัวลง

Page 9: hypertenion educator

9

การรักษาโรคความดันโลหิตสูงตองอาศัยความรวมมือระหวางแพทย และผูปวย

Page 10: hypertenion educator

10

อาหารสําหรับผูปวยโรคความดันโลหิตสูง ควรทํารวมกับการใชยาและการออกกําลังกายเพื่อควบคุมระดับความดันเลือดใหปกติ

Page 11: hypertenion educator

11

ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงควรรับประทานอาหารประเภทผัก ผลไม เนื้อปลาและควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารเค็ม อาหารทอด

Page 12: hypertenion educator

12

สําหรับผูปวยความดันโลหิตสูง การออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ เชนการเดินเร็ว 30 นาทีตอวัน ทุกวัน จะชวยลดความดันเลือดได

Page 13: hypertenion educator

13

ยาเม็ดลดความดัน ผูปวยควรทราบชื่อยา ชนิด วิธีการใช และการออกฤทธิ์ของยารวมทั้งควรนําตัวอยางยา หรือเม็ดยาที่เหลือมาพบแพทยทุกครั้ง

ยาความดัน

Page 14: hypertenion educator

14

การขอคําแนะนําปรึกษาจากแพทย ชวยใหการควบคุมความดันไดผลดีขึ้น

Page 15: hypertenion educator

15

การเรียนรูเปนกลุม ผูปวยจะรูสึกสบายใจเพราะมีเพื่อน สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณกันได

Page 16: hypertenion educator

16

ผูปวยความดันที่ปรับตัวในการดําเนินชีวิตไดตามปกติ จะมีความสุขทําใหควบคุมความดันไดเปนอยางดี

Page 17: hypertenion educator

17

บทที่2ความรูเบื้องตนโรคความดันโลหิตสูงและการวินิจฉัยโรค

Page 18: hypertenion educator

18

ความดันโลหิต : แรงดันของเลือดในหลอดเลือดแดง ซึ่งเกิดจากการสูบฉีดของหัวใจ

Page 19: hypertenion educator

19

ความดันในหลอดเลือดแดงในขณะที่หัวใจบีบตัวเรียกวาความดันซีสโตลิกหรือความดันคาบน

ความดันในหลอดเลือดแดงในขณะที่หัวใจคลายตัวเรียกวาความดันไดแอสโตลิกหรือความดันคาลาง

คาบน/คาลาง

Page 20: hypertenion educator

20

ความดันโลหิตปกติ คือ120/80

ในผูปวยความดันโลหิตสูง คือความดันโลหิตมากกวาหรือเทากับ

140/90

Page 21: hypertenion educator

21

โรคความดันโลหิตสูง ชนิดที่ไมทราบสาเหตุ

โรคความดันโลหิตสูงชนิดที่ไมทราบสาเหตุสวนมากพบในผูสูงอายุรักษาดวยยาเม็ดรับประทาน

Page 22: hypertenion educator

22

โรคความดันโลหิตสูง ชนิดที่ทราบสาเหตุ

โรคความดันโลหิตสูงชนิดที่ทราบสาเหตุ สวนมากเกิดจากความผิดปกติของรางกายอาจรักษาใหหายขาดได

Page 23: hypertenion educator

23

ปจจัยเสริมทําใหเกิดโรคความดันโลหิตสูง

ความเครียด มีประวัติครอบครัว ความอวนเปนความดันโลหิตสูง

การดื่มแอลกอฮอล การกินอาหารรสเค็มจัด อายุมากขึ้น

บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป

Page 24: hypertenion educator

24

อาการของโรคความดันโลหิตสูง

ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ เหนื่อยงาย

ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงระยะแรกสวนมากมักไมแสดงอาการ…

Page 25: hypertenion educator

25

จุดประสงคของการรักษาโรคความดันโลหิตสูง

# ผูปวยหายจากอาการความดันโลหิตสูง# มีระดับความดันในเลือดใกลเคียงปกติ# ประกอบอาชีพในสังคม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี# ปองกันการเกิดโรคแทรกซอน

Page 26: hypertenion educator

26

การรักษาโรคความดันโลหิตสูง

การควบคุมอาหาร การใชยาความดันตามแพทยสั่ง

การออกกําลังกาย เรียนรูเรื่องโรคความดันโลหิตสูงและติดตามการรักษา

Page 27: hypertenion educator

27

โรคแทรกซอนจากโรคความดันโลหิตสูง

ทางตา ทางสมอง

ทางหัวใจ ทางไต

Page 28: hypertenion educator

28

การวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูง

การวัดความดันโลหิตโดยใชเครื่องวัดความดันโลหิต

Page 29: hypertenion educator

29

Manulmon Wristmon

AutomonMercury sphygmomanometer

ประเภทของเครื่องวัดความดันโลหิต

Page 30: hypertenion educator

30

ตาราง การแบงชนิดของความดันโลหิต(มิลลิเมตรปรอท)

การแบงประเภท คาบน คาลางปกติ <120 <80

เริ่มมีความดันสูง 120 - 139 80 - 89

ความดันสูงระดับ 1 140 - 159 90 - 99

ความดันสูงระดับ 2 >160 >100

Page 31: hypertenion educator

31

บทที่3อาหารและการออกกําลังกายของผูปวยความดันโลหิตสูง

Page 32: hypertenion educator

32

ควบคุมน้ําหนักใหพอดี

คาปกติ 18.5-24.9 kg/m2 ถา ต่ํากวา18.5 แสดงวาผอมถามากกวา24.9 แสดงวาอวน

น้ําหนักตัว (กิโลกรัม)ดัชนีมวลของรางกาย =สวนสูง2 (ตารางเมตร)

Page 33: hypertenion educator

33

อาหารที่ควรหลีกเลี่ยงอาหารเค็ม หมูเค็ม ไสกรอก ผักดอง เกลือ

อาหารตากแหง ปลาเค็ม เนื้อเค็ม กุงแหง ปลาแหงเนื้อสัตวปรุงรส หมูหยอง หมูแผน กุนเชียง

อาหารกึ่งสําเร็จรูป บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป โจกกึ่งสําเร็จรูป ซุปกึ่งสําเร็จรูป

อาหารสําเร็จรูปบรรจุถุง ขาวเกรียบ ขาวตังปรุงรส มันฝรั่งเครื่องปรุงรสที่มีเกลือมาก ซุปกอน ผงชูรส ผงฟู

อาหารหมักดองเค็ม กะป เตาหูยี้ ปลารา ไตปลา ไขเค็ม ผักดอง ผลไมดอง แหนม ไสกรอกอีสาน

อาหารที่มีไขมันสูง ขาวขาหมูอาหารที่มีสวนผสมของกะทิ ขาวเหนียวมะมวง ขาวเหนียวทุเรียน

ผัดมามา

ตมมามา

เกลือ

ไสกรอก

Page 34: hypertenion educator

34

อาหารที่ควรรับประทาน

ปลา ถั่ว น้ําสม

แตงโม ขาวโพด มะเขือเทศ

Page 35: hypertenion educator

35

การออกกําลังกาย

ผูปวยความดันโลหิต ควรออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ เชน เดินเร็ว 30-45 นาที/วัน หรือวิ่ง 30 นาที/วันทุกวัน โดยกอนออกกําลังกายควรมีการอบอุนรางกายกอนทุกครั้งและ

หลังจากออกกําลังกายเสร็จใหมๆไมควรรีบอาบน้ําทันที

Page 36: hypertenion educator

36

จํากัดการดื่มแอลกอฮอลลและงดสูบบุหรี่

ผูชาย ผูหญิง

ไมควรดื่มแอลกอฮอลเกิน 30 มิลลิลิตร/วันเบียรไมเกิน 720 มิลลิลิตร (ประมาณ 3 แกว)ไวนไมเกิน 300 มิลลิลิตร (ประมาณ 1 แกว)

ไมควรดื่มแอลกอฮอลเกิน 15 มิลลิลิตร/วัน

เบียรไมเกิน 360 มิลลิลิตร (ประมาณ 1½ แกว)ไวนไมเกิน 150 มิลลิลิตร (ประมาณ ½ แกว)

Page 37: hypertenion educator

37

หลีกเลี่ยงจากความเครียด

Page 38: hypertenion educator

38

บทที่4ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง

Page 39: hypertenion educator

39

ยาเม็ดลดระดับความดันโลหิตในผูปวยโรคความดันโลหิต1. ยาขับปสสาวะ2. ยากลุมบีตา-บล็อคเกอร3. ยากลุมแคลเซียม-บล็อคเกอร4. ยายับยั้งเอนไซมแองจิโอแทนซิน5. ยาอื่นๆ

Page 40: hypertenion educator

40

Diuretics (ยาขับปสสาวะ)

ชื่อทั่วไป ชื่อการคา ขนาดเม็ด(มก.) ขนาดที่ใช(มก/วัน)

จํานวนเม็ดตอวัน

Hydrochlorothiazide Hydrochlorothiazide 50 12.5-50 1

Furosemide Lasix 40,500 40-240 2-3

Amiloride-hydrochlorothiazide

Moduretic Amiloride 5 mg-hydrochlorothiazide

50 mg

5-10 1

Page 41: hypertenion educator

41

Furosemide (ฟูโรซีไมด) 40 mg Furosemide (ฟูโรซีไมด) 500 mg

Hydrochlorothiazide (ฮัยโดรคลอโรไธอะไซด) 50 mg

Page 42: hypertenion educator

42

คําแนะนําในการใชยากลุมDiuretics (ยาขับปสสาวะ)

ยานี้ทําใหระดับโพแทสเซียมในเลือดลดลง ซึ่งอาจทําใหกลามเนื้อออนลาไมมีแรง เปนตะคริว จึงควรรับประทานอาหารที่มีสารโพแทสเซียมสูงทดแทน เชน สม กลวย มะเขือเทศเปนตน

ยานี้อาจมีผลทําใหปสสาวะบอย ออนเพลีย กระหายน้ํา อาจมีอาการวิงเวียน ปวดศีรษะใหแกไขโดยควรจะคอยๆ เคลื่อนไหว เมื่อเปลี่ยนอิริยาบถจากทานั่งหรือนอน

Page 43: hypertenion educator

43

คําแนะนําในการใชยากลุมDiuretics (ยาขับปสสาวะ)

หากน้ําหนักตัวลดหรือเพิ่มอยางรวดเร็วควรจะปรึกษาแพทย

หากมีอาการตาพรามัว สับสน มีไขหรือเจ็บคอควรจะไปพบแพทย

หากมีผื่นขึ้นควรหยุดยาและรีบปรึกษาแพทยทันที

Page 44: hypertenion educator

44

Beta- blocker (ยาขยายหลอดเลือด)

ชื่อทั่วไป ชื่อการคา ขนาดเม็ด(มก.) ขนาดที่ใช (มก/วัน) จํานวนเม็ดตอวัน

Atenolol Tenolol 100 25-100 1

Atenolol Prenolol 50 25-100 1

Metoprolol Metoprolol 100Stada

100 50-100 1-2

Propranolol Propranolol 10 40-160 2

Propranolol Pralol 40 40-160 2

Page 45: hypertenion educator

45

Atenolol (อะทีโนลอล) 50 mg Atenolol (อะทีโนลอล) 100 mg

Metoprolol (เมโทโพลอล) 100 mg

Propranolol (โพรพราโนลอล) 10 mg Propranolol (โพรพราโนลอล) 40 mg

Page 46: hypertenion educator

46

คําแนะนําในการใชยากลุมBeta- blocker (ยาขยายหลอดเลือด)

หากผูปวยมีอาการคลื่นไสอาเจียน ปวดทอง ทองเสีย ทองผูก เวลารับประทานยาควรดื่มน้ําตามมากๆ หรือรับประทานของวางเล็กนอยกอนรับประทานยา

Page 47: hypertenion educator

47

คําแนะนําในการใชยากลุมBeta- blocker (ยาขยายหลอดเลือด)หากมีอาการเหลานี้เปนเวลานานควรปรึกษาแพทย

มีปญหาเกี่ยวกับการนอนหลับ รูสึกสับสน ฝนราย

หายใจขัดหายใจเสียงหวีดหายใจลําบาก

รูสึกหวิวๆมือและเทาเย็น

ออนเปลี้ย แขนขาไมมีแรง

Page 48: hypertenion educator

48

Angiotensin converting enzyme inhibitor (ACEI)(ยาขยายหลอดเลือด)

ชื่อทั่วไป ชื่อการคา ขนาดเม็ด(มก.) ขนาดที่ใช (มก/วัน) จํานวนเม็ดตอวัน

Enalapril Anapril 20 5-40 1-2

Enalapril Anapril 5 5-40 1-2

Page 49: hypertenion educator

49

Enalapril (อีนาลาพริล) 5 mg Enalapril (อีนาลาพริล) 20 mg

Page 50: hypertenion educator

50

คําแนะนําในการใชยากลุมACEI (ยาขยายหลอดเลือด)

หากผูปวยมีอาการ คลื่นไส อาเจียน ออนเพลีย ปวดศีรษะ ทองเสีย รุนแรงขึ้นหรือไมดีขึ้นควรจะปรึกษาแพทย

ทองเสีย

คลื่นไส อาเจียนออนเพลีย

ปวดศีรษะ

Page 51: hypertenion educator

51

คําแนะนําในการใชยากลุมACEI (ยาขยายหลอดเลือด)

หากมีอาการเวียนศีรษะ มึนงงหนามืดเปนลมหายใจลําบากหากมีอาการผื่นแดง คันตามตัวเจ็บคอ ไข ไอ บวมของหนา ตา ริมฝปาก ลิ้นแขน หรือเทาใหหยุดยาแลวหายใจหอบใหรีบไปพบแพทย รีบไปพบแพทยทันที

ผื่นแดง

คันตามตัว

เปนไข

เจ็บคอ

หายใจหอบ

มีอาการแลวรีบมาพบแพทยเถอะครับ...อยาปลอยใหอาการหนัก

ดวนคะ!!!

หนามืด

เปนลม

มีอาการบวม

เวียนหัวมึนงง

หายใจลําบาก

Page 52: hypertenion educator

52

ขอควรระวังในการใชยากลุมACEI (ยาขยายหลอดเลือด)ยานี้อาจทําใหมีอาการไอแหงๆเนื่องจากยาไปเพิ่มความไวของปฏิกิริยาการไอตอ

การระคายเคืองของหลอดลมและกลองเสียง อาการไอจะทุเลาหลังจากใชยาไประยะหนึ่ง บางรายอาจไอมาก จนตองเปลี่ยนไปใชยาอื่นแทน

ควรแจงใหแพทยทราบวากําลังใชยาอื่นอยูโดยเฉพาะยาขับปสสาวะ ยาเสริมโปแตสเซียม ยาลดความดันโลหิตอื่นๆ และลิเธียม

หามใชในผูปวยที่เคยแพยาในกลุมนี้, หญิงตั้งครรภ(เพราะอาจมีผลทําใหทารกพิการได) และผูปวยไตวาย

การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลจะลดประสิทธิภาพของยา

Page 53: hypertenion educator

53

Calcium antagonists (ยาขยายหลอดเลือด)

ชื่อทั่วไป ชื่อการคา ขนาดเม็ด(มก.) ขนาดที่ใช (มก/วัน) จํานวนเม็ดตอวัน

Nifedipine Nelapine 10 30-120 1-2

Nifedipine Nelapine 5 30-120 1-2

Amlodipine Amlopine 10 2.5-10 1

Page 54: hypertenion educator

54

Nifedipine (ไนเฟดิพีน) 10 mg Amlodipine (แอมโลดิพีน) 10 mg

Page 55: hypertenion educator

55

คําแนะนําในการใชยาCalcium antagonists(ยาขยายหลอดเลือด)

หากพบอาการ ปวดศีรษะ ออนเพลียรอนวูบวาบ คลื่นไสเจ็บยอดอกตะคริว เจ็บคอถาอาการเหลานี้ไมหายหรือรุนแรงขึ้นใหไปพบแพทย

หากมีอาการเวียนศีรษะ หนามืดจะเปนลม

โดยเฉพาะเวลาที่เปลี่ยนอิริยาบถจากทานอนหรือนั่ง

ใหเปลี่ยนอิริยาบถอยางชาๆ

ปวดศีรษะ

คลื่นไส

ออนเพลีย รอนวูบวาบ

เจ็บยอดอก

เจ็บคอ

Page 56: hypertenion educator

56

คําแนะนําในการใชยาCalcium antagonists(ยาขยายหลอดเลือด)

หากมีอาการขาหรือเทาบวม หายใจลําบากมีน้ําหนักเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ใจสั่น มีอาการปวดเคนอกอยางรุนแรงหรือเปนบอยๆหรืออาการปวดคงอยูนานใหรีบไปพบแพทยทันที

น้ําหนักเพิ่มหรือลดอยางรวดเร็ว

ใจสั่น ปวดเคนอกอยางรุนแรงหายใจลําบาก

ขาหรือเทาบวม

Page 57: hypertenion educator

57

Alpha1- blocker (ยาขยายหลอดเลือด)

ชื่อทั่วไป ชื่อการคา ขนาดเม็ด(มก.) ขนาดที่ใช (มก/วัน) จํานวนเม็ดตอวัน

Prazosin Lopress 1 2-20 2-3

Prazosin (พราโซซิน) 1 mg

Page 58: hypertenion educator

58

คําแนะนําในการใชยาAlpha1- blocker (ยาขยายหลอดเลือด)ยานี้อาจทําใหเกิดอาการ วิงเวียนศีรษะ และเปนลมไดโดยเฉพาะหลังการ

รับประทานยานี้ครั้งแรก ดังนั้นหลังการรับประทานยาครั้งแรกควรนอนพักอยางนอย1 ชั่วโมงแลวจึงคอยๆ ลุกขึ้นชาๆการรับประทานยานี้กอนนอนจะชวยลดอาการเหลานี้

หากเกิดอาการเปนลมกะทันหันเตือนใหคนใกลชิดทราบวาถาเกิดขึ้นใหพาไปพบแพทย

หากมีอาการเจ็บหนาอก หรือหายใจหอบ ใหไปพบแพทย

นี่นาย...เราใชยาลดความดันตัวนี้อยู ถาเราวูบไปก็พาไปหาหมอดวยนะ

!!.

Page 59: hypertenion educator

59

คําแนะนําในการใชยาAlpha1- blocker (ยาขยายหลอดเลือด)

ปวดศีรษะ

ออนเพลีย งวงนอน

ใจสั่นอาการรุนแรง หรือยังมีอาการอยูตลอดเวลาการใชยา

หลังจากใชยาไป 1-2 สัปดาห

Page 60: hypertenion educator

60

อาการ งวงนอน, ปวดศีรษะ, ออนเพลีย, ใจสั่น อาการเหลานี้จะหายไปในสัปดาหแรกๆ ของการรักษาแตถาอาการเหลานี้ รุนแรง หรือยังมีอาการอยูตลอดเวลาการใชยาใหไปพบแพทย

บทที่5คําแนะนําทั่วไปในการใชยาลดความดันโลหิต

Page 61: hypertenion educator

61

Page 62: hypertenion educator

62

ควรรับประทานยาในเวลาที่แนนอนและตรงกันทุกวันเชน หลังรับประทานอาหารเชาประมาณ30 นาที

นอนโรงพยาบาล อันตราย

ดื่มน้ําตามมากๆ

Page 63: hypertenion educator

63

ยาลดความดันบางชนิด เปนยาออกฤทธิ์เนิ่น ไมควรบด แบง หรือเคี้ยวเม็ดยานั้น เพราะจะทําใหการรักษาไมไดผล หรืออาจทําใหเกิดพิษของยาได ดังนั้นจึงควรกลืนยาทั้งเม็ดพรอมน้ํา

ยาความดัน

Page 64: hypertenion educator

64

ถาลืมรับประทานยา ใหรับประทานทันทีที่นึกได หากใกลกับเวลารับประทานครั้งตอไป ใหรับประทานยาครั้งตอไปตามปกติโดยไมตองเพิ่มขนาดยาเปน 2 เทา

ยาความดัน

Page 65: hypertenion educator

65

ควรมียาสํารองใหเพียงพอกอนเดินทางไกล หรือไปพักผอนในที่ตางๆ ซึ่งอาจหายาไมได

Page 66: hypertenion educator

66

หากรับประทานยาแลวเกิดอาการคลื่นไส อาเจียน ควรรับประทานยาหลังอาหารทันที

Page 67: hypertenion educator

67

ควรพบแพทยตามนัด เพื่อประเมินผลการรักษาและหากรับประทานยาลดความดันแลวอาการไมดีขึ้นหรือความดันโลหิตไมลดลง ควรกลับมาพบแพทยอีกครั้ง

Page 68: hypertenion educator

68

เมื่อกินยาลดความดันโลหิต อาจมีอาการเวียนศีรษะ หนามืด มึนงง เวลาเปลี่ยนอิริยาบถอยางรวดเร็วดังนั้นการปองกันอาการดังกลาว จึงควรเปลี่ยนอิริยาบถอยางชาๆ

ยาความดัน

Page 69: hypertenion educator

69

ผูปวยควรทราบชื่อยา ชนิด วิธีการใช และการออกฤทธิ์ของยารวมทั้งควรนําตัวอยางยา หรือเม็ดยาที่เหลือมาพบแพทยทุกครั้ง

Page 70: hypertenion educator

70

การรับประทานยาลดความดันโลหิตสูง หากไมมีอาการของโรคความดันโลหิตสูงหรือมีอาการดีขึ้นหามหยุดรับประทานยาเอง ตองไปพบแพทยกอนทุกครั้ง

Page 71: hypertenion educator

71

หามใหยา ลดความดันโลหิต แกผูอื่นใช หรือใช รวมกับผูอื่นและ ไมควรซื้อยาสมุนไพรกิน เอง

Page 72: hypertenion educator

72

ผูปวยโรคความดันโลหิตสูงหากกําลังตั้งครรภ ใหนมบุตร ทําฟน หรือตองเขารับการผาตัด ตองแจงใหแพททยทราบวากําลังใชยาลดความดันโลหิตอยู

Page 73: hypertenion educator

73

ควรเก็บยาลดความดันโลหิตสูงในภาชนะที่ปดสนิท ไมชื้น ไมใหโดนแสง และใหพนมือเด็ก

Page 74: hypertenion educator

74

ดวยความปรารถนาดี จาก คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีหนวยขอมูลยาและสุขภาพDrug and Health Information Unit

(www.DHIonline.info)รานยา ม.อุบลหนาโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงครายการวิทยุ หมอยาพาเพลิน FM 91.75 mHZ

o ออกอากาศทุกวัน พฤหัสบดี-ศุกร 9.00-10.00 น.