1
กลุ่มงานพัฒนาวิชาการฯสถาบันการแพทย์แผนไทย. การวิจัยและพัฒนาว่านชักมดลูกเพื่อเป็น ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม. (ออนไลน์) 2548 (อ้างเมื่อ 20 ธันวาคม 2557). จาก http:ittm- old.dtam.moph.go.th/data_articles/2548.pdf พร้อมจิต ศรลัมพ์ , วิชชุดา พิพิธพิบูลย์สุข และ สมภพ ประธานธุรารัก. “ข้อกาหนดมาตรฐานสมุนไพร ว่านชักมัดลูก (Curcuma comosa Roxb.)” การคัดเลือกว่านชักมดลูกเพื่อบ่งชี้คุณภาพ วัตถุดิบจากลักษณะทางสัณฐานวิทาและคุณสมบัติทางเคมี. (พฤษภาคม /2555): 1-43 พวงผกา สุนทรชัยนาคแสง, ทยา เจนจิตติกุล และ จรัญ มากน้อย. “ชนิด สายพันธ์ และลักษณะของ ว่านชักมดลูก” การคัดเลือกว่านชักมดลูกเพื่อบ่งชี้คุณภาพวัตถุดิบจากลักษณะทางสัณฐาน วิทายาและคุณสมบัติทางเคมี. (พฤษภาคม /2555): 1-43 ภาพที5-13 คือ ภาคตัดตามขวาง C. comosa: 5=แผ่นใบ, 6=ขอบใบ, 7=เส้นกลางใบ, 8=ผิวลาต้นใต้ดิน, 9-10=ลาต้นใต้ดิน, 11=เม็ดแป้งและหยดนามันที่สะสมในลาต้นใต้ดิน, 12-13=ราก ภาพที14-19 คือ ภาคตัดตามขวาง C. cf. xanthorrhiza: 14=แผ่นใบ, 15=ขอบใบ, 16=เส้นกลางใบ, 17=ลาต้นใต้ดิน, 18=เม็ดแป้งที่สะสมในลาต้นใต้ดิน, 19=ราก (ST=ปากใบ, TC=ขนชนิดเซลล์เดียว ปลายแหลม, SCT=รอยแผลขน, SL=ใบเกล็ด, C=เซลล์คอร์ก, CC=คอร์กแคมเบียม, UE=เซลล์เนื้อเยื่อผิวใบด้านบน, LE=เซลล์เนื้อเยื่อผิวใบด้านล่าง, HP=เซลล์เนื้อเยื่อชั้นรองจากเนื้อเยื่อผิว, Pa=ปุ่มเล็ก, VB=มัดท่อลาเลียง, SC=เซลล์หลั่ง, PM=เซลล์พาเรงคิมา, AC=ช่องอากาศ, I,II,III=มัดท่อลาเลียง arc I, arc II, และ arc III ตามลาดับ, S=เม็ดแป้ง, O=หยดน้ามัน, EN=เนื้อเยื่อชั้นในสุดของคอร์เทกซ์) ศึกษาลักษณะทางจุลทรรศน์ของสมุนไพรว่านชักมดลูก (Curcuma comosa Roxb.) รวมถึงตรวจสอบตัวอย่างพืชสมุนไพรว่านชักมดลูกชนิดอื่น โดยวิธีการลอกผิวใบ การตัดตามขวางราก ลาต้นใต้ดิน เส้นกลางใบ ขอบใบ และแผ่นใบ โดยกรรมวิธีพาราฟิน และการตรวจลักษณะของผงยาเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ผงยาสมุนไพรว่านชักมดลูกหรือเครื่องยาที่ขายในตลาดยา จากการศึกษาพบว่า การมีหรือไม่มีขนที่ผิวใบด้านล่าง การมีปุ่มเล็กในเนื้อเยื่อชั้น ผิว และบริเวณที่พบเซลล์หลั่ง สามารถนามาใช้เป็นข้อมูลช่วยในการจาแนกชนิดระหว่างว่านชักมดลูก (C. comosa) และตัวอย่างพืชสมุนไพรว่านชักมดลูกชนิดอื่นได้ ลักษณะของผงยาจากใบ C. comosa พบชิ้นส่วนเนื้อเยื่อชั้นผิวใบทั้ง ด้านบนและด้านล่าง ชิ้นส่วนของแผ่นใบ เวสเซลแบบเกลียว เซลล์เส้นใย และเซลล์หลั่ง ผงยาจากเหง้า C. comosa พบชิ้นส่วนของพาเรงคิมา เซลล์คอร์ก เม็ดแป้ง เวสเซลแบบเกลียว แบบเป็นรู แบบขั้นบันได และพบขนยาวปลายแหลมชนิด เซลล์เดียว ซึ่งลักษณะเซลล์และเนื้อเยื่อในผงยา สามารถนามาใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ผงยาจากสมุนไพรว่านชักมดลูก และเครื่องยาที่ขายในตลาดยาได้ Study on the microscopic characters of herbal plant Wan-chak-mot-luk (Curcuma comosa Roxb.), including investigation of the other plant samples called Wan-chak-mot-luk was examined. The epidermal peeling, cross section of blades, margins, midribs, rhizomes and roots by paraffin method were conducted. In addition, the investigation of Wan-chak-mot-luk powdered drug was used for standardization of powder drug and crude drug in the drug market. As a result, the presence or absence of trichome on abaxial, the presence of papillae in the epidermis, and the position of secretary cell can be used to identify difference between Wan-chak-mot-luk (C. comosa) and the other species of Wan-chak-mot-luk. According to C. comosa leaf powder, fragment of leaf adaxial and abaxial epidermis, fragment of leaf blades, helical vessels, fibers and secretary cells were found. As a result of C. comosa rhizome powder, fragment of parenchyma cells, cork cells, starch, helical vessels, pitted vessels, scalariform vessels and simple hairs were found. These characteristic on powder drug can be used as initial data to investigate Wan-chak-mot-luk powder drug and crude drug in the drug market. การพิสูจน์เอกลักษณ์ทางจุลทรรศน์ลักษณะของสมุนไพรว่านชักมดลูก Identification of Microscopic Characters of Medicinal Plant Curcuma comosa Roxb. วิไลพร คาธานี 1 โสภี บุญทรัพย์ 1 ศิวพร หอมหวล 1 สุชยา วิริยะการุณย์ 1 1 สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี บทคัดย่อ ว่านชักมดลูก (Curcuma comosa) เป็นพืชสมุนไพรในวงศ์ Zingiberaceae นิยมนามาใช้รักษาอาการของสตรี เช่น มดลูกอักเสบ แก้ปวดประจาเดือนอย่าง รุนแรง ลดอาการระดูขาว และยังช่วยในเรื่องความงาม เช่น ช่วยให้ผิวพรรณชุ่มชื้น มีน้ามีนวล ทั้งยังพบว่ามีฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งน้าดีและลดระดับไขมันในเลือด (กลุ่ม งานพัฒนาวิชาการฯ สถาบันการแพทย์แผนไทย, 2548) นอกจากนี้ยังมีการใช้ว่าน ชักมดลูกในผู้ชาย เพื่อรักษาอาการปวดท้องน้อย การอักเสบของอัณฑะ และรักษา โรคริดสีดวงทวารด้วย (พวงผกา สุนทรชัยนาคแสง, 2555) สาหรับในประเทศไทยสมุนไพรว่านชักมดลูก พบว่ามี 3 ชนิด คือ C. comosa, C. elata Roxb. และ C. latifolia Rosc. และได้มีการนาเข้าพืช ชนิดอื่น คือ C. xanthorrhiza Roxb. มีชื่อไทยว่าว่านชักมดลูกเช่นเดียวกัน ซึ่งได้มี การศึกษาแล้วว่า ว่านชักมดลูกชนิด C. comosa เป็นชนิดที่ไม่พบความเป็นพิษ จึง เป็นสายพันธุ์ว่านชักมดลูกที่สามารถนาไปพัฒนาเป็นยาหรืออาหารเสริมสุขภาพได้ โดยปลอดภัย (พวงผกา สุนทรชัยนาคแสง, 2555) จากลักษณะทางสัณฐานวิทยาของพืชสกุลกระเจียวที่มีความคล้ายกันและ ว่านชักมดลูกเองก็มีหลายชนิด หากมีการนาสมุนไพรมาใช้ผิดต้น จะทาให้ไม่ได้รับ สรรพคุณทางยาตามที่ต้องการหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึง สนใจศึกษาลักษณะจุลทรรศน์ของสมุนไพรว่านชักมดลูก เพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ที่จะช่วยในการระบุชนิดสมุนไพรว่านชักมดลูกได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น นอกเหนือจาก การใช้เพียงลักษณะทางสัณฐานวิทยา และยังสามารถนาลักษณะจุลทรรศน์ของ สมุนไพรว่านชักมดลูกมาเป็นมาตรฐานที่ใช้ในการตรวจสอบเอกลักษณ์พืชสมุนไพร ที่อยู่ในรูปของผงยา ซึ่งอาศัยหลักการตรวจหาเนื้อเยื่อที่ควรจะพบในผงยาตามชนิด ของสมุนไพรนั้นๆ บทนา ABSTRACT คณะผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ ดร.สุชยา วิริยะการุณย์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัยทางชีววิทยา และอาจารย์ศิวพร หอมหวล อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมเป็นอย่างสูง ที่ให้คาปรึกษา ชี้แนะข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่ จนงานโครงการวิจัยฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยดี สรุปผลการวิจัย กิตติกรรมประกาศ การตัดตามขวางราก ลาต้นใต้ดิน เส้นกลางใบ ขอบใบ และแผ่นใบโดยกรรมวิธีพาราฟิน ศึกษาผงยาสมุนไพร C. comosa 1. เพื่อศึกษาลักษณะจุลทรรศน์ของสมุนไพรว่านชักมดลูก (C. comosa) 2. เพื่อนาข้อมูลลักษณะจุลทรรศน์ มาใช้ในการระบุชนิดสมุนไพรว่านชัก มดลูก (C. comosa) ขณะที่ต้นไม่มีดอก 3. เพื่อศึกษาลักษณะจุลทรรศน์ของผงยาสมุนไพรว่านชักมดลูกและใช้เป็น มาตรฐานในการตรวจเอกลักษณ์สมุนไพรว่านชักมดลูกที่ทาเป็นผลิตภัณฑ์ผงยา หรือเป็นเครื่องยาขายในตลาดยา รวมถึงใช้ตรวจสอบตัวอย่างพืชสมุนไพรชนิดอื่น ที่มีชื่อว่า ว่านชักมดลูก วัตถุประสงค์ 2. ลักษณะทางจุลทรรศน์ 1 2 3 4 23 22 24 20 21 25 27 26 28 30 29 ตารางที1 ลักษณะทางจุลทรรศน์ของตัวอย่างผลิตภัณฑ์ผงยา เครื่องยาที่ขายใน ตลาดยา รวมถึงตัวอย่างพืชว่านชักมดลูกชนิดอื่น เอกสารอ้างอิง TC ST วิธีดาเนินการวิจัย ศึกษาลักษณะทางจุลทรรศน์ วิธีลอกผิวใบ ผิวใบด้านบน, ผิวใบด้านล่าง ราก,เหง้า,ขอบใบ, เส้นกลางใบ,แผ่นใบ วิธีพาราฟิน ลักษณะผงยา ทาสไลด์ถาวร ศึกษาลักษณะทางมหทรรศน์ ศึกษาภายใต้ กล้องจุลทรรศน์ ผลการวิจัย C. comosa เป็นไม้ล้มลุก สูง 0.92 เมตร มีลาต้นอยู่ใต้ดิน มี รูปร่างคล้ายรูปไข่ค่อนข้างกลม ขนาดกว้าง 5.3 เซนติเมตร ยาว 6.7 เซนติเมตร มีเปลือกสีน้าตาล ผิวหยาบขรุขระ เห็นข้อปล้องชัดเจน มีกาบใบหุ้มข้อโดยรอบ เนื้อในของหัวสีขาวนวล วงในมีสีชมพูเรื่อๆ ทิ้งไว้สีชมพูจะเข้มขึ้น ใบเดี่ยว เรียงสลับ ออกเป็นกระจุกเหนือดิน ใบรูปวงรีหรือรูปวงรีแกมใบหอก กว้าง 1 1 - 18 เซนติเมตร ยาว 24- 50 เซนติเมตร ใบอ่อนแผ่นใบสีเขียวเส้นกลางใบมีสีม่วงแดง เมื่อ ใบแก่สีม่วงแดงจะจางลง 1. ลักษณะทางมหทรรศน์ การลอกผิวใบ ST ST ST ภาพที1-2 คือ เนื้อเยื่อชั้นผิวใบ C. comosa: 1=ผิวใบด้านบน, 2=ผิวใบด้านล่าง ภาพที3-4 คือ เนื้อเยื่อชั้นผิวใบ C. cf. xanthorrhiza: 3=ผิวใบด้านบน, 4=ผิวใบด้านล่าง 18 17 16 15 14 19 12 6 SC Pa 10 EN VB 5 HP UE LE ST ST VB TC SC T 8 SC 13 PM II I AC III 7 11 O SL C C C PM 9 TC TC S S EN ภาพที20-24 คือ ผงยาจากใบ: 20=ชิ้นส่วนผิวใบด้านบน, 21=ชิ้นส่วนผิวใบด้านล่าง, 22=ภาคตัดตามขวางของแผ่นใบ, 23=เซลล์เส้นใยและเซลล์หลั่ง, 24=เวสเซลแบบ Helical ภาพที25-30 คือ ผงยาจากเหง้า: 25=พาเรงคิมา, 26=เซลล์ขน, 27=เม็ดแป้ง, 28,29,30=เวสเซลแบบ Helical, Scalariform และ Pitted ตามลาดับ เซลล์ที่พบ ตัวอย่าง พาเรงคิมา เม็ดแป้ง เซลล์ขน เวสเซล เส้นใย เซลล์ หลั่ง Helical Scalarifrom C. cf. xanthorrhiza ไม่พบ ไม่พบ เครื่องยา ไม่พบ ไม่พบ ผลิตภัณฑ์ผงยา ตัวอย่างที1 ไม่พบ ผลิตภัณฑ์ผงยา ตัวอย่างที2 ไม่พบ ลักษณะทางจุลทรรศน์ของผงยาใบ C. cf. xanthorrhiza อภิปรายผล ลักษณะจุลทรรศน์ C. comosa C. cf. xanthorrhiza การมีเซลล์ขนที่เนื้อเยื่อผิวใบ ด้านล่าง ไม่พบ ขนชนิดเซลล์เดียว ปลายแหลม การมีปุ่มเล็ก (Papillae) ทีเนื้อเยื่อชั้นผิวด้านล่างบริเวณมัด ท่อลาเลียง พบ ไม่พบ การมีเซลล์หลั่งในแผ่นใบ พบที่ชั้นแพลิเซด พบที่ชั้นแพลิเซดและสปองจี การพบเซลล์เส้นใยในผงยาเหง้า ไม่พบ พบ ตารางที2 เปรียบเทียบลักษณะทางจุลทรรศน์ การตรวจสอบผงยาสมุนไพรว่านชักมดลูกที่ทาเป็นผลิตภัณฑ์หรือเป็นเครื่องยา ขายในท้องตลาด เซลล์และเนื้อเยื่อที่พบในผงยาของเครื่องยา และผลิตภัณฑ์ผงยา ตัวอย่างที1 มีความสอดคล้องกับผงยาของ C. comosa ตัวอย่างที2 ไม่ความสอดคล้องกับผงยาของ C. comosa สามารถนาข้อมูลลักษณะทางจุลทรรศน์มาช่วยในการจาแนกสมุนไพรว่านชัก มดลูกชนิด C. comosa และ C. cf. xanthorrhiza ได้ และลักษณะเซลล์และ เนื้อเยื่อในผงยาสมุนไพรที่พบภายใต้กล้องจุลทรรศน์ สามารถนามาใช้เป็นข้อมูล เบื้องต้นในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ผงยาสมุนไพรว่านชักมดลูกและเครื่องยาที่ขายใน ตลาดยาได้ ทั้งนี้ต้องใช้ข้อมูลในด้านอื่นๆ ร่วมด้วย 31 32 33 34 35 36 ภาพที: 31=ชิ้นส่วนผิวใบด้านบน, 32=ชิ้นส่วนผิวใบด้านล่าง, 33=ขนชนิดเซลล์เดียว, 34=ภาคตัดตามขวาง ของแผ่นใบ, 35=เซลล์หลั่ง, 36=เวสเซลแบบ Helical

Identification of Microscopic Characters of Medicinal Plant ...nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015295.pdfว านช กมดล ก (Curcuma comosa) เป นพ ชสม

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Identification of Microscopic Characters of Medicinal Plant ...nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015295.pdfว านช กมดล ก (Curcuma comosa) เป นพ ชสม

กลุ่มงานพัฒนาวิชาการฯสถาบันการแพทย์แผนไทย. การวิจัยและพัฒนาว่านชักมดลูกเพื่อเป็น ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม. (ออนไลน์) 2548 (อ้างเมื่อ 20 ธันวาคม 2557). จาก http:ittm-

old.dtam.moph.go.th/data_articles/2548.pdfพร้อมจิต ศรลัมพ,์ วิชชุดา พิพิธพิบูลยส์ุข และ สมภพ ประธานธรุารัก. “ข้อก าหนดมาตรฐานสมุนไพร ว่านชักมัดลูก (Curcuma comosa Roxb.)” การคัดเลือกว่านชักมดลูกเพื่อบ่งชี้คุณภาพ วัตถุดิบจากลักษณะทางสัณฐานวิทาและคุณสมบัติทางเคมี. (พฤษภาคม /2555): 1-43พวงผกา สุนทรชัยนาคแสง, ทยา เจนจิตติกุล และ จรัญ มากน้อย. “ชนิด สายพันธ์ และลักษณะของ ว่านชักมดลูก” การคัดเลือกว่านชักมดลูกเพื่อบ่งชี้คุณภาพวัตถุดิบจากลักษณะทางสัณฐาน วิทายาและคุณสมบัติทางเคมี. (พฤษภาคม /2555): 1-43

ภาพที่ 5-13 คือ ภาคตัดตามขวาง C. comosa: 5=แผ่นใบ, 6=ขอบใบ, 7=เส้นกลางใบ, 8=ผิวล าต้นใต้ดิน, 9-10=ล าต้นใต้ดิน, 11=เม็ดแป้งและหยดน้ ามันที่สะสมในล าต้นใต้ดิน, 12-13=ราก

ภาพที่ 14-19 คือ ภาคตัดตามขวาง C. cf. xanthorrhiza: 14=แผ่นใบ, 15=ขอบใบ, 16=เส้นกลางใบ, 17=ล าต้นใต้ดิน, 18=เม็ดแป้งที่สะสมในล าต้นใต้ดิน, 19=ราก

(ST=ปากใบ, TC=ขนชนิดเซลล์เดียว ปลายแหลม, SCT=รอยแผลขน, SL=ใบเกล็ด, C=เซลล์คอร์ก, CC=คอร์กแคมเบียม,UE=เซลล์เนื้อเยื่อผิวใบด้านบน, LE=เซลล์เนื้อเยื่อผิวใบด้านล่าง, HP=เซลล์เนื้อเยื่อชั้นรองจากเนื้อเยื่อผิว, Pa=ปุ่มเล็ก, VB=มัดท่อล าเลียง, SC=เซลล์หลั่ง, PM=เซลล์พาเรงคิมา, AC=ช่องอากาศ, I,II,III=มัดท่อล าเลียง arc I, arc II, และ arc III ตามล าดับ, S=เม็ดแป้ง, O=หยดน้ ามัน, EN=เนื้อเยื่อชั้นในสุดของคอร์เทกซ์)

ศึกษาลักษณะทางจุลทรรศน์ของสมุนไพรว่านชักมดลูก (Curcuma comosa Roxb.) รวมถึงตรวจสอบตัวอย่างพืชสมุนไพรว่านชักมดลูกชนิดอื่น โดยวิธีการลอกผิวใบ การตัดตามขวางราก ล าต้นใต้ดิน เส้นกลางใบ ขอบใบ และแผ่นใบ โดยกรรมวิธีพาราฟิน และการตรวจลักษณะของผงยาเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ผงยาสมุนไพรว่านชักมดลูกหรือเครื่องยาที่ขายในตลาดยา จากการศึกษาพบว่า การมีหรือไม่มีขนที่ผิวใบด้านล่าง การมีปุ่มเล็กในเนื้อเยื่อชั้นผิว และบริเวณที่พบเซลล์หลั่ง สามารถน ามาใช้เป็นข้อมูลช่วยในการจ าแนกชนิดระหว่างว่านชักมดลูก (C. comosa) และตัวอย่างพืชสมุนไพรว่านชักมดลูกชนิดอื่นได้ ลักษณะของผงยาจากใบ C. comosa พบชิ้นส่วนเนื้อเยื่อชั้นผิวใบทั้งด้านบนและด้านล่าง ชิ้นส่วนของแผ่นใบ เวสเซลแบบเกลียว เซลล์เส้นใย และเซลล์หลั่ง ผงยาจากเหง้า C. comosa พบชิ้นส่วนของพาเรงคิมา เซลลค์อร์ก เม็ดแป้ง เวสเซลแบบเกลียว แบบเป็นรู แบบข้ันบันได และพบขนยาวปลายแหลมชนิดเซลล์เดียว ซึ่งลักษณะเซลล์และเนื้อเยื่อในผงยา สามารถน ามาใช้เป็นข้อมูลเบ้ืองต้นในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ผงยาจากสมุนไพรว่านชักมดลูก และเครื่องยาที่ขายในตลาดยาได้

Study on the microscopic characters of herbal plant Wan-chak-mot-luk (Curcuma comosa Roxb.), including investigation of the other plant samples called Wan-chak-mot-luk was examined. The epidermal peeling, cross section of blades, margins, midribs, rhizomes and roots by paraffin method were conducted. In addition, the investigation of Wan-chak-mot-luk powdered drug was used for standardization of powder drug and crude drug in the drug market. As a result, the presence or absence of trichome on abaxial, the presence of papillae in the epidermis, and the position of secretary cell can be used to identify difference between Wan-chak-mot-luk (C. comosa) and the other species of Wan-chak-mot-luk. According to C. comosa leaf powder, fragment of leaf adaxial and abaxialepidermis, fragment of leaf blades, helical vessels, fibers and secretary cells were found. As a result of C. comosa rhizome powder, fragment of parenchyma cells, cork cells, starch, helical vessels, pitted vessels, scalariform vessels and simple hairs were found. These characteristic on powder drug can be used as initial data to investigate Wan-chak-mot-luk powder drug and crude drug in the drug market.

การพิสูจน์เอกลักษณ์ทางจุลทรรศน์ลักษณะของสมุนไพรว่านชักมดลูกIdentification of Microscopic Characters of Medicinal Plant Curcuma comosa Roxb.

วิไลพร ค าธานี1 โสภี บุญทรัพย์1 ศิวพร หอมหวล1 สุชยา วิริยะการุณย์11 สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

บทคัดย่อ

ว่านชักมดลูก (Curcuma comosa) เป็นพืชสมุนไพรในวงศ์ Zingiberaceae นิยมน ามาใช้รักษาอาการของสตรี เช่น มดลูกอักเสบ แก้ปวดประจ าเดือนอย่างรุนแรง ลดอาการระดูขาว และยังช่วยในเรื่องความงาม เช่น ช่วยให้ผิวพรรณชุ่มชื้น มีน้ ามีนวล ทั้งยังพบว่ามีฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งน้ าดีและลดระดับไขมันในเลือด (กลุ่มงานพัฒนาวิชาการฯ สถาบันการแพทย์แผนไทย, 2548) นอกจากนี้ยังมีการใช้ว่านชักมดลูกในผู้ชาย เพื่อรักษาอาการปวดท้องน้อย การอักเสบของอัณฑะ และรักษาโรคริดสีดวงทวารด้วย (พวงผกา สุนทรชัยนาคแสง, 2555) ส าหรับในประเทศไทยสมุนไพรว่านชักมดลูก พบว่ามี 3 ชนิด คือC. comosa, C. elata Roxb. และ C. latifolia Rosc. และได้มีการน าเข้าพืชชนิดอื่น คือ C. xanthorrhiza Roxb. มีชื่อไทยว่าว่านชักมดลูกเช่นเดียวกัน ซึ่งได้มีการศึกษาแล้วว่า ว่านชักมดลูกชนิด C. comosa เป็นชนิดที่ไม่พบความเป็นพิษ จึงเป็นสายพันธุ์ว่านชักมดลูกที่สามารถน าไปพัฒนาเป็นยาหรืออาหารเสริมสุขภาพได้โดยปลอดภัย (พวงผกา สุนทรชัยนาคแสง, 2555) จากลักษณะทางสัณฐานวิทยาของพืชสกุลกระเจียวที่มีความคล้ายกันและว่านชักมดลูกเองก็มีหลายชนิด หากมีการน าสมุนไพรมาใช้ผิดต้น จะท าให้ไม่ได้รับสรรพคุณทางยาตามที่ต้องการหรืออาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาลักษณะจุลทรรศน์ของสมุนไพรว่านชักมดลูก เพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยในการระบุชนิดสมุนไพรว่านชักมดลูกได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น นอกเหนือจากการใช้เพียงลักษณะทางสัณฐานวิทยา และยังสามารถน าลักษณะจุลทรรศน์ของสมุนไพรว่านชักมดลูกมาเป็นมาตรฐานที่ใช้ในการตรวจสอบเอกลักษณ์พืชสมุนไพรที่อยู่ในรูปของผงยา ซึ่งอาศัยหลักการตรวจหาเนื้อเยื่อที่ควรจะพบในผงยาตามชนิดของสมุนไพรนั้นๆ

บทน า

ABSTRACT

คณะผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ ดร.สุชยา วิริยะการุณย์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัยทางชีววิทยา และอาจารย์ศิวพร หอมหวลอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมเป็นอย่างสูง ที่ให้ค าปรึกษา ชี้แนะข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่ จนงานโครงการวิจัยฉบับนี้ส าเร็จได้ด้วยดี

สรุปผลการวจิยั

กิตติกรรมประกาศ

การตัดตามขวางราก ล าต้นใต้ดิน เส้นกลางใบ ขอบใบ และแผ่นใบโดยกรรมวิธีพาราฟิน

ศึกษาผงยาสมุนไพร C. comosa

1. เพือ่ศึกษาลักษณะจุลทรรศน์ของสมุนไพรว่านชักมดลูก (C. comosa) 2. เพือ่น าข้อมูลลักษณะจุลทรรศน์ มาใช้ในการระบุชนิดสมุนไพรว่านชักมดลูก (C. comosa) ขณะที่ต้นไม่มีดอก

3. เพือ่ศึกษาลักษณะจุลทรรศน์ของผงยาสมุนไพรว่านชกัมดลูกและใช้เป็นมาตรฐานในการตรวจเอกลักษณ์สมุนไพรว่านชักมดลูกที่ท าเป็นผลิตภัณฑ์ผงยาหรือเป็นเครื่องยาขายในตลาดยา รวมถึงใช้ตรวจสอบตัวอย่างพืชสมุนไพรชนิดอื่นที่มีชื่อว่า ว่านชักมดลูก

วัตถุประสงค์

2. ลักษณะทางจุลทรรศน์

1 2 3 4

23

22

24

20 21

25 2726

28 3029

ตารางที่ 1 ลักษณะทางจุลทรรศน์ของตัวอย่างผลิตภัณฑ์ผงยา เครื่องยาที่ขายในตลาดยา รวมถึงตัวอย่างพืชว่านชักมดลูกชนิดอื่น

เอกสารอ้างอิง

TCST

วิธีด าเนนิการวิจัยศึกษาลักษณะทางจุลทรรศน์

วิธีลอกผวิใบ

ผิวใบด้านบน,ผิวใบด้านล่าง

ราก,เหง้า,ขอบใบ, เส้นกลางใบ,แผ่นใบ

วิธีพาราฟินลักษณะผงยา

ท าสไลด์ถาวร

ศึกษาลักษณะทางมหทรรศน์

ศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์

ผลการวิจัย

C. comosa เป็นไม้ล้มลุก สูง 0.92 เมตร มีล าต้นอยู่ใต้ดิน มีรูปร่างคล้ายรูปไข่ค่อนข้างกลม ขนาดกว้าง 5.3 เซนติเมตร ยาว 6.7 เซนติเมตร มีเปลือกสีน้ าตาล ผิวหยาบขรุขระ เห็นข้อปล้องชัดเจน มีกาบใบหุ้มข้อโดยรอบ เนื้อในของหัวสีขาวนวล วงในมีสีชมพูเรื่อๆ ทิ้งไว้สีชมพูจะเข้มขึ้น ใบเดี่ยว เรียงสลับ ออกเป็นกระจุกเหนือดิน ใบรูปวงรีหรือรูปวงรีแกมใบหอก กว้าง 11 - 18 เซนติเมตร ยาว24- 50 เซนติเมตร ใบอ่อนแผ่นใบสีเขียวเส้นกลางใบมีสีม่วงแดง เมื่อใบแก่สีม่วงแดงจะจางลง

1. ลักษณะทางมหทรรศน ์

การลอกผิวใบ

ST STST

ภาพที่ 1-2 คือ เนื้อเยื่อชั้นผิวใบ C. comosa: 1=ผิวใบด้านบน, 2=ผิวใบด้านล่างภาพที่ 3-4 คือ เนื้อเยื่อชั้นผิวใบ C. cf. xanthorrhiza: 3=ผิวใบด้านบน, 4=ผิวใบด้านล่าง

1817

161514

19

12

6

SCPa

10

ENVB

5

HPUE

LE

ST

ST

VB

TC

SCT

8

SC

13

PMII

I

AC

III

7

11

O

SL C

CC PM

9

TCTC

S

SEN

ภาพที่ 20-24 คือ ผงยาจากใบ: 20=ชิ้นส่วนผิวใบด้านบน, 21=ชิ้นส่วนผิวใบด้านล่าง, 22=ภาคตัดตามขวางของแผ่นใบ, 23=เซลล์เส้นใยและเซลล์หลั่ง, 24=เวสเซลแบบ Helical

ภาพที่ 25-30 คือ ผงยาจากเหง้า: 25=พาเรงคิมา, 26=เซลล์ขน, 27=เม็ดแป้ง, 28,29,30=เวสเซลแบบ Helical, Scalariform และ Pitted ตามล าดับ

เซลล์ที่พบตัวอย่าง พาเรงคิมา เม็ดแป้ง เซลล์ขน

เวสเซลเส้นใย

เซลล์หลั่งHelical Scalarifrom

C. cf.xanthorrhiza

ไม่พบ ไม่พบ

เครื่องยา ไม่พบ ไม่พบ

ผลิตภัณฑผ์งยาตัวอย่างที ่1

ไม่พบ

ผลิตภัณฑผ์งยาตัวอย่างที ่2

ไม่พบ

ลักษณะทางจุลทรรศน์ของผงยาใบ C. cf. xanthorrhiza

อภิปรายผล

ลักษณะจุลทรรศน์ C. comosa C. cf. xanthorrhiza

การมีเซลล์ขนที่เนื้อเยื่อผวิใบด้านล่าง

ไม่พบขนชนิดเซลล์เดียว

ปลายแหลม

การมีปุ่มเล็ก (Papillae) ที่เนื้อเยื่อชั้นผิวด้านล่างบริเวณมัดท่อล าเลียง

พบ ไม่พบ

การมีเซลล์หลั่งในแผ่นใบ พบที่ชั้นแพลเิซด พบที่ชั้นแพลิเซดและสปองจี

การพบเซลล์เส้นใยในผงยาเหง้า ไม่พบ พบ

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบลักษณะทางจุลทรรศน์

การตรวจสอบผงยาสมุนไพรว่านชักมดลูกที่ท าเป็นผลิตภัณฑ์หรือเป็นเครื่องยาขายในท้องตลาด เซลล์และเนื้อเยื่อที่พบในผงยาของเครื่องยา และผลิตภัณฑ์ผงยาตัวอย่างที่ 1 มีความสอดคล้องกับผงยาของ C. comosaตัวอย่างที่ 2 ไม่ความสอดคล้องกับผงยาของ C. comosa

สามารถน าข้อมูลลักษณะทางจุลทรรศน์มาช่วยในการจ าแนกสมุนไพรว่านชักมดลูกชนิด C. comosa และ C. cf. xanthorrhiza ได้ และลักษณะเซลล์และเนื้อเยื่อในผงยาสมุนไพรที่พบภายใต้กล้องจุลทรรศน์ สามารถน ามาใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ผงยาสมุนไพรว่านชักมดลูกและเครื่องยาที่ขายในตลาดยาได้ ทั้งนี้ต้องใช้ข้อมูลในด้านอื่นๆ ร่วมด้วย

31 32 33 34 35 36

ภาพที่ : 31=ชิ้นส่วนผิวใบด้านบน, 32=ชิ้นส่วนผิวใบด้านล่าง, 33=ขนชนิดเซลล์เดียว, 34=ภาคตัดตามขวางของแผ่นใบ, 35=เซลล์หลั่ง, 36=เวสเซลแบบ Helical