41
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 333 (1) ในชวงประมาณ พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) มแผนทชุดหนงจำานวน 8 แผน แผนหนงมขนาดกวางยาวประมาณหนา นสพ. รายวน แผนทชุดน พมพจำาหนายโดยบรษทไทยวฒนาพานช และแพรหลายมากในหมูโรงเรยนมธยมทวประเทศ ตลอดจนมหาวทยาลยทวไป ทมการเรยนการสอนดานภูมศาสตรและประวตศาสตร ผูทำาแผนท “บนไดประวตศาสตรไทย แตโบราณ” ชุดน คอ ศ. พนเอก (พเศษ) พูนพล อาสนจนดา (พ.ศ. 2462-2533 / ค.ศ. 1919-90) อดตเจาหนาทกรมแผนท ทหาร และอดตอาจารยประจำาภาควชาภูมศาสตร (มช.) พนเอก พูนพล เปนหนงในคณะทมทนายของไทยชุด ม.ร.ว. เสนย ปราโมช ทไปสูคดปราสาทเขาพระวหารกบกมพูชา ทกรุงเฮก เนเธอรแลนด เมอป พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) กลาวกนวาภรยา ของทานเปนหนงในบรรดา “รางทรง” ในการอญเชญดวงวญญาณของพระเจาตากสนในชวงททมไทยตอสูคดครงนน แผนท 8 แผนน คอ 1. บนไดประวตศาสตรไทยแตโบราณ 2. การเคลอนทของไทย 3. อาณาจกรหนองแส 4. อาณาจกรสุโขทย 5. อาณาจกรอยุธยา 6. อาณาจกรธนบุร 7. อาณาจกรรตนโกสนทร 8. การเสยดนแดนของไทย กลาวโดยยอ นคอแผนท “ภูมศาสตรประวตศาสตร” ทมพลอตเรอง (plot) แบบ “ลทธชาตนยมทางการ” (official nationalism คำาของ ศ. เบเนดก แอนเดอรสน) ซงเปนอุดมการณของรฐ ทถูกสรางขนโดยชนชนนำาของรฐ และ (top down) เผยแพรปลูกฝงลงมาในหมูของประชาชนระดบกลางและลาง ลทธชาตนยมโดยชนชนนำาของรฐน ดร. ธงชย วนจจะกูล มกจะกลาวถงในนามของ “ราชาชาตนยม” (royal nationalism) แตในกรณศกษาแผนทชุดน ผูเขยน สมครใจทจะเรยกวา “อำามาตยาชาตนยม” (military-bureaucratic) มากกวา กลาวคอดำาเนนเรองโดยมแกนกลาง หรอ ประเดนหลก (themes) อยูท ก. ชนชาตไทย ข. การอพยพโยกยาย ค. การเสยดนแดน ประเดนตางๆ เหลาน แพรหลายยง ทงในรูปของแบบเรยนของกระทรวงศกษาฯ สอ (วทยุ ทว นสพ.) ละคร เพลง นวน ยาย ฯลฯ โดยเฉพาะอย างย งในช วงก อนและหล ง “การปฏ ต 24 ม ถุนายน พ.ศ. 2475 (ค.ศ. 1932)” เม อ “คณะราษฎร” จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทย กับแผนที่ “เสียดินแดน” จากทศวรรษ 2470 ถึง พ.ศ. 2554 Imagined Thai Historiography and Historical Maps from 1930s to the Present ชาญวทย เกษตรศร

Imagined Thai Historiography and Historical Maps from 1930s to the Present

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Imagined Thai Historiography and Historical Maps from 1930s to the Presentจินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทย กับแผนที่ "เสียดินแดน" จากทศวรรษ 2470 ถึง พ.ศ.2554ชาญวิทย์ เกษตรศิริ/Charnvit Kasetsiri

Citation preview

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 333

(1) ในช่วงประมาณพ.ศ. 2500(ค.ศ. 1957)มีแผนที่ชุดหนึ่งจำานวน8แผ่นแผ่นหนึ่งมีขนาดกว้างยาวประมาณหน้านสพ. รายวัน แผนที่ชุดนี้ พิมพ์จำาหน่ายโดยบริษัทไทยวัฒนาพานิช และแพร่หลายมากในหมู่โรงเรียนมัธยมทั่วประเทศตลอดจนมหาวิทยาลัยทั่วไปที่มีการเรียนการสอนด้านภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ผู้ทำาแผนที่“บันไดประวัติศาสตร์ไทยแต่โบราณ”ชุดนี้คือศ. พันเอก(พิเศษ)พูนพลอาสนจินดา(พ.ศ. 2462-2533/ค.ศ. 1919-90)อดีตเจ้าหน้าที่กรมแผนที่ทหารและอดีตอาจารย์ประจำาภาควิชาภูมิศาสตร์(มช.)พันเอก พูนพลเป็นหนึ่งในคณะทีมทนายของไทยชุดม.ร.ว.เสนีย์ปราโมชที่ไปสู้คดีปราสาทเขาพระวิหารกับกัมพูชาที่กรุงเฮกเนเธอร์แลนด์เมื่อปีพ.ศ. 2505(ค.ศ. 1962)กล่าวกันว่าภริยาของท่านเป็นหนึ่งในบรรดา“ร่างทรง”ในการอัญเชิญดวงวิญญาณของพระเจ้าตากสินในช่วงที่ทีมไทยต่อสู้คดีครั้งนั้น แผนที่8แผ่นนี้คือ 1.บันไดประวัติศาสตร์ไทยแต่โบราณ 2.การเคลื่อนที่ของไทย 3.อาณาจักรหนองแส 4.อาณาจักรสุโขทัย 5.อาณาจักรอยุธยา 6.อาณาจักรธนบุรี 7.อาณาจักรรัตนโกสินทร์ 8.การเสียดินแดนของไทย กล่าวโดยย่อ นี่คือแผนที่ “ภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์” ที่มีพล็อตเรื่อง (plot) แบบ “ลัทธิชาตินิยมทางการ”(official nationalism คำาของ ศ. เบเนดิก แอนเดอร์สัน) ซึ่งเป็นอุดมการณ์ของรัฐ ที่ถูกสร้างขึ้นโดยชนชั้นนำาของรัฐและ (top down) เผยแพร่ปลูกฝังลงมาในหมู่ของประชาชนระดับกลางและล่าง ลัทธิชาตินิยมโดยชนชั้นนำาของรัฐนี้ ดร.ธงชัย วินิจจะกูล มักจะกล่าวถึงในนามของ “ราชาชาตินิยม” (royal nationalism) แต่ในกรณีศึกษาแผนที่ชุดนี้ ผู้เขียนสมัครใจที่จะเรียกว่า “อำามาตยาชาตินิยม” (military-bureaucratic) มากกว่า กล่าวคือดำาเนินเรื่องโดยมีแกนกลาง หรือประเด็นหลัก(themes)อยู่ที่ ก.ชนชาติไทย ข.การอพยพโยกย้าย ค.การเสียดินแดน ประเด็นต่างๆเหล่านี้แพร่หลายยิ่งทั้งในรูปของแบบเรียนของกระทรวงศึกษาฯสื่อ(วิทยุทีวีนสพ.)ละครเพลงนวนยิาย ฯลฯโดยเฉพาะอยา่งยิง่ในชว่งกอ่นและหลงั“การปฏวิตัิ24มถินุายนพ.ศ. 2475(ค.ศ. 1932)”เมือ่“คณะราษฎร”

จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทย กับแผนที่ “เสียดินแดน”

จากทศวรรษ 2470 ถึง พ.ศ. 2554Imagined Thai Historiography and Historical Maps

from 1930s to the Present

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ

334 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

(ทางปีกขวาซึ่งมีจอมพล ป.พิบูลสงครามเป็นผู้นำา)เข้ามามีอำานาจแทน“คณะเจ้า”อยู่ช่วงระยะเวลาหนึ่งกล่าวโดยย่อลัทธิชาตินิยมดังกล่าวจะลงหลักปักฐานในช่วงประมาณทศวรรษ2470-80(1930s-40s)และก็ยังทรงอิทธิพลสืบทอดมาถึงปัจจุบัน

(2)

ในบริบทสากลย้อนกลับไปประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่19ที่ตรงกับสมัยรัชกาลที่5พ.ศ.2411-53(ค.ศ.1868-1910) นั้น มีความเปลี่ยนแปลงที่สำาคัญทางวิชาการและภูมิปัญญาใน “สยามประเทศ (ไทย)” ของเรา นั่นคือ การปรากฏตัวของ“ลัทธิอาณานิคม”ของอังกฤษและฝรั่งเศสพร้อมๆกับการก่อตัวของวิชาประวัติศาสตร์(ที่ต้องเขียนตำารากันใหม่เปลี่ยนจากรูปแบบของ“พงศาวดาร”และ“ตำานาน”เดิมๆ)กับวิชาภูมิศาสตร์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการทำา“แผนที่สมัยใหม่”(modern map) แทน“แผนที่จักรวาล”แบบ“ไตรภูมิ”หรือ“แผนที่เดินทัพ”(ที่ได้รับอิทธิพลจากจีน) วิชา“ประวัติศาสตร์”สมัยใหม่นี้ให้ความสำาคัญต่อเรื่องราวของ“ชนชาติไทย”(ในความหมายของชาติพันธุ์และภาษาตามแนววิชาการของฝรั่ง)ควบคู่ไปกับเรื่องราวทางภูมิศาสตร์และแผนที่ซึ่งก็เป็นอิทธิพลของฝรั่ง(วิชาcartography โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากอังกฤษที่ปกครองอินเดียพม่าและมลายู/สิงคโปร์)ที่ไทยสยามต้อง“นำาเข้า”(import)เช่นกัน และนี่ ก็เป็นที่มาของ “ผลงาน” การสืบค้นหาต้นตอ (original homeland) หรือ “เมืองไทยเดิม” ที่บรรดานักปราชญ์ราชบัณฑิตไทยส่วนใหญ่คือเจ้านายและอำามาตย์นับแต่รุ่นของรัชกาลที่5รัชกาลที่6สมเด็จฯกรมพระยาดำารงฯพระยาประชากิจกรจักรหลวงวิจิตรวาทการขุนวิจิตรมาตรานายกี(ธนิต)อยู่โพธิ์เรื่อยมาจนถึงม.ร.ว.คึกฤทธิ์ปราโมชซึ่งถือได้ว่าเป็น“วิชาการกระแสหลัก”(mainstream academics)ก่อนที่จะตกมาถึง(นักวิชาการและนักคิดนักเขียน)รุ่นหลังที่กลายเป็น“วิชาการกระแสโต้”(against the grain academics)ปฏิเสธและคัดค้านดังที่จะเห็นได้หลากหลายและเด่นชัดในปัจจุบัน

(3)

สรุปแผนที่ชุด“บันไดประวัติศาสตร์ไทยแต่โบราณ”ของศ. พันเอก(พิเศษ)พูนพลอาสนจินดามีรายละเอียดแต่ละแผ่นดังต่อไปนี้ แผ่นที่ 1 “บันไดประวัติศาสตร์ไทยแต่โบราณ” นี่เป็นการสรุปรวบยอดในแนวลัทธิชาตินิยมของทั้ง2สำานักคือ “ราชาชาตินิยม”กับ “อำามาตยาชาตินิยม”ซึ่งลงมติว่า เมื่อ1,200ปีมาแล้วตั้งแต่พ.ศ. 1291 (ค.ศ. 748)นั้น “เมืองไทยเดิม”ตั้งอยู่ที่ “อาณาจักรน่านเจ้า” (ในยูนนาน)อยู่มานานถึง500ปีต่อมาเมื่อราวพ.ศ. 1800 (ค.ศ. 1257)หรือเมื่อ700ปีที่แล้วจำาต้อง “อพยพลงมาทางใต้คนจีนเข้าไปอยู่แทนที่” และถูกรุกรานโดยจักรพรรดิเจงกีสข่าน เมื่อ พ.ศ. 1758 (ค.ศ. 1215) และจักรพรรดิกุบไลข่านพ.ศ. 1823 (ค.ศ. 1280) “ไทย”จึง “ฝ่าลงใต้”มาสถาปนาอาณาจักรใหม่ของตนตามลำาดับคือ “อาณาจักรสุโขทัย”ที่มี“3บันไดใหญ่”ที่ราชวงศ์ “พระร่วง-เชียงราย-สุพรรณภูมิ”ต่อด้วยอีก “3บันไดใหญ่”ของ“อาณาจักรศรีอยุธยา” เมื่อพ.ศ.2100(ค.ศ.1557)ของราชวงศ์“สุโขทัย-ปราสาททอง-บ้านพลูหลวง”ก่อนที่จะถึง“บันไดเล็กๆ”ของ“สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี”(โปรดสังเกตตรงนี้ว่า“อำามาตยาชาตินิยม”จะมี4กรุงโดยเพิ่ม“กรุงธนบุรี”เข้าไปใน“ราชาชาตินิยม”จะมีเพียง3กรุงคือ“สุโขทัย-อยุธยา-รัตนโกสินทร์”บันไดสูงสุดของแผนที่นี้ก็คือ“ปัจจุบันประเทศไทยบรมจักรีวงศ์กรุงรัตนโกสินทร์(ประเทศสยาม)พ.ศ. 2325(ค.ศ. 1872)” แผ่นที่ 2 “การเคลื่อนที่ของไทย” นี่เป็นหนึ่งจินตกรรมทางภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ที่สำาคัญสุดที่สมมุติว่ามี“มหาอพยพ”หรือgreat exodusของชนชาตไิทยจาก“แหลง่กำาเนดิของไทย”คอื“คปุต”ิ(ภเูขาอลัไต?)ในมองโกเลยีทีเ่หนอืสดุและหนาวสดุเดนิทางไกลเปน็ระยะทางกว่า3,000กิโลเมตร(แบบเดียวกับที่ชาวยิวอิสราเอลอพยพออกจากอียิปต์ข้ามทะเลทรายทะเลแดงเป็นExodus) ลงมายัง“นครลุง” (ที่อยู่เหนือ“เชียงอาน”หรือซีอันเมืองหลวงของราชวงศ์ถัง)แล้วลงมายัง“นครปา”(จุงกิง)แล้วก็

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 335

แผ่นที่ 1 “บันไดประวัติศาสตร์ไทยแต่โบราณ” นี่เป็นการสรุปรวบยอดในแนวลัทธิชาตินิยมของทั้ง 2 สำานัก คือ “ราชาชาตินิยม” กับ “อำามาตยาชาตินิยม” ซึ่งลงมติว่า เมื่อ 1,200 ปีมาแล้ว ตั้งแต่ พ.ศ. 1291 (ค.ศ. 748) นั้น “เมืองไทยเดิม” ตั้งอยู่ที่ “อาณาจักรน่านเจ้า” (ในยูนนาน) อยู่มานานถึง 500 ปี ต่อมาเมื่อราว พ.ศ. 1800 (ค.ศ. 1257) หรือเมื่อ 700 ปีที่แล้ว จำาต้อง “อพยพลงมาทางใต้ คนจีนเข้าไปอยู่แทนที่” และถูกรุกรานโดยจักรพรรดิเจงกีสข่าน เมื่อ พ.ศ. 1758 (ค.ศ. 1215) และจักรพรรดิกุบไลข่าน พ.ศ. 1823 (ค.ศ. 1280) “ไทย” จึง “ฝ่าลงใต้” มาสถาปนาอาณาจักรใหม่ของตนตามลำาดับ คือ “อาณาจักรสุโขทัย” ที่มี “3 บันไดใหญ่” ที่ราชวงศ์ “พระร่วง-เชียงราย-สุพรรณภูมิ” ต่อด้วยอีก “3 บันไดใหญ่” ของ “อาณาจักรศรีอยุธยา” เมื่อ พ.ศ. 2100 (ค.ศ.1557) ของราชวงศ์ “สุโขทัย-ปราสาททอง-บ้านพลูหลวง” ก่อนที่จะถึง “บันไดเล็กๆ” ของ “สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี” (โปรดสังเกตตรงนี้ว่า “อำามาตยาชาตนิยิม” จะม ี4 กรงุ โดยเพิม่ “กรงุธนบรุ”ี เขา้ไปใน “ราชาชาตนิยิม” จะมเีพยีง 3 กรงุ คอื “สโุขทยั-อยธุยา-รตันโกสนิทร”์ บันไดสูงสุดของแผนที่นี้ ก็คือ “ปัจจุบัน ประเทศไทย บรมจักรีวงศ์ กรุงรัตนโกสินทร์ (ประเทศสยาม) พ.ศ. 2325 (ค.ศ. 1872)”

336 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

แผ่นที่ 2 “การเคลื่อนที่ของไทย”

นี่เป็นหนึ่งจินตกรรมทางภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ ที่สำาคัญสุด ที่สมมุติว่ามี “มหาอพยพ” หรือ great exodus ของชนชาติไทยจาก “แหล่งกำาเนิดของไทย” คือ “คุปติ” (ภูเขาอัลไต?) ในมองโกเลียที่เหนือสุดและหนาวสุด เดินทางไกลเป็นระยะทางกว่า 3,000

กิโลเมตร (แบบเดียวกับที่ชาวยิวอิสราเอล อพยพออกจากอียิปต์ ข้ามทะเลทรายทะเลแดง เป็น Exodus) ลงมายัง “นครลุง” (ที่อยู่เหนือ “เชียงอาน” หรือ ซีอัน เมืองหลวงของราชวงศ์ถัง) แล้วลงมายัง “นครปา” (จุงกิง) แล้วก็ลงใต้ลงมาอีกจนสามารถตั้งอาณาจักร

น่านเจ้าได้ มีเมืองหลวงอยู่ที่ “หนองแส” (หรือตาลีฟู) ณ จุดนี้ “มหาอพยพ” หรือ Exodus ของชนชาติไทย ก็แตกแยกสาขา กระจายไปทั่วจีนภาคใต้ ทั้งในมณฑลยูนนาน กวางตุ้ง เวียดนามเหนือ และรัฐฉาน

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 337

ลงใต้ลงมาอีกจนสามารถตั้งอาณาจักรน่านเจ้าได้มีเมืองหลวงอยู่ที่ “หนองแส” (หรือตาลีฟู)ณจุดนี้ “มหาอพยพ”หรือExodusของชนชาตไิทยกแ็ตกแยกสาขากระจายไปทัว่จนีภาคใต้ทัง้ในมณฑลยนูนานกวางตุง้เวยีดนามเหนอืและรฐัฉาน แผ่นที่ 3 “อาณาจักรหนองแส” หรือ “น่านเจ้า” นี่เป็นอีกหนึ่งจินตกรรมทางภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ที่สำาคัญสุดที่สมมุติว่าชนชาติไทยได้สถาปนาตนขึ้นมาได้กลายเป็นมหาอำานาจหนึ่งก่อนที่จีนจะรุกรานลงมาทางใต้นับตั้งแต่พ.ศ. 1291(ค.ศ. 748)“เมืองไทยเดิม”ก็ตั้งอยู่ณที่นี้นานถึง500ปีต่อมาเมื่อราวพ.ศ. 1800(ค.ศ. 1257)หรือเมื่อ700ปีที่แล้วก็จำาต้อง“อพยพลงมาทางใต้คนจีนเข้าไปอยู่แทนที่”และถูกรุกรานโดยราชวงศ์หยวน(หรือมองโกล)ทฤษฎี“น่านเจ้า”หรือ“หนองแส”นี้ได้รับการปฏิเสธจากนักวิชาการรุ่นใหม่ ไม่ว่าจะเป็นไทยหรือเทศ ที่สรุปจากหลักฐานของจีนว่า “น่านเจ้า” นั้น หาใช่อาณาจักรของชนชาติไทยไม่กษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ของน่านเจ้าเมื่อหนึ่งพันกว่าปีมาแล้วนามว่า “พีล่อโก๊ะ-โก๊ะล่อฝง,ฝงเจียอี้, อี้มูซุน (Pi-lo-ko, Ko-lo-feng, Feng-chia-i, I-mou-hsun)นั้นเป็นชนเผ่า“โลโล่”(Lo-lo)ซึ่งเป็นเครือญาติกับตระกูลธิเบต/พม่าหาใช่ตระกูลไท/ไต/ลาวไม่การขนานนามกษัตริย์ด้วยการนำาคำาสุดท้ายของบิดามาตั้งเป็นคำาต้นของบุตรดังที่เห็นนี้ก็เป็นธรรมเนียมของ“โลโล่”ไม่ใช่ธรรมเนียมไท/ไต/ลาวแต่อย่างใดความน่าสนใจของแผนที่แผ่นนี้คือการวาดภาพให้อาณาจักรของชนชาติไทยนอกจากจะมีศูนย์กลางที่“หนองแส”แล้วก็ยังมี“ไทยใหญ่”และ“โยนก”ที่ใต้ลงมาคือ“ขอม”ซึ่งมีอาณาจักรใหญ่โตมโหฬารครอบคลุมพม่าตอนล่างภาคเหนือตอนล่างลาวทั้งหมดกัมพูชาตลอดจนภาคใต้ถึงนครศรีธรรมราชแน่นอนในทัศนะของนักประวัติศาสตร์สกุล“อำามาตยาชาตินิยม”ไม่ถือว่า“ขอม”คือ“เขมร”และจินตกรรม(โดยปราศจากหลักฐาน) อีกว่า“ขอม”เป็นชนชาติที่สูญพันธุ์ไปแล้ว แผ่นที่ 4 “อาณาจักรสุโขทัย” นีค่อือาณาจกัรทีป่ระวตัศิาสตรฉ์บบัทางการถอืวา่เปน็“ยคุทอง”ของไทยทีส่ามารถสถาปนาขึน้ไดใ้น“แหลมทอง”และเป็นจุดเริ่มต้นและที่รวมหรือ “อู่อารยธรรม” ของไทย ที่เพียบพร้อมไปด้วยพุทธศาสนา สถาบันกษัตริย์แบบ “พ่อปกครองลูก”ถึงขนาดกล่าวว่ามี “ประชาธิปไตย”มี “การค้าเสรี”และมี “สิทธิเสรีภาพ”ของประชาชน(ไพร่ฟ้าหน้าใส)เป็นประหนึ่ง“โลกพระศรีอาริย์”หรือไม่ก็“ยูโธเปีย”ภาพที่“จินตกรรม”ดังกล่าวนี้น่าจะเอามาจากศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำาแหงซึ่งในแง่ของวิชาการปัจจุบันมีกระแสโต้แย้งว่าจารึกขึ้นในสมัยนั้นจริงๆหรือมาจารึกในตอนต้นรัตนโกสินทร์(ประมาณรชักาลที่3)นีเ่องการวาดแผนทีท่างประวตัศิาสตรใ์หส้โุขทยัมดีนิแดนกวา้งขวางใหญโ่ตตัง้แตล่าว(หลวงพระบาง) ไปจนสุดแหลมมลายูมีสิงคโปร์เป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรด้วยนั้นก็ดูจะเกินความเป็นไปได้ทั้งนี้ยังไม่รวมถึงปัญหาทางประวัติศาสตร์ที่หากจะมองเปรียบเทียบกับแผ่นที่3ที่“ขอม”กว้างขวางใหญ่โตแต่จู่ๆก็เกือบจะมลายหายไปแต่ก็ยังเหลือส่วนที่เป็น“พิมาย”และชายทะเลฝั่งตะวันออกด้านชลบุรีถึงจันทบุรีจนจรดปากแม่น้ำาโขง แผ่นที่ 5 “อาณาจักรศรีอยุธยา” จากยุคทองและความยิ่งใหญ่สมัย“สุโขทัย”แผนที่ประวัติศาสตร์ชุดนี้กระโดนมายัง“อยุธยา”ซึ่งก็น่าเชื่อว่าที่มีดินแดนกว้างขวางใหญ่โตครอบคลุมพม่าตอนล่างทั้งหมดถึงเมืองหงสาวดีแผ่ขยายขึ้นไปทางเหนือรวมทั้งเชียงใหม่ไปจนกระทั่งถึงแสนหวีในรัฐฉานและรวมลาวทั้งหมดกัมพูชาทั้งหมดแต่ทางใต้กลับไม่รวมปัตตานีดินแดนอันกว้างขวางนี้คงถูกเขียนขึ้นมาเพื่อจำาลองภาพความยิ่งใหญ่ในสมัยของพระนเรศวร นั่นเอง และนี่ก็คือปัญหาของการวาดภาพ “แผนที่ประวตัศิาสตร”์ทีใ่นอดตีนัน้อาณาจกัรมทีัง้“ยดื”และมทีัง้“หด”กลา่วคอืหากกษตัรยิม์เีดชานภุาพสงูอาณาจกัรกจ็ะกวา้งขวางใหญ่โตมีเมืองขึ้นมี“ประเทศราช”มากมายได้และดินแดนของอาณาจักรไหนๆก็ตามก็ไม่เคย“หยุดนิ่ง”แน่นอนและ/หรอืคงทีไ่ด้ในยคุทีต่กต่ำากจ็ะเหลอืเพยีงนดิเดยีวในขณะทีอ่าณาจกัรเพือ่นบา้นกอ็าจขยายใหญโ่ตได้ดงันัน้ในการทำาแผนที่ประวัติศาสตร์แบบนี้ก็ขึ้นอยู่ว่าประเทศไหนทำาและ“เลือก”ที่จะทำายุคสมัยไหนตามปกติก็มักไม่มีประเทศไหนจะทำาแผนที่ตอนที่ตนเองตกต่ำานักข้อที่น่าสังเกตและน่าตั้งคำาถามสำาหรับแผนที่แผ่นที่5นี้ก็คือทำาไมยุคสมัยของศรีอยุธยาเริ่มต้นที่“พ.ศ. 2100(ค.ศ. 1557)เริ่มอาณาจักรศรีอยุธยา”แทนที่จะเริ่มที่พ.ศ. 1893(ค.ศ. 1350)ในสมัยพระเจ้าอู่ทองทำาไม“อยุธยา”หดหายไปตั้ง200ปี(โปรดกลับไปดูแผ่นที่1) แผ่นที่ 6 “อาณาจักรธนบุรี” แผนที่ชุดนี้ให้“บันได”ของยุคสมัยนี้ไว้สั้นและเล็กเพียงแค่เรื่องการ“จลาจล3ปี”จากพ.ศ. 2310-13และวาดเส้นเขตแดนไว้อย่างสับสนทั้งส่วนที่เป็น“ก๊ก”ต่างๆและส่วนที่ห่างไกลออกไปอย่างล้านนาลาวกัมพูชาและมลายูนี่

338 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

แผ่นที่ 3 “อาณาจักรหนองแส” หรือ “น่านเจ้า” นี่เป็นอีกหนึ่งจินตกรรมทางภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์ ที่สำาคัญสุด ที่สมมุติว่าชนชาติไทย ได้สถาปนาตนขึ้นมาได้กลายเป็นมหาอำานาจหนึ่งก่อนที่จีนจะรุกรานลงมาทางใต้ นับตั้งแต่ พ.ศ. 1291 (ค.ศ. 748) “เมืองไทยเดิม” ก็ตั้งอยู่ ณ ที่นี้นานถึง 500 ปี ต่อมาเมื่อราว พ.ศ. 1800 (ค.ศ. 1257) หรือเมื่อ 700 ปีที่แล้ว ก็จำาต้อง “อพยพลงมาทางใต้ คนจีนเข้าไปอยู่แทนที่” และถูกรุกรานโดยราชวงศ์หยวน (หรือมองโกล) ทฤษฎี “น่านเจ้า” หรือ “หนองแส” นี้ได้รับการปฏิเสธ จากนักวิชาการรุ่นใหม่ ไม่ว่าจะเป็นไทยหรือเทศ ที่สรุปจากหลักฐานของจีนว่า “น่านเจ้า” นั้น หาใช่อาณาจักรของชนชาติไทยไม่ กษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ของน่านเจ้าเมื่อหนึ่งพันกว่าปีมาแล้ว

นามว่า “พีล่อโก๊ะ-โก๊ะล่อฝง, ฝงเจียอี้, อี้มูซุน (Pi-lo-ko, Ko-lo-feng, Feng-chia-i, I-mou-hsun) นั้นเป็นชนเผ่า “โลโล่” (Lo-lo) ซึ่งเป็นเครือญาติกับตระกูลธิเบต/พม่า หาใช่ตระกูลไท/ไต/ลาวไม่ การขนานนามกษัตริย์ ด้วยการนำาคำาสุดท้ายของบิดา มาตั้งเป็นคำาต้นของบุตร ดังที่เห็นนี้ ก็เป็นธรรมเนียมของ “โลโล่” ไม่ใช่ธรรมเนียมไท/ไต/ลาว แต่อย่างใด ความน่าสนใจของแผนที่แผ่นนี้ คือ การวาดภาพให้อาณาจักรของชนชาติไทย นอกจากจะมีศูนย์กลางที่ “หนองแส” แล้วก็ยังมี “ไทยใหญ่” และ “โยนก” ที่ใต้ลงมาคือ “ขอม” ซึ่งมีอาณาจักรใหญ่โตมโหฬาร ครอบคลุมพม่าตอนล่าง ภาคเหนือตอนล่าง ลาวทั้งหมด กัมพูชา ตลอดจนภาคใต้ถึงนครศรีธรรมราช แนน่อนในทศันะของนกัประวตัศิาสตร ์สกลุ “อำามาตยาชาตนิยิม” ไมถ่อืวา่ “ขอม” คอื “เขมร” และจนิตกรรม (โดยปราศจากหลกัฐาน) อีกว่า “ขอม” เป็นชนชาติที่สูญพันธุ์ไปแล้ว

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 339

แผ่นที่ 4 “อาณาจักรสุโขทัย” นี่คืออาณาจักรที่ประวัติศาสตร์ฉบับทางการ ถือว่าเป็น “ยุคทอง” ของไทยที่สามารถสถาปนาขึ้นได้ใน “แหลมทอง” และเป็นจุดเริ่มต้นและที่รวมหรือ “อู่อารยธรรม” ของไทย ที่เพียบพร้อมไปด้วยพุทธศาสนา สถาบันกษัตริย์แบบ “พ่อปกครองลูก” ถึงขนาดกล่าวว่ามี “ประชาธิปไตย” มี “การค้าเสรี” และมี “สิทธิเสรีภาพ” ของประชาชน (ไพร่ฟ้า หน้าใส) เป็นประหนึ่ง “โลกพระศรีอาริย์” หรือไม่ก็ “ยูโธเปีย” ภาพที่ “จินตกรรม” ดังกล่าวนี้ น่าจะเอามาจากศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำาแหง ซึ่งในแง่ของวิชาการปัจจุบัน มีกระแสโต้แย้งว่า จารึกขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ หรือมาจารึกในตอนต้นรัตนโกสินทร์ (ประมาณรัชกาลที่ 3) นี่เอง การวาดแผนที่ทางประวัติศาสตร์ให้สุโขทัย มีดินแดนกว้างขวางใหญ่โต ตั้งแต่ลาว (หลวงพระบาง) ไปจนสดุแหลมมลาย ูมสีงิคโปรเ์ปน็สว่นหนึง่ของอาณาจกัรดว้ยนัน้ กด็จูะเกนิความเปน็ไปได ้ทัง้นีย้งัไมร่วมถงึปญัหาทางประวตัศิาสตร ์ที่หากจะมองเปรียบเทียบกับแผ่นที่ 3 ที่ “ขอม” กว้างขวางใหญ่โต แต่จู่ๆ ก็เกือบจะมลายหายไป แต่ก็ยังเหลือส่วนที่เป็น “พิมาย” และชายทะเลฝั่งตะวันออกด้านชลบุรี ถึงจันทบุรี จนจรดปากแม่น้ำาโขง

340 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

แผ่นที่ 5 “อาณาจักรศรีอยุธยา” จากยุคทองและความยิ่งใหญ่สมัย “สุโขทัย” แผนที่ประวัติศาสตร์ชุดนี้ กระโดนมายัง “อยุธยา” ซึ่งก็น่าเชื่อว่าที่มีดินแดนกว้างขวางใหญ่โต ครอบคลุมพม่าตอนล่างทั้งหมด ถึงเมืองหงสาวดี แผ่ขยายขึ้นไปทางเหนือ รวมทั้งเชียงใหม่ ไปจนกระทั่งถึงแสนหวใีนรัฐฉาน และรวมลาวทัง้หมด กมัพชูาทัง้หมด แตท่างใต้กลบัไมร่วมปตัตานี ดนิแดนอันกวา้งขวางนี ้คงถูกเขยีนขึน้มาเพือ่จำาลองภาพความยิง่ใหญใ่นสมยัของพระนเรศวร นัน่เอง และนีก่ค็อืปญัหาของการวาดภาพ “แผนทีป่ระวตัศิาสตร”์ ทีใ่นอดตีนัน้ อาณาจกัรมีทั้ง “ยืด” และมีทั้ง “หด” กล่าวคือ หากกษัตริย์มีเดชานุภาพสูง อาณาจักรก็จะกว้างขวางใหญ่โต มีเมืองขึ้น มี “ประเทศราช” มากมายได้ และดินแดนของอาณาจักรไหนๆ ก็ตาม ก็ไม่เคย “หยุดนิ่ง” แน่นอน และ/หรือคงที่ได้ ในยุคที่ตกต่ำาก็จะเหลือเพียงนิดเดียว ในขณะที่อาณาจักรเพื่อนบ้าน ก็อาจขยายใหญ่โตได้ ดังนั้น ในการทำาแผนที่ประวัติศาสตร์แบบนี้ ก็ขึ้นอยู่ว่าประเทศไหนทำา และ “เลือก” ที่จะทำายุคสมัยไหน ตามปกติก็มักไม่มีประเทศไหน จะทำาแผนที่ตอนที่ตนเองตกต่ำานัก ข้อที่น่าสังเกตและน่าตั้งคำาถามสำาหรับแผนที่แผ่นที่ 5 นี้ ก็คือ ทำาไมยุคสมัยของศรีอยุธยา เริ่มต้นที่ “พ.ศ. 2100 (ค.ศ. 1557) เริ่มอาณาจักรศรีอยุธยา” แทนที่จะเริ่มที่ พ.ศ. 1893 (ค.ศ. 1350) ในสมัยพระเจ้าอู่ทอง ทำาไม “อยุธยา” หดหายไปตั้ง 200 ปี (โปรดกลับไปดูแผ่นที่ 1)

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 341

แผ่นที่ 6 “อาณาจักรธนบุรี” แผนที่ชุดนี้ ให้ “บันได” ของยุคสมัยนี้ไว้สั้นและเล็ก เพียงแค่เรื่องการ “จลาจล 3 ปี” จาก พ.ศ. 2310-13 และวาดเส้นเขตแดนไว้อย่างสับสนทั้งส่วนที่เป็น “ก๊ก” ต่างๆ และส่วนที่ห่างไกลออกไปอย่างล้านนา ลาว กัมพูชา และมลายู นี่น่าจะมาจากทัศนะและมุมมองของทั้ง “ราชาชาตินิยม” กับ “อำามาตยาชาตินิยม” ที่ทั้งจะโดย “ตั้งใจ” กับ “ไม่ตั้งใจ” ก็ตาม ที่ทำาให้รัชสมัย 15 ปีของสมเดจ็พระเจา้กรงุธนบรุตีากสนิมหาราช มแีละไมม่พีืน้ทีใ่นประวตัศิาสตร ์และภมูศิาสตร ์อยา่งทีเ่ราจะเหน็ไดใ้นรปูของแบบเรยีนของกระทรวงศึกษาฯ จากสื่อ (วิทยุ ทีวี นสพ.) ตลอดจนละคร เพลง นวนิยาย ฯลฯ

342 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

น่าจะมาจากทัศนะและมุมมองของทั้ง“ราชาชาตินิยม”กับ“อำามาตยาชาตินิยม”ที่ทั้งจะโดย“ตั้งใจ”กับ“ไม่ตั้งใจ”ก็ตามที่ทำาให้รัชสมัย15ปีของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีตากสินมหาราชมีและไม่มีพื้นที่ในประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์อย่างที่เราจะเห็นได้ในรูปของแบบเรียนของกระทรวงศึกษาฯจากสื่อ(วิทยุทีวีนสพ.)ตลอดจนละครเพลงนวนิยายฯลฯ แผ่นที่ 7 “อาณาจักรรัตนโกสินทร์” แผนทีช่ดุนี้นำานกัเรยีนนกัศกึษาและผูด้อูยา่งเราๆทา่นๆทัว่ไปเขา้สูย่คุสมยัใกลเ้คยีงกบัปจัจบุนัดว้ยการนำาเสนอ“บันไดขั้นสุดท้าย”ที่“ปัจจุบันประเทศไทยบรมจักรีวงศ์กรุงรัตนโกสินทร์(ประเทศสยาม)พ.ศ. 2325”หรือค.ศ. 1782อันเป็นปีที่“ย้ายวังหลวง”จากฝั่งขวาของแม่น้ำาเจ้าพระยาข้ามมาฝั่งซ้ายแต่จะมาเรียกแยกกันภายหลังว่าเป็น“กรุงธนบุรี”กับ“กรุงรัตนโกสินทร์”นั่นเองในวิธีคิดของคนสมัยโน้นจนกระทั่งรัชกาลที่3ยังคงเรียกเมืองหลวงว่า“อยุธยา”ไม่ว่าจะอยู่ทางฝั่งไหนของแม่น้ำาก็ตามแผนที่แผ่นนี้ให้ความยิ่งใหญ่และชัดเจนของอาณาเขตและดินแดนของ“รัตนโกสินทร์”ที่ครอบคลุมจากเหนือสุดที่ “แสนหวี”กระจายลงใต้ระบายเป็นสีเหลืองทั้งพม่าตอนล่างทั้งลาวทั้งประเทศและทั้งกัมพูชาทั้งประเทศไปจนจรดรัฐมลายูที่“ไทรบุรี”(มี2ไทรบุรี?)และกะลันตันแผนที่แผ่นนี้สำาคัญมากเพราะก.เป็นผลพวงของการสร้าง“วาทกรรม”ด้วยความยิ่งใหญ่ของชนชาติไทยกับการมี“ดินแดน”อันกว้างขวางกับข.เป็นการปูพื้นเพื่อความเข้าใจใน“วาทกรรม”ของ“การเสียดินแดน”ที่จะปลูกฝังไว้ใน“จินตกรรมไทย”นับตั้งแต่ทศวรรษ2470และ2480เป็นต้นมา แผ่นที่ 8 “การเสียดินแดนของไทย” นี่เป็นแผนที่สุดท้าย และเป็นจุดสุดยอดของเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ กับภูมิศาสตร์ทั้งหมดของประเทศไทยขอให้สังเกตข้อความตรงกลางที่ว่า“เขตไทยที่เหลืออยู่”และเป็นรูปสีเหลืองขวานทองวนตามเข็มนาฬิกาก็คือ“การเสีย ดินแดน”ของไทยตามลำาดับดังนี้คือ - ทางด้านซ้ายสุด “ไทยสละตะนาวศรีให้อังกฤษพ.ศ. 2368 (ค.ศ. 1825)”ซึ่งก็คือตรงกับสมัยต้นรัชกาลที่ 3

พระนั่งเกล้าฯ(แทนที่จะเป็นสมัยรัชกาลที่1ดังที่เรารับรู้กันทั่วไปและทั้งยังไม่กล่าวรวมถึงเมืองทวายกับเมืองมะริดอีกด้วย)

- ทางด้านเหนือสุดคือ“สิบสองจุไทยฝรั่งเศสยึดครองพ.ศ. 2431(ค.ศ. 1888)ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่5ขอให้สังเกตว่าหาได้ใช้คำาว่า“สละ”หรือ“เสียดินแดน”ไม่

- ถัดมาคือส่วนที่เป็นลาว(ปัจจุบัน)เกือบทั้งประเทศที่“ฝรั่งเศสได้ลาวตามสัญญาพ.ศ. 2436(ค.ศ. 1893)”ซึ่งก็หมายถึงหนังสือสัญญาภายหลังเหตุการณ์ร.ศ. 112นั่นเอง

- ต่อจากนั้น“ฝั่งขวาแม่น้ำาโขงฝรั่งเศสได้ตามสัญญาพ.ศ. 2446(แต่เนื่องด้วยวิธีการนับวันขึ้นปีใหม่ยังเป็นแบบเก่าอยู่ดังนั้นถ้าเทียบค.ศ. ก็จะตก1904ไม่ใช่1903)ดินแดนนี้คือส่วนที่เป็น“ไซยะบูลี”และ“จัมปาสัก”ของลาวและบางส่วนที่อยู่ใต้“พนมดงรัก”

- ล่างลงมาคือกัมพูชาที่“ฝรั่งเศสได้เขมรตามสัญญาพ.ศ. 2410(ค.ศ. 1867)”ในปลายสมัยของรัชกาลที่4ในส่วนที่ไทยสยามเคยเรียกว่า“เขมรส่วนนอก”ที่มีเมืองหลวงอยู่ที่“กรุงอุดงมีชัย-กรุงพนมเปญ”

- ถดัมาคอื“ฝรัง่เศสไดม้ณฑลบรูพาตามสญัญาพ.ศ.2449(และกเ็นือ่งดว้ยวธิกีารนบัวนัขึน้ปใีหม่ทีย่งัเปน็แบบเก่าอยู่ดังนั้นถ้าเทียบค.ศ.ก็ตกค.ศ. 1907หาใช่1906ไม่)ซึ่งก็คือสมัยปลายรัชกาลที่5และหมายถึงดินแดน“เสียมราฐ-พระตะบอง-ศรีโสภณ”หรือที่ไทยสยามเคยเรียกว่า“เขมรส่วนใน”

- ใต้สุดเลยก็คือ“อังกฤษได้ปะลิสและไทรบุรีกะลันตันและตรังกานูตามสัญญาพ.ศ. 2451(เช่นกันเนื่องด้วยวิธีการนับวันขึ้นปีใหม่ยังเป็นแบบเก่าอยู่ดังนั้นถ้าเทียบค.ศ. จึงตกที่ค.ศ. 1909ไม่ใช่1908)

(4)

กลา่วโดยยอ่ในทศันะของพลเอกพนูพล(ซึง่เราตอ้งไมล่มืวา่ทา่นเปน็นายทหารชำานาญการเรือ่งแผนทีภ่มูศิาสตร์ประวัติศาสตร์ที่เด่นที่สุดคนหนึ่งของประเทศและท่านก็อยู่ในทีมของม.ร.ว. เสนีย์ปราโมช)และในช่วงประมาณพ.ศ. 2500(ค.ศ. 1957)(ก่อนคดีปราสาทเขาพระวิหารพ.ศ. 2505/ค.ศ. 1962)ที่ท่านได้ทำา“แผนที่ประวัติศาสตร์”ชุด8แผ่น

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 343

แผ่นที่ 7 “อาณาจักรรัตนโกสินทร์” แผนทีช่ดุนี ้นำานกัเรยีน นกัศกึษา และผูด้อูยา่งเราๆ ทา่นๆ ทัว่ไป เขา้สูย่คุสมยัใกลเ้คยีงกบัปจัจบุนั ดว้ยการนำาเสนอ “บนัไดขั้นสุดท้าย” ที่ “ปัจจุบัน ประเทศไทย บรมจักรีวงศ์ กรุงรัตนโกสินทร์ (ประเทศสยาม) พ.ศ. 2325” หรือ ค.ศ. 1782 อันเป็นปีที่ “ย้ายวังหลวง” จากฝั่งขวาของแม่น้ำาเจ้าพระยา ข้ามมาฝั่งซ้าย แต่จะมาเรียกแยกกันภายหลังว่าเป็น “กรุงธนบุรี” กับ “กรุงรัตนโกสินทร์” นัน่เอง ในวธิคีดิของคนสมยัโนน้จนกระทัง่รชักาลที ่3 ยงัคงเรยีกเมอืงหลวงวา่ “อยธุยา” ไมว่า่จะอยูท่างฝัง่ไหนของแมน่้ำากต็าม แผนที่แผ่นนี้ ให้ความยิ่งใหญ่ และชัดเจนของอาณาเขตและดินแดนของ “รัตนโกสินทร์” ที่ครอบคลุมจากเหนือสุดที่ “แสนหวี” กระจายลงใต้ระบายเป็นสีเหลือง ทั้งพม่าตอนล่าง ทั้งลาวทั้งประเทศ และทั้งกัมพูชาทั้งประเทศ ไปจนจรดรัฐมลายู ที่ “ไทรบุรี” (มี 2 ไทรบุรี ?) และกะลันตัน แผนที่แผ่นนี้สำาคัญมาก เพราะ ก. เป็นผลพวงของการสร้าง “วาทกรรม” ด้วยความยิ่งใหญ่ของชนชาติไทย กับการมี “ดินแดน” อันกว้างขวาง กับ ข. เป็นการปูพื้นเพื่อความเข้าใจใน “วาทกรรม” ของ “การเสียดินแดน” ที่จะปลูกฝังไว้ใน “จินตกรรมไทย” นับตั้งแต่ทศวรรษ 2470 และ 2480 เป็นต้นมา

344 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

แผ่นที่ 8 “การเสียดินแดนของไทย” นี่ เป็ นแผนที่ สุ ดท้ า ย และเป็นจุดสุดยอดของเรื่ องราวทางประวัติศาสตร์ กับภูมิศาสตร์ทั้งหมดของประเทศไทย ขอใหส้งัเกตขอ้ความตรงกลางที่ว่า “เขตไทย ที่เหลืออยู่” และเป็นรูปสีเหลือง ขวานทอง วนตามเข็มนาฬิกา ก็คือ “การเสีย ดนิแดน” ของไทย ตามลำาดบั ดงันี ้คอื - ทางด้านซ้ายสุด “ไทยสละตะนาวศรีให้อังกฤษ พ.ศ. 2368(ค.ศ. 1825)” ซึ่งก็คือ ตรงกับสมัยต้นรัชกาลที่ 3 พระนั่งเกล้าฯ (แทนที่จะเป็นสมัยรัชกาลที่ 1 ดังที่เรารับรู้กันทั่วไป และทั้งยังไม่กล่าวรวมถึงเมืองทวาย กับเมืองมะริดอีกด้วย) - ทางดา้นเหนอืสดุ คอื “สบิสองจุไทย ฝรั่งเศสยึดครอง พ.ศ. 2431 (ค.ศ. 1888) ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ 5 ขอให้สังเกตว่า หาได้ใช้คำาว่า “สละ” หรือ “เสียดินแดน” ไม่

- ถัดมาคือส่วนที่เป็นลาว (ปัจจุบัน) เกือบทั้งประเทศที่ “ฝรั่งเศสได้ ลาวตามสัญญา พ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1893)” ซึ่งก็หมายถึงหนังสือสัญญาภายหลังเหตุการณ์ ร.ศ. 112 นั่นเอง - ต่อจากนั้น “ฝั่งขวาแม่น้ำาโขง ฝรั่งเศสได้ตามสัญญา พ.ศ. 2446 (แต่เนื่องด้วยวิธีการนับวันขึ้นปีใหม่ ยังเป็นแบบเก่าอยู่ ดังนั้นถ้าเทียบ ค.ศ. ก็จะตก 1904 ไม่ใช่ 1903) ดินแดนนี้ คือ ส่วนที่เป็น “ไซยะบูลี” และ “จัมปาสัก” ของลาว และบางส่วนที่อยู่ใต้ “พนมดงรัก” - ล่างลงมา คือ กัมพูชาที่ “ฝรั่งเศสได้ เขมรตามสัญญา พ.ศ. 2410 (ค.ศ. 1867)” ในปลายสมัยของรัชกาลที่ 4 ในส่วนที่ไทยสยามเคยเรียกว่า “เขมรส่วนนอก” ที่มีเมืองหลวงอยู่ที่ “กรุงอุดงมีชัย-กรุงพนมเปญ” - ถัดมาคือ “ฝรั่งเศส ได้มณฑลบูรพาตามสัญญา พ.ศ. 2449 (และก็เนื่องด้วยวิธีการนับวันขึ้นปีใหม่ ที่ยังเป็นแบบเก่าอยู่ ดังนั้นถ้าเทียบ ค.ศ. ก็ตก ค.ศ. 1907 หาใช่ 1906 ไม่) ซึ่งก็คือสมัยปลายรัชกาลที่ 5 และหมายถึงดินแดน “เสียมราฐ-พระตะบอง-ศรีโสภณ” หรือที่ไทยสยามเคยเรียกว่า “เขมรส่วนใน” - ใต้สุดเลย ก็คือ “อังกฤษได้ปะลิส และไทรบุรี กะลันตัน และตรังกานู ตามสัญญา พ.ศ. 2451 (เช่นกัน เนื่องด้วยวิธีการนับวันขึ้นปีใหม่ ยังเป็นแบบเก่าอยู่ ดังนั้นถ้าเทียบ ค.ศ. จึงตกที่ ค.ศ. 1909 ไม่ใช่ 1908)

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 345

นี้ให้กับทวพ.นั้นไทยเรา“เสียดินแดน”ทั้งหมด7ครั้งและถ้าเราจะลองนำาเอาแผนที่ชุดทวพ.ของท่านไปเปรียบเทียบกับแผนที่ที่มีมาก่อน(2500)หรือกับแผนที่ที่ตามมาทีหลัง(2500)เราก็อาจจะเห็นเรื่องราวของการสร้าง“จินตกรรม”และ“วาทกรรม”ว่าด้วย“ชาตินิยม”กับ“การเสียดินแดน”ได้เป็นอย่างดีและในที่นี้ผู้เขียนขอให้เรามาศึกษาแผนที่รุ่นแรกๆที่มีส่วนสร้าง“วาทกรรม”ทั้งสองดังนี้ ในช่วงของการค้นคว้าข้อมูล เพื่อเขียนบทความนี้ ผู้เขียนได้รับความช่วยเหลือจาก ผศ. ธนศักดิ์ สายจำาปาอาจารย์ด้านรัฐศาสตร์คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยเกริกที่ได้ช่วยค้นคว้าหาข้อมูลและพบว่าในแผนที่ที่กรมแผนที่ทหารพิมพ์ขึ้นในปีพ.ศ. 2478(ค.ศ. 1935)ซึ่งมีชื่อเป็นทางการว่า“แผนที่แสดงที่อยู่ของประชาชาติไทยปัจจุบัน” นั้นเป็นแผนที่มาตราส่วน1 : 5,000,000น่าจะเป็นหลักฐานสำาคัญแห่งยุคสมัยนั้นนี่เป็นแผนที่จำานวน1ใน3ระวางของ“แผนที่ประวตัศิาสตร”์มาตรา1 : 5,000,000ทีก่รมแผนทีพ่มิพเ์ผยแพรใ่นชว่งเวลาดงักลา่วขา้งตน้(รายงานกจิการทัว่ไปในราชการของกรมแผนที่สำาหรับปีพุทธศักราช2478-79)ทางด้านล่างด้านขวามี“หมายเหตุ”ชี้แจงไว้ว่า“แผนที่ฉบับนี้ได้รวบรวมขึ้นจากจดหมายเหตุต่างๆในพระราชพงศาวดารฯลฯกับอาศัยแผนที่ยุทธศาสตร์ของพระบาทสมเด็จรามาธิบดีที่1และพงศาวดารสังเขปประกอบกันไป” กล่าวได้ว่าแผนที่ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ “วาทกรรม” และ “จินตกรรม” ลัทธิชาตินิยม ที่แสดงให้เห็นความยิ่งใหญ่โดยจำานวนที่กระจัดกระจายกันอยู่ของ “เผ่าไทย” หรือ Thai Race ที่หากรวมกันเป็น Pan-Thai-ism หรือ“มหาอาณาจักรไทย”ก็จะ“สร้างชาติ”ให้ยิ่งใหญ่ขึ้นมาได้นี่คือกระแสของลัทธิชาตินิยมในรูปแบบที่ได้รับอิทธิพลมาจากลัทธินาซีและฟาสซีสม์ที่กำาลังเฟื่องฟูอยู่ในเยอรมนีอิตาลีและญี่ปุ่นช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่2แผนที่นี้ต้องการแสดงให้เห็นว่าพื้นที่โดยรอบของประเทศสยาม(ยังไม่ได้เปลี่ยนนามเป็นประเทศไทยจนกระทั่งปีพ.ศ. 2482(ค.ศ. 1939)หรืออีก4ปีต่อมา)นั้นมี “คนไทย”หรือ“เผ่าไทย”อาศัยอยู่ในประเทศต่างๆจำานวนมากโดยใช้สีเหลืองแสดงให้เห็นถึงกระจายตัวของกลุ่มคนเชื้อชาติไทย และได้ให้รายละเอียดว่า “ไทยอิสระในประเทศสยามมีจำานวน 12,000,000 คนเศษ”(แผนที่เช่นนี้ จะสอดคล้องไปกับการสร้างบทละครอย่างเช่นเรื่อง “น่านเจ้า”หรือเพลงและระบำา “เผ่าไทย” (ต่างๆ)ของหลวงวิจิตรวาทการและกรมศิลปากรในยุคนั้น) ทางด้านขวาของแผนที่มีคำาอธิบายที่“ไทย”เผ่าต่างๆ(โดยใช้ตัวสะกดมียยักษ์ทั้งหมดไม่แยกแยะเป็น“ไต”หรือ“ไท”อย่างที่เราเห็นในปัจจุบัน)ดังต่อไปนี้ “ไทยในปกครองฝรั่งเศสได้แก่ไทยโท้,ไทยนุง,ไทยทรงดำา,ไทยลาย,ไทยขาว,ลื้อ,ผู้ไทย,พวน,ไทยย่อ,ไทยเวียง (ลาวเวียง), ไทยหลวง, ซึ่งอยู่ในแคว้นตังเกี๋ย (ญวนเหนือ) และฝั่งตะวันออกแม่น้ำาของแคว้นหลวงพระบางถึงนครจำาปาศักดิ์มีจำานวน2,000,000คน” “ไทยในปกครองอังกฤษได้แก่ไทยอาโหม,ไทยคำาตี่ฯในแคว้นอัสสัมมีจำานวน250,000คนไทยคำาตี่ในแคว้นยะไข่10,000คนไทยเขิน, ไทยลื้อ, ไทยยอง,ไทยใหญ่ (เงี้ยว)รวมตั้งแต่ภาคเหนือเมือง,มาวหลวง,แสนหวี,สีป้อ,เชียงตุง,ภาคกลางเมืองลอกจอก,คัง,หนอง, ไลขะ,นาย,มอกใหม่มีจำานวน1,500,000คนไทยยวน (ไทยเหนือ),ไทยน้อย,ไทยใต้ถูกพม่ากวาดต้อนเอาไปแต่ครั้งเสียพระนครศรีอยุธยายังตั้งภูมิลำาเนาอยู่ในปัจจุบันนี้ตั้งแต่บ้านผาปูน, เมยวะดี,เชียงตราน,ตลอดถึงภาคใต้ทะวายตะนาวศรีมีจำานวน60,000คน” “ไทยในปกครองจนีไดแ้ก่ไทยโท,้ไทยนงุ,ไทยชองฯในมณฑลกวางซี2,000,000คนไทยชงุ,ยอ้ย, ฯในมณฑลไกวเจา(กุยจิว)2,000,000คนไทยเหนือ,ลื้อ,ไทยน้ำา,ไทยลาย,ไทยหลวง,ไทยน้อย,ในมณฑลยูนนาน2,000,000คนไทยโท้,ไทยหลวง,ไทยจีน,ในมณฑลเสฉวน300,000คนไทยหลวง,ไทยย้อย,ไทยลุง,ในมณฑลกวางตุ้ง500,000คน ไทยย้อย,ไทยชองฯในเกาะใหหลำามีจำานวน250,000คน” กล่าวโดยย่อในทัศนะของนักชาตินิยมสายสกุล“อำามาตยาชาตินิยม”และแนวความคิดว่าด้วย“มหาอาณาจักรไทย”หรือPan-Thai-ismยุคนั้นหากสามารถรวมจำานวนประชากรของไทยสยามซึ่งมีอยู่ขณะนั้นมีเพียง12ล้านคนให้เข้ากับ“ไทยในปกครองของฝรั่งเศส”ที่มีอยู่2ล้านคนกับ“ไทยในปกครองของอังกฤษ”อีก1,820,000คนและ“ไทยในปกครองของจีน”2,010,000คนทั้งสิ้นก็จะเป็นจำานวนเพิ่มขึ้นถึงเกือบ18ล้านคนคือมีจำานวนมากพอเกือบๆครึ่งหนึ่งของประชากรของมหาอำานาจอย่างอังกฤษและฝรั่งเศส[เมื่อปีพ.ศ. 2478(ค.ศ. 1935ฝรั่งเศสมีประชากร42ล้านอังกฤษมี46ล้าน]และเราต้องไม่ลืมว่าในยุคสมัยนั้นและเรื่อยมาจนกระทั่งถึงสมัยใกล้ๆตัวเราอย่างยุคจอมพล สฤษดิ์-ถนอม-

346 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

“แผนที่แสดงที่อยู่ของประชาชาติไทยปัจจุบัน” นั้นเป็นแผนที่มาตราส่วน 1 : 5,000,000 น่าจะเป็นหลักฐานสำาคัญแห่งยุคสมัยนั้น นี่เป็นแผนที่จำานวน 1 ใน 3 ระวาง ของ “แผนที่ประวัติศาสตร์” มาตรา 1 : 5,000,000 ที่กรมแผนที่พิมพ์เผยแพร่ในช่วงเวลาดังกล่าวข้างต้น (รายงานกิจการทั่วไปในราชการของกรมแผนที่ สำาหรับปีพุทธศักราช 2478-79) ทางด้านล่างด้านขวามี “หมายเหตุ” ชี้แจงไว้ว่า “แผนที่ฉบับนี้ ได้รวบรวมขึ้นจากจดหมายเหตุต่างๆ ในพระราชพงศาวดาร ฯลฯ กับอาศัยแผนที่ยุทธศาสตร์ของพระบาทสมเด็จรามาธิบดีที่ 1 และพงศาวดารสังเขปประกอบกันไป” กล่าวได้ว่าแผนที่ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ “วาทกรรม” และ “จินตกรรม” ลัทธิชาตินิยม ที่แสดงให้เห็นความยิ่งใหญ่โดย

จำานวนที่กระจัดกระจายกันอยู่ของ “เผ่าไทย” หรือ Thai Race ที่หากรวมกันเป็น Pan-Thai-ism หรือ “มหาอาณาจักรไทย” ก็จะ “สร้างชาติ” ให้ยิ่งใหญ่ขึ้นมาได้ นี่คือกระแสของลัทธิชาตินิยม ในรูปแบบที่ได้รับอิทธิพลมาจากลัทธินาซีและฟาสซีสม์ ที่กำาลังเฟื่องฟูอยู่ในเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่นช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 347

ประภาสหรือทศวรรษ2500-2510(1960s-1970s)นั้นแนวความคิดว่าด้วยความเจริญและอำานาจของประเทศคือการมีประชากรจำานวนมากมากเสียกว่าจะมีความเชื่อเรื่อง“การคุมกำาเนิด”

(5)

นอกเหนือจากแผนที่ที่แสดง“ถิ่นที่อยู่”ของชนชาติไทยที่เป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีว่าด้วย“อพยพโยกย้าย”หรือExodusแล้วผศ. ธนศักดิ์สายจำาปายังได้นำาแผนที่อีกแผ่นหนึ่งที่เกี่ยวเนื่องกันมาช่วยประกอบการศึกษากล่าวคือ “แผนที่แสดงอาณาจักร์กรุงเทพ ฯลฯ รัตนโกสินทร์มหินทรายุธยา ยุคสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า (พ.ศ. 2325-52)” นี่เป็นแผนที่มาตราส่วน1 : 5,000,000พิมพ์ที่กรมแผนที่ในปีพ.ศ. 2478(ค.ศ. 1935) เช่นเดียวกับแผนที่ที่เพิ่งกล่าวถึงและก็เป็นแผนที่จำานวน1ใน3ระวางของแผนที่ประวัติศาสตร์มาตรา1 : 5,000,000ที่กรมแผนที่พิมพ์ในปีพ.ศ. 2478เชน่กนั(รายงานกจิการทัว่ไปในราชการของกรมแผนที่สำาหรบัปพีทุธศกัราช2478-2479)ขอ้มลูทีก่รมแผนทีท่หารกลา่วอา้งก็คือในการจัดทำาแผนที่ฉบับนี้ได้รวบรวมหลักฐานจาก“จดหมายเหตุต่างๆในพระราชพงศาวดาร ฯลฯกับอาศัยแผนที่ยุทธศาสตร์ของพระบาทสมเด็จรามาธิบดีที่1และพงศาวดารสังเขปประกอบกันไป”แผนที่ฉบับนี้แสดงให้เห็นว่า“เส้นแนวพรมแดน”ของอาณาจักร์กรุงเทพฯลฯ(ในแผนที่ใช้คำาว่า“ไทย”)มีอาณาบริเวณครอบคลุมพื้นที่กว้างขวางโดยมีแนวพรหมแดนกินเนื้อที่ติดกับจีนกินเข้าไปในพม่าในลาวกัมพูชาและเวียดนามส่วนทางใต้ก็ข้ามแดนเข้าไปในมลายู ข้อมูลดังกล่าวของผศ. ธนศักดิ์ทำาให้ดร. ธงชัยวินิจจะกูลตั้งข้อสังเกตเพิ่มเติมกับผู้เขียนว่าแผนที่ปีพ.ศ.2478(ค.ศ. 1935)แผ่นนี้อาจจะเป็น“ต้นตอ”ของการสร้างวาทกรรม“การเสียดินแดน”ให้“เป็นรูปเป็นร่าง”กล่าวคือ“จับต้อง”และ/หรือ“มองเห็นได้”เป็น“รูปธรรม”มากกว่าเป็น“นามธรรม”อย่างเช่นในกรณีที่เขียนเป็นตัวหนังสือหรือกล่าวถึงโดยคำาพูดซึ่งในประเด็นหลังนี้ดร. ธำารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ได้กล่าวสรุปไว้ในหนังสือ“สยามประเทศไทยกับ“ดินแดน”ในกัมพูชาและลาว”(พิมพ์พ.ศ.2552หน้า147-169)ว่างานเขียนหรือ“หนังสือ”สำาคัญๆที่สร้าง“วาทกรรม”ดังกล่าวนี้ปรากฏเห็นได้ชัดในช่วงทศวรรษ2470ในสมัย“รัฐธรรมนูญ”หรือหลัง“ปฏิวัติพ.ศ. 2475”นั่นเองและทวีความเข้มข้นรุนแรงขึ้นในช่วงทศวรรษ2480อันเป็นช่วงของ“การเรียกร้องดินแดน”และ“สงครามอินโดจีน”กับ“สงครามมหาเอเชียบูรพา”(หรือสงครามโลกครั้งที่2)นั่นเอง ใน“แผนที่แสดงอาณาจักร์กรุงเทพฯลฯรัตนโกสินทร์มหินทรายุธยายุคสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า(พ.ศ. 2325-2352)”แผ่นที่พิมพ์ปีพ.ศ. 2478(ค.ศ. 1935)นี้จะแสดงให้เห็นว่า“ดินแดน”ของ“ไทย”นั้นทางด้านตะวันตกเหนือสุดคือ“เมืองแสนหวี”(ในรัฐฉานของพม่า)ในขณะที่ด้านตะวันออกเฉียงเหนือสุดก็คือ“หลวงพระบาง”ส่วนทางด้านตะวันตกคอื“ทวาย-มะรดิ-ตะนาวศร”ีและดา้นตะวนัออกกร็วมถงึ“เมอืงจมัปาสกั”ในลาวตลอดจนประเทศกมัพชูาทัง้ประเทศแถมยังกินอาณาเขตไปถึง“เมืองบันทายมาศ”(ฮาเตียน)ในเวียดนามใต้ส่วนใต้สุดก็รวมทั้ง“ไทรบุรีกลันตันตรังกานู”นั่นเอง

(6)

และนี่ ก็นำาเรามาสู่แผนที่สำาคัญของยุคสมัยว่าด้วย “การเสียดินแดน” อันเป็นแผ่นที่ตีพิมพ์เผยแพร่อย่างกว้างขวางในปีพ.ศ. 2483(ค.ศ. 1940)อันเป็นยุคสมัยของ“การเรียกร้องดินแดน”และ“สงครามอินโดจีน”กับ“สงครามมหาเอเชียบูรพา”(หรือสงครามโลกครั้งที่2)สมัยรัฐบาลจอมพลป.พิบูลสงคราม

“แผนทีป่ระวตัอิาณาเขตตไ์ทย”ฉบบันี้เปน็แผนทีม่าตราสว่น1 : 5,000,000พมิพแ์ยกสอียา่งงดงาม(11ส)ีพมิพโ์ดย“กรมแผนที่ทหาร” ในปี พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) ซึ่งเป็นปีของการเดินขบวน “เรียกร้องดินแดน” โดยนิสิตนักศึกษา(จากจุฬาฯ และ มธก.) และเป็นแผนที่มาตราส่วน 1 : 5,000,000 เพียงระวางเดียวที่กรมแผนที่ฯ พิมพ์ขึ้นในปี พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940) หรือหนึ่งปีภายหลังการเปลี่ยนชื่อจาก “สยาม” มาเป็น “ไทย” (Siam to Thailand) ในสมัยที่ นรม. นายพันตรี หลวงพิบูลสงคราม(ก่อนที่จะได้เลื่อนยศเป็นจอมพลและใช้ชื่อย่อกับนามสกุลว่าป. พิบูลสงคราม) การพิมพ์แผนที่ฉบับนี้จึงมีลักษณะของการทำาแผนที่เพื่อตอบสนองแนวนโยบายลัทธิชาตินิยมและกระบวนการ“สร้างชาติ”ของจอมพลป.พิบูลสงครามเป็นสำาคัญเป็นเรื่องราวหลักฐานของความยิ่งใหญ่ของ“เผ่าไทย”(Thai Race)

348 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

“แผนที่แสดงอาณาจักร์กรุงเทพ ฯลฯ รัตนโกสินทร์มหินทรายุธยา ยุคสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า (พ.ศ. 2325-52)” นี่เป็นแผนที่มาตราส่วน 1 : 5,000,000 พิมพ์ที่กรมแผนที่ในปี พ.ศ. 2478 (ค.ศ. 1935) เช่นเดียวกับแผนที่ที่เพิ่งกล่าวถึง และก็เป็นแผนที่จำานวน 1 ใน 3 ระวาง ของแผนที่ประวัติศาสตร์ มาตรา 1 : 5,000,000 ที่กรมแผนที่พิมพ์ในปี พ.ศ. 2478 เช่นกัน (รายงานกิจการทั่วไปในราชการของกรมแผนที่ สำาหรับปีพุทธศักราช 2478-2479) ข้อมูลที่กรมแผนที่ทหารกล่าวอ้าง ก็คือ ในการจัดทำาแผนที่ฉบับนี้ ได้รวบรวมหลักฐานจาก “จดหมายเหตุต่างๆ ในพระราชพงศาวดาร ฯลฯ กับอาศัยแผนที่ยุทธศาสตร์ ของพระบาทสมเด็จรามาธิบดีที่ 1 และพงศาวดารสังเขปประกอบกันไป” แผนที่ฉบับนี้ แสดงให้เห็นว่า “เส้นแนวพรมแดน” ของอาณาจักร์กรุงเทพ ฯลฯ (ในแผนที่ใช้คำาว่า “ไทย”) มีอาณาบริเวณครอบคลุมพื้นที่กว้างขวาง โดยมีแนวพรหมแดนกินเนื้อที่ ติดกับจีน กินเข้าไปในพม่า ในลาว กัมพูชา และเวียดนาม ส่วนทางใต้ก็ข้ามแดนเข้าไปในมลายู

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 349

350 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 351

352 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 353

เป็นส่วนหนึ่งของการสร้าง“มหาอาณาจักรไทย”(Pan Thai-ism)ดังนั้นแผนที่ฉบับนี้จึงแสดงให้เห็นถึง“การเสียดินแดน”ของไทยทั้งหมด8ครั้งตามลำาดับ(โปรดสังเกตว่าระบุเป็นพ.ศ.และร.ศ.แต่มิได้ระบุรัชกาล)ดังนี้ ครั้งที่1อังกฤษได้จากไทรบุรีเมื่อร.ศ. 5-19(พ.ศ. 2329-2343/ค.ศ. 1786-1,800) ครั้งที่2ตกไปเป็นของพะม่าเมื่อร.ศ. 12(พ.ศ. 2336/ค.ศ. 1883) ครั้งที่3ตกไปเป็นของฝรั่งเศสเมื่อร.ศ. 107(พ.ศ.2431/ค.ศ.1888) ครั้งที่4ตกไปเป็นของฝรั่งเศสเมื่อร.ศ. 107(พ.ศ.2431/ค.ศ.1888) ครั้งที่5ตกไปเป็นของฝรั่งเศสเมื่อร.ศ. 112(พ.ศ. 2436/ค.ศ. 1893) ครั้งที่6ตกไปเป็นของฝรั่งเศสเมื่อร.ศ. 123(พ.ศ. 2447/ค.ศ. 1904) ครั้งที่7ตกไปเป็นของฝรั่งเศสเมื่อร.ศ. 126(พ.ศ. 2450/ค.ศ. 1907) และครั้งที่8ตกไปเป็นของอังกฤษเมื่อร.ศ. 128(พ.ศ. 2452/ค.ศ. 1909) “การเสียดินแดน”ทั้งหมด8ครั้งตาม“แผนที่ประวัติศาสตร์”ฉบับปีพ.ศ.2483(ค.ศ.1940)ของ“กรมแผนที่ทหาร”นี้นา่จะถอืไดว้า่เปน็“แมแ่บบ”ของภมูศิาสตรป์ระวตัศิาสตรฉ์บบัทางการทีจ่ะใชย้ดึถอืกนัมาจนกระทัง่รุน่ของพนัเอก พูนพลอาสนจินดาในช่วงประมาณปีพ.ศ. 2500(ค.ศ. 1957)หรือก่อนคำาตัดสินกรณีปราสาทเขาพระวิหารในปีพ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962)แต่ก็น่าแปลกใจอีกเช่นกันที่ฉบับของพันเอก พูนพลนั้นมีการ“เสียดินแดน”เพียง7ครั้งครั้งที่หายไปคือ“เกาะหมาก”หรือ“เกาะปีนัง”เราไม่ทราบได้ว่าทำาไมพันเอก พูนพลจึงตัด“เกาะหมาก/ปีนัง”นี้ทิ้งไปเมื่อท่านทำาแผนที่ชุดนี้ให้ทวพ.

(7)

ทีนี้ปัญหาสุดท้ายของเราเกี่ยวกับวาทกรรม“การเสียดินแดน”ก็คือมีการ“เสียดินแดน”เพิ่มขึ้นๆมาเรื่อยๆจนกระทั่งเป็น13และ14ครั้ง(ล่าสุดคือปราสาทเขาพระวิหาร)นั้นมีการ“ผลิตซ้ำา”และเราจะพบเห็นอยู่เป็นประจำาไม่ว่าในตำาราเรียนที่ได้รับการรับรองจากกระทรวงศึกษาฯ หรือเอกสารสิ่งพิมพ์ที่ทั้งมีจำาหน่าย และแจกจ่ายกันเรื่อยมา เช่น“แผนที่แสดงการเสียดินแดนของสยาม”ที่จัดพิมพ์ขึ้นโดย“กองเขตแดนระหว่างประเทศ”(กรมแผนที่ทหารกองบัญชาการกองทัพไทย)พ.ศ.2546(ค.ศ. 2003)เมื่อไม่นานมานี้เองและเป็นช่วงที่ไทยกับกัมพูชาเริ่มมีปัญหาระหว่างกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีเผาสถานทูตไทยเมื่อเดือนมกราคมพ.ศ. 2546(ค.ศ. 2003)กรณีดังกล่าวแม้จะสงบลงในเวลาอันสั้นในช่วงของรัฐบาลทักษิณชินวัตรแต่ก็จะระเบิดและประทุขึ้นใหม่เมื่อการเมืองภายในของไทยเองเกิดความขัดแย้งกันอย่างรุนแรงในช่วงต่อมาขอให้สังเกตว่า“แผนที่แสดงการเสียดินแดนของสยาม”ของ“กองเขตแดนระหว่างประเทศ”นี้ระบุว่า“เสียดินแดน”13ครั้ง(ที่หายไปจากแผนที่แผ่นนี้คือบันทายมาศหรือฮาเตียนในเวียดนาม) ในแง่ของการเมืองร่วมสมัยณปัจจุบันนี้ที่น่าสนใจก็คือ“ลัทธิชาตินิยม”ว่าด้วยวาทกรรม“การเสียดินแดน”ได้ถูกขยายวงให้กว้างขวาง มากกว่าที่จะจำากัดอยู่ในกลุ่มของ “ข้าราชการ” ของรัฐบาลทหาร และ/หรือ “อำามาตยาเสนาชาตินิยม”กลับกระจายลงสู่กลุ่มเอกชนชนชั้นกลาง(ชาวกรุง)กลายเป็น“การเมืองมวลชน”ในระดับท้องถนน(ของการยึดทำาเนียบรัฐบาลและยึดสนามบิน)อย่างที่เราเห็นกันระหว่างพ.ศ. 2548(ค.ศ. 2005)จนถึงปัจจุบันอันเป็นที่มาของการแบ่งฝักแบ่งฝ่าย“คนเสื้อ..............” เราจะเห็นได้ว่าวาทกรรม“การเสียดินแดน”ก็พัฒนาเทคนิคกลายเป็น“แผนที่อินเทอร์เน็ต”ที่เผยแพร่ส่งทางอีเมล์และ“เว็บ”กันอย่างกว้างขวางในช่วงของวิกฤตการณ์ทางการเมืองของไทยจากพ.ศ.2548(ที่มีการก่อตัวของ“คนเสื้อเหลือง”) จนกระทั่งถึงพ.ศ. 2554 (ยุคของ “คนเสื้อแดง”) ผ่านรัฐบาลก็หลายรัฐบาลจากรัฐบาล (นรม. ชายล้วน)ทักษิณ-สุรยุทธ-สมัคร-สมชาย-อภิสิทธิ์จนกระทั่งถึงนรม. หญิงยิ่งลักษณ์ชินวัตรซึ่งเป็นปีที่จัดทำาหนังสือเล่มนี้เราก็จะพบข้อมูลที่ว่าไทย“เสียดินแดน14ครั้ง”และก็มีโอกาสจะเสียอีกเป็นครั้งที่15หรือ16เรื่อยไปโดยไม่รู้จบ(ถ้าไม่ทำาอะไรเป็นการหยุดยั้ง) โปรดดูวาทกรรม“การเสียดินแดน”หรือ“แผนที่อินเทอร์เน็ต”ที่ได้รับการ“ผลิตซ้ำา”ในช่วงวิกฤตปีพ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008)เมื่อกัมพูชานำา“ปราสาทเขาพระวิหาร”ขึ้นจดทะเบียนมรดกโลกกับองค์การยูเนสโก(และแม้จะถูกรัฐบาลไทย

354 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

แผนที่การเสียดินแดนของสยาม

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 355

แผนที่ประวัติอาณาเขตต์ไทย พ.ศ. 2483 (ค.ศ. 1940)

356 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 357

358 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 359

360 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

คัดค้านก็ได้คะแนนไป21:0)แผนที่นี้ทำาขึ้นอย่างประณีตใช้เทคนิคสูงระบายสีสดใสมีการบรรยายและเพลงประกอบเร้าใจมีรายละเอียดข้อมูลทั้งปีพ.ศ.ชื่อดินแดน(ที่เสียไป)พระนามและฉายาลักษณ์ของกษัตริย์เช่นรัชกาลที่1ที่2ที่3ที่4ที่5และรัชกาลปัจจุบันคือที่9(แต่ไม่มีรัชกาลที่6-7-8)นี่เป็น“การเสียดินแดน”ตามแนวลัทธิชาตินิยม“พันทาง”ผสมและปลุกระดมจากทั้งทาง “ราชาชาตินิยม” และ “อำามาตยาชาตินิยม” ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น “แผนที่อินเทอร์เน็ต” นี้เผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์/อีเมล์กว้างขวางมากและระบุว่า“เสียดินแดน”ทั้งหมด14ครั้ง ผูเ้ขยีนใครเ่สนอวา่ที่“ดนิแดน”ที่“เสยี”นัน้เพิม่พนูขึน้มาจาก“ฉบบัแมแ่บบพ.ศ.2483”จาก8ครัง้กลายมาเปน็ “ฉบับอินเทอร์เน็ต พ.ศ. 2551” รวมเป็น 14 ครั้งนั้น น่าจะเป็น “ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้างขึ้น” ในช่วงก่อนและหลังคดี“ปราสาทเขาพระวิหาร”ที่ศาลโลกเมื่อพ.ศ.2505(ค.ศ.1962)ที่คำาพิพากษา9:3ของศาลโลกทำาให้นักประวัติศาสตร์(กระแสหลัก)นักภูมิศาสตร์แผนที่ภายใต้ลัทธิชาตินิยมทั้งเวอร์ชันของ“ราชา”และ“อำามาตยา”ต่างต้องค้นคว้าขุดคุ้ยและ“สร้างประวัติศาสตร์”ว่าด้วย“การเสียดินแดน”เพิ่มเติมรายการขึ้นมาไม่ว่าจะเป็น (1)“บันทายมาศ”(ฮาเตียนในเวียดนามใต้ปัจจุบัน)หรือ (2)“แสนหวี-เมืองพง-เชียงตุง”หรือ (3)“สิบสองปันนา”หรือ (4)“ฝั่งซ้ายแม่น้ำาสาละวิน”หรือ (5)ตลอดจนกระทั่งรัฐมลายูที่ไกลออกไปอย่าง“เปรัค” รวมแลว้ไดเ้พิม่“การเสยีดนิแดน”ขึน้มาอกี5ครัง้รวมเปน็13และเมือ่นบัรวมครัง้ลา่สดุคอืปราสาทเขาพระวหิาร ก็กลายเป็น14ครั้งพอดีเป็นจำานวนมากพอที่จะใช้“ปลุก”ลัทธิชาตินิยมทั้งนี้เพื่อที่จะทั้งรักษาอำานาจเอาไว้หรือไม่ก็เพื่อให้ได้มาซึ่งอำานาจทั้งในเวอร์ชันของ“ราชาชาตินิยม”และ“อำามาตยาชาตินิยม” แต่แน่นอนที่สุดจากวิกฤตการเมืองอันยาวนานจนกระทั่งถึงการ“ปลุกระดม”ครั้งล่าสุดของพธม.(พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย” ในปลายปีพ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010)ที่บานปลายไปจนกระทั่งนายวีระสมความคิด (แนวร่วมของพธม.)และนายพนิชวิกิตเศรษฐ์สส.กทม.พรรคประชาธิปัตย์ฯลฯที่ถูกกัมพูชาจับกุมไปฐานละเมิดดินแดนและตลอดจนการ “ทิ้งไพ่ใบสุดท้าย” ก่อนการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011) ของนายสุวิทย์คุณกิตติพรรคกิจสังคมซึ่งเป็นรมต.ทรัพยากรธรรมชาติฯที่เป็นตัวแทนของรัฐบาลนายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะในเรื่องกรณีเขาพระวิหารและได้walked outออกจากที่ประชุมกรรมการมรดกโลกของยูเนสโกณกรุงปารีสนั้นแม้จะเล่นเกม“ลัทธิชาตินิยม”ตามแบบที่เล่นได้ผลกันมานานแสนนานกลับไม่ได้รับการเลือกตั้งจากประชาชนแต่อย่างใด น่าสนใจอย่างยิ่งว่า“สยามประเทศไทย”ของเรากำาลังอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านที่สำาคัญที่“ประชาชาตินิยม”จะเป็นลัทธิความเชื่อใหม่ที่ทั้งกำาลังเกิดและทั้งกำาลังแพร่หลายลงไปในระดับล่างไปสู่ผู้คนที่กว้างขวางและใหญ่โตในระดับของประเทศชาติอย่างแท้จริงนอกเหนือจากที่เคยจำากัดอยู่แต่เพียงระดับบนๆหรือกลางๆเป็น“ชาวกรุง”และ“ชาวเมือง”เสียเป็นส่วนใหญ่กระนั้นแหละ

(8)การผลิตซ้ำาวาทกรรม “เสียดินแดน”

จากเว็บไซต์ที่เผยแพร่ช่วง พ.ศ. 2551-52

โปรดดูวาทกรรม“การเสียดินแดน”หรือ“แผนที่อินเทอร์เน็ต”ที่ได้รับการ“ผลิตซ้ำา”ในช่วงวิกฤตปีพ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008)เมื่อกัมพูชานำา“ปราสาทเขาพระวิหาร”ขึ้นจดทะเบียนมรดกโลกกับองค์การยูเนสโก(และแม้จะถูกรัฐบาลไทยคัดค้านก็ได้คะแนนไป21:0)แผนที่นี้ทำาขึ้นอย่างประณีตใช้เทคนิคสูงระบายสีสดใสมีการบรรยายและเพลงประกอบเร้าใจมีรายละเอียดข้อมูลทั้งปีพ.ศ.ชื่อดินแดน(ที่เสียไป)พระนามและฉายาลักษณ์ของกษัตริย์เช่นรัชกาลที่1ที่2ที่3ที่4ที่5และรัชกาลปัจจุบันคือที่9(แต่ไม่มีรัชกาลที่6-7-8)นี่เป็น“การเสียดินแดน”ตามแนวลัทธิชาตินิยม“พันทาง”ผสมและปลุกระดมจากทั้งทาง “ราชาชาตินิยม” และ “อำามาตยาชาตินิยม” ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น “แผนที่อินเทอร์เน็ต” นี้เผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์/อีเมล์กว้างขวางมากและระบุว่า“เสียดินแดน”ทั้งหมด14ครั้ง

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 361

362 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 363

364 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 365

366 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 367

368 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 369

370 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 371

372 ภาค 2: จินตกรรมประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยกับแผนที่ “เสียดินแดน”ฯ

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ 373