208
ความเหลือมล้ำ ฉบับพกพา โดย สฤณี อาชวานันทกุล บรรณาธิการ: ณัฐเมธี สัยเวช ผูจัดเตรียมขอมูล: อิสริยะ สัตกุลพิบูลย และ กอปรทิพย อัจฉริยโสภณ

Inequality in Thailand: An Introduction

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Inequality in Thailand: An Introduction by sarinee achavanuntakul

Citation preview

Page 1: Inequality in Thailand: An Introduction

ความเหลื่อมล้ำฉบับพกพา

โดย

สฤณี อาชวานันทกุล

บรรณาธิการ: ณัฐเมธี สัยเวช ผูจัดเตรียมขอมูล: อิสริยะ สัตกุลพิบูลย

และ กอปรทิพย อัจฉริยโสภณ

user
Sticky Note
เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน (by-nc-sa) เผยแพร่ในรูป PDF ครั้งแรกบนเว็บไซต์ "คนชายขอบ" - http://www.fringer.org/
Page 2: Inequality in Thailand: An Introduction

คำนำ

ผู เขียน รูสึก เปน เกียรติ อยาง ยิ่ง ที่ ได รับ ความ ไว วางใจ จาก คณะ

กรรมการ สมัชชา ปฏิรูป ให เขียน หนังสือ “ความ เหลื่อม ล้ำ ฉบับ พก พา”

เพื่อ สรุป สถานการณ มุม มอง ขอ ถก เถียง และ แนวทาง แกไข เกี่ยว กับ

ความ เหลื่อม ล้ำ ใน มิติ ตางๆ ที่ ปรากฏ ใน ประเทศไทย

คำถาม ที ่วา ความ เหลือ่ม ลำ้ ใน แตละ มติ ินัน้ เปน “ปญหา” หรอื ไม

ถา ใช เรา ควร แกไข “อยางไร” เปน ประเด็น ที่ มี หลาก หลาย มุม มอง และ

ความ คิด การ อภิปราย นานา ทัศนะ ใน เรื่อง นี้ ให ครอบคลุม พอที่ จะ ยัง ใช

คำ วา “พก พา” ได โดยที่ ผู เขียน ไมรู สึก ตะขิดตะขวง เปน ภารกิจ ที่ เหลือ

วิสัย และ เกิน สติ ปญญา ของ ผู เขียน ดวย เหตุ นี้ ผู เขียน จึง เลือก ที่ จะ ให

น้ำ หนัก กับ การนำ เสนอ ขอ เท็จ จริง และ ลักษณะ ของ ความ เหลื่อม ล้ำ

ตางๆ โดย เฉพาะ ความ เหลือ่ม ลำ้ ที ่ชี ้ให เห็น ปญหา เชงิ โครงสราง รวม ถงึ

อธบิาย ความ เกีย่ว โยง ระหวาง ความ เหลือ่ม ลำ้ แตละ ประเภท มากกวา ที ่

จะ แจกแจง ทาง เลือก ตางๆ ของ แนวทาง แกไข อยาง ครบ ถวน

อยางไร ก็ ดี ผู เขียน เชื่อ มั่น วา ไม วา คน ไทย จะ มอง เรื่อง ความ

เหล่ือม ลำ้ ตาง กนั อยางไร อนาคต ที ่เปน ธรรม และ ยัง่ยืน ยอม ขึน้ อยู กบั วา

เรา จะ สามารถ เปลี่ยนแปลง เปา หมาย การ พัฒนา ได หรือ ไม จาก การ ยึด

เอา อัตรา การ เติบโต ของ ผลผลิต มวล รวม ใน ประเทศ (จี ดี พี) เปน สรณะ

เพียง หนึ่ง เดียว หัน ไป กำหนด ให “การ พัฒนา มนุษย” เปน เปา หมาย ที่

สำคัญ และ สูงสง กวา ซึ่ง ก็ หมายความ วา เรา จะ ตอง คำนึง ถึง ปจจัย อื่นๆ

ควบคู ไป กับ จี ดี พี อาทิ การก ระ จาย ประโยชน จาก การ พัฒนา เศรษฐกิจ

Page 3: Inequality in Thailand: An Introduction

คุณภาพ ของ ระบบ การ ศึกษา และ สาธารณสุข โอกาส ใน การ เขา ถึง

กระบวนการ ยตุธิรรม อสิรภาพ ใน การ ใช สทิธ ิพลเมอืง และ เสรภีาพ จาก

การ ถูก ละเมิด สิทธิ มนุษย ชน

นอกจาก นี ้ผู เขยีน เชือ่ วา มาตร การ ใดๆ กต็าม ที ่ม ีเปา หมาย อยู ที ่

การ ลด ความ เหลือ่ม ลำ้ ไม อาจ สมัฤทธิ ์ผล สม ดงั ความ มุง หวงั ได ถา หาก

เรา ยงั ไม หา วธิ ีบรรเทา ปญหา คอรปัชั ่นท่ี แทรกซมึ ใน ทกุ ระดบั ชัน้ และ ทกุ

วงการ ใน สงัคม ไทย อยาง จรงิจงั เน่ือง จาก คอรปัชัน่ เปรยีบ ดงั สนมิ ที ่คอย

กดักรอน ประสิทธผิล และ ประสิทธภิาพ ของ นโยบาย และ โครงการ ตางๆ

และ ทำให ความ เหล่ือม ลำ้ ดาน ราย ได คอย ซำ้ เตมิ ความ เหล่ือม ลำ้ ดาน อืน่

ให เลว ราย ลง โดย เฉพาะ ความ เหล่ือม ลำ้ ดาน โอกาส ใน การ เขา ถงึ และ ได

รับ ความ ยุติธรรม เนื่อง จาก คอรัปชั่น เดิน ได ดวย เงิน คนจน ที่ ไมมี เงิน จึง

ไม อาจ ได รับ ประโยชน จาก กล ไก คอรัปชั่น

ทาย นี ้ผู เขยีน ขอ ขอบคณุ นกั วชิาการ และ นกั วจิยั ทกุ ทาน ที ่ผู เขยีน

อาง ถงึ ใน หนงัสอื เลม นี ้สำหรับ การ ทำงาน ที ่ม ีคณุปูการ อยาง ยิง่ ตอ สงัคม

ไทย และ ผู เขียน ขอ ขอบคุณ อิสริยะ สัต กุล พิบูลย, ณัฐ เมธี สัย เวช และ

กอปร ทพิย อจัฉ ร ิยโส ภณ คณะ ผู ชวย ที ่ได รวม แรง รวมใจ กนั ทำงาน อยาง

แข็ง ขัน เพื่อ ให ขอมูล ใน หนังสือ เลม นี้ สมบูรณ ที่สุด เทา ที่ จะ เปน ไป ได

ภายใน เวลา กระชั้น ชิด หาก เนื้อหา ยัง มี ที่ ผิด พลาด ประการ ใด ยอม เปน

ความ ผิด ของ ผู เขียน เพียง ลำพัง ตอง ขออภัย ไว ณ ที่ นี้

ส ฤณี อา ชวา นันท กุล

http://www.fringer.org/

11 กุมภาพันธ 2554

Page 4: Inequality in Thailand: An Introduction

บทนำ 12นิทาน สมจริง 12

แนวคิด หลัก วา ดวย ความ เหลื่อม ล้ำ 21

ความ เหลื่อม ล้ำ กับ การ เปลี่ยนแปลง ของ สังคม ไทย 29

บท ที่ 1 381.1 ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน ราย ได 38

1.2 ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน ทรัพยสิน 45

1.3 ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน โครงสราง ภาษี 51

กรณี ศึกษา 1: สิทธิ ประโยชน ของ โครงการ ไอ พี สตาร 59

1.4 ความ เหลื่อม ล้ำ เชิง พื้นที่: 61

งบ ประมาณ และ การ เขา ถึง สิน เช่ือ ใน ระบบ

1.5 ความ ไม เทา เทียม ใน การ แขงขัน 66

แนวทาง ลด ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน เศรษฐกิจ 76

บท ที่ 2 802.1 ที่ดิน และ ปา ไม 83

2.2 น้ำ 91

2.3 ไฟฟา 99

2.4 สิทธิ ชุมชน vs. สิทธิ อุตสาหกรรม 102

แนวทาง ลด ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน ทรัพยากร 109

สารบัญ

Page 5: Inequality in Thailand: An Introduction

บท ที่ 3 1183.1 สิทธิ และ โอกาส ใน การ รับ บริการ สาธารณะ 121

3.1.1 การ ศึกษา 123

3.1.2 บริการ สาธารณสุข 137

3.1.3 คมนาคม 143

3.2 สิทธิ และ โอกาส ใน การ ได รับ ความ ยุติธรรม 146

3.3 สิทธิ และ โอกาส ของ เด็ก เยาวชน สตรี 158

ผู สูง อายุ คน พิการ และ ผู ดอย โอกาส

3.3.1 เด็ก และ ผู สูง อายุ 160

3.3.2 เยาวชน 164

3.3.3 สตรี 168

3.3.4 ผู พิการ 177

3.3.5 แรงงาน ตางดาว และ บุคคล ไร สัญชาติ 179

3.4 สิทธิ และ โอกาส ใน การ มี สวน รวม ทางการ เมือง 182

แนวทาง ลด ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน สิทธิ และ โอกาส 190

Page 6: Inequality in Thailand: An Introduction

สารบัญแผนภูมิ

แผนภูมิ 1 ขั้นบันไดรายไดตอเดือน และจำนวนสินคาท่ีมีในครัวเรือน 31

แผนภูมิ 2 สัดสวน ราย ได ของ ประชากร จำแนก ตาม ระดับ ราย ได 395 ระดับ (Income Quintile) ระหวาง ป 2531 ถึง 2552

แผนภูมิ 3 ราย ได เฉล่ีย ตอ คน ตอ เดือน จำแนก ตาม ระดับ ราย ได 405 ระดับ (Income Quintile) ระหวาง ป 2531 ถึง 2552

แผนภูมิ 4 สัดสวน ราย ได เฉลี่ย ของ กลุม ประชากร ที่ รวย ที่สุด 41 รอย ละ 20 ตอ ประชากร ที่ จน ที่สุด รอย ละ 20 เปรียบ เทียบ กับ สัดสวน คน ยากจน และ ราย ได เฉลี่ย ตอ คน ตอ เดือน แบง ตาม จังหวัด ป 2552

แผนภูมิ 5 การ เติบโต ของ ผลิตภัณฑ มวล รวม ภายใน ประเทศ 42(จี ดี พี) และ คา จาง จริง ระหวาง ป 2544 ถึง 2553

แผนภูมิ 6 ทรัพยสิน ครัว เรือน แบง ตาม ฐานะ ป 2549 46

แผนภูมิ 7 หนี้ สิน ราย ได และ คา ใช จาย ครัว เรือน 49และ อัตรา การ เติบโต ของ หนี้ และ ราย ได ระหวาง ป 2543 ถึง 2552

แผนภูมิ 8 ราย ได และ คา ใช จาย เฉลี่ย ตอ คน ตอ เดือน 50และ สัดสวน ครัว เรือน ที่ มี หนี้ สิน ป 2552

แผนภูมิ 9 สัดสวน ราย ได ภาษี ตอ จี ดี พ ี 52และ ราย ได ตอ หัว ของ ประชากร ไทย ระหวาง ป 2535 ถึง 2552

แผนภูมิ 10 สัดสวน ผู เสีย ภาษี ตอ ประชากร กำลัง แรงงาน 53เปรียบ เทียบ กับ สัดสวน ราย ได เฉลี่ย ของ ประชากร ที่ รวย ที่สุด รอย ละ 20 ตอ ประชากร ที่ จน ที่สุด รอย ละ 20

แผนภูมิ 11 การ ประเมิน การ สูญ เสีย ภาษี ราย ได 56จาก คา ลด หยอน บาง ประเภท

Page 7: Inequality in Thailand: An Introduction

แผนภูมิ 12 สัดสวน ภาระ ภาษี ตอย อด ขาย 58จำแนก ตาม ประเภท ขนาด และ ประเภท อุตสาหกรรม ของ บริษัท นอก ตลาดหลักทรัพย ป 2551

แผนภูมิ 13 อัตรา ความ เปน เมือง และ จำนวน ประชากร 62 คน เมือง ตาม ลำดับ ที่ ของ เมือง เปรียบ เทียบ ระหวาง ไทย เกาหลีใต มาเลเซีย และ อินโดนีเซีย

แผนภูมิ 14 ราย ได ของ ครัว เรือน เฉลี่ย ตอ หัว ป 2550 62แยก ตาม สาขา อาชีพ และ ภูมิภาค

แผนภูมิ 15 ผลิตภัณฑ มวล รวม ตอ คน ตอ ป 63และ งบ ประมาณ รัฐ ตอ คน ตอ ป ป 2553

แผนภูมิ 16 เปรียบ เทียบ ผลิตภัณฑ มวล รวม ตอ คน ตอ ป 64และ งบ ประมาณ รัฐ ตอ คน ตอ ป ราย จังหวัด ป 2553

แผนภูมิ 17 ยอด สิน เชื่อ คง คาง ใน ระบบ ธนาคาร พาณิชย 65จำแนก ตาม จังหวัด ณ 30 พฤศจิกายน 2553

แผนภูมิ 18 ราย ได ของ บริษัท จำกัด จำแนก ตาม กลุม ราย ได 68ระหวาง ป 2548 ถึง 2550

แผนภูมิ 19 บริษัท ที่ ใหญ ที่สุด 20 แหง 69 ใน ตลาดหลักทรัพย โดย มูลคา ตลาด ป 2539 และ 2553

แผนภูมิ 20 สรุป ความ สัมพันธ ระหวาง กลุม ธุรกิจ เอกชน 75นักการ เมือง และ คณะ กรรมการ แขงขัน ทางการ คา

แผนภูมิ 21 สัดสวน ของ การ ถือ ครอง ที่ดิน 84ของ ผู ครอง ที่ดิน 50 อันดับ แรก ใน 8 จังหวัด ป 2552

แผนภูมิ 22 พื้นที่ ที่ ได รับ ผลก ระ ทบ จาก อุทกภัย 93 ใน ภาค กลาง เดือน กันยายน ถึง พฤศจิกายน 2553 (ไร)

Page 8: Inequality in Thailand: An Introduction

แผนภูมิ 23 พื้นที่ ที่ ได รับ ผลก ระ ทบ จาก อุทกภัย 94ป 2549, 2551 และ 2553

แผนภูมิ 24 สัดสวน การ ใช พลังงาน ไฟฟา 102ตอ ประชาชน 1 คนใน แตละ จังหวัด ป 2552

แผนภูมิ 25 ตำแหนง แหลง กำเนิด มลพิษ จังหวัด ระยอง 108

แผนภูมิ 26 คา จาง เฉล่ีย ตอ เดือน ใน ป 2550 124แยก ตาม ระดับ การ ศึกษา และ อายุ

แผนภูมิ 27 จำนวน ป ที่ ประชากร อายุ 15 ป ขึ้น ไป 127ได รับ การ ศึกษา ป 2549

แผนภูมิ 28 ลักษณะ เดน ของ ผู ที่ มี การ ศึกษา สูงสุด รอย ละ 20 128และ ต่ำ สุด รอย ละ 20 เทียบ กับ คา เฉลี่ย ของ ผู ที่ อยู ใน วัย เดียวกัน ป 2549

แผนภูมิ 29 ผล การ ประเมิน PISA ระหวาง ป 2543 131ถึง 2552 (คะแนน เต็ม = 800)

แผนภูมิ 30 คะแนน การ อาน PISA ราย ภาค 132เปรียบ เทียบ ป 2543 กับ 2552

แผนภูมิ 31 คะแนน คณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร PISA ราย ภาค 133เปรียบ เทียบ ป 2546 กับ 2552

แผนภูมิ 32 คา ดัชนี ทรัพยากร การ เรียน ของ 134นักเรียน กลุม สูง และ กลุม ต่ำ เปรียบ เทียบ ป 2546 กับ 2552

แผนภูมิ 33 การก ระ จาย ผล ประโยชน ทางการ ศึกษา 136จำแนก ตาม ประเภท สถาน ศึกษา และ ชวง ชั้น ราย ได ป 2552

แผนภูมิ 34 อัตรา การ ตาย เด็ก อายุ 5 ป แบง ตาม ชั้น ราย ได 139ป 2533 และ 2548

แผนภูมิ 35 มูลคา และ สัดสวน การก ระ จาย ผล ประโยชน 140ตาม ชั้น ราย ได และ ประเภท สวัสดิการ ของ ผู ปวย นอก และ ผู ปวย ใน ป 2552

Page 9: Inequality in Thailand: An Introduction

แผนภูมิ 36 อัตราสวน ประชากร ตอ เตียง ผู ปวย ทั่วไป และ 143ตอ เจา หนาที่ ทางการ แพทย และ สาธารณสุข บาง ประเภท ใน กรุงเทพมหานคร และ จังหวัด อื่น ป 2547 ถึง 2551

แผนภูมิ 37 สัดสวน การก ระ จาย ผล ประโยชน จาก ราย จาย 145สาขา การ ขนสง ของ ภาค รัฐ แบง ตาม กลุม ราย ได ใน เขต กรุงเทพฯ และ ปริมณฑล ป 2552

แผนภูมิ 38 สัดสวน ราย จาย ภาค รัฐ ที่ เกี่ยว กับ การ คมนาคม 145สำหรับ ผู มี ราย ได มาก ที่สุด รอย ละ 20 ตอ ผู มี ราย ได ต่ำ ที่สุด รอย ละ 20 ใน แตละ ภูมิภาค (หนวย: เทา)

แผนภูมิ 39 จำนวน ครัว เรือน 6 ประเภท และ อัตรา การ เติบโต 162ระหวาง ป 2529 ถึง 2549

แผนภูมิ 40 รอย ละ ของ ประชากร ที่ พิการ อายุ ตั้งแต 15 ป ขึ้น ไป 177จำแนก ตาม การ มี งาน ทำ อาชีพ และ กลุม อายุ ป 2550

แผนภูมิ 41 สัดสวน ประชากร ผู พิการ ที่ มี ความ ลำบาก 178 ใน การ ดูแล ตัว เอง ที่ มี ผู ดูแล และ ไมมี ผู ดูแล ป 2550

Page 10: Inequality in Thailand: An Introduction

ความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่

ความเชื่อมโยงระหวางความเหลื่อมล้ำดานตางๆ

สงผลกระทบสองทางเนื่องจากคอรัปช่ัน

ความเหลื่อมล้ำดานทรัพยากร

ความเหลื่อมล้ำดานสิทธิและโอกาส

ในการรับบริการสาธารณะ

ความเหลื่อมล้ำดานรายไดและทรัพยสิน

ความเหลื่อมล้ำดานโครงสรางภาษี

ความเหลื่อมล้ำดานสิทธิและโอกาสการ

มีสวนรวมทางการเมือง

ความเหลื่อมล้ำดานสิทธิและโอกาสในการไดรับความยุติธรรม

ความไมเทาเทียมในการแขงขัน

Page 11: Inequality in Thailand: An Introduction

มนุษย เรา เกิด มา มี รางกาย และ ปญญา สมอง ไม เสมอ กัน ...เมื่อ เริ่ม ตน ก็ เกิด ความ อ ยุติธรรม เสีย แลว เชน นี้ ก็ เปน หนาที่ ของ สังคม ที่ จะ ขจัด ปด เปา ความ ไม เสมอ ภาค นั้น ให นอย ลง ที่สุด ที่ จะ กระทำ ได

ปวย อึ๊ง ภา กรณ

ศีล ธรรม และ ศาสนา ใน การ พัฒนา ชาติ, พ.ศ. 2512

Page 12: Inequality in Thailand: An Introduction

บทนำ‘ความ เหลื่อม ล้ำ’ สำคัญ ไฉน

นิทาน สมจริงลอง มา ดู ชีวิต สมมุติ แต สมจริง ยุค ตน ศตวรรษ ที่ 21 ของ

คน ไทย 2 คน –

ไพบูลย

ไพบูลย เกิด ใน ครอบครัว ชนชั้น กลาง ระดับ บน ที่ กรุงเทพฯ บิดา เปน ตำรวจ ยศ พล เอก มารดา เปน กรรมการ ผู จัดการ บริษัท จด ทะเบียน แหง หน่ึง ใน ตลาดหลักทรัพย เขา เปน พ่ี คน โต มี นอง สาว คน เดียว บิดา มารดา สง เสีย ให เรียน หนังสือ ใน โรงเรียน เอกชน ชั้น นำ ของ ประเทศ ตั้งแต เด็ก เสีย เงิน หลาย แสน บาท ตอ ป ให เขา ไป โรงเรียน กวด วิชา และ จาง ครู มา สอน พิเศษ ตัว ตอ ตัว ไพบูลย สอบ เขา คณะ วิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย หลัง จาก จบ ปริญญา ตรี แลว ก็ ไป ทำงาน 2 ป ใน ภาค การ เงิน กอน บิน ไป จบ ปริญญา โท ดาน บริหารธุรกิจ จาก มหา วิทยา ลัย เอ็ม ไอที

Page 13: Inequality in Thailand: An Introduction

13สฤณี อาชวานันทกุล

สหรัฐอเมริกาหลงั จาก ที ่เขา กลบั มา จาก อเมรกิา ไพบลูย ได งาน เปน รอง

ผู อำนวย การ ฝาย วางแผน ของ บริษัท ขนาด ใหญ ใน ตลาด หุน ที่ มี เครือ ขาย โรงแรม รสีอรท และ สนาม กอลฟ รวม กนั หลาย สบิ แหง ทั่ว ประเทศ ลำพัง ความ สามารถ ของ เขา ก็ ทำให ได งาน นี้ โดย ไม ยาก แต เนื่องจาก ประธาน เจา หนาที่ บริหาร (ซี อี โอ) ของ บริษัท แหง นี ้สนทิ สนม กนั ด ีกบั มารดา ของ ไพบลูย เขา จงึ ได รบั การ แตง ตัง้ เปน รอง ผู อำนวย การ ฝาย ตั้งแต แรก เขา ขาม หนา ขาม ตา “ลูก หมอ” หลาย คน ของ บริษัท ที่ มี ประสบการณ และ ความ รู ดี กวา

ไพบูลย แตงงาน กับ สาว สวย จาก ตระกูล ที่ สนิท กับ ครอบครัว ของ เขา มา ตั้งแต รุน ปู ภรรยา ของ เขา ทำงาน เปน ผู อำนวย การ ฝาย สื่อสาร องคกร ของ ธนาคาร พาณิชย ขนาด ใหญ เขา และ เธอ ม ีครอบครัว ที ่อบอุน สะสม ความ มัง่ค่ัง อยาง ตอ เน่ือง ดวย การ ซื้อ ที่ดิน กรรมสิทธ์ิ ใน อาคาร ชุด และ หุน ใน ตลาดหลักทรัพย เมื่อ โอกาส อำนวย ไพบูลย และ ภรรยา รูสึก วา พวก เขา มี ทุก สิ่ง ที่ ตองการ แลว ใน ชีวิต ความ ปรารถนา เดียว ที่ เหลือ อยู คือ เลิก ทำงาน ประจำ กอน อายุ 50 ป จะ ได มี เวลา ไป เทีย่ว รอบ โลก ต ีกอลฟ กบั เพือ่น ฝงู และ คอย ให เงนิ ทนุ สนับสนุน และ คำ ปรึกษา แก ลูกๆ ที่ บอก วา อยาก ทำ กิจการ ของ ตัว เอง ไม อยาก ทำงาน เปน นกั บริหาร มอื อาชีพ เหมือน กบั พอ แม ไพบูลย เชือ่ วา ความ มัง่คัง่ และ สาย สมัพนัธ ของ เขา ใน โลก ธรุกจิ จะ ชวย ให ลูกๆ ได ทำ ใน สิ่ง ที่ พวก เขา ปรารถนา อยาง ไม ยาก เย็น นัก

สิง่ เดยีว ที ่ไพบลูย กงัวล คอื กลวั วา ลกูๆ ที ่ได รบั การ เลีย้ง ด ูอยาง ดี และ ตามใจ ตั้งแต เด็ก จะ เคยตัว จน ไม ขยัน ทำงาน เพื่อ

Page 14: Inequality in Thailand: An Introduction

14 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

พิสูจน ตัว เอง ให เปน ที่ ประจักษ มัว แต เที่ยว เตร หรือ ใช ชีวิต อยาง ฟุงเฟอ จน ผลาญ เงนิ มรดก แทนท่ี จะ ตอย อด ความ มัง่คัง่ ที ่ตระกลู ของ เขา เพียร สะสม มา ตั้งแต รุน ปูยา

พิชัย

พิชัย เกิด ใน ครอบครัว เกษตรกร ราย ยอย จังหวัด นครราชสีมา บาน ของ เขา เปน ชาวนา กัน มา หลาย ชั่ว อายุ คน ตัง้แต จำ ความ ได ม ีทีด่นิ ตกทอด มา จาก ปูทวด 30 ไร บดิา มารดา ของ เขา ตอง กู เงนิ จาก ธนาคาร เพือ่ การเกษตร และ สหกรณ (ธกส.) มา ซื้อ เมล็ด พันธุ ซื้อ ปุย จาย คา ไถนา รวม ถึง จาย คา ใช น้ำ ใน บอ เก็บ น้ำ ของ เอกชน ถา ป ไหน ฝน นอยห รือ ไม ตก เลย เน่ืองจาก ระบบ ชลประทาน ของ รัฐ มี ไม เพียง พอ ตอ ความ ตองการ ทำให บดิา มารดา ของ เขา ไม ตาง จาก เกษตรกร สวน ใหญ ใน นครราชสีมา ตรง ที ่ทำ นา กัน ป ละ ครัง้ เทานัน้ ตอง ภาวนา ให ฝน ฟา ตก ตอง ตาม ฤดูกาล

พิชัย คุน เคย กับ ความ เสี่ยง นานัปการ ของ อาชีพ เกษตรกร มา ตั้งแต เด็ก ซึ่ง มี ตั้งแต ความ ผันผวน ของ สินคา เกษตร ใน ตลาด โลก ความ เสี่ยง จาก ภัย ธรรมชาติ โดย เฉพาะ ภัย แลง และ น้ำ ทวม ซึ่ง นับ วัน ยิ่ง ทวี ความ ผันผวน และ รุนแรง มาก ขึ้น ตาม กระแส การ เปล่ียนแปลง ของ สภาพ ภมู ิอากาศ โลก ป ไหน ฝน แลง ก ็ตอง ลงทนุ สูบ น้ำ เขา นา และ ซื้อ ปุย มา ใส เพิ่ม เติม ยัง ไม นับ คาน้ำ มันดี เซล สำหรับ รถ ไถ ซึ่ง เพิ่ม สูง ขึ้น ทุก ป ความ เสี่ยง ตนทุน การเกษตร และ หนี้ สิน ที่ พอกพูน ขึ้น ทุก ป ทำให ครอบครัว ของ พิชัย ไม เคย มี เงิน ออม

Page 15: Inequality in Thailand: An Introduction

15สฤณี อาชวานันทกุล

ความ ยาก ลำบาก ของ อาชีพ เกษตรกร ทำให บิดา มารดา ของ เขา ไม อยาก ให พิชัย เจริญ รอย ตาม และ พิชัย ก็ ไม อยาก เปน เกษตรกร เหมือน กัน เขา เดิน ทางออก จาก บาน ไป ทำงาน เปน แรงงาน กอสราง ใน กรุงเทพฯ ทันที ที่ เรียน จบ มัธยม 3 ถึง แม จะ ได คาแรง ขั้น ต่ำ เพียง 7,000 - 8,000 บาท ตอ เดือน ก็ ยัง ดี กวา ราย ได เฉลีย่ ของ บดิา มารดา ซึง่ อยู ที ่เดอืน ละ 4,000 - 5,000 บาท และ เงิน จำนวน นี้ ตอง เลี้ยง ดู ทั้ง ครอบครัว พิชัย รู ดี วา เขา จะ มี โอกาส มี ราย ได มากกวา นี้ สอง เทา ถา ได งาน เปน พนักงาน บริษัท แต โอกาส ที ่จะ ได งาน ก ็คอน ขาง นอย เพราะ เขา ไมม ีปรญิญา พชิยั จึง กู เงิน มา เชา รถ แท็กซี่ ขับ คอยๆ ขยับ ฐานะ จน เปน ชนชั้น กลาง ระดับ ลาง ใน กรุงเทพฯ

ตั้งแต เร่ิม ขับ รถ แท็กซ่ี พิชัย พยายาม ออม เงิน ให ได มาก ที่สุด เขา สง เงิน สวน หนึ่ง กลับ ไป ให บิดา มารดา ทุก เดือน เพื่อ ชวย ออก คา ใช จาย ใน บาน จาง คน มา ทำ นา เพราะ ทำ เอง ไม ไหว แลว และ เปน คา เลี้ยง ดู ลูก ซึ่ง เขา ฝาก ให บิดา มารดา ชวย ดูแล เนื่องจาก ทั้ง เขา และ ภรรยา ตอง ทำงาน ไมมี ราย ได พอท่ี จะ จาง คน เลีย้ง เงนิ ออม ของ พชิยั และ ภรรยา มาก พอที ่จะ สง ให ลกู เรยีน จบ ปวช. หรือ ปวส. แต เขา อยาก ให บิดา มารดา ของ เขา ขาย ที่ นา จะ ได เอา เงิน มา สง เสีย ให หลาน ได เรียน ปริญญา และ จาง คน มา ดูแล ยาม แก เฒา เพราะ อีก หนอย เมื่อ นองๆ ของ เขา เรียน จบ มัธยม ตน ก็ คง เขา มา หา งาน ใน กรุงเทพฯเชน กัน เมื่อ ถึง ตอน นั้น จะ ไมมี ใคร ดูแล คน แก แต ผู เฒา ทั้ง สอง ไม อยาก ขาย ทรัพยสิน ชิ้น เดียว ที่ ตกทอด มา แต บรรพบุรุษ

Page 16: Inequality in Thailand: An Introduction

16 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

นิทาน สมจริง ขาง ตน ชี้ ให เห็น วา ชีวิต ของ ไพบูลย กับ พิชัย มี “ความ เหลื่อม ล้ำ” หลาย มิติ ดวย กัน ความ เหลื่อม ล้ำ ที่ ชัดเจน ที่สุด คือ ความ เหลื่อม ล้ำ ทาง ราย ได เนื่องจาก ไพบูลย มี ราย ได สงู เขา จงึ ออม และ สะสม ทรพัยสนิ ได มาก สวน พชิยั ม ีราย ได นอย ออม ได เทาไร ก็ ตอง สง ให ครอบครัว ที่ โคราช และ เก็บ เปน ทุน การ ศึกษา ให ลูก เขา จึง มี ทรัพยสิน นอย ยัง ไม ตอง พูด ถึง ทรัพยสิน ที่ เพิ่ม มูลคา ได อยาง ที่ดิน และ หุน ซึ่ง ไพบูลย มี ทั้ง ความ รู และ เงิน ทอง เพียง พอท่ี จะ ลงทุน อยาง สม่ำเสมอ แต พิชัย ไม เคย คิดถึง สิ่ง เหลา นี ้แค การ พดู คยุ กบั บดิา มารดา เรือ่ง จะ เอา อยางไร ด ีกบั ที ่นา ผืน เดียว ของ ครอบครัว ก็ ปวด หัว พอแลว

ความ เหลื่อม ล้ำ ทาง ราย ได และ ทรัพยสิน นา จะ สง ผล ให ไพบลูย กบั พชิยั ม ีความ เหลือ่ม ลำ้ ดาน โอกาส และ คณุภาพ การ ให บรกิาร ของ รฐั ดวย ตัง้แต เรือ่ง เลก็ๆ นอยๆ ใน ชวีติ ประจำ วนั เชน แนว โนม ที ่เจา หนาท่ี รฐั จะ เรง อำนวย ความ สะดวก ให กบั คน “เสน ใหญ” อยาง ไพบูลย มากกวา พชิยั หรอื แนว โนม ที ่พชิยั จะ ถกู เอา รดั เอา เปรียบ จาก ผู มี อำนาจ มากกวา ไพบูลย ไป จนถึง โอกาส ใน การ เขา ถึง การ ศึกษา และ บริการ สาธารณะ ที่ ได คุณภาพ ไพบูลย ไม จำเปน จะ ตอง สนใจ บรกิาร เหลา นี ้ของ รฐั เนือ่งจาก เขา ม ีฐานะ ดี พอท่ี จะ ซื้อ บริการ ที่ ดี ที่สุด จาก เอกชน อยู แลว ขณะ ที่ พิชัย ตอง พึง่ พงิ สวสัดกิาร จาก รัฐ เปน หลกั โดย เฉพาะ สวสัดกิาร ที ่“แรงงาน นอก ระบบ” อยาง เขา เขา ถึง อาทิ เบี้ย ยังชีพ ผู สูง อายุ และ ระบบ ประกัน สุขภาพ ถวน หนา

นอกจาก ไพบูลย กับ พิชัย จะ มี ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน ราย ได ทรัพยสิน และ โอกาส แลว เรา ยัง อาจ พบ วา มี ความ เหลื่อม ล้ำ

Page 17: Inequality in Thailand: An Introduction

17สฤณี อาชวานันทกุล

ดาน ศกัดิศ์ร ีที ่(รูสกึ วา ม)ี ระหวาง คน สอง คน นี ้อกี ดวย เน่ืองจาก คา นยิม ใน สงัคม ไทย ปจจุบนั ให คา กบั การ “มหีนา ม ีตา” ใน สงัคม มากกวา “การ ประกอบ อาชีพ สุจริต” มาก ถึง แมวา นัก บริหาร ตระกลู ดงั อยาง ไพบลูย กบั คน ขบั รถ แทก็ซี ่อยาง พชิยั จะ ม ี“ความ เทา เทียม กัน ใต กฎหมาย” ก็ตาม ใน ความ เปน จริง ของ สังคม พวก เขา ยอม ม ีแนว โนม ที ่จะ ถกู คน ด ูหม่ิน ดแูคลน ไม เทา กนั และ ดัง นั้น จึง รูสึก วา ตน มี ศักดิ์ศร ีไม เทา กัน

ใน สังคม ที่ ยัง มี การ ทุ จริต คอรัปช่ั นอ ยาง แพร หลาย ทุก ระดับ ชั้น อยาง สังคม ไทย ความ เหลื่อม ล้ำ อีก มิติ หนึ่ง ที่ พิชัย กับ ไพบูลย นา จะ ประสบ แต ไม ปรากฏ ใน นิทาน ขาง ตน เพราะ เปน กรณี เฉพาะ คือ ความ เหล่ือม ล้ำ ของ การ ใช อำนาจ รัฐ ดัง ที่ รับ รู กัน ทั่วไป วา เจา หนาที่ ตำรวจ ขาราชการ และ ผู พิพากษา จำนวน ไม นอย รับ เงิน “ใต โตะ” จาก ผู มี ฐานะ ที่ ตก เปน จำเลย เพ่ือ เรง ดำเนิน คดี บิดเบือน รูป คดี ให จำเลย พน ผิด หรือ ถา รับ โทษ ก็ ให ได รับ โทษ สถาน เบา ที่สุด หรือ รอ ลงอาญา ดัง นั้น ใน แง นี้ สมาชิก ชนชั้น กลาง ระดับ ลาง ไร เสน สาย อยาง พิชัย ยอม ตก เปน ฝาย เสีย เปรียบ ถา หาก เขา มี เหตุ ให ตอง พึ่งพา กระบวนการ ยุติธรรม

ถา หาก ความ เหลื่อม ล้ำ เกิด จาก พฤติกรรม สวน บุคคล ลวนๆ เชน ถา หาก ไพบูลย ประสบ ความ สำเร็จ เพียง เพราะ เขา ขยัน ทำงาน สวน พิชัย มั่งคั่ง นอย กวา เพียง เพราะ เขา เกียจคราน กวา เรา ก็ คง ไม มอง วา ความ เหลื่อม ล้ำ ระหวาง บุคคล ทั้ง สอง นี้ เปน “ปญหา” ที่ ควร ได รับ การ แกไข แต ใน โลก แหง ความ จริง ความ เหลื่อม ล้ำ ไม วา จะ มิติ ใด ก็ตาม มัก จะ เปน “ผลลัพธ” ของ เหตุ ปจจัย ตางๆ ที่ สลับ ซับ ซอน และ ซอน ทับ กัน หลาย ปจจัย อยู

Page 18: Inequality in Thailand: An Introduction

นอก เหนอื การก ระ ทำ ของ ปจเจก และ เปน “ปญหา เชงิ โครงสราง” ของ สงัคม เชน ปญหา คอรัปชัน่ และ เลอืก ปฏบิตั ิใน ระบบ ราชการ ปญหา คนจน เขา ไม ถงึ ทรัพยากร ที ่จำเปน ตอง ใช ใน การ ดำรง ชวีติ ปญหา ระบบ การ จัด เก็บ ภาษี ไม เปน ธรรม (คนจน จาย มากกวา คนรวย ถา คิด เปน สัดสวน ของ ราย ได) และ ปญหา รัฐ ไม คุมครอง สิทธิ พลเมือง และ สิทธิ มนุษย ชน อยาง เทา เทียม กัน แมวา จะ บัญญัติ ไว ใน รัฐธรรมนูญ ก็ตาม

มุม มอง เรื่อง ความ เหลื่อม ล้ำ วา มิติ ใด เปน “ปญหา” บาง และ ถา เปน ปญหา เรา ควร แกไข “อยางไร” นัน้ เปน เรือ่ง ที ่ถก เถยีง กัน ได มาก แต ประเด็น หนึ่ง ที่ ปฏิเสธ ไม ได คือ สังคม ที่ มี ความ เหลื่อม ล้ำ สูง เปน สังคม ที่ คน รูสึก วา “ไม นา อยู” เพราะ รูสึก วา คนจน ขยับ ฐานะ ลำบาก ไม วา จะ ขยัน เพียง ใด เพราะ ชอง วาง ใหญ มาก สวน คนรวย ที่ “เกิด มา รวย” ก็ ใช ความ มั่งคั่ง สะสม ที่ บิดา มารดา มอบ ให เปน มรดก สราง ความ มัง่คัง่ ตอ ไป ได อยาง งายดาย ใน นิทาน ขาง ตน ลูก ของ ไพบูลย ยอม มี “โอกาส” สูง กวา ลูก ของ พิชัย มาก ที่ จะ มี ชีวิต ความ เปน อยูดี กวา คน รุน พอ

ความ เหลื่อม ล้ำ เปน “ปญหา” ใน สังคม แบบ นี้ เพราะ คง ไมมี ใคร อยาก อยู ใน สังคม ที่ สถานภาพ และ ฐานะ ของ ผูคน ถูก ตอก ตรึง ตั้งแต เกิด เพราะ ทุก คน เลือก เกิด ไม ได แต อยาก มี สิทธิ และ เสรีภาพ ใน การ เลือก ทาง เดิน ชีวิต ของ ตัว เอง ถา หาก ความ เหลื่อม ล้ำ สวน หนึ่ง เปน ผลลัพธ ของ ปญหา เชิง โครงสราง เรา ก็ ยอม บรรเทา หรือ กำจัด มัน ได ดวย การ แก ปญหา เชิง โครงสราง เหลา นั้น

Page 19: Inequality in Thailand: An Introduction

19สฤณี อาชวานันทกุล

นพ.ประเวศ วะ สี กลาว ใน ป พ.ศ. 2544 วา “คน ไทย ควร จะ ทำความ เขาใจ วา ความ ยากจน ไม ได เกดิ จาก เวร กรรม แต ชาต ิปาง กอน แต เกดิ จาก โครง สราง ที ่อ ยตุธิรรม ใน สงัคม ตอง ทำความ เขาใจ โครงสราง และ ชวย กัน ปฏิรูป โครงสราง ที่ ทำให คนจน”1

1 ประเวศ วะ ส,ี “นโยบาย เพือ่ คนจน: ลาง โครงสราง 10 ประการ ที ่ประหาร คนจน.” ใน ความ จริง ของ ความ จน. คณะ ทำงาน วาระ ทาง สังคม สถาบันวิจัย สังคม จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย: 2544. ดาวนโหลด ได จาก http://fringer.org/?page_id=37

ความ เหลื่อม ล้ำ : นิธิ เอียว ศรี วงศ*“ความ เหล่ือม ลำ้” อาจ เกิด ได 4 ดาน ดวย กนั คอื เหล่ือม ลำ้

ทาง สทิธ ิ– โอกาส – อำนาจ – ศกัดิศ์รี ไม จำเปน วา ความ เหล่ือม ลำ้

ทัง้ 4 ดาน นี ้ตอง เกิด ขึน้ จาก กฎหมาย เพยีง อยาง เดยีว สวน ใหญ

เกดิ ขึน้ จาก แนวทาง การ ปฏบิตั ิหรอื พดู ให กวาง กวา นัน้ คอื เกดิ ใน

ทาง “วัฒนธรรม” มากกวา

เชน คน ที ่ไมม ีหลกั ทรพัย ยอม เขา ถงึ แหลง เงนิ กู ได ยาก ไมม ี

กฎหมาย ใด บังคับ วา ธนาคาร ตอง ให กู ได เฉพาะ ผู ที่ มี หลัก ทรัพย

แต ธนาคาร กลัว เจง จึง เปน ธรรมดา ที่ ตอง เรียก หลัก ทรัพย

ค้ำ ประกัน เงิน กู ใน ขณะ เดียวกัน ธนาคาร ไทย ไม เห็น ความ

จำเปน จะ ทำ ไมโคร เครดิต กับ คนจน เพราะ แค นี้ ก็ กำไร พอแลว

จึง ไมมี ทั้ง ประสบการณ และ ทักษะ ที่ จะ ทำ แม รู วา จะ มี ลูกคา

จำนวน มหึมา รอ อยู ก็ตาม

นี ่คอื โลก ทศัน ทาง ธรุกิจ ของ นาย ธนาคาร ไทย ซึง่ เปน สวน

Page 20: Inequality in Thailand: An Introduction

20 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

หนึ่ง ของ “วัฒนธรรม”

“ความ เหล่ือม ลำ้” ทาง เศรษฐกิจ นัน้ ม ีอยู จรงิ และ จรงิ จน

นา วิตก ดวย เพราะ มัน ถาง กวาง ขึ้น อยาง นา ตกใจ ตลอด มา แต

เปน หน่ึง ใน “ความ เหลื่อม ล้ำ” ดาน โอกาส, ดาน อำนาจ, ดาน

สิทธิ จน ทำให คน สวน ใหญ ดอย ศักด์ิศรี ไมใช เรื่อง จน-รวย เพียง

ดาน เดียว

หรอื ใน ทาง กลบั กนั เพราะ ม ีอำนาจ นอย จงึ ถกู คน อืน่ แยง

เอา ทรัพยากร ที ่ตวั ใช อยู ไป ใช หรอื ตอง คำ พพิากษา วา ทำให โลก

รอน ตอง เสยี คา ปรับ เปน ลาน ทำ มา หากิน ดวย ทกัษะ ที ่ตวั ม ีตอ ไป

ไม ได จึง หมด ปญญา หา สง ลูก เรียน หนังสือ ใน ที่สุด ก็ จน ลง

ทัง้ โคตร สทิธ ิก ็ยิง่ นอย ลง, โอกาส ก ็ยิง่ นอย ลง, อำนาจ ก ็ยิง่ นอย ลง,

และ ศักดิ์ศรี ก็ ไมมี ใคร นับ ขึ้น ไป อีก

อีก ดาน หน่ึง ที่ ลืม ไม ได เปน อัน ขาด ที เดียว ก็ คือ “ความ

เหล่ือม ล้ำ” เปน ความ รูสึก นะ ครับ ไมใช ไป ดู วา แต เดิม เอ็ง เคย

ได เงิน แค วนั ละ 50 เดีย๋ว นี ้เอง็ ได ถงึ 200 แลว ยงั จะ มา เหล่ือม ลำ้

อะไร อีก

ก็ ตอน ได 50 มัน ไมรู สึก อะไร นี่ ครับ ยัง คิด อยู วา ชาติ กอน

ทำบุญ มา นอย ชาติ นี้ จึง ตอง พอ เพียง แค 50 คิด แลว ก็ สบายใจ

แต เดี๋ยว นี้ ความ คิด อยาง นั้น หาย ไป หรือ ออน กำลัง ลง เสีย แลว

จะ ดวย เหตุ ใด ก็ตาม ที เถิด ได วัน ละ 200 แต ได เห็น ใคร ตอ ใคร

เขา มัง่มี ศรสีขุ กนั เตม็ ไป หมด แม แค มอื ถอื มอื สอง มอื สาม เครือ่ง

ละ ไม กี่ รอย จะ ซื้อ ให ลูก ยัง ตอง ผัด วัน ประกัน พรุง จะ ให ไมรู สึก

เหลื่อม ล้ำ เลย ได อยางไร

มี เหตุผล รอย แปด ที่ ทำให ความ พอใจ ใน ตนเอง

Page 21: Inequality in Thailand: An Introduction

21สฤณี อาชวานันทกุล

(Self Contentment) ของ แตละ คน หาย ไป จะ ดู แต ราย ไดที่ เปน

ตัว เงิน อยาง เดียว ก็ ไมมี วัน เขาใจ เพราะ ความ พอใจ ใน ตนเอง

นั้น มี เงื่อนไข ทาง สังคม-วัฒนธรรม กำกับ อยู ดวย เสมอ ยกเวน

แต พระ อริยบุคคล เทานั้น ที่ อยู ใน โลก แต เหนือ โลก ผม เปน แค

กรรมกร โรงงาน เทานั้น

* บางสวนจาก นธิ ิเอียวศรีวงศ, “ความเหล่ือมล้ำ” มตชินสุดสัปดาห ฉบบัวนัที ่27 สิงหาคม – 2 กันยายน 2553 ฉบับที่ 1567.

แนวคิด หลัก วา ดวย ความ เหล่ือม ล้ำถึงที่ สุด แลว คำถาม ที่ วา ความ เหลื่อม ล้ำ ใน สังคม ดาน

ตางๆ โดย เฉพาะ ดาน เศรษฐกิจ นั้น เปน “ปญหา” ที่ เรา ตองหา ทาง แกไข หรือ ไม และ ถา ตอง แก ควร ใช วิธี อะไร เปน คำถาม ที่ ขึ้น อยู กับ อุดมการณ หรือ จุดยืน ของ คนใน สังคม ปจจุบัน มี สำนัก คิด ใหญ 3 แหง ที่ มี อิทธิพล ตอ การ กำหนด นโยบาย และ วิ วา ทะ สาธารณะ ใน กรอบ ของ ระบบ เศรษฐกิจ แบบ ทุนนิยม ไดแก เสรนียิม (Liberalism) ความ ยตุธิรรม ทาง สงัคม (Social Justice) และ สมรรถภาพ มนษุย (Capabilities Approach) ความ แตก ตาง ระหวาง สำนกั คดิ ทัง้ 3 สวน ใหญ อยู ที ่การ ให นำ้ หนัก กบั “เสรภีาพ ของ ปจเจก” และ “ความ ยุติธรรม ใน สังคม” ไม เทา กัน

สำนัก คิด ทั้ง 3 นี้ มี ความ “เทา เทียม กัน ทาง ศีล ธรรม” (Morally Equivalent) กลาว คือ ไมมี ชุด หลัก เกณฑ สัมบูรณ ใดๆ ที่ จะ ชวย เรา ตัดสิน ได วา สำนัก คิด ใด “ดี กวา” หรือ “เลว กวา” กัน

Page 22: Inequality in Thailand: An Introduction

22 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

เนื่องจาก ตาง ก็ มี จุดยืน ทาง ศีล ธรรม ดวย กัน ทั้ง สิ้น เพียง แต ให น้ำ หนัก กับ คุณคา หรือ คุณธรรม ตางๆ ไม เทา กัน การ ตัดสิน วา จะ เช่ือ หรือ ประยุกต ใช แนวคิด ของ สำนัก คิด ใด สำนัก คิด หนึ่ง จึง นา จะ ตั้ง อยู บน การ ประเมิน ผล ได และ ผล เสีย ของ แตละ แนวคิด เปรียบ เทียบ กับ สภาพ เศรษฐกิจ และ สังคม ที่ เปน จริง มากกวา การ ใช มาตร วัด ทาง ศีล ธร รม ใดๆ ที่ เปน นามธรรม โดย ไม คำนึง ถึง สถานการณ จริง

เรา สามารถ สรปุ แนวคดิ ใน สวน ที ่เกีย่ว กบั ความ เหลือ่ม ลำ้ ของ สำนัก คิด ทั้ง 3 ได คราวๆ ดัง ตอ ไป นี้

1. เสรีนิยม (Liberalism)นัก เสรีนิยม สาย คลาส สิก (Classical Liberal) และ

สา ยลเิบอ ทา เรยีน (Libertarian) โดย ทัว่ไป จะ ไมม ีจดุยนื เกีย่ว กบั ความ เหลื่อม ล้ำ ทาง เศรษฐกิจ เนื่องจาก เชื่อ วา รัฐ ควร ปลอย ให มนษุย ทกุ คน ม ีเสรภีาพ ที ่จะ ทำ อะไรๆ เอง เพราะ มอง วา เสรภีาพ ของ ปจเจก คือ คุณคา และ คุณธรรม ที่ สำคัญ ที่สุด ความ ยุติธรรม ตอง อยู บน พืน้ ฐาน ของ เสรีภาพ รฐั มหีนา ที ่อำนวย ให เกดิ “ความ เทา เทียม กนั ภาย ใต กฎหมาย” โดย ไม ตอง สนใจ วา ความ เทา เทยีม ดัง กลาว จะ นำ ไป สู ความ เหล่ือม ล้ำ ทาง เศรษฐกิจ หรือ ไม เพียง ใด เน่ืองจาก “กลไก ตลาด” (ผล รวม ของ การก ระ ทำ โดย เสรี ของ ปจเจก) คอื กลไก ที ่ด ีทีส่ดุ หรอื ม ีขอ บกพรอง นอย ทีส่ดุ แลว ใน การ สราง ประโยชน สาธารณะ

ลดุ วกิ วอน ม ิเซส (Ludwig von Mises) นกั เศรษฐศาสตร

Page 23: Inequality in Thailand: An Introduction

23สฤณี อาชวานันทกุล

เสรีนิยม คลาส สิก ผูทรง อิทธิพล เสนอ ใน ป ค.ศ. 1949 วา2

นกั เสรนียิม ที ่รณรงค ความ เทา เทยีม กนั ภาย ใต กฎหมาย นัน้

ตระหนกั ด ีวา มนุษย เกิด มา ไม เทา เทยีม กนั และ ความ ไม เทา เทยีม

กนั นี ้เอง ที ่เปน บอ เกิด ของ การ รวม มอื กนั ทาง สงัคม และ อารยธรรม

ใน ความ เห็น ของ พวก เขา ความ เทา เทยีม กนั ภาย ใต กฎหมาย ไม ได

ถูก ออกแบบ มา แกไข ขอ เท็จ จริง ของ จักรวาล ที่ เปลี่ยนแปลง ไม ได

หรือ เพื่อ กำจัด ความ ไม เทา เทียม ตาม ธรรมชาติ ให หมด สิ้น ไป แต

ใน ทาง ตรง กนั ขาม ความ เทา เทียม กนั ภาย ใต กฎหมาย ถกู ออกแบบ

มา เปน เครื่อง มือ ที่ จะ รับ ประกัน วา มนุษยชาติ ทั้ง มวล จะ ได รับ

ประโยชน สูงสุด จาก ความ ไม เทา เทียม ดัง กลาว ...ความ เทา เทียม

กัน ภาย ใต กฎหมาย นั้น ดี เพราะ มัน ตอบ สนอง ความ ตองการ ของ

ทุก คน ได ดี ที่สุด ปลอย ให พลเมือง ผู มี สิทธิ เลือก ตั้ง ตัดสิน ใจ เอง วา

ใคร ควร ดำรง ตำแหนง ทางการ เมอืง และ ปลอย ให ผู บรโิภค ตดัสิน ใจ

เอง วา ใคร ควร มี อำนาจ กำหนด กิจกรรม การ ผลิต

โร เบริต โน ซคิ (Robert Nozick) นกั ปรชัญา สา ยลเิบอ ทา- เรียน ผู โดง ดัง มอง วา สังคม ใน อุดมคติ คือ สังคม ที่ มนุษย ทุก คน มี เสรภีาพ สมบรูณ ไมม ีใคร ถกู ใคร บงัคบั ไม วา ทาง ตรง หรอื ทาง ออม ใน เมื่อ รัฐ กระจาย ความ มั่งคั่ง ดวย การ บังคับ (โดย เฉพาะ การ จัด เก็บ ภาษี) โดย ท่ัวไป เขา จึง ไม เห็น ดวย กับ มาตรการ ลด การ เหล่ือม ล้ำ ทำนอง นี้ แต อยางไร ก็ตาม ถา ความ เหลื่อม ล้ำ ทาง เศรษฐกิจ บาง ดาน ใน สังคม สมัย ใหม เกิด จาก การ ใช กำลัง บังคับ ใน อดีต

2 Ludwig von Mises, Human Action: A Treatise on Economics, 4th Ed. Fox & Wilkes: 1966, หนา 841-842. ดาวนโหลด ได จาก http://mises.org/resources/3250

Page 24: Inequality in Thailand: An Introduction

24 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

(เชน เจา ขุน มูลนาย ใน อดีต ใช กำลัง ทหาร ริบ เอา ที่ดิน ทั้งหมด มา เปน ของ ตน) โน ซิค ก็ เห็น วาการ กระจาย ความ มั่งคั่ง กลับ คืน ดวย อำนาจ รฐั (เชน ออก กฎหมาย เพือ่ กระจาย ทีด่นิ กลบั ไป อยู ใน มอื ลกู หลาน ของ ผู ที ่เคย ถกู รบิ ทีด่นิ ทำ กนิ ใน อดตี) ก ็เปน สิง่ ที ่ยตุธิรรม และ มี ความ ชอบ ธรรม แต เฉพาะ ใน กรณี แบบ นี้ เทานั้น

จอหน รอลส (John Rawls) นัก ปรัชญา การเมือง ผูทรง อทิธพิล ทีส่ดุ หลัง สงครามโลก ครัง้ ที ่ 2 ไม เห็น ดวย กบั แนวคิด ของ โน ซคิ (และ ของ สา ยลเิบอ ทา เรยีน โดย รวม) ซึง่ เชดิชู เสรีภาพ ของ ปจเจก มากกวา ความ ยุติธรรม ใน สังคม มาก รอลส นำ เสนอ ใน หนังสือ เรื่อง A Theory of Justice (ทฤษฎี ความ ยุติธรรม) วา คน ทุก คน ควร “แบก รับ โชค ชะตา รวม กัน” ดวย การ ชวย เหลือ คน ที่ ยากจน ที่สุด และ เสีย เปรียบ ที่สุด ใน สังคม เพราะ ทุก คน นา จะ เห็น พอง ตอง กัน ได วา ถา บังเอิญ ตัว เอง เกิด มา เปน คนจน ก็ จะ เดือด รอน มาก และ อยาก ให รัฐ ยื่น มือ ชวย อยางไร ก็ตาม การ ที่ รอลส เห็น ดวย กับ การ ชวย เหลือ คน ที่ จน ที่สุด ไม ได แปล วา เขา คิด วา ความ เหล่ือม ล้ำ (ชอง วาง ระหวาง คนจน กับ คนรวย) เปน “ปญหา” ที่ จำเปน จะ ตอง ได รับ การ แกไข อัน ที่ จริง รอลส กลาว วา ภาวะ ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน ความ มั่งคั่ง อาจ “ชอบ ธรรม” ก็ได ถา หาก มัน เปน ภาวะ ที่ ปรับปรุง สังคม โดย รวม รวม ถึง ชีวิต ความ เปน อยู ของ คน ที่ จน ที่สุด ใน สังคม ดวย

รอลส ไม เคย แจกแจง วา ทฤษฎี ความ ยุติธรรม ของ เขา แปล วา สังคม ควร จัดการ กับ ความ เหล่ือม ล้ำ หรือ ไม อยางไร นัก คิด บาง คน ตคีวาม วา ขอ เสนอ ดงั กลาว ของ รอลส สนบัสนนุ ระบบ ทนุนยิม เสร ีเนื่องจาก ตาม ทฤษฎี แมแต สมาชิก ที่ จน ที่สุด ใน สังคม ก็ ยัง ได รับ

Page 25: Inequality in Thailand: An Introduction

25สฤณี อาชวานันทกุล

ประโยชน จาก นวตักรรม และ ความ เจริญ ที ่เกิด ใน ระบบ แต นกั คดิ คน อื่น เชื่อ วา มี เพียง “รัฐ สวัสดิการ” ที่ เขม แข็ง เทาน้ัน ที่ จะ ทำให อุดมคติ ของ รอลส เปน จริง

มิล ตัน ฟรี ด แมน (Milton Friedman) นัก เศรษฐศาสตร สำนัก เสรีนิยม คลาส สิก มอง วา รัฐ โดย ธรรมชาติ นั้น ดอย ประสิทธิภาพ กวา เอกชน และ มัก จะ ลุ แก อำนาจ ดัง นั้น จึง เชื่อ วา หาก รัฐ ทำ อะไร ก็ตาม เพื่อ พยายาม สราง ความ เทา เทียม ทาง เศรษฐกิจ เมือ่ นัน้ เสรีภาพ ทางการ เมอืง ของ ผูคน ก ็จะ ถกู บัน่ทอน เขา กลาว อยาง โดง ดัง วา3

สงัคม ที ่กำหนด ความ เทา เทยีม เปน เปา หมาย เหนอื เสรภีาพ

จะ ไมมี ทั้ง สอง อยาง สังคม ที่ ตั้ง เปา หมาย ที่ เสรีภาพ กอน ความ

เทา เทียม จะ มี ทั้ง สอง อยาง คอน ขาง สงู

2. ความ ยุติธรรม ทาง สังคม (Social Justice)นกั คดิ จำนวน ไม นอย มอง วา โครงสราง สงัคม ทกุ สงัคม ลวน

เปน ผลผลิต ของ ความ ไม เทา เทียม และ ความ อ ยุติธรรม ใน อดีต ที่ สะสม ทบัถม กนั มา นาน หลาย ชัว่ อาย ุคน นกั เศรษฐศาสตร แพ ทรคิ ไดมอนด (Patrick Diamond) และ นัก สังคมวิทยา แอนโธ นี กดิ เดน ส (Anthony Giddens) มอง วา สงัคม แบบ “คณุธรรม นยิม สมบูรณ” (Pure Meritocracy หมาย ถึง สังคม ที่ สมาชิก ทุก คน เลื่อน ฐานะ ได ดวย ความ สามารถ ของ ตนเอง ลวนๆ ไมใช ดวย อภิสิทธ์ิ หรือ เสน สาย ใดๆ) ที่ ปราศจาก การก ระ จาย ความ มั่งค่ัง

3 Milton Friedman, “Created Equal,” สารคดีโทรทัศนชุด Free to Choose, 1990. บทโทรทัศนตอนที่ 5.

Page 26: Inequality in Thailand: An Introduction

26 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ไมใช สังคม ที่ พึง ปรารถนา เนื่องจาก กลุม บุคคล ที่ ประสบ ความ สำเร็จ ใน รุน ของ ตวั เอง จะ กลาย เปน “ชนชัน้” ที ่ฝง ราก ลกึ สำหรับ คน รุน ตอ ไป เก็บ ความ มั่งคั่ง ที่ ตน สะสม เอา ไว เปน ทุน สำหรับ ลูก หลาน เมื่อ เปน อยาง นี้ ลูก หลาน ของ คนจน ก็ จะ ยิ่ง เสีย เปรียบ คนรวย และ ความ เหลื่อม ล้ำ ก็ จะ ยิ่ง ถาง กวาง ขึ้น เรื่อยๆ เพียง เพราะ พวก เขา เกิด มา ใน ครอบครัว ที่ ยากจน นัก คิด ที่ รณรงค ความ ยุติธรรม ทาง สังคม มอง วา นี่ คือ ความ อ ยุติธรรม ทาง สังคม ที่ ตองหา ทาง บรรเทา หรือ กำจัด ให ได มาก ที่สุด

นอกจาก จะ มอง วา สังคม ที่ ความ เหลื่อม ล้ำ ถาง กวาง ขึ้น เรื่อยๆ คือ สังคม ที่ ไม ยุติธรรม แลว นัก คิด สำนัก นี้ ยัง มอง วา ความ มั่งค่ัง และ ความ กาวหนา ทั้ง หลาย ใน สังคม ไม ได เกิด จาก ความ สามารถ ของ คน ที่ มี ฐานะ ดี เพียง อยาง เดียว แต ทุก คนใน สังคม ลวน มี สวน สราง ทั้ง สิ้น ไม วา เรา จะ มอง เห็น หรือ ไม ก็ตาม ยก ตัวอยาง เชน เศรษฐี ขาย หุน ทำ กำไร ใน ตลาด หุน ได ก็ เพราะ ระบบ สารสนเทศ ของ ตลาด หุน มี ไฟฟา ใช ถา หาก ไฟฟา นั้น ถูก สง มา จาก โรง ไฟฟา พลัง น้ำ และ ถา หาก การ กอสราง เขื่อน สง ผล ให ครอบครัว ชาว ประมง นับ หมื่น ครัว เรือน ตอง สูญ เสีย ชอง ทาง ทำ มา หากิน เพราะ หา ปลา ไม ได อกี ตอ ไป ก ็กลาว ได วา เศรษฐี เปน “หนี้ บุญ คุณ” ชาว ประมง

ดวย เหตุ นี้ นัก คิด อยาง ได มอน ด และ กิด เดน ส จึง มอง วา สังคม ตอง พยายาม สราง ความ ยุติธรรม หรือ บรรเทา ความ อ ยุติธรรม ทาง สังคม อยาง ตอ เนื่อง ดวย การก ระ จาย ราย ได และ ความ มัง่ค่ัง ให ตก ถงึ มอื ประชาชน ใน วง กวาง ทีส่ดุ เพือ่ “ตอบแทน

Page 27: Inequality in Thailand: An Introduction

27สฤณี อาชวานันทกุล

คน ทุก ภาค สวน ใน สังคม ที่ มี สวน สราง ความ มั่งคั่ง”4 และ ดัง นั้น พวก เขา จึง มัก จะ สนับสนุน แนวคิด “รัฐ สวัสดิการ” อยาง เต็ม รูป แบบ ที่ จัด สวัสดิการ ถวน หนา ให กับ ประชาชน ทุก คน ใน ฐานะ “สิทธิ พลเมือง” ที่ พึง ได รับ อยาง เสมอ ภาค และ ไม สนับสนุน “ระบบ สวสัดกิาร” ที ่เอกชน ม ีบทบาท นำ และ รฐั ชวย เหลอื แต เพยีง ผู ที่ ชวย ตัว เอง ไม ได จริงๆ (ตอง ผาน การ ทดสอบ ความ จำเปน (Means-Test กอน) ใน กรอบ คิด ของ สำนัก เสรีนิยม

3. สมรรถภาพ ของ มนุษย (Capabilities Approach)อมาต ยา เซน (Amartya Sen) นกั เศรษฐศาสตร สวสัดกิาร

เจาของ รางวัล โน เบล เศรษฐศาสตร ป 1998 คือ ผู พัฒนา แนวคิด ที่ ตั้ง อยู บน สมรรถภาพ ของ มนุษย (Capabilities) ซึ่ง บาง คน ก็ เรียก แนวคิด นี้ วา วิถี การ พัฒนา มนุษย (Human Development Approach) แนวคิด นี้ มอง วา ทั้ง ความ เหลื่อม ล้ำ ทาง เศรษฐกิจ และ ความ ยากจน เปน “การ ลิดรอน สมรรถภาพ” ของ มนุษย และ มอง วาการ เตบิโต ทาง เศรษฐกิจ และ ราย ได เปน เพยีง “เคร่ือง มือ” ที่ นำ ไป สู เปา หมาย ไมใช “เปา หมาย” ใน ตัว มัน เอง แนวคิด นี้ แตก ตาง จาก แนวคิด เสรีนิยม ใหม ที่ มอง วา “ความ เปน อยู ที่ ดี (Well-being) คือ การ บรรลุ อรรถประโยชน สูงสุด (Maximum Utility)” และ อรรถประโยชน สูงสุด จะ บรรลุ ได เมื่อ คน มี ราย ได และ ความ มั่งคั่ง สูง ที่สุด

สิ่ง ที่ เซน มอง วา เปน เปา หมาย ของ การ พัฒนา มนุษย คือ

4 Patrick Diamond และ Anthony Giddens, New Statesman. 27 มิถุนายน 2005.

Page 28: Inequality in Thailand: An Introduction

28 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

“อสิรภาพ” ซึง่ ม ีความ หมาย ครอบคลุม กวาง กวา ที ่ใช กนั ทัว่ไป เขา เสนอ วา มนษุย ทกุ คน ควร ม ีอสิรภาพ ที ่สำคญั 5 ประการ ดวย กนั ไดแก อสิรภาพ ทางการ เมอืง อสิรภาพ ทาง เศรษฐกิจ โอกาส ทาง สงัคม หลกั ประกัน วา ภาค รฐั จะ ม ีความ โปรงใส และ การ คุมครอง ความ ปลอดภัย ใน ชีวิต และ ทรัพยสิน

เซน ชี ้ให เหน็ วา เมือ่ สมรรถภาพ ของ คน ถกู ลดิรอน พวก เขา ก็ จะ ขาด อิสรภาพ และ อิสรภาพ 5 ประการ ก็ ลวน สง ผลก ระ ทบ ซึง่ กนั และ กนั ยก ตวัอยาง เชน คน ที ่อาศัย อยู ใน แหลงเส่ือมโทรม ที่ มี อาชญากร ชุกชุม (ขาด ความ ปลอดภัย ใน ชีวิต) มัก จะ มี ราย ได นอย มาก เม่ือ เทียบ กับ คน ที่ อาศัย อยู ใน ถิ่น ปลอดภัย เพราะ ไม กลา ออก จาก บาน ไป หา งาน (ขาด อิสรภาพ ทาง เศรษฐกิจ), ขนบธรรมเนียม ประเพณี ใน บาง สังคม ที่ มอง วา ผู หญิง ควร ทำ หนาท่ี เปน แม บาน ทำให ผู หญิง ไม ได รับ การ สนับสนุน ให มี การ ศึกษา (ขาด โอกาส ทาง สังคม) ทำให พวก เธอ ออก ไป ทำงาน นอก บาน ไม ได และ ทำงาน ที่ ตอง ใช ความ รู ไม ได (ขาด อิสรภาพ ทาง เศรษฐกจิ), สงัคม ที ่ไมม ีกลไก ให คน ม ีสวน รวม ทางการ เมอืง (ขาด อสิรภาพ ทางการ เมอืง) เพือ่ สราง ระบบ “ประชาธปิไตย แบบ ปรึกษา หารือ” เปน สังคม ที่ สุม เสี่ยง วา นักการ เมือง จะ ฉอ ราษฎร บงั หลวง อยาง โจงครึม่ (ขาด หลกั ประกนั ความ โปรงใส) เพราะ โกง ได โดย ไม ตอง กลัว วา จะ ถูก จับ หรือ ถูก ประชาชน ลง มติ ถอดถอน

ปฏิสัมพันธ อัน ซับ ซอน ระหวาง สมรรถภาพ และ อิสรภาพ ดาน ตางๆ แปล วา ยิ่ง สังคม มี ความ เหลื่อม ล้ำ เทาไร ก็ ยิ่ง ปด ชอง วาง ได ยาก ขึ้น เทานั้น เพราะ ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน หนึ่ง มัก จะ ตอก ลิ่ม ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน อื่นๆ ไป พรอม กัน ดวย ดวย เหตุ นี้

Page 29: Inequality in Thailand: An Introduction

29สฤณี อาชวานันทกุล

เซน จงึ เสนอ วา เปา หมาย ของ การ พฒันา สงัคม และ นโยบาย รฐั ควร อยู ที่ การ เพิ่ม ทาง เลือก ใน การ ดำรง ชีวิต ให แก ผูคน และ ปรับปรุง ระดับ ความ เปน อยู ที่ ดี ใน แนวทาง ที่ พวก เขา เลือก ดวย การ เพิ่ม อิสรภาพ ใน ดาน ตางๆ ขาง ตน เพิ่ม สมรรถภาพ ของ ผูคน ใน การ ใช อิสรภาพ ดัง กลาว (เชน ดวย การ เพิ่ม กลไก ที่ เปด โอกาส ให มี สวน รวม ทางการ เมือง) และ เพิ่ม ความ สามารถ ใน การ บรรลุ เปา หมาย ที่ คน แตละ คน ตั้ง (เชน ดวย การ จัดการ ศึกษา ที่ มี คุณภาพ บริการ สาธารณะ และ บริการ สาธารณสุข)

ระดับ การ ลิดรอน สมรรถภาพ ของ คน ที่ จะ “ใช” อิสรภาพ เหลา นี ้เปน เครือ่ง วดั “ระดบั ความ ยากจน” ได ด ีกวา ตวัเลข ราย ได เนื่องจาก สามารถ พูด ถึง แง มุม ของ “ความ ยากจน” ที่ ไม แสดง ใน ตัวเลข ราย ได ยก ตัวอยาง เชน สหรัฐอเมริกา มี ราย ได ประชากร ตอ หัวสูง กวา ยุโรป ก็ จริง แต มี อัตรา การ เขา ถึง ระบบ สาธารณสุข แย กวา สวน อินเดีย มี ราย ได ตอ หัว ไม ตาง จาก กลุม ประเทศ ทาง ตอน ใต ของ ทะเล ทราย ซะ ฮา รา ใน ทวีป แอฟริกา เทาไร นัก แต อนิเดยี ม ีอตัรา การ รู หนงัสอื และ อตัรา การ ตาย ของ ทารก แรก เกดิ ต่ำ กวา มาก

ความ เหลื่อม ล้ำ กับ การ เปลี่ยนแปลง ของ สังคม ไทยมมุ มอง ของ คน เกีย่ว กบั ความ เหล่ือม ลำ้ แตละ ดาน วา อะไร

เปน “ปญหา” และ ถา เปน ปญหา ควร แกไข “อยางไร” นั้น ไม ได เปน สิ่ง ที่ หยุด นิ่ง ตายตัว ทวา ผันแปร ไป ตาม การ เปลี่ยนแปลง ทาง เศรษฐกิจ และ สังคม ยก ตัวอยาง เชน สมัย ที่ โทรศัพท มือ ถือ ยัง มี ราคา แพง เพราะ เทคโนโลยี เพิ่ง เกิด คน ที่ จะ ใช มือ ถือ ได ก็ มี

Page 30: Inequality in Thailand: An Introduction

30 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

แต ชนชั้น กลาง ระดับ บน เทานั้น เรา จึง ไม คิด วา ความ เหล่ือม ล้ำ เรื่อง มือ ถือ เปน “ปญหา” ที่ ตอง แกไข เพราะ โทรศัพท เปน สินคา ฟุมเฟอย ไมใช ปจจัย ที่ จำเปน ตอ การ ดำรง ชีวิต

แต เมื่อ เวลา ผาน ไป มือ ถือ มี ราคา ถูก ลง เพราะ เทคโนโลยี กาวหนา คน ก็ มี กำลัง ซื้อ มาก ขึ้น เพราะ มี ราย ได ดี ขึ้น จาก ความ เจริญ ทาง เศรษฐกิจ คา นิยม ใน สังคม ก็ เปลี่ยน ไป เมื่อ โลก เขา สู ยุค ขอมูล ขาวสาร ปจจัย เหลา นี้ ทำให คน จำนวน มาก รูสึก วา การ ได ใช บริการ โทรคมนาคม ที ่ม ีคณุภาพ ไม ได เปน แค ความ ตองการ ของ ผู บรโิภค ที ่ม ีฐานะ อกี ตอ ไป แต เปน “สทิธ ิใน การ ได รบั บรกิาร สาธารณะ” ประการ หนึ่ง ซึ่ง รัฐ มีหนา ที่ รับ ประกัน

สินคา อุปโภค บริโภค ที่ คน มอง วา เปน เรื่อง ปกติ ธรรมดา ใน วิถี ชีวิต ปจจุบัน รวม ทั้ง โทรศัพท มือ ถือ ไมใช สิ่ง ที่ อยู นอก เหนือ จินตนาการ ของ คน ไทย สวน ใหญ อีก ตอ ไป ทั้งนี้ เน่ืองจาก การ เติบโต ทาง เศรษฐกิจ ของ ไทย ซึ่ง สามารถ เติบโต เฉลี่ย ถึง รอย ละ 7 ตอ ป เปน เวลา นาน กวา 25 ป สง ผล ให “ความ ยากจน เชิง สัมบูรณ” (Absolute Poverty) ลด ลง อยาง ตอ เนื่อง ตั้งแต หลัง สงครามโลก คร้ัง ที่ 2 เปนตน มา สัดสวน คน ไทย ที่ มี ราย ได ต่ำ กวา 2 เหรียญ สหรัฐ ตอ วัน (เสน ความ ยากจน ที่ ธนาคารโลก ใช เปน มาตร วัด ความ จน ทั่ว โลก) ลด ลง จาก รอย ละ 26 ใน ป 2535 เหลือ รอย ละ 12 ใน ป 2549 อยางไร ก็ตาม ประชากร ที่ อยู ใน กลุม “เฉียด จน” คือ มี ราย ได สูง กวา เสน ความ ยากจน เพียง เลก็ นอย ยงั ม ีจำนวน มาก ถา ขยบั เสน ความ ยากจน จาก 2 เหรยีญ ตอ วัน เปน 3 เหรียญ ตอ วัน (ประมาณ 2,700 บาท ตอ เดือน) คน ไทย ที่ อยู ใต เสน ความ ยากจน นี้ ก็ จะ เพิ่ม จาก รอย ละ 12 เปน

Page 31: Inequality in Thailand: An Introduction

31สฤณี อาชวานันทกุล

รอย ละ 29 ทันที5

ความ เจริญ ทาง เศรษฐกิจ ประกอบ กับ การ ขยาย ตัว ของ บริการ ทางการ เงิน อาทิ เงินผอน และ สิน เชื่อ สวน บุคคล สง ผล ให แมแต ประชากร ที่ มี ราย ได เพียง 4,000-5,000 บาท ตอ เดือน อยาง เชน บดิา มารดา ของ พชิยั ก ็สามารถ ม ีส่ิง อำนวย ความ สะดวก สมัย ใหม นอก เหนือ จาก ปจจัย สี่ อาทิ โทรศัพท มือ ถือ โทรทัศน และ ตู เย็น ได อยาง ไม ลำบาก (ดู แผนภูมิ 1)

5 เศรษฐ พฒุ ิสทุธิ วา ทนฤ พฒุ ิและ คณะ, “การ เตบิโต ความ เหลือ่ม ลำ้ และ โอกาส ใน ประเทศไทย” ใน Insight Aug-Sep 2010. ศูนยวิจัย เศรษฐกิจ และ ธุรกิจ ธนาคาร ไทย พาณิชย: 2553.

ที่มา: เศรษฐ พุฒิ สุทธิ วา ทนฤ พุฒิ และ คณะ, “Looking beyond Bangkok: ผู บริโภค ใน เมือง และ การ พัฒนา สู ความ เปน เมือง ใน ไทย”, ศูนยวิจัย เศรษฐกิจ และ ธุรกิจ ธนาคาร ไทย พาณิชย. Insight Dec 2010 - Jan 2011.

แผนภูมิ 1 ขั้นบันไดรายไดตอเดือน และจำนวนสินคาที่มีในครัวเรือน

Page 32: Inequality in Thailand: An Introduction

32 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

การ เปล่ียนแปลง ทาง เศรษฐกิจ และ สงัคม ที ่กลาว ถงึ ขาง ตน ทำให ปจจุบัน “ความ ยากจน สัมพัทธ” (Relative Poverty) มี น้ำ หนัก มากกวา “ความ ยากจน สัมบูรณ” (Absolute Poverty) ใน การ ประกอบ สราง เปน “ความ เหล่ือม ล้ำ ที่ คน รูสึก” (Per-ceived Inequality) แต ความ เหลื่อม ล้ำ ที่ คน รูสึก นั้น ก็ ใช วา จะ รูสึก เหมือน กัน หมด ใน บทความ เรื่อง “ความ เปลี่ยนแปลง ความ สัมพันธ ทาง สังคม ใน สังคม ไทย” ใน หนังสือพิมพ กรุงเทพ ธุรกิจ เดอืน พฤษภาคม 2553 รศ.ดร.อร รถ จกัร สตั ยา น ุรกัษ จาก คณะ มนุษยศาสตร มหาวทิยาลยั เชียงใหม ได อธิบาย มมุ มอง เก่ียว กบั ความ เหลือ่ม ลำ้ ที ่แตก ตาง กนั มาก ระหวาง ชนช้ัน ไว อยาง ชดัเจน ดัง ตอ ไป นี้6

ถงึ วนั นี ้ผม เช่ือ วา ทกุ คน เห็น พอง ตอง กนั วา ความ เหลือ่ม ลำ้

ทาง เศรษฐกิจ เปน รากฐาน ของ ความ ขัด แยง ใน สังคม ไทย เพียง

แต วา มุม มอง ของ ความ เหล่ือม ล้ำ นี้ แตก ตาง กัน ไป ตาม สถานะ

และ ชนชั้น

ชนชั้น นำ และ ชนชั้น กลาง ที่ ได รับ ผล ประโยชน จาก ความ

เหลื่อม ล้ำ นี้ จะ เห็น วา สังคม ไทย รับ รู เร่ือง นี้ ดี อยู แลว และ รัฐ ก็

พยายาม ชวย เหลอื อยู และ มกั จะ สรปุ วา สภาพ ความ เหล่ือม ลำ้ ก ็ด ี

กวา เดมิ มาก แมวา กลุม นี ้จะ ม ีความ ปรารถนา ด ีตอ คนจน อยู แต ก ็

เปน ลกัษณะ ของ การ “มอง ลง ตำ่” หรือ เปนการ เหน็ และ ชวย คนจน

6 อร รถ จักร สัต ยา นุ รักษ, “ความ เปลี่ยนแปลง ความ สัมพันธ ทาง สังคม ใน สังคม ไทย.” หนังสือพิมพ กรุงเทพ ธุรกิจ วัน ที่ 27 พฤษภาคม 2553. ดาวนโหลด ได จาก http://www.onopen.com/attachak/10-05-30/5382

Page 33: Inequality in Thailand: An Introduction

33สฤณี อาชวานันทกุล

ใน รูป แบบ ของ การ “กม ตัว” ลง ไป ชวย เหลือ เปน หลัก รูป แบบ การ

“กม ตวั” ลง ไป ชวย เหลือ คนจน ปรากฏ ก ็คอื การ “สงเคราะห” เปน

ครั้ง เปน คราว ไป

ใน อดีต การ “สงเคราะห” อาจ จะ สง ผล ดี ทาง อารมณ

ความ รูสึก ทั้ง “ ผูสงเคราะห” และ “ผูรับ การ สงเคราะห” เพราะ

นอกจาก ชวง เวลา แวบ เดียว ของ การ รับ การ สงเคราะห แลว ชีวิต

ของ “ผูรบั การ สงเคราะห” ไม ได พองพาน เขาไป เกีย่วของ อะไร กบั

“ผู สงเคราะห” เลย ดัง นั้น การ เปน คน ไร ศักด์ิศรี รอ รับ ของ บริจาค

จึง เปน เร่ือง ที่ รับ ได รวม ทั้ง “ผูรับ การ สงเคราะห” ก็ รูสึก ได ถึง วาระ

พิเศษ ที่ ได รับ การ สงเคราะห

ที่ สำคัญ ความ สัมพันธ ลักษณะ นี้ คือ ลักษณะ เดน หนึ่ง ใน

ความ เปน ไทย ที่ ปลูก ฝง กัน มา ที่ ตอง เอื้อเฟอ เผื่อ แผ กัน และ

เปนการ เอื้อเฟอ เผื่อ แผ แบบ “ผูใหญ-ผู นอย”

ใน ชวง เวลา 30 ป ที่ ผาน มา ความ เปลี่ยนแปลง ทาง

เศรษฐกิจ ใน ชนบท กอ ให เกิด การ ประกอบ อาชีพ ใน ลักษณะ ใหม

ซึ่ง ทำให มาตรฐาน การ ดำรง ชีวิต เปลี่ยนแปลง ไป อยาง มาก ความ

สามารถ ใน การ ครอบ ครอง สนิคา จำเปน ใน ชวีติ ประจำ วนั เปน เรือ่ง

ปกติ ธรรมดา ไป หาก ทาน ผู อาน ได มี โอกาส ไป เดิน เลน ตาม หาง

สรรพ สินคา หรือ ซู เปอร มารเก็ต ตาง จังหวัด จะ พบเห็น ถึง ความ

สามารถ ใน การ ครอบ ครอง สินคา อุปโภค-บริโภค ขยาย ตัว มาก ขึ้น

อยาง มากมาย นี ่เปน เหตุผล วา ทำไม หาง สรรพ สนิคา และ ซ ูเปอร-

มารเก็ต จึง ขยาย ตัว ออก หัว เมือง ไกล มาก ขึ้น ตาม ลำดับ

ความ เปลี่ยนแปลง ทาง เศรษฐกิจ นี้ ได ทำให เกิด ความ

เปลี่ยนแปลง ใน ความ สัมพันธ ทาง สังคม อยาง ลึก ซึ้ง ดวย โดย

Page 34: Inequality in Thailand: An Introduction

34 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

เฉพาะ อยาง ยิง่ การ ให ความ ชวย เหลอื ใน รปู แบบ ของ การ ให ความ

“สงเคราะห” ลักษณะ เดิม กลาย เปน เรื่อง ที่ ไม จำเปน และ การ รับ

ของ สงเคราะห เปน เรื่อง ของ การ ไร ซึ่ง ศักด์ิศรี ไป

หาก สำรวจ กัน จริงๆ ใน เขต พื้นท่ี ที่ มี ความ เปล่ียนแปลง

ทาง เศรษฐกิจ เขม ขน นั้น หาก มี พิธีการ ใหการ สงเคราะห จะ พบ

วา จำนวน ผู ที่ เขา รับ การ สงเคราะห นั้น นอย ลง และ มัก จะ เปนการ

เกณฑ หรือ ขอรอง จาก เจา หนาที่ ระดับ ตางๆ มาก ขึ้น แมวา คนใน

พืน้ ที ่นัน้ๆ อาจ จะ ยงั คง ม ีความ ยากจน หรอื ม ีราย ได ไม สงู มาก นกั

ก็ตาม ยกเวน วา ใน เขต หาง ไก ลมากๆ หรือ ใน ชวง เวลา วิกฤติ

ภัย ธรรมชาติ การ รับ ของ แจก จึง ไมใช เรื่อง พิเศษ ที่ ควร จะ รำลึก ถึง

บุญ คุณ ผู ให อีก ตอ ไป หาก แต เปน เรื่อง ไร ความ หมาย มาก ขึ้นๆ ที่

สำคัญ นอกจาก ไร ความ หมาย แลว ยัง แฝง ไว ดวย ความ รูสึก วา ถูก

ดู หมิ่น ศักดิ์ศรี อีก ดวย

กลาว ได วา ความ เปล่ียนแปลง ทาง เศรษฐกิจ ได ทำให

เปลี่ยนแปลง ลักษณะ ของ ความ ยากจน จาก ความ “ยากจน-

สมบรูณ” มา สู ความ “ยากจน เชงิ สมัพทัธ” และ ความ เปลีย่นแปลง

นี ้ได ทำให ความ คดิ ทาง ดาน ความ สมัพนัธ ทาง สงัคม เปล่ียนแปลง

ตาม ไป ดวย

ความ “ยากจนสมบูรณ” ตองการ และ ยอมรับ การ สงเคราะห

แต ความ “ยากจน เชิง สัมพันธ” ตองการ โอกาส และ ความ

เทา เทียม กัน

ใน เขต พื้นท่ี ความ เปลี่ยนแปลง เชน นี้ ระบบ อุปถัมภ ใน

ชนบท ที ่คร้ัง หนึง่ เคย เปนการ จดั ความ สมัพันธ ทาง สงัคม เชิง ผูใหญ-

ผู นอย และ เปน เชิง สงเคราะห ก็ ตอง ปรับ เปลี่ยน อยาง ลึก ซึ้ง จาก

Page 35: Inequality in Thailand: An Introduction

35สฤณี อาชวานันทกุล

เดมิ ที ่สามารถ เรยีก รอง ความ จงรกั ภกัด ีได ยาวนาน ก ็เปน เพยีง แลก

เปลี่ยน ความ จงรัก ภักดี กัน เปน ครั้งๆ ไป จน อาจ จะ กลาว ได วา ได

สูญ เสีย ลักษณะ สำคัญ ของ ระบบ อุปถัมภ ไป หมด แลว

ใน ขณะ ที่ ความ เจริญ เติบโต ทาง เศรษฐกิจ ผลัก ให

ประเทศไทย เขา สู กลุม “ประเทศ ที่ มี ราย ได ปาน กลาง” ใน นิยาม ของ ธนาคารโลก ขณะ ที่ ผล ประโยชน ใน ภาค เกษตร ตก อยู กับ พอคา คนกลาง และ บริษัท ขนาด ใหญ ใน อุตสาหกรรม เกษตร มากกวา เกษตรกร ราย ยอย สง ผล ให ประชาชน ใน ชนบท ดิ้นรน แสวงหา ราย ได ทาง อื่น นอก ภาค เกษตร คน หลาย ลาน คน ยาย เขา มา ทำงาน ใน ตัว เมือง มี ราย ได จาก การเกษตร นอย ลง อยาง ตอ เน่ือง กรณ ีของ พชิยั พบเห็น ได ทัว่ไป นัน่ คอื ตวั เขา ยงั มชีือ่ อยู ใน ทะเบยีน บาน ที ่โคราช แต มา ทำงาน ใน กรงุเทพฯ สวน บดิา มารดา ของ เขา ก็ มี ราย ได จาก การ ทำ นานอย ลง มี รายรับ จาก เบี้ย ยังชีพ สำหรับ ผู สูง อายุ และ เงิน ที่ พิชัย สง กลับ บาน มากกวา

ผศ.ดร.อภิชาต สถิต นิรามัย จาก คณะ เศรษฐศาสตร มหาวทิยาลยั ธรรมศาสตร ขยาย ความ ผล พวง ของ ปรากฏการณ นี้ ที่ มี ตอ ลักษณะ ของ “ระบบ อุปถัมภ” ใน ชนบท วา7

เม่ือ เงนิ ได สวน ใหญ มา จาก นอก ภาค เกษตร สิง่ นี ้อยาง นอย

ก็ หมายความ วา แหลง เงิน ได ของ ชาว ชนบท มี หลาย แหลง มาก ขึ้น

รวม ทั้ง แหลง เงิน กู ใน ระบบ เชน กองทุน หมูบาน กลุม ออม ทรัพย

7 ผศ.ดร.อภชิาต สถติ นริามยั, “เสือ้ แดง คอื ใคร?” หนงัสอืพมิพ ประชาชาต ิธรุกจิ, 3 พฤษภาคม 2553. ดาวนโหลด ได จาก http://www.onopen.com/apichat/10-05-02/5363

Page 36: Inequality in Thailand: An Introduction

36 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ธ.ก.ส. ก็ เพิ่ม ขึ้น ดวย ดัง นั้น ชาว ชนบท จึง มี ความ จำเปน ที่ จะ ตอง

พึ่ง พิง ผู อุปถัมภ ใน ภาค การเกษตร นอย ลง ดวย ใน อีก ดาน หนึ่ง

นโยบาย ประชา นยิม หลาย แบบ ก ็ทำให ชาว ชนบท ไม จำ ตอง พึง่ พงิ

ผู อปุถมัภ ทอง ถิน่ อกี ตอ ไป พดู อกี แบบ คอื นโยบาย ประชา นยิม ทำ

หนาท่ี แทน ผู อุปถัมภ ดั้งเดิม ใน แง นี้ ชาว ชนบท สวน ใหญ จึง กลาย

เปน เสรี ชน ที่ หลุด ออก จาก เครือ ขาย อุปถัมภ แบบ เดิมๆ แลว เขา

ไมมี ความ จำ เปน ใดๆ ที่ จะ ตอง เชื่อ ฟง หัว คะแนน อีก ตอ ไป

นอกจาก ระดบั ของ “ความ ยากจน สมัพทัธ” (ความ เหล่ือม ลำ้) จะ สง ผล ตอ ความ รูสกึ วา ภาวะ นี ้“รบั ไม ได” มากกวา ใน อดตี แลว บรรดา “คนจน” และ “คน เฉียด จน” ใน ไทย (รอย ละ 29 ของ ประชากร ทัง้ ประเทศ หรอื 19.6 ลาน คน) ยงั ม ีความ ไม มัน่คง ใน ชีวิต สูง กวา ครึ่ง ศตวรรษ กอน เนื่องจาก การ ดำรง ชีวิต ของพวก เขา ตอง พึ่งพา อาศัย ระบบ ตลาด มากกวา เดิม

ยอน หลัง กลับ ไป เมื่อ ป พ.ศ. 2505 ประเทศไทย ยัง มี ปา ไม ราว 171 ลาน ไร หรือ รอย ละ 53.3 ของ พื้นที่ ทั้ง ประเทศ สภาพ แวดลอม โดย รวม ยัง อุดม สมบูรณ คนใน ชนบท ถึง แม จะ มี ราย ได ต่ำ ก็ ยัง สามารถ พึ่งพา ธรรมชาติ ได มาก ทั้ง การ หา อาหาร และ นำ ทรพัยากร มา ทำ เปน เครือ่ง มอื เครือ่ง ใช ใน ครวั เรอืน ทำให อยู ได อยาง ไม ขัดสน ถึง แม จะ มี เงินสด นอย ก็ตาม

5 ทศวรรษ หลัง จาก ป 2505 ประชากร ไทย เพิ่ม ขึ้น กวา 2.3 เทา ปา ไม และ สิ่ง แวดลอม ถูก ทำลาย ไป กวา คร่ึง หนึ่ง ไม สามารถ เปน แหลง ยงัชพี ของ ผูคน ได เหมือน เคย ระบบ เศรษฐกิจ เขา สู ทนุนยิม อตุสาหกรรม และ สงัคม บรโิภค นยิม อยาง เตม็ ตวั คน ทุก ระดับ ใช จาย เพื่อ การ บริโภค มาก ขึ้น นอกจาก นี้ คา ครอง ชีพ

Page 37: Inequality in Thailand: An Introduction

37สฤณี อาชวานันทกุล

(เงินเฟอ) ก ็เพิม่ สงู ขึน้ ใน เวลา เดยีวกัน สง ผล ให กำลัง ซือ้ ทีแ่ท จรงิ เพิ่ม ขึ้น นอย กวา ราย ไดที่ เปน ตัว เงิน ทั้งหมด นี้ หมายความ วา ถึง แม คน ไทย โดย เฉล่ีย จะ มี ราย ได มาก ขึ้น “คนจน” และ “คน เฉียด จน” ก็ นา จะ มี ความ ไม มั่นคง ใน ชีวิต สูง กวา สมัย ที่ ปูยา ตา ยาย ของ พวก เขา ยัง เด็ก

Page 38: Inequality in Thailand: An Introduction

บท ที่ 1ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน เศรษฐกิจ

ความ เหลือ่ม ลำ้ ดาน เศรษฐกจิ เปน ความ เหลือ่ม ลำ้ ที ่ชดัเจน ทีส่ดุ ใน บรรดา ความ เหล่ือม ลำ้ ทัง้หมด ความ เหลือ่ม ลำ้ ดาน เศรษฐกิจ ที่ สำคัญ ไดแก ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน ราย ได ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน ทรัพยสิน ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน โครงสราง ภาษี และ ความ ไม เทา เทียม ใน การ แขงขัน

1.1 ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน ราย ได ถึง แมวา การ พัฒนา เศรษฐกิจ ที่ ผาน มา จะ ทำให คน ไทย

สวน ใหญ มี ราย ได เพิ่ม ขึ้น และ ทำให สัดสวน ของ “คนจน” ถา วัด จาก เสน ความ ยากจน นอย ลง อยาง ตอ เน่ือง ความ เหล่ือม ลำ้ ดาน ราย ได ระหวาง คนรวย กับ คนจน กลับ ไม เปลี่ยนแปลง ไป มาก นัก ดัง จะ เห็น จาก สถิติ ราย ได ของ ประชากร แบง ตาม ระดับ ราย ได 5 กลุม (Income Quintile) วา ใน ป 2552 กลุม ประชากร รอย ละ 20 ที่ มี ราย ได สูงสุด กับ กลุม ประชากร รอย ละ 20 ที่ มี ราย ได

Page 39: Inequality in Thailand: An Introduction

39สฤณี อาชวานันทกุล

ต่ำ สุด มี ราย ได ตาง กัน ถึง 11.3 เทา โดย กลุม ผู มี ราย ได สูงสุด รอย ละ 20 มี ราย ได คิด เปน สัดสวน ประมาณ รอย ละ 54.2 ของ ราย ได รวม ทัง้ ประเทศ ใน ขณะ ที ่กลุม ผู ม ีราย ได ตำ่ สดุ รอย ละ 20 ม ีราย ได คดิ เปน สดัสวน เพยีง ประมาณ รอย ละ 4.8 ของ ราย ได รวม ทั้ง ประเทศ เทานั้น (ดู แผนภูมิ 2)

สถิติ ราย ได เฉลี่ย ตอ คน ตอ เดือน ของ กลุม ประชากร แบง ตาม กลุม ราย ได 5 กลุม ใน ชวง ป 2531 - 2552 ชี้ ให เห็น วา ถึง แมวา ราย ได ของ แตละ กลุม ราย ได จะ ม ีอตัรา การ เตบิโต ที ่ใกล เคยีง กัน (ราว รอย ละ 8 ตอ ป) แต กลุม คน รอย ละ 20 ที่ รวย ที่สุด มี สวน เพิม่ ของ ราย ได สงู กวา กลุม อืน่ๆ มาก เนือ่งจาก “ฐาน ราย ได”

แผนภูมิ 2 สัดสวน ราย ได ของ ประชากร จำแนก ตาม ระดับ ราย ได 5 ระดับ (Income Quintile) ระหวาง ป 2531 ถึง 2552

ทีม่า: สถติ ิขอมลู ความ ยากจน และ การก ระ จาย ราย ได 2531-2552 สำนกังาน คณะ กรรมการ พฒันา เศรษฐกิจ และ สังคม แหง ชาติ http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=322

Page 40: Inequality in Thailand: An Introduction

40 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ใน แตละ ป มี ขนาด ใหญ กวา (ดู แผนภูมิ 3)

เม่ือ ดู ขอมูล ระดับ จังหวัด ของ ป 2552 สถิติ ก็ บง ชี้ วา ความ ยากจน สัมบูรณ และ ความ ยากจน สัมพัทธ (ความ เหลื่อม ล้ำ) มี แนว โนม จะ ดำเนิน ไป ใน ทิศทาง เดียวกัน อีก ทั้ง จังหวัด ที่ มี สัดสวน คน ยากจน มาก และ มี ความ เหลื่อม ล้ำ มาก ก็ มัก จะ มี ราย ได เฉล่ีย ตอ คน ตอ เดือน ต่ำ กวา จังหวัด ที่ มี สัดสวน คน ยากจน และ ความ เหลื่อม ล้ำ นอย กวา (ดู แผนภูมิ 4) อยางไร ก็ ดี ตัวเลข ดงั กลาว นบั เฉพาะ ประชากร ที ่ม ีทะเบยีน บาน อยู ใน จงั หวดั นัน้ๆ (ภูมิลำเนา เดิม) ไม ได ดู จาก “ประชากร ที่แท จริง” ของ แตละ จังหวัด (ยก ตัวอยาง เชน พิชัย ทำงาน อยู กรุงเทพฯ แต ชื่อ ของ เขา

แผนภูมิ 3 ราย ได เฉลี่ย ตอ คน ตอ เดือน จำแนก ตาม ระดับ ราย ได 5 ระดับ (Income Quintile) ระหวาง ป 2531 ถึง 2552

ทีม่า: สถติ ิขอมูล ความ ยากจน และ การก ระ จาย ราย ได 2531-2552 สำนกังาน คณะ กรรมการ พฒันา เศรษฐกิจ และ สังคม แหง ชาติ http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=322

Page 41: Inequality in Thailand: An Introduction

41สฤณี อาชวานันทกุล

ยัง อยู ที่ โคราช) จึง อาจ มี ความคลาด เคลื่อน คอน ขาง มาก สำหรับ จังหวัด ที่ มี ประชากร ตาง ถิ่น อาศัย อยู มาก อาทิ กรุงเทพฯ และ ระยอง (แรงงาน ใน นิคม อุตสาหกรรม ตางๆ)

หลัก ประการ หน่ึง ที่ ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน ราย ได ใน ไทย ยัง อยู ใน ระดบั สงู คอื การ ที ่คา จาง จรงิ แทบ ไม เพิม่ ขึน้ เลย หลงั จาก ที ่เศรษฐกิจ ไทย เริม่ ฟน จาก พษิ วกิฤติ เศรษฐกิจ ป 2540 คอื ตัง้แต ป 2544 เปนตน มา “คา จาง จริง” ท่ี วา น้ี หมาย ถึง คา จาง ท่ี หัก ผลก ระ ทบ จาก เงินเฟอ แลว เงินเฟอ มี ความ สำคัญ เพราะ ถา หาก ป นี้ ราย ได เรา เพิ่ม ขึ้น รอย ละ 5 แต คา ครอง ชีพ เพิ่ม ขึ้น รอย ละ 7 ก็ แปล วา

ที่มา: สำนักงาน สถิติ แหง ชาติ

แผนภูมิ 4 สัดสวน ราย ได เฉล่ีย ของ กลุม ประชากร ท่ี รวย ท่ีสุด รอย ละ 20 ตอ ประชากร ที่ จน ที่สุด รอย ละ 20 เปรียบ เทียบ กับ สัดสวน คน ยากจน และ ราย ได เฉลี่ย ตอ คน ตอ เดือน แบง ตาม จังหวัด, ป 2552

Page 42: Inequality in Thailand: An Introduction

42 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

“ราย ได จริง” ของ เรา ไม ได เพิ่ม ขึ้น แต ลด ลง รอย ละ 7-5 = 2 เพราะ ขาว ของ ที ่เรา ตอง ซือ้ ม ีราคา สงู ขึน้ มากกวา ราย ได สวน เพิม่ ดัง นั้น จึง ตอง หัก อัตรา เงินเฟอ (คา ครอง ชีพ) ออก ถา เรา อยาก รู วา “กำลัง ซื้อ” ของ เรา เพิ่ม ขึ้น จริง หรือ ไม

แผนภมู ิ5 เปรยีบ เทียบ การ เตบิโต ของ ผลติภัณฑ มวล รวม ภายใน ประเทศ (Gross Domestic Product ยอ วา จี ดี พี) กับ คา จาง จริง ระหวาง ป 2544 ถงึ 2553 จะ เห็น วา ใน ขณะ ที่ จี ดี พี เติบโต กวา รอย ละ 48 คา จาง จริง กลับ เพิ่ม ขึ้น เพียง รอย ละ 2 เทานั้น

หมายเหตุ: GDP ป 2010 มา จาก การ ประมาณ การ โดย SCB EIC คา จาง คำนวณ จาก ขอมูล ทั้ง ป ยกเวน คา จาง ใน ป 2010 ใช เฉพาะ ขอมูล ใน ไตรมาส แรก ของ ป (ขอมูล ลาสุด) ทีม่า: ศนูยวจิยั เศรษฐกิจ และ ธรุกจิ ธนาคาร ไทย พาณชิย, “Thailand: Tougher Challenges, Bigger Opportunities,” SCB Annual Conference on the Economy, 3 กันยายน 2553

แผนภูมิ 5 การ เติบโต ของ ผลิตภัณฑ มวล รวม ภายใน ประเทศ (จี ดี พี) และ คา จาง จริง ระหวาง ป 2544 ถึง 2553

2544 2547 2550 2553F

Page 43: Inequality in Thailand: An Introduction

43สฤณี อาชวานันทกุล

สถิติ ดัง กลาว สอดคลอง กับ รายงาน ผล ตอบแทน ผู บริหาร โลก (Global Management Pay Report) ประจำ ป ค.ศ. 2009 ของ เฮย กรุป บริษัท ที่ ปรึกษา ดาน ทรัพยากร บุคคล ชั้น นำ ซึ่ง ระบุ วา ชอง วาง คา ตอบแทน (Pay Gap) ระหวาง ผู บริหาร กับ พนักงาน ระดับ เสมียน ใน ไทย สูง เปน อันดับ 3 ใน เอเชีย คือ 11.4 เทา ตาม หลัง จีน (12.6 เทา) และ อินโดนีเซีย (11.5 เทา) นอกจาก นี ้บรษิทั ใน ไทย ยงั จาย คา ตอบแทน ผู บรหิาร สูง เปน อันดับ ที่ 26 ของ โลก สูง กวา ทุก ประเทศ ใน เอเชีย ยกเวน ฮองกง ซึ่ง อยู อันดับ ที่ 111

คำถาม ที่ วา เหตุ ใด คา จาง จึง เพิ่ม นอย มาก นับ ตั้งแต วิกฤติ เศรษฐกิจ เปนตน มา เปน ประเด็น ซับ ซอน ที่ ตอง อาศัย การ ศึกษา วิจัย อยาง เปน ระบบ เพื่อ คนหา ราก สาเหตุ ตอ ไป ผู เขียน คิด วา ปจจัย สำคัญ 2 ประการ ที่ นา จะ อธิบาย ได ไม มาก ก็ นอย ไดแก

1) บริษทั จำนวน มาก ยงั ยดึ วถิ ี“รบัจาง ผลติ หรือ ขาย สนิคา ราคา ถูก ดวย แรงงาน ถูก” เปน โมเดล ใน การ ทำ ธุรกิจ (ดัง ที่ นัก เศรษฐศาสตร บาง ทาน ขนาน นาม วา “เศรษฐกิจ จับกัง”) แทนที่ จะ ลงทนุ เพิม่ ผลติ ภาพ ของ แรงงาน (เชน ดวย การ ฝก อบรม) และ เพิม่ คา จาง เปนการ ตอบแทน เพือ่ ให สามารถ ผลติ สนิคา ที ่ม ีมลูคา เพิม่ ทัง้ ที ่โมเดล แรงงาน ถกู ได สญู เสยี ความ สามารถ ใน การ แขงขนั ไป มาก แลว ใน ยุค ที่ ประเทศ เพื่อน บาน ใน เอเชีย อาทิ จีน อินเดีย และ เวยีดนาม ลวน เตบิโต เปน เศรษฐกิจ เกดิ ใหม ที ่ม ีคาแรง ถกู กวา

1 Hay Group, Global Management Pay Report 2009. ดาวนโหลด ได จาก http://www.haygroup.com/Downloads/ww/misc/Global_Man-agement_Pay_Report_2009_fi nal.pdf

Page 44: Inequality in Thailand: An Introduction

44 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ไทย และ มี โครงสราง พื้น ฐาน ที่ ทัดเทียม หรือ เหนือ กวา

2) ลูกจาง ไทย โดย รวม ยัง มี อำนาจ การ ตอ รอง คอน ขาง ต่ำ และ ใช สิทธิ รวม กลุม เพื่อ เจรจา ตอ รอง คอน ขาง นอย ขอมูล ของ กรม สวัสดิการ และ คุมครอง แรงงาน ใน ป 2552 ระบุ วา ทั่ว ประเทศ มี สมาชิก สหภาพแรงงาน ของ กิจการ เอกชน เพียง 352,400 คน หรอื ไม ถงึ รอย ละ 1 ของ แรงงาน ทัง้หมด เปน อตัรา ที ่ตำ่ ทีส่ดุ ใน เอเชีย สาเหตุ สวน หนึง่ คอื กฎหมาย แรงงานสัมพนัธ พ.ศ. 2518 ระบุ วา แรงงาน ตอง ขอ อนุญาต จัด ตั้ง สหภาพ จาก กระทรวง แรงงาน กอน และ เปด เผย ราย ชื่อ สมาชิก สหภาพ ขอ กำหนด นี้ ทำให คน งาน ที่ เปน แกน นำ ถูก เลิก จาง องคกร นายจาง ขดั ขวาง การ จดั ตัง้ และ กลัน่ แกลง แรงงาน ที ่เปน สมาชิก สหภาพ ได โดย งาย เทากับ วา สิทธิ เสรีภาพ ใน การ รวม กลุม ของ แรงงาน ไทย ยัง ไม ได รับ การ คุมครอง ตาม กฎหมาย ให เปน ไป ตาม มาตรฐาน แรงงาน สากล ซึ่ง ระบุ วา ลูกจาง ควร มี สิทธิ รวม ตัว กัน โดย ไม ตอง ขอ อนุญาต จาก นายจาง หรือ รัฐ กอน

ปจจุบัน ไทย เปน ประเทศ สวน นอย ที่ ยัง ไม ให สัตยาบัน รบัรอง อนสุญัญา องคกร แรงงาน ระหวาง ประเทศ (International Labor Organization ยอ วา ไอ แอล โอ) ฉบับ ที่ 87 (เสรีภาพ ใน การ สมาคม และ การ คุมครอง สิทธิ ใน การ รวม ตัว) และ ฉบับ ที่ 98 (การ รวม ตัว และ รวม เจรจา ตอ รอง) โดย สาระ สำคัญ ของ อนุสัญญา 2 ฉบับ นี้ ไดแก 1) คน งาน และ นายจาง สามารถ ใช สทิธิ ใน การ รวม ตวั ได อยาง เสร ีโดย ไม ตอง ได รบั อนญุาต ลวง หนา

Page 45: Inequality in Thailand: An Introduction

45สฤณี อาชวานันทกุล

จาก รฐั 2) เจา หนาที ่รฐั ตอง ละเวน การ แทรก แซง ใดๆ ที ่จะ จำกัด สทิธิ ใน การ ดำเนนิ กจิกรรม ของ องคกร ของ ทัง้ ลกูจาง และ นายจาง 3) สหภาพแรงงาน มี เสรีภาพ ใน การ เขา รวม องค กร ใดๆ ทั้ง ใน ประเทศ และ ตาง ประเทศ โดย เสรี และ 4) คุมครอง ลูกจาง จาก การก ระ ทำ ใดๆ อนั เปนการ เลอืก ปฏิบตั ิดวย สาเหตุ ที ่เปน สมาชิก สหภาพแรงงาน (ขอ 1-3 จาก อนุสัญญา ฉบับ ที่ 87, ขอ 4 จาก อนสุัญญา ฉบับ ที่ 98)

1.2 ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน ทรัพยสินนอก เหนอื จาก เงนิ ใน โลก ยงั ม ีทรพัยสนิ อกี หลาย ประเภท

ที่ สราง ความ มั่งคั่ง ให กับ เจาของ ได อยาง ตอ เนื่อง ทรัพยสิน ซึ่ง เปน ที่ นิยม ของ เศรษฐี ไทย ไดแก ที่ดิน (ได คา เชา และ มูลคา เพิ่ม จาก ราคา ที่ สูง ขึ้น) และ หุน (ได เงินปนผล และ มูลคา เพิ่ม จาก ราคา ที่ สูง ขึ้น) สวน หนึ่ง เนื่องจาก ที่ ผาน มา รัฐ ไทย ยัง ไม เคย จัด เก็บ ภาษี จาก ที่ดิน และ หุน อยาง เหมาะ สม และ เปน ธรรม (เชน ไม เคย คำนวณ ภาษี จาก มูลคา ปจจุบัน ของ ที่ดิน) ทำให ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน ทรัพยสิน ใน ไทย มี ขนาด ใหญ กวา ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน ราย ได หลาย เทา โดย ผล การ สำรวจ ภาวะ ทาง เศรษฐกิจ และ สังคม ของ ครัว เรือน ของ สำนักงาน สถิติ แหง ชาติ ป 2549 พบ วา กลุม ประชาชน ที่ รวย ที่สุด รอย ละ 20 ของ ประเทศ มี ทรัพยสิน เกือบ 70 เทา ของ กลุม ที่ จน ที่สุด รอย ละ 20 ของ ประเทศ (ดู แผนภูมิ 6)

Page 46: Inequality in Thailand: An Introduction

46 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

บัญชี เงิน ฝาก อาจ เรียก ได วา เปน ทรัพยสิน ที่ “พื้น ฐาน” ทีส่ดุ สำหรับ คน สวน ใหญ แต ถงึ กระน้ัน ธนาคาร แหง ประเทศไทย (ธปท.) ก ็ประเมนิ วา ม ีคน กวา 18 ลาน คน ที ่เขา ไม ถงึ บรกิาร ของ ธนาคาร พาณิชย ใน ระบบ เนื่องจาก อาศัย อยู นอก เขต อำเภอ ที่ มี สาขา ให บรกิาร สถติ ิธปท. ประจำ เดือน พฤศจิกายน 2553 ชี ้วา บัญชี เงิน ฝาก ที่ มี ยอด เงิน ฝาก ไม ถึง 50,000 บาท มี จำนวน ถึง 70.1 ลาน บัญชี คิด เปน รอย ละ 88 ของ จำนวน เงิน ฝาก ทั้งหมด แต มี ยอด เงิน ฝาก รวม เพียง 300,973 ลาน บาท คิด เปน รอย ละ 4 ของ เงนิ ฝาก ทัง้ ระบบ ใน ขณะ ที ่บญัช ีที ่ม ีเงนิ ฝาก ตัง้แต 10 ลาน บาท ขึน้ ไป ม ีจำนวน 70,182 บญัช ีหรอื นอย กวา รอย ละ 0.1 ของ จำนวน บัญชี เงิน ฝาก ทั้ง ประเทศ บัญชี เหลา นี้ มี ยอด เงิน ฝาก รวม กัน ประมาณ 2.9 ลาน ลาน บาท คิด เปน รอย ละ 40 ของ เงิน ฝาก ธนาคาร ทั้ง ระบบ หรือ รอย ละ 39 ของ จี ดี พี ป 2553

แผนภูมิ 6 ทรัพยสิน ครัว เรือน แบง ตาม ฐานะ ป 2549

ท่ีมา: การ สำรวจ ภาวะ ทาง เศรษฐกิจ และ สังคม ของ ครัว เรือน พ.ศ. 2549 โดย สำนักงาน สถิติ แหง ชาติ

Page 47: Inequality in Thailand: An Introduction

47สฤณี อาชวานันทกุล

เนื่องจาก คน ที่ มี เงิน ฝาก หลาย ลาน บาท มัก จะ มี บัญชี เงิน ฝาก มากกวา 1 บัญชี เพื่อ ความ สะดวก ใน การ บริหาร จัดการ ฉะนัน้ ถา เจาของ บญัช ีที ่ม ียอด เงนิ ฝาก 10 ลาน บาท ขึน้ ไป ม ีบญัช ีเฉลี่ย คนละ 2 บัญชี ก็ หมายความ วา เงิน ฝาก กวา 2 ใน 5 (รอย ละ 40) ของ เงิน ฝาก ทั้ง ประเทศ อยู ใน มือ คน เพียง 35,000 คน หรือ รอย ละ 0.06 ของ ประชากร ทั้ง ประเทศ เทาน้ัน

เมื่อ หัน มา ดู ตลาด หุน ไทย ความ มั่งคั่ง ใน ตลาด นี้ ก็ มี การก ระ จุก ตัวอยาง เขม ขน ไม แพ เงิน ฝาก โดย จาก ผล การ จัด อันดับ “เศรษฐี หุน ไทย” ประจำ ป 2553 ของ นิตยสาร การ เงิน ธนาคาร พบ วา เศรษฐี หุน ไทย 500 คน ที่ รวย ที่สุด ถา คิด เปน ตระกูล มี ประมาณ 200 ตระกูล ถือ หุน ใน ตลาดหลักทรัพย รวม กัน มี มูลคา ถึง 690,231 ลาน บาท คิด เปน รอย ละ 8.3 ของ มูลคา ตลาดหลักทรัพย ทั้ง ตลาด ใน ป เดียวกัน

ใน ขณะ ที่ ประเทศไทย มี ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน ทรัพยสิน คอน ขาง สูง ภาระ หนี้ สิน ของ คนจน เมื่อ เทียบ กับ ราย ได ก็ เพ่ิม ขึ้น มากกวา สัดสวน ของ คนรวย โดย เฉพาะ หลัง เกิด วิกฤติ เศรษฐกิจ ป 2540 เปนตน มา จาก รายงาน การ สำรวจ ภาวะ เศรษฐกจิ และ สงัคม ของ ครวั เรอืน ป 2552 โดย สำนักงาน สถติ ิแหง ชาติ พบ วา ครวั เรอืน ทัว่ ประเทศ ม ีหนี ้สนิ รอย ละ 60.9 ของ ครวั เรอืน ทัง้หมด โดย ม ียอด หนี ้เฉล่ีย 134,699 บาท ตอ ครวั เรอืน ใน จำนวน นี ้สวน ใหญ (รอย ละ 67.7) เปนการ กอ หนี้ เพื่อ ใช ใน ครัว เรือน คือ ซื้อ บาน หรือ ที่ดิน รอย ละ 34.3 และ ใช ใน การ อุปโภค บริโภค รอย ละ 30.8 ที่ เหลือ เปน หนี้ ที่ กู มา ทำ ธุรกิจ และ ทำการ เกษตร (รอย ละ

Page 48: Inequality in Thailand: An Introduction

48 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

15.6 และ 14.3 ตาม ลำดับ) สวน หนี้ เพื่อ ใช ใน การ ศึกษา มี เพียง รอย ละ 2.6 เทานั้น

ถา แบง หน้ี ตาม ประเภท พบ วา ครัว เรือนไทย เปน หน้ี ใน ระบบ อยาง เดียว รอย ละ 82.4 เปน หนี ้นอก ระบบ อยาง เดยีว เพียง รอย ละ 7.9 โดย จำนวน เงิน เฉลี่ย ที่ เปน หนี้ ใน ระบบ สูง กวา นอก ระบบ ถึง 18 เทา (127,715 และ 6,984 บาท ตาม ลำดับ) ตัวเลข ดัง กลาว ไม นา แปลก ใจ เมื่อ คำนึง วา ผู มี ราย ได นอย โดย มาก จะ กู เงิน ใน ระบบ กอน ถา กู ได เนื่องจาก หนี้ นอก ระบบ มีด อก เบี้ย สูง จะ กู เงิน นอก ระบบ ก็ ตอ เมื่อ มี ความ จำเปน เรง ดวน จริงๆ เทาน้ัน เชน เพือ่ ซือ้ หา อาหาร ใน ยาม ที ่เงินสด ขาดมือ (นกั เศรษฐศาสตร เรยีก การ ใช เงนิ กู ระยะ สัน้ แบบ นี ้วา การ “เกลีย่ การ บรโิภค” หรอื Consumption Smoothing) หนี ้นอก ระบบ โดย มาก จึง มีอายุ เพียง ไม กี่ วัน หรือ สัปดาห

อยางไร ก ็ด ีแมวา ราย ได ครวั เรอืน เฉลีย่ จะ เพิม่ ขึน้ ทกุ ป แต ราย ได ก็ เพิ่ม ใน อัตรา ที่ ชา กวา ภาระ หนี้ สิน โดย เฉพาะ ระหวาง ป 2544 ถงึ 2547 เมือ่ รฐับาล พรรค ไทยรกัไทย ใช นโยบาย “ประชา นยิม” ระดับ ฐานราก โดย เปด ให ประชาชน ใน หมูบาน ทัว่ ประเทศ ได เขา ถึง สิน เชื่อ อาทิ กองทุน หมูบาน กอง ทุน เอส เอ็ม แอล ฯลฯ อัตราสวน หนี้ สิน ตอ ราย ได เฉลี่ย ลด ลง ใน ป 2549 และ 2550 และ ทรงตัว อยู ที่ ระดับ 6.4 เทา ใน ป 2552 ซึ่ง เปน ตัวเลข ที่ ไม นา กังวล นัก ใน ภาพ รวม (แผนภูมิ 7)

Page 49: Inequality in Thailand: An Introduction

49สฤณี อาชวานันทกุล

นโยบาย “ประชา นิยม” ที่ เพิ่ม ชอง ทาง ของ ประชาชน ใน การ เขา ถึง แหลง ทุน โดย เฉพาะ ใน ชนบท หาง ไกล ที่ ธนาคาร พาณิชย ไม ประสงค ที่ จะ ให บริการ นั้น นับ วา เปน นโยบาย ที่ ดี ใน หลกั การ เนือ่งจาก เงนิ ทนุ เปน ปจจยั ที ่ขาด ไม ได ใน การ ประกอบ ธุรกิจ หรือ ลงทุน เพื่อ ยก ระดับ ฐานะ ความ เปน อยู อยางไร ก็ตาม นโยบาย เหลา นี ้ยงั ม ีปญหา ใน ทาง ปฏบิตั ิคอน ขาง มาก โดย เฉพาะ ปญหา การ ปลอย กู โดย ไม มุง สราง “วนิยั ทางการ เงิน” และ ทกัษะ “การ อาน ออก เขยีน ได ทางการ เงนิ” (Financial Literacy) ของ ทัง้ ชาว บาน ผู กู และ ชาว บาน ผู ปลอย กู (กรรมการ กองทุน) ซึ่ง เปน ปจจยั ที ่สำคัญ อยาง ยิง่ ตอ ศกัยภาพ ใน การ จดัการ หนี ้สิน ใน ระยะ ยาว ทำให ตอง ม ีการ ปรบัปรงุ เงือ่นไข โครงสราง การ จดัการ และ กระบวนการ ปลอย หนี้ และ ติดตาม หนี้ อยาง ตอ เน่ือง

เม่ือ เปรียบ เทียบ สถานการณ ราย ภาค พบ วา ครัว เรือน ใน ภาค อสีาน ที ่ประสบ ปญหา หนี ้สนิ ม ีสดัสวน สงู กวา ภาค อืน่ และ

แผนภูมิ 7 หนี้ สิน ราย ได และ คา ใช จาย ครัว เรือน และ อัตรา การ เติบโต ของ หนี้ และ ราย ได ระหวาง ป 2543 ถึง 2552

ท่ีมา: การ สำรวจ ภาวะ ทาง เศรษฐกิจ และ สังคม ของ ครัว เรือน พ.ศ. 2552 โดย สำนักงาน สถิติ แหง ชาติ

Page 50: Inequality in Thailand: An Introduction

50 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

มี ราย ได และ ราย จาย ต่ำ กวา ภาค อื่น (แผนภูมิ 8) นอกจาก นี้ ถา ด ูสดัสวน หนี ้สนิ ตอ ราย ได แยก ตาม กลุม ราย ได พบ วา สดัสวน หน้ี ตอ ราย ได สำหรับ กลุม คน ที ่จน ทีส่ดุ รอย ละ 20 ใน ไทย เพิม่ สงู ขึน้ มาก ระหวาง ป 2543 ถงึ 2547 โดย เฉพาะ คน ที ่จน ทีส่ดุ รอย ละ 10 นั้น มี สัดสวน หนี้ ตอ ราย ได สูง กวา 20 เทา ซึ่ง ชัดเจน วา ไมมี ทาง ชำระ คืน ได เทากับ วา มี การ ออม สุทธิ ติดลบ ตอก ลิ่ม ความ เหล่ือม ล้ำ ให มี แนว โนม วา จะ ถาวร กวา เดิม จาก รุน สู รุน เพราะ นอกจาก จะ ไมมี มรดก ตกทอด แลว ลูก หลาน ของ คนจน เหลา นี้ ยัง ตอง แบก รับ ภาระ หนี้ สิน ตอ ไป เมื่อ บิดา มารดา ลวง ลับ ไป แลว อีก ดวย2

2 สมชัย จิตสุชน, 2549.

แผนภูมิ 8 ราย ได และ คา ใช จาย เฉลี่ย ตอ คน ตอ เดือน และ สัดสวน ครัว เรือน ที่ มี หนี้ สิน ป 2552

ที่มา: สำนักงาน สถิติ แหง ชาติ

Page 51: Inequality in Thailand: An Introduction

51สฤณี อาชวานันทกุล

1.3 ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน โครงสราง ภาษีความ เหล่ือม ลำ้ ทาง ภาษี เปน สาเหตุ ที ่สำคัญ ประการ หน่ึง

ของ ความ เหลื่อม ล้ำ ทาง เศรษฐกิจ เนื่องจาก ภาษี เปน กลไก ที่ สำคัญ ใน การ ลด ความ เหลือ่ม ลำ้ ทัง้ ใน แง ของ การ เปน แหลง ราย ได สำหรับ ให รัฐ ใช จาย ใน การ จัด สวัสดิการ และ ดำเนิน มาตรการ ลด ความ เหลือ่ม ลำ้ ตางๆ และ ใน แง ของ การ สราง แรง จูงใจ ที ่ถกู ตอง ให กบั ปจเจก ชน โดย เฉพาะ ผู ม ีฐานะ ใน สงัคม (เชน การ เก็บ ภาษ ีที่ดิน ใน อัตรา ที่ สะทอน มูลคา ปจจุบัน ของ ที่ดิน จะ ลด แรง จูงใจ ที่ เจาของ ที่ดิน จะ กักตุน ที่ดิน ไว เก็ง กำไร โดย ไม ใช ประโยชน) ถา หาก ระบบ ภาษี เงิน ได มี ความ เหล่ือม ล้ำ หรือ ไม เปน ธรรม ความ เหล่ือม ล้ำ ทาง เศรษฐกิจ แทนท่ี จะ ดี ขึ้น ก็ อาจ แย ลง ได

ประเทศไทย ปจจุบัน มี แรงงาน ใน ระบบ ประมาณ 23 ลาน คน แต มี ผู เสีย ภาษี เพียง 7 ลาน คน หรือ ไม ถึง รอย ละ 18 ของ ผู มี งาน ทำ และ ยัง ไมมี แนว โนม ที่ จะ เพิ่ม ขึ้น ใน ป 2553 สรุ จติ ลกัษณะ สตุ และ คณะ จาก ธนาคาร แหง ประเทศไทย ศกึษา สัดสวน ราย ได ภาษี ตอ จี ดี พี กับ ราย ได ตอ หัว ของ ไทย ตั้งแต ป 2535-2552 พบ วา ราย ได ตอ หัว เพิ่ม สูง ขึ้น อยาง ตอ เนื่อง ใน ขณะ ที่ การ จัด เก็บ ราย ได ภาษี แทบ ไม เพิ่ม ขึ้น เลย และ บาง ปก ลับ ลด ลง ดวย ซำ้ ไป (แผนภมู ิ9) ทำให ไทย เปน ประเทศ ที ่จดั เกบ็ ภาษ ีได คอน ขาง นอย เมื่อ เทียบ กับ ตาง ประเทศ คือ เก็บ ภาษี ได เพียง รอย ละ 17 ของ จี ดี พี ขณะ ที่ กลุม ประเทศ กำลัง พัฒนา อื่นๆ จัด เก็บ ภาษี ได เฉลี่ย รอย ละ 26.7 ของ จี ดี พี3

3 สรุ จติ ลกัษณะ สตุ และ คณะ, ความ ทาทาย ของ นโยบาย การ คลัง: สู ความ

Page 52: Inequality in Thailand: An Introduction

52 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

เม่ือ ดู ขอมูล ราย จังหวัด พบ วา จังหวัด สวน ใหญ มี สัดสวน

ผู เสยี ภาษ ีตอ ประชากร กำลงั แรงงาน ใน ระดบั ตำ่ กวา คา เฉลีย่ ซึง่ อยู ที่ รอย ละ 21.6 ตอ ประชากร กำลัง แรงงาน ใน ขณะ จังหวัด เหลา นั้น สวน ใหญ ยัง มี ราย ได เฉลี่ย ใน ระดับ ต่ำ และ มี ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน ราย ได ใน ระดับ สูง (แผนภูมิ 10)

นา สังเกต วา ถึง แมวา ประชาชน ที่ มี ราย ได สูง ซึ่ง เปน ประชากร สวน นอย ของ ประเทศ ตอง แบก รับ ภาระ ภาษี สวน ใหญ แต ความ เหลื่อม ล้ำ ของ ราย ได ก็ ยัง ไม ลด ลง สาเหตุ หลัก นา จะ เนือ่ง มา จาก การ ที ่ประสทิธภิาพ ใน การ จดั เกบ็ ภาษ ียงั อยู ใน ระดบั ต่ำ ดัง ที่ ได กลาว ไป แลว ขาง ตน และ ผู มี ราย ได สูง มี โอกาส ที่ จะ

ยั่งยืน และ การ ขยาย ตัว ทาง เศรษฐกิจ ใน ระยะ ยาว. สัมมนา วิชาการ ประจำ ป 2553 ธนาคาร แหง ประเทศไทย: 2553.

แผนภูมิ 9 สัดสวน ราย ได ภาษี ตอ จี ดี พี และ ราย ได ตอ หัว ของ ประชากร ไทย ระหวาง ป 2535 ถึง 2552

ที่มา: World Bank Database และสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง

Page 53: Inequality in Thailand: An Introduction

53สฤณี อาชวานันทกุล

เขา ถึง ขอมูล เกี่ยว กับ การ บริหาร จัดการ ภาษี ได ดี กวา ผู มี ราย ได นอย ทำให แมวา ผู มี ราย ได สูง เปน ผูรับ ภาระ ภาษี สวน ใหญ ของ ประเทศ การ จาย ภาษี ก็ ยัง ไม มาก พอที่ จะ ทำให ความ เหล่ือม ล้ำ ของ ราย ได ลด ลง

คณะ ผู วิจัย จาก ธปท. พบ วา ถึง แม ประสิทธิภาพ การ จัด เกบ็ ภาษ ีโดย รวม ของ ประเทศ จะ ยงั อยู ใน ระดับ ตำ่ ประสทิธภิาพ ใน การ เก็บ ภาษ ีบาง ประเภท เชน ภาษี มูลคา เพิ่ม (VAT) ก็ อยู ใน เกณฑ ดี และ ไมมี ปญหา ใน การ จัด เก็บ ปจจุบัน ประเทศไทย ยัง

ที่มา: สำนักงาน สถิติ แหง ชาติ และ กรม สรรพากร ขอมูล ณ วัน ที่ 4 มกราคม 2554 และ การ คำนวณ

แผนภูมิ 10 สัดสวน ผู เสีย ภาษี ตอ ประชากร กำลัง แรงงาน เปรียบ เทียบ กับ สัดสวน ราย ได เฉลี่ย ของ ประชากร ที่ รวย ที่สุด รอย ละ 20 ตอ ประชากร ที่ จน ที่สุด รอย ละ 20

Page 54: Inequality in Thailand: An Introduction

54 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

พึ่ง พิง ภาษี ทาง ออม เชน ภาษี สรรพสามิต ภาษี มูลคา เพ่ิม ภาษี ศุลกากร มากกวา ภาษี ทาง ตรง อยาง ภาษี เงิน ได บุคคล ธรรมดา และ ภาษี นิติบุคคล โดย ราย ได ภาษี จาก ภาษี ทาง ออม เหลา นี้ มี สัดสวน สูง ถึง รอย ละ 26 ของ ราย ได ภาษี ทั้งหมด คำถาม ที่ วา ประเทศไทย ควร พ่ึง พิง ภาษี ทาง ตรง หรือ ภาษี ทาง ออม มากกวา กัน ยัง เปน ประเด็น ที่ ถก เถียง กัน อยู และ ยัง ตอง ถก เถียง กัน ไป อีก นาน เนือ่งจาก ภาษ ีแตละ ชนดิ ม ีทัง้ ขอดี และ ขอ เสยี ที ่ตอง นำ มา ชัง่ น้ำ หนัก อยาง รอบคอบ ประกอบ กับ ขอมูล เชิง ประจักษ

ยก ตัวอยาง เชน ภาษี มูลคา เพิ่ม ใน ตัว มัน เอง ไมใช ภาษี ที่ กาวหนา เนื่องจาก จัด เก็บ ตาม การ บริโภค ใน เมื่อ คนจน ยอม บริโภค มากกวา คนรวย เม่ือ คิด เปน สัดสวน ตอ ราย ได (เพราะ มี ราย ได ไม มาก) ภาระ ภาษี มูลคา เพิ่ม ที่ คนจน ตอง แบก รับ เมื่อ เทียบ กับ ราย ได จงึ สงู ตาม ไป ดวย อยางไร กต็าม รฐับาล สามารถ ยกเวน การ จัด เก็บ ภาษี มูลคา เพิ่ม สำหรับ สินคา และ บริการ ที่ จำเปน ตอ การ ดำรง ชพี ของ ผู ม ีราย ได นอย ซึง่ ปจจบุนั ก ็ทำ อยู แลว หลาย รายการ เชน เนื้อ สัตว อาหาร สัตว ปุย และ พืช ผล ทางการ เกษตร

นัก เศรษฐศาสตร ผู เชี่ยวชาญ ดาน การ พัฒนา จำนวน ไม นอย รวม ทั้ง โจ เซฟ สติ กลิทซ (Joseph Stiglitz) เจาของ รางวัล โน เบล เศรษฐศาสตร ประจำ ป 2544 มอง วา ภาษี ทาง ออม อยาง เชน ภาษี มูลคา เพิ่ม นั้น เหมาะ สม กับ ประเทศ กำลัง พัฒนา มากกวา ภาษี ทาง ตรง เนื่องจาก ประเทศ กำลัง พัฒนา โดย นิยาม คือ ประเทศ ที่ ประชาชน สวน ใหญ ยัง มี ราย ได ไม มาก ภาษี เงิน ได นติบิคุคล ก ็จดั เกบ็ ได นอย เนือ่งจาก ม ีธรุกรรม จำนวน มาก ที ่อยู ใน เศรษฐกจิ นอก ระบบ ไม ทำ ผาน สถาบนั การ เงนิ ใน ระบบ นอกจาก

Page 55: Inequality in Thailand: An Introduction

55สฤณี อาชวานันทกุล

นี ้งาน วจิยั หลาย ชิน้ ยงั พบ วาการ จดั เกบ็ ภาษ ีทาง ตรง ใน อตัรา สงู มี สวน บั่นทอน แรง จูงใจ ใน การ ทำงาน ของ ลูกจาง และ บริษัท อัน จะ สง ผล ลบ ตอ การ เตบิโต ทาง เศรษฐกิจ และ การ คดิคน นวตักรรม ใน ภาค ธุรกิจ

อยางไร ก ็ด ีปจจบุนั ม ีภาษี บาง ประเภท ที ่ไม เปน ธรรม และ ทำให ความ เหลื่อม ล้ำ (ระหวาง คนจน กับ คนรวย หรือ ระหวาง ผู ประกอบ การ ราย ยอย กับ ผู ประกอบ การ ราย ใหญ) เลว ราย ลง อยาง ชดัเจน เชน ภาษี สรรพ สามิต ที ่กำหนด ให สนิคา ชนดิ เดยีวกัน ตอง ชำระ ภาษี ตาง กัน ตาม เกรด ของ สินคา อยาง เชน เบียร ที่ แบง ออก เปน 3 เกรด เปนตน ทั้ง ที่ ใน หลัก การ สินคา ชนิด เดียวกัน ควร มี ภาระ ภาษี เทา กัน4

กฎ เกณฑ ใน ระบบ ภาษี ไทย อีก ประการ หน่ึง ที่ ทำให ความ เหล่ือม ล้ำ เลว ราย ลง ไดแก เกณฑ ใน การ หัก คา ลด หยอน ภาษี เงิน ได สวน บุคคล ซึ่ง เอื้อ ประโยชน แก ผู มี ราย ได สูง คอน ขาง มาก โดย ผล การ วิเคราะห ขอมูล ของ กรม สรรพากร พบ วา ผู มี เงิน ได สูง กวา 4 ลาน บาท (ซึ่ง ใน ประเทศไทย มี จำนวน หลัก หมื่น คน ถา ประเมิน จาก สถิติ รายรับ ภาษี เงินได) ใช สิทธิ หัก คา ลด หยอน ดัง กลาว สูง มาก คือ เฉลี่ย คนละ 216,850 บาท ใน ป 2551 เพิ่ม ขึ้น จาก ป 2544 ถึง 208,280 บาท ขณะ ที่ ผู มี ราย ได นอย แทบ ไม ได รับ ประ โย ชน ใดๆ จาก นโยบาย นี้ เนื่องจาก เสีย ภาษี

4 รศ.ดร.นิพนธ พัว พงศกร, การ คลัง เพื่อ ความ เปน ธรรม ทาง เศรษฐกิจ: ปญหา โครงสราง ภาษี. สถาบัน วจิยั เพิ ่อกา รพฒั นา ประเทศไทย. 6 พฤศจิกายน 2552

Page 56: Inequality in Thailand: An Introduction

56 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

นอย มาก หรอื ไม เสยี อยู แลว5 (แผนภมู ิ11) สถานการณ ดงั กลาว สง ผล ให ระดบั ความ “กาวหนา” ของ ภาษ ีเงินได (คนรวย จาย มาก คนจน จาย นอย เมื่อ เทียบ กับ สัดสวน ราย ได) ถูก ลด ทอน ดวย คา ลด หยอน ดัง กลาว

คา ลด หยอน บาง รายการ อาจม อง ได วา ทำให ประชาชน ได ประโยชน ใน ระดับ ที่ “คุม” กับ ความ เหลื่อม ล้ำ ที่ เพิ่ม ขึ้น เชน คา ลด หยอน เบี้ย ประกัน ชีวิต และ คา ลด หยอน เงิน ลงทุน ใน กองทุน รวม เพื่อ การ เลี้ยง ชีพ (Retirement Mutual Fund หรือ ยอ วา RMF) มี วัตถุประสงค เพื่อ สง เสริม ให ประชาชน มี เงิน ออม เพียง พอ สำหรับ ชีวิต หลัง เกษียณ ใน วัย ชรา อยางไร ก็ตาม คา ลด หยอน หลาย รายการ ก็ ไมมี เหตุผล เพียง พอที่ จะ มอง ได วา คุม 5 สุรจิต ลักษณะสุต และคณะ (อางแลว).

1LTF, RMF, ดอกเบ้ีย บาน, ซื้อ บาน ใหม, ประกัน ชีวิต, PVD, ประกัน สังคม

แผนภูมิ 11 การ ประเมิน การ สูญ เสีย ภาษี ราย ได จาก คา ลด หยอน บาง ประเภท

ที่มา: จาก การ คำนวณ ขอมูล กรม สรรพากร

Page 57: Inequality in Thailand: An Introduction

57สฤณี อาชวานันทกุล

กับ ความ เหลื่อม ล้ำ ที่ เพิ่ม ขึ้นยก ตวัอยาง เชน ใน ป 2551 รฐับาล พล.อ.สรุ ยทุธ จ ุลา นนท

ประกาศ ขยาย วงเงิน หัก คา ลด หยอน ใน การ คำนวณ ภาษี เงิน ได บุคคล ธรรมดา สำหรับ เงิน ลงทุน ใน RMF และ กองทุน รวม หุน ระยะ ยาว (Long-Term Equity Fund หรือ LTF) เปน 7 แสน บาท ตอ ป จาก เดมิ 5 แสน บาท ตอ ป เปนการ ชัว่คราว โดย ให ม ีผล ตั้งแต 1 ต.ค. - 31 ธ.ค. 2551 โดย ยัง คง กำหนด ให หัก ลด หยอน ได ตาม ที่ จาย จริง ไม เกิน 15% ของ เงิน ได พึง ประเมิน ตัวเลข นี้ หมายความ วา ผู ที่ จะ สามารถ หัก คา ลด หยอน ได เต็ม 700,000 บาท จะ ตอง มี ราย ได ไม ต่ำ กวา ป ละ 700,000 / 15% = 4.67 ลาน บาท โดย ประมาณ ซึง่ ทัง้ ประเทศ ม ีผู เสยี ภาษี เพยีง ประมาณ 11,000 ราย ที่ รายงาน วา มี เงิน ได สุทธิ ตอ ป สูง กวา 4 ลาน บาท ใน ป 25496

นอกจาก นี ้เมือ่ คำนึง วา วตัถปุระสงค เริม่ แรก ใน การ จดั ตัง้ กองทุน LTF และ RMF คอื การ สราง วนิยั ใน การ ลงทนุ และ การ ออม (และ สง เสรมิ ให ประชาชน ม ีหลกั ประกนั หลงั เกษยีณ ใน กรณ ีของ RMF) การ ประกาศ ใช มาตรการ ขยาย วงเงิน ลด หยอน ดัง กลาว เปน สวน หนึ่ง ของ ความ พยายาม ที่ จะ “พยุง” ตลาด หุน ใน ระยะ สั้น ที่ กำลัง อยู ใน ชวง “ขา ลง” จึง ผิด วัตถุประสงค ของกอง ทุน ทั้ง สอง ประเภท อยาง สิ้น เชิง

6 ทรงธรรม ปนโต, บณุย วรรณ หมัน่ วชิา ชยั และ ฐติ ิมา ช ูเชิด, การ ประเมิน ความ เปราะ บาง ทางการ คลัง ของ ไทย: ความ เส่ียง และ นัย ตอ การ ดำเนิน นโยบาย ใน อนาคต, นำ เสนอ ใน งาน สัมมนา วิชาการ ประจำ ป 2550 ธนาคาร แหง ประเทศไทย: 2550.

Page 58: Inequality in Thailand: An Introduction

58 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

สำหรับ ภาษี เงิน ได นิติบุคคล ผล การ ประเมิน ของ สุร จิต และ คณะ ไม พบ วา มี ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน ภาระ ภาษี ที่ มี นัย สำคัญ ระหวาง บริษัท ขนาด เล็ก กลาง และ ใหญ ที่ อยู นอก ตลาดหลักทรัพย กลาว คือ ใน ป 2551 บริษัท ขนาด ใหญ จาย ภาษี เมื่อ คิด เปน สัดสวน ของ ราย ได มากกวา บริษัท ขนาด เล็ก อยางไร กต็าม กรณี ยกเวน คอื บริษทั จำกดั ที ่ม ีขนาด กลาง จาย ภาษ ีมากกวา บริษัท จำกัด ที่ มี ขนาด ใหญ อยาง มี นัย สำคัญ คือ รอย ละ 2.44 ของ ราย ได บริษัท ขนาด กลาง เทียบ กับ รอย ละ 1.43 ของ ราย ได บริษัท ขนาด ใหญ7 (แผนภูมิ 12)

สถติ ิขาง ตน บง ชี ้วา ความ เหลือ่ม ลำ้ ดาน โครงสราง ภาษ ีใน ภาค ธุรกิจ ไม นา จะ เกิด จาก อัตรา การ จาย ภาษี ไม เทา กัน เทากับ การ ที่ รัฐ ให สิทธิ ประโยชน ทาง ภาษี แก บริษัท ขนาด ใหญ ใน กรณี ที่ ไมมี เหตุผล รองรับ เพียง พอ ดัง ตัวอยาง กรณี ที่ คณะ กรรมการ 7 สุรจิต ลักษณะสุต และคณะ (อางแลว).

แผนภูมิ 12 สัดสวน ภาระ ภาษี ตอย อด ขาย จำแนก ตาม ประเภท ขนาด และ ประเภท อุตสาหกรรม ของ บริษัท นอก ตลาดหลักทรัพย ป 2551

ที่มา: จาก การ คำนวณ งบ การ เงิน กระทรวง พาณิชย

Page 59: Inequality in Thailand: An Introduction

59สฤณี อาชวานันทกุล

สง เสริม การ ลงทุน (Board of Investment หรือ บี โอ ไอ) ใหการ สง เสริม การ ลงทุน โครงการ ดาวเทียม ไอ พี ส ตาร ของ บริษัท ชิน แซท เทลไลท จำกัด (มหาชน) ใน ป 2546 (ดู กรณี ศึกษา 1)

กรณี ศึกษา 1: สิทธิ ประโยชน ของ โครงการ ไอ พี สตาร

ใน ป 2546 คณะ กรรมการ สง เสริม การ ลงทุน (Board of

Investment หรือ บี โอ ไอ) ได มี มติ ใน ป 2546 ใหการ สง เสริม การ

ลงทุน โครงการ ดาวเทียม ไอ พี ส ตาร ของ บริษัท ชิน แซท เทลไลท

จำกัด (มหาชน) บริษัท ยอย ของ บริษัท ชิน คอรปอเรชั่น จำกัด

(มหาชน) ซ่ึง ศาล รฐัธรรมนญู ได ม ีคำ พพิากษา ใน เดอืน กมุภาพนัธ

ป 2553 วา ยัง เปน ของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชิน วัตร และ ภรรยาโดย

พฤตินัย ระหวาง ดำรง ตำแหนง นายก รัฐมนตรี โดย บี โอ ไอ ให

สิทธิ พิเศษ ยกเวน ภาษี ใน สวน ของ ราย ได จาก ตาง ประเทศ ซึ่ง

คาด วา มี สัดสวน ประมาณ รอย ละ 80 ของ ราย ได ทั้งหมด และ

ยกเวน ภาษี นาน ที่สุด เทา ที่ กฎหมาย ไทย เอ้ือ อำนวย นั่น คือ 8

ป หรือ เทียบ กับ สิทธิ ประโยชน สูงสุด ที่ ให กับ การ ลงทุน ใน เขต 3

ซึ่ง เปน ทอง ที่ หาง ไกล

โครงการ ไอ พ ีส ตาร ไม สมควร ได รบั การ สง เสรมิ การ ลงทนุ

จา กบี โอ ไอ ดวย เหตุผล หลาย ประการ เชน เปน โครงการ ที ่บรษิทั

ตัดสิน ใจ ลงทุน ไป แลว อยาง นอย 2-3 ป กอน หนาที่ จะ ขอรับ การ

สง เสริม กิจกรรม การ ตลาด ก็ ดำเนิน ไป แลว นอกจาก นี้ ผู บริหาร

บริษทั ยงั ให สมัภาษณ สือ่ วา ดาวเทยีม ไอ พ ีส ตาร เปน ดาวเทียม ที ่

มี ประสิทธิภาพ ดี กวา ดาวเทียม แบบ เดิม กวา 30 เทา ทั้งหมด นี้

แสดง ให เห็น วา แม บริษัท ไม ได รับ สิทธิ์ ประโยชน จา กบี โอ ไอ

Page 60: Inequality in Thailand: An Introduction

60 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

บริษัท ก็ ตัดสิน ใจ ลงทุน ไป แลว ดวย ความ เชื่อ มั่น วา จะ ทำ กำไร

ได สูง สวน ผล ประโยชน ก็ ตก อยู กับ คน ไทย ใน ประเทศ คอน ขาง

นอย เนื่องจาก ดาวเทียม ประกอบ ขึ้น ใน ตาง ประเทศ และ ขาย

บริการ ให แก ลูกคา ตาง ประเทศ เปน หลัก มติ ขอ งบี โอ ไอ ใน กรณี

นี้ จึง ขัด แยง กับ วัตถุประสงค ของ การ สง เสริม การ ลงทุน ซึ่ง อยู ที่

การ สราง แรง จงูใจ ให เอกชน ลงทุน ใน ประเทศ เพิม่ ขึน้ โดย เฉพาะ

ใน พื้นท่ี หาง ไกล8

ประเด็น หน่ึง ที่ นา สังเกต เกี่ยว กับ กรณี นี้ คือ ใน ป 2535

และ 2537 กอน ที ่พ.ต.ท. ทกัษณิ ชนิ วตัร จะ เปน นายก รฐัมนตร ี

ดาวเทยีม ไทย คม 1 และ ไทย คม 2 ของ บรษิทั เดียวกนั เคย ขอรับ

การ สง เสรมิ การ ลงทนุ แต ถ ูกบ ีโอ ไอ ปฏเิสธ โดย เหตุผล ขอ หนึง่ ที ่

บี โอ ไอ ให ใน เวลา นั้น ให คือ เปน โครงการ ที่ ดำเนิน การ ไป แลว แต

มา ขอรับ สง เสริม การ ลงทนุ ยอน หลัง แต ใน ป 2546 บี โอ ไอ กลับ

ใหการ สนับสนุน โครงการ ไอ พี ส ตาร อยาง งายดาย ดวย เหตุ นี้

กรณี ที่ เกิด ขึ้น จึง นับ ได วา เปน ตัวอยาง ที่ ชัดเจน ของ “คอรัปช่ัน

เชิง นโยบาย” ซ่ึง เกิด ข้ึน เม่ือ นัก ธุรกิจ ราย ใหญ กุม อำนาจ ทางการ เมือง

และ ใช อำนาจ นั้น สั่ง การ แทรกแซง หรือ กดดัน ให หนวย งาน

ของ รัฐ เอ้ือ ประโยชน ให กับ ธุรกิจ ของ ตัว เอง หรือ พวก พอง ซึ่ง

นอกจาก จะ เปนการ ใช อำนาจ โดย ไม ชอบ ดวย กฎหมาย แลว ยัง

สราง ความ เหลือ่ม ลำ้ ใน การ แขงขนั อยาง ไม เปน ธรรม อกี ดวย (ด ู

ขอ 1.4 ความ ไม เทา เทียม ใน การ แขงขัน)

8 อาน ราย ละเอยีด ได ใน ดร.สม เกยีรต ิตัง้ กจิ วา น ิชย, “รูทนั “ทกัษิณ” ว ิพาก ษ คอรัปชั่น นโยบาย (ตอน จบ)” หนังสือพิมพ ประชาชาติ ธุรกิจ, 19 เมษายน 2547.

Page 61: Inequality in Thailand: An Introduction

61สฤณี อาชวานันทกุล

1.4 ความ เหลือ่ม ลำ้ เชงิ พืน้ที:่ งบ ประมาณ และ การ เขา ถงึ

สิน เชื่อ ใน ระบบ

เมื่อ คำนึง วา รัฐ มีหนา ที่ พัฒนา ประเทศ เพื่อ กระจาย ความ มั่งคั่ง และ ความ อยูดี มี สุข อยาง ทั่ว ถึง และ เมื่อ คำนึง วา ระบบ ธนาคาร พาณิชย เปน กลไก สำคัญ ใน การ พัฒนา ชนบท ความ เหล่ือม ล้ำ ใน การ จัดสรร งบ ประมาณ และ ปลอย สิน เช่ือ ก็ อาจ มี สวน ซำ้ เตมิ ความ เหล่ือม ลำ้ เชงิ พืน้ที ่โดย เฉพาะ ระหวาง กรงุเทพฯ กับ จังหวัด อื่น

สถิติ หนึ่ง ที่ บง ชี้ ความ เหล่ือม ล้ำ ของ ระดับ การ พัฒนา เชิง พืน้ที ่ได ด ีคอื อตัรา ความ เปน เมอืง ซึง่ หมาย ถงึ สดัสวน ประชากร ท่ี อาศยั อยู ใน เมอืง ตอ จำนวน ประชากร ทัง้หมด ปจจบุนั อตัรา ความ เปน เมือง ของ ไทย อยู ที่ รอย ละ 31 ซึ่ง ต่ำ กวา เพื่อน บาน อยาง มาเลเซีย (รอย ละ 71) และ อินโดนีเซยี (รอย ละ 53) มาก ถา ดู จาก ระดับ ราย ได ตอ หัว อัตรา ความ เปน เมือง ของ ไทย ควร อยู ที่ รอย ละ 45 ตาม แนว โนม ของ ภูมิภาค นอกจาก นี้ กรุงเทพฯ ยัง เปน เมือง ที่ มี จำนวน ประชากร มหาศาล กวา เมือ งอ่ืนๆ มาก โดย เมือง ที่ ประชากร คน เมือง เปน อันดับ 2 รอง จาก กรุงเทพฯ คือ สมทุรปราการ ม ีจำนวน คน เมอืง เพยีง รอย ละ 6 ของ กรุงเทพฯ ตำ่ กวา “กฎ ลำดบั ขนาด” (rank-size rule) อนั เปน กฎ ความ สมัพนัธ เชงิ ประจกัษ ที ่บอก วา เมอืง ที ่ม ีประชากร คน เมอืง มาก เปน อนัดบั 2 จะ มี ประชากร คน เมือง รอย ละ 50 ของ เมือง ที่ มี ประชากร คน เมือง มาก ที่สุด (แผนภูมิ 13)9

9 เศรษฐ พุฒิ สุทธิ วา ทนฤ พุฒิ และ คณะ, Looking beyond Bangkok: ผู บริโภค ใน เมือง และ การ พัฒนา สู ความ เปน เมือง ใน ไทย, ศูนยวิจัย เศรษฐกิจ และ ธุรกิจ ธนาคาร ไทย พาณิชย. Insight Dec 2010 - Jan 2011.

Page 62: Inequality in Thailand: An Introduction

62 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

แผนภูมิ 13 อัตรา ความ เปน เมือง และ จำนวน ประชากร คน เมือง ตาม ลำดับ ที่ ของ เมือง เปรียบ เทียบ ระหวาง ไทย เกาหลีใต มาเลเซีย และ อินโดนีเซีย

ที่มา: เศรษฐ พุฒิ สุทธิ วา ทนฤ พุฒิ และ คณะ, “Looking beyond Bangkok: ผู บริโภค ใน เมือง และ การ พัฒนา สู ความ เปน เมือง ใน ไทย”, ศูนยวิจัย เศรษฐกิจ และ ธุรกิจ ธนาคาร ไทย พาณิชย. Insight Dec 2010 - Jan 2011.

แผนภูมิ 14 ราย ได ของ ครัว เรือน เฉลี่ย ตอ หัว ป 2550 แยก ตาม สาขา อาชีพ และ ภูมิภาค

หมายเหตุ: ผู ประกอบ การ รวม เฉพาะ กิจการ ที่ มี ลูกจาง ผู ประกอบ วิชาชีพ เฉพาะ ทาง รวม เฉพาะ ผู ที่ ไม เปน เจาของ กิจการ เกษตรกร ราย ยอย รวม เฉพาะ เกษตรกร ที่ มี ที่ดิน เปน ของ ตนเอง โดยท่ี ดิน ทำ กิน มี ขนาด ไม เกิน 20 ไร ใน กรณี ที่ สมาชิก ใน ครัว เรือน มี อาชีพ ตาง กัน ใช อาชีพ ของ ครัว เรือน ใน การ จัด กลุมทีม่า: เศรษฐ พฒุ ิสทุธ ิวา ทนฤ พฒุ ิและ คณะ, “การ เตบิโต ความ เหลือ่ม ลำ้ และ โอกาส ใน ประเทศไทย” ใน Insight Aug-Sep 2010. ศูนยวิจัย เศรษฐกิจ และ ธุรกิจ ธนาคาร ไทย พาณิชย: 2553.

Page 63: Inequality in Thailand: An Introduction

63สฤณี อาชวานันทกุล

ใน ป 2550 ผู ประกอบ การ ใน กรุงเทพฯ มี ราย ได สูง กวา คน งาน โรงงาน ใน กรงุเทพฯ 3 เทา และ สงู กวา เกษตรกร ราย ยอย ใน อีสาน 12 เทา และ ผู ที่ อาศัย อยู ใน ภาค อีสาน มี ราย ได ต่ำ ที่สุด ไม วา จะ ประกอบ อาชีพ ใด ก็ตาม (แผนภูมิ 14)

ปญหา เชิง โครงสราง ที่ เปน สาเหตุ ประการ หนึ่ง ของ ความ เหลื่อม ล้ำ เชิง พื้นที่ ดัง กลาว คือ ความ เหลื่อม ล้ำ ใน การ จัดสรร งบ ประมาณ โดย ปจจบุนั จงัหวดั ที ่ม ีผลติภณัฑ มวล รวม ตอ คน ตอ ป (Gross Provincial Product Per Capita) สูง มี แนว โนม ที่ จะ ได งบ ประมาณ รัฐ สูง แทนท่ี จะ เปน ทาง กลับ กัน เพื่อ ลด ความ เหลื่อม ล้ำ (แผนภูมิ 15)

แผนภูมิ 15 ผลิตภัณฑ มวล รวม ตอ คน ตอ ป และ งบ ประมาณ รัฐ ตอ คน ตอ ป ป 2553

ที่มา: งบ ประมาณ โดย สังเขป ประจำ ปงบประมาณ พ.ศ. 2554 ฉบับ ปรับปรุง www.bb.go.th และ สำนักงาน คณะ กรรมการ พัฒนาการ เศรษฐกิจ และ สังคม แหง ชาติ www.nesdb.go.th

Page 64: Inequality in Thailand: An Introduction

64 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

เมื่อ ดู งบ ประมาณ ราย จังหวัด พบ วา หาก ไม นับ กรุงเทพฯ งบ ประมาณ รฐั ตอ หวั ถกู จดัสรร ไป ยงั กลุม ประชากร ที ่ยากจน ทีส่ดุ ได ด ีใน ระดบั หนึง่ กลาว คอื จงัหวดั ที ่ยากจน ทีส่ดุ จงัหวดั หนึง่ คอื แมฮองสอน ได รับ การ จัดสรร งบ ประมาณ 210 บาท ตอ คน ตอ ป อยางไร ก็ตาม ยัง มี อีก หลาย จังหวัด ที่ มี ราย ได นอย แต ไม ได รับ การ จัดสรร งบ ประมาณ ที่ สูง เพื่อ ยก ระดับ ราย ได ของ ประชากร ยก ตัวอยาง เชน จังหวัด ศรีสะเกษ สุรินทร และ บุรีรัมย มี ราย ได ตอ หัว ราว 35,000 บาท ตอ คน ตอ ป แต กลับ ได รับ การ จัดสรร งบ ประมาณ เพียง 28-30 บาท ตอ คน ตอ ป เทาน้ัน (แผนภูมิ 16)

ที่มา: งบ ประมาณ โดย สังเขป ประจำ ปงบประมาณ พ.ศ. 2554 ฉบับ ปรับปรุง www.bb.go.th และ สำนักงาน คณะ กรรมการ พัฒนาการ เศรษฐกิจ และ สังคม แหง ชาติ www.nesdb.go.th

แผนภูมิ 16 เปรียบ เทียบ ผลิตภัณฑ มวล รวม ตอ คน ตอ ป และ งบ ประมาณ รัฐ ตอ คน ตอ ป ราย จังหวัด ป 2553

Page 65: Inequality in Thailand: An Introduction

65สฤณี อาชวานันทกุล

ดาน การ ปลอย สิน เชื่อ ของ ธนาคาร พาณิชย พบ วา กรุงเทพฯมี ประชากร เพียง รอย ละ 10 ของ ทั้ง ประเทศ แต เปน จงัหวดั ที ่ได รบั สนิ เช่ือ คดิ เปน มลูคา ถงึ รอย ละ 74 ของ สนิ เช่ือ รวม ขณะ ที ่ภาค เกษตร ม ีการ จาง งาน มากกวา รอย ละ 38 ของ แรงงาน รวม แต มี มูลคา สิน เชื่อ นอย กวา รอย ละ 1 ของ สิน เชื่อ รวม และ มูลคา สิน เชื่อ รวม ทั้ง ระบบ ธนาคาร พาณิชย ณ 30 พฤศจิกายน 2553 กระจกุ ตวั อยู ตาม เมอืง เศรษฐกจิ สำคญั ที ่ม ีความ แขง็แกรง ทาง เศรษฐกิจ อยู แลว อาทิ กรุงเทพฯ และ ปริมณฑล อยุธยา ชลบุรี ระยอง เชียงใหม สงขลา นครราชสีมา และ ขอนแกน เปนตน (แผนภูมิ 17) จาก สถิติ ดัง กลาว นา คิด วา สถาบัน การ เงิน ไทย “นำ” การ พัฒนา เศรษฐกิจ (ธนาคาร ปลอย สิน เช่ือ ใน พื้นท่ี ดอย พัฒนา กอน เศรษฐกิจ จึง คอย เจริญ เติบโต ตาม) อยาง ที่ นัก เศรษฐศาสตร หลาย คน เช่ือ จริง หรือ เพราะ สถิติ นี้ บง ชี้ วา สถาบัน การ เงิน อาจ จะ “ตาม หลัง” การ พัฒนา มากกวา (เศรษฐกิจ ใน จังหวัด เติบโต ถึง ระดับ หนึ่ง กอน ธนาคาร จึง เขาไป ปลอย สิน เชื่อ)

แผนภูมิ 17 ยอด สิน เชื่อ คง คาง ใน ระบบ ธนาคาร พาณิชย จำแนก ตาม จังหวัด ณ 30 พฤศจิกายน 2553

ที่มา: ธนาคาร แหง ประเทศไทย

Page 66: Inequality in Thailand: An Introduction

66 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

1.5 ความ ไม เทา เทียม ใน การ แขงขันความ ทาทาย ใน การ รับมือ กับ ความ เหลื่อม ล้ำ ตางๆ ใน

สังคม มิได อยู ที่ การ ชวย เหลือ ผู ดอย โอกาส ออกแบบ ระบบ สวัสดิการ ที่ เหมาะ สม และ มี ระบบ ภาษี ที่ กาวหนา เพียง อยาง เดียว หาก แต เรา ยัง ตอง ให ความ สำคัญ กับ การ ออกแบบ และ บังคับ ใช กฎ กติกา และ เกณฑ กำกับ ดูแล ที่ จะ เสริม สราง เสรีภาพ และ ความ เปน ธรรม ใน สนาม แขงขนั ซึง่ เปน หวัใจ ที ่ขาด ไม ได ของ ระบบ ตลาด ที ่ม ีประสทิธิภาพ แต ประเด็น นี ้คน มกั จะ มอง ขาม ไป ดวย ความ เขาใจ ผดิ วา “ตลาด เสร”ี ที ่เปน ประโยชน ตอ สงัคม ตาม ทฤษฎี เศรษฐศาสตร นั้น หมาย ถึง ตลาด ที่ ใครๆ จะ ทำ อะไร ก็ได ตาม อำเภอ ใจ โดย ไม ตอง มี “กรรมการ” มา คอย กำกับ ดูแล มิ ให ผู เลน ทำ ผิดก ติ กา

“กฎกติกา” ที่ ควร จะ มี ใน ระบบ ตลาด เพื่อ สราง ภาวะ การ แขงขัน ที่ “เสรี” (ใคร อยาก แขง ก็ เขา มา แขง ได) และ “เปน ธรรม” (ธุรกิจ ไม ใช อำนาจ เหนือ ตลาด เอา เปรียบ ผู บริโภค หรือ คู แขง) ควร เปนก ติ กา ที่ มุง บรรเทา ผลก ระ ทบ ทาง ลบ จาก ความ ลม เหลว ของ ตลาด (Market Failures) อัน หมาย ถึง ภาวะ ที่ กลไก ตลาด ใน โลก แหง ความ จริง ไม สามารถ จัดสรร ทรัพยากร ได อยาง มี ประสิทธิภาพ ตาม ทฤษฎี เศรษฐศาสตร

ความ ลม เหลว ของ ตลาด ซึ่ง เกิด ขึ้น บอย คร้ัง ใน โลก จริง จน อาจ กลาว ได วา เปน “ธรรมชาติ” ของ ระบบ ทุนนิยม มี อยู ดวย กัน 3 ประเภท หลัก ดัง ตอ ไป นี้

1) ความ ไม สมมาตร ของ สารสนเทศ (Asymmetric Infor-mation) หมาย ถงึ ภาวะ ที ่ฝาย ใด ฝาย หนึง่ ม ีขอมลู มากกวา อกี ฝาย

Page 67: Inequality in Thailand: An Introduction

67สฤณี อาชวานันทกุล

ซึง่ โดย ปกต ิมกั จะ เปน ผู บรโิภค ที ่รู นอย กวา ผู ผลติ ยก ตวัอยาง เชน ใน ตลาด รถ มอื สอง ผู ซือ้ ยอม รู นอย กวา ผู ขาย วา รถ ที ่นำ มา ขาย นัน้ ม ีสภาพ ด ีหรอื ไม ด ีเพยีง ใด จงึ อาจ ถกู ผู ขาย หลอก ให จาย แพง กวา ที ่ควร กฎ กตกิา ที ่จะ ชวย บรรเทา ผลก ระ ทบ จาก ภาวะ ไม สมมาตร ไดแก การ สราง มาตรฐาน สินคา การ กำหนด ให ผู ผลิต ยืด ระยะ เวลา ประกัน และ รับ คืน สินคา ให นาน กวา สินคา ทั่วไป หรือ การ กำหนด ให ผู ขาย ตอง ออก คา ซอม บำรุง สินคา แทน ผู ซื้อ ภายใน ระยะ เวลา ที่ กำหนด เพื่อ คุมครอง ผู ซื้อ จาก สินคา คุณภาพ ต่ำ ที่ ลวง รู ได ยาก มากวา มี คุณภาพ ต่ำ กอน ตัดสิน ใจ ซื้อ

2) ผลก ระ ทบ ภายนอก (Externalities) หมาย ถงึ ผลก ระ ทบ ที่ เกิด กับ บุคคล ที่ สาม โดย ไม ได ตั้งใจ และ ตนทุน จาก ผลก ระ ทบ ไม ได ถกู นบั รวม เขาไป ใน ตนทนุ ของ ผู ผลติ ผลก ระ ทบ ภายนอก ม ีทัง้ ดาน ด ีเชน การก ระ จาย ความ รู ดาน เทคโนโลย ี(Technology Spillover) และ ดาน ไม ดี เชน มลพิษ ที่ เกิด จาก โรงงาน ปญหา นี้ แกไข ได ดวย การ พยายาม นำ ผลก ระ ทบ ภายนอก มา คดิ เปนตน ทนุ ของ ผู ผลิต ให ได (Internalize Externalities)

3) อำนาจ เหนือ ตลาด หมาย ถึง ภาวะ ที่ ผู ผลิต ราย ใด ราย หนึง่ ม ีอำนาจ มากกวา ผู ผล ิตอืน่ๆ ทำให สามารถ ผกูขาด หรอื เอา รดั เอา เปรียบ คู แขง และ ผู บรโิภค ทำให กลไก ตลาด ไม สามารถ ทำงาน ได อยาง มี ประสิทธิภาพ เชน ผู ผลิต หลาย ราย จับ มือ กัน “ฮั้ว” ราคา

การ เปรียบ เทียบ ความ เหลื่อม ล้ำ ใน ภาค ธุรกิจ ไทย ควร เปรียบ เทียบ จาก ฐาน ราย ได มากกวา กำไร สุทธิ เนื่องจาก ยัง มี กจิการ จำนวน มาก โดย เฉพาะ นอก ตลาดหลกัทรพัย ที ่ใช เทคนคิ

Page 68: Inequality in Thailand: An Introduction

68 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ทาง บัญชี ตกแตง ตัวเลข ให มี กำไร สุทธิ ต่ำ เกิน จริง เพื่อ หลบ เลี่ยง ภาษี เมื่อ เปรียบ เทียบ ราย ได ป 2550 ของ บริษัท ที่ จด ทะเบียน กับ กรม พัฒนา ธุรกิจ การ คา แยก ตาม กลุม ราย ได พบ วา มี ความ เหล่ือม ล้ำ สูง มาก ระหวาง บริษัท ขนาด ใหญ กับ บริษัท ขนาด เล็ก โดย บริษัท ที่ มี ราย ได สูงสุด รอย ละ 10 มี ราย ได รวม กัน กวา รอย ละ 89 ของ ราย ได บริษัท ทั้งหมด ขณะ ที่ บริษัท ที่ มี ราย ได นอย ที่สุด รอย ละ 10 มี สวน แบง ราย ได เพียง รอย ละ 0.07 (ไม ถึง 1 เปอรเซ็นต) เทานั้น เทากับ วา บริษัท ที่ รวย ที่สุด 10% มี ราย ได มากกวา บริษัท ท่ี จน ท่ีสุด 10% ถึง 12,724 เทา (แผนภูมิ 18)

นอกจาก ภาค เอกชน จะ มี ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน ราย ได คอน ขาง มาก แลว ราย ชื่อ ของ บริษัท ขนาด ใหญ ใน ไทย ก็ ยัง ไมมี การ

ที่มา: ชื่น ฤทัย กาญ จนะ จิตรา และ คณะ, สุขภาพ คน ไทย 2553: วิกฤติ ทุนนิยม สังคม มี โอกาส? สถาบันวิจัย ประชากร และ สังคม มหาวิทยาลัย มหิดล (วปส.) สำนักงาน กองทุน สนับสนุน การ สราง เสริมสุข ภาพ (สสส.) และ สำนักงาน คณะ กรรมการ สุขภาพ แหง ชาติ (สช.), 2553.

แผนภูมิ 18 ราย ได ของ บริษัท จำกัด จำแนก ตาม กลุม ราย ได ระหวาง ป 2548 ถึง 2550

Page 69: Inequality in Thailand: An Introduction

69สฤณี อาชวานันทกุล

เปลี่ยนแปลง ใน สาระ สำคัญ ตลอด ระยะ เวลา 30 ป ที่ ผาน มา บริษัท จด ทะเบียน ที่ ใหญ ที่สุด 20 แหง ใน ตลาดหลักทรัพย แหง ประเทศไทย (ตลท.) ใน ป 2553 มี มูลคา ตลาด รวม กัน มากกวา รอย ละ 70 ของ มูลคา ตลาด รวม ทั้ง ยัง เปน บริษัท เดียวกัน หรือ อยู ใน เครือ เดียวกัน กับ บริษัท จด ทะเบียน 20 แหง ที่ ใหญ ที่สุด ใน ป 2539 ถึง รอย ละ 75 (15 บริษัท) และ เมื่อ ดู ราย ชื่อ บริษัท เหลา นี้ พบ วา มี เพียง 4 แหง เทานั้น ที่ เปน บริษัท เอกชน ใน ธุรกิจ ที ่เปด ให แขงขนั โดย เสร ีไมใช รฐัวสิาหกิจ สถาบัน การ เงนิ กจิการ ที่ ถือ หุน ใหญ โดย สำนักงาน ทรัพยสิน สวน พระ มหา กษัตริย หรือ บริษัท ที่ มี ราย ได หลัก จาก สัมปทาน (รัฐ มอบ อำนาจ ผูกขาด ให ชั่วคราว) (แผนภูมิ 19)

แผนภูมิ 19 บริษัท ที่ ใหญ ที่สุด 20 แหง ใน ตลาดหลักทรัพย โดย มูลคา ตลาด พ.ศ. 2539 และ 2553

หมายเหตุ: ขนาด ของ ตัว อักษร แสดง ขนาด มูลคา ตลาด (Market Capitalization) ของ บริษัท โดย เปรียบ เทียบที่มา: ตลาดหลักทรัพย แหง ประเทศไทย

Page 70: Inequality in Thailand: An Introduction

70 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

การ ที่ ราย ชื่อ ของ บริษัท ที่ ใหญ ที่สุด ใน ตลาด หุน สวน ใหญ เปน รัฐวิสาหกิจ หรือ ไม ก็ เปน บริษัท ใน อุตสาหกรรม ขนาด ใหญ ที่ ผล กำไร ผูก โยง กับ นโยบาย รัฐ อยาง ใกล ชิด (เชน ธนาคาร และ โทรคมนาคม) บง ชี้ วา ภาค ธุรกิจ ไทย ยัง มิใช “ทุนนิยม เสรี” ใน ความ หมาย ของ ระบบ ตลาด เสรี ที่ มี การ แขงขัน อยาง เปน ธรรม รัฐ ทำ หนาท่ี กำกับ ดูแล ตลาด มากกวา จะ เปน ผู เลน โดยตรง ผู ประกอบ การ หนา ใหม ที่ มี ศักยภาพ สามารถ กอ ราง สราง ธุรกิจ จน แขงขัน กับ ผู ครอง ตลาด ดั้งเดิม ได สำเร็จ

ปญหา เชิง โครงสราง ที่ สำคัญ ประการ หนึ่ง ที่ ตอก ลิ่ม ความ เหลื่อม ล้ำ ใน ระบบ ตลาด ระหวาง ผู ประกอบ การ ราย ใหญ กับ ผู ประกอบ การ ราย ยอย คือ ความ ไม เทา เทียม ใน สนาม แขงขัน ที่ เปด โอกาส ให บริษัท ที่ มี อำนาจ ผูกขาด หรือ มี อำนาจ เหนือ ตลาด สามารถ กีดกัน คู แขง อยาง ไม เปน ธรรม หรือ เอา รัด เอา เปรียบ ผู บริโภค เชน การ บังคับ ไม ให ผู คา ปลีก ขาย สินคา ของ คู แขง การ บังคับ ขาย สินคา พวง การ กำหนด ราคา สูง เกิน ควร การ กำหนด ราคา รวม กัน (“ฮั้ว”) หรือ การ ทุม ตลาด เพื่อ ทำลาย คู แขง เปนตน

สาเหตุ หน่ึง ของ ความ ไม เทา เทียม ใน การ แขงขัน ที่ เปน “ปญหา เชิง โครงสราง” คือ กฎหมาย กำกับ ดูแล ธุรกิจ ที่ สำคัญ โดย เฉพาะ พระ ราช บัญญัติ การ แขงขัน ทางการ คา พ.ศ. 2542 ยัง เปน “เสือกระดาษ” ที่ ไม สามารถ บังคับ ใช จริง

ดร.เดือน เดน นิคม บริรักษ และ สุณี พร ท วรรณ กุล จาก สถาบันวิจัย เพื่อ การ พัฒนา ประเทศไทย (ที ดี อาร ไอ) อธิบาย ปญหา ความ ไม เทา เทียม ใน การ แขงขัน ไว ใน รายงาน ป 2549

Page 71: Inequality in Thailand: An Introduction

71สฤณี อาชวานันทกุล

วา10

ใน ทาง เศรษฐศาสตร การ ผูกขาด เปน สิ่ง ที่ ทำให เกิด ตนทุน

ทาง เศรษฐกิจ สูง ผู บริโภค ตอง ซื้อ สินคา ใน ราคา ที่ แพง เกิน ควร

หรือ สนิคา ม ีคณุภาพ ตำ่ โดย ไมม ีทาง เลอืก ใน กรณี ดงั กลาว รฐั ตอง

เขา มา กำกับ ดูแล มิ ให ผู ผูกขาด เอา เปรียบ ผู บริโภค

ใน ทาง ตรง กัน ขาม ใน ทาง ธุรกิจ การเมือง การ ผูกขาด กลับ

ถูก มอง วา เปน ขุมทรัพย อัน มหาศาล เนื่องจาก การ ผูกขาด ทาง

ธุรกิจ หมาย ถึง ความ สามารถ ใน การ ทำ กำไร กอน โต ได โดย ไม ตอง

ลงทุน หรือ ใช ความ สา มา รถ ใดๆ และ ที่ สำคัญ คือ กำไร จาก การ

ผกูขาด มใิช เงนิ ที ่ผดิ กฎหมาย ตราบ ใด ที ่รฐั ไม ดำเนนิ การ ใดๆ เกีย่ว

กับ พฤติกรรม ที่ เปนการ ผูกขาด ดัง นั้น นักการ เมือง ยุค ใหม มัก

ตองการ ที่ จะ มี ธุรกิจ หรือ หุน สวน ใน ธุรกิจ ที่ มี อำนาจ ผูกขาด หรือ

มิ ฉะนั้น ก็ อาจ จะ ปลอย ให ธุรกิจ ที่ ผูกขาด กอบโกย กำไร ตอ ไป เพื่อ

แลก เปลี่ยน กับ ผล ประโยชน ทางการ เมือง บาง ประการ

ประเทศไทย มี พ.ร.บ.การ แขงขัน ทางการ คา ตั้งแต ป พ.ศ.

2542 เวลา ลวง เลย มา แลว ถึง 7 ป มาตรา หลัก 2 มาตรา ของ

กฎหมาย ที ่ใช ควบคมุ พฤตกิรรม ผกูขาด หรอื อาจ ผกูขาด ของ เอกชน

อัน ไดแก มาตรา 25 วา ดวย การ ม ีอำนาจ เหนือ ตลาด และ มาตรา

26 วา ดวย การ ควบ รวม ธุรกิจ ก็ ยัง ไมมี เกณฑ ราย ได หรือ สวน แบง

ตลาด ที ่ทำให มาตรา 2 มาตรา นี ้สามารถ บงัคบั ใชได การ “ถวง เวลา”

10 ดร.เดือน เดน นคิม บรริกัษ และ สณุ ีพร ท วรรณ กลุ. การ ผกูขาด ทาง ธรุกจิ กบั การเมอืง. นำ เสนอ ใน งาน สมัมนา วชิาการ ประจำ ป 2549 ของ สถาบนัวจิยั เพ่ือ การ พัฒนา ประเทศไทย, 2549. ดาวนโหลด ได จาก http://www.tdri.or.th/ye_06/ye06rept/g3/dd_fi nal.pdf

Page 72: Inequality in Thailand: An Introduction

72 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ดัง กลาว แสดง ให เห็น วา รัฐบาล ของ อดีต นา ยกฯทักษิณ (ชิน วัตร)

มิได มี เปาประสงค ใน การ ปองกัน การ ผูกขาด แต อยาง ใด แสดง ให

เห็น ชัดเจน วา กฎหมาย ฉบับ นี้ ถูก กลุม ทุน ที่ กุม อำนาจ ใน ชวง เวลา

ที่ ผาน มา สกัด กั้น มิ ให บังคับ ใชได

นอกจาก นี้ มาตรา 4 ของ กฎหมาย นี้ ยัง ใหการ ยกเวน แก

รัฐวิสาหกิจ อีก ดวย แม รัฐวิสาหกิจ จำนวน มาก มี อำนาจ ผูกขาด

ทำให รัฐวิสาหกิจ กลาย เปน แหลง แสวงหา ราย ได ของ นักการ เมือง

และ เครือ ญาติ โดย การ เขาไป ถือ หุน ใน รัฐวิสาหกิจ ที่ จด ทะเบียน

ใน ตลาดหลักทรัพย เพ่ือ รับ สวน แบง กำไร อัน มหาศาล จึง ไม แปลก วา

เหตุ ใด รัฐบาล ที่ ผาน มา ตองการ จะ เรง รีบ ให มี การนำ รัฐวิสาหกิจ

ท่ี ผูกขาด และ มี กำไร สูง เชน การ ทา อากาศยาน แหง ประเทศไทย

องคการ สื่อสาร มวลชน แหง ประเทศไทย การ ปโตรเลียม แหง

ประเทศไทย และ การ ไฟฟา ฝาย ผลิต แหง ประเทศไทย เขา

ตลาดหลักทรัพย

ใน ที่สุด ใน ป 2551 หลัง จาก ที่ เปลี่ยน รัฐบาล หลัง รัฐประหาร ใน ป 2549 กระทรวง พาณิชย จึง ได ออก ประกาศ เกณฑ “ผู มี อำนาจ เหนือ ตลาด” โดย กำหนด ให หมาย ถึง ธุรกิจ ใด ก็ตาม ที่ มี ผู ประกอบ การ ราย ใด ราย หนึ่ง มี สวน แบง ตลาด ใน ป ที่ ผาน มา รอย ละ 50 ขึ้น ไป และ มี ยอด ขาย 1,000 ลาน บาท ขึ้น ไป หรือ ผู ประกอบ ธุรกิจ 3 ราย แรก ใน ตลาด สินคา ใด มี สวน แบง รวม กนั รอย ละ 75 ขึน้ ไป และ ยอด ขาย ราย ใด ราย หนึง่ ตัง้แต 1,000 ลาน บาท ขึ้น ไป

ประเดน็ ที ่นา สงัเกต คอื เกณฑ ที ่กระทรวง พาณชิย ประกาศ นี้ ไม สอดคลอง กับ เกณฑ ผู มี อำนาจ เหนือ ตลาด ใน กฎหมาย

Page 73: Inequality in Thailand: An Introduction

73สฤณี อาชวานันทกุล

หลาย ประเทศ ซึ่ง มัก กำหนด สวน แบง ตลาด ไว ที่ รอย ละ 25 - 33.33 เนื่องจาก มอง วา แตละ ธุรกิจ ควร จะ มี คู แขงขัน อยาง นอย 3 (=100/33.33) หรือ 4 (=100/25) ราย เพ่ือ ให ผู บริโภค มัน่ใจ ได วา จะ ไมม ีผู เลน ราย ใด ราย หนึง่ ม ีอำนาจ ครอง ตลาด และ ลด ความ เสี่ยง ที่ จะ “ฮั้ว” กัน แต เกณฑ ของ กระทรวง พาณิชย นั้น หมายความ วา ยินยอม ให ธุรกิจ มี ผู เลน เพียง 2 (=100/50) ราย เทานั้น และ แตละ ราย ก็ จะ ยัง มี อำนาจ ครอง ตลาด มาก เกิน ไป ทำให ประกาศ ฉบับ นี้ ไม ตรง ตาม เจตนารมณ ของ กฎหมาย ที่ จะ คุมครอง การ แขงขัน ที่ เปน ธรรม

นอกจาก จะ มี ปญหา ใน ทาง ปฏิบัติ แลว กระบวนการ รับ เรื่อง รอง เรียน ตาม กฎหมาย ฉบับ นี้ ก็ ยัง มี ความ ลาชา อยาง นา เชื่อ วา เปน ความ ตั้งใจ ของ ผู บังคับ ใช กฎหมาย นับ ตั้งแต มี การ ประกาศ ใช กฎหมาย ดัง กลาว ใน ป 2542 จนถึง กลาง ป 2553 มี เรื่อง รอง เรียน รวม 70-80 เรื่อง ใน จำนวน นี้ มี การ ดำเนิน การ สอบสวน แลว เพียง 1 เรื่อง โดย คณะ กรรมการ การ แขง ขันฯ สง เรื่อง ให อัยการ ใน การ สอบสวน เพื่อ สง ศาล วินิจฉัย ตอ ไป อีก 3 เร่ือง อยู ระหวาง การ ตั้ง อนุกรรมการ สอบสวน ไดแก การ ขาย เหลา พวง เบยีร ธรุกจิ สือ่ สิง่ พมิพ และ การ ขาย สนิคา ตำ่ กวา ทนุ ซึง่ เกีย่วของ กบั หาง คา ปลกี กรณ ีนอก เหนอื จาก นี ้อยู ระหวาง ดำเนิน การ หรือ มิ ฉะนั้น อัยการ ก็ สั่ง ไม ฟอง

กฎหมาย ฉบับ นี ้ม ีปญหา ผล ประโยชน ทบั ซอน ตัง้แต ขัน้ การ ออกแบบ กฎหมาย โดย กำหนด ให ภาค เอกชน ซึ่ง เปน ผู ที่ ควร จะ อยู ภาย ใต การ กำกับ ดูแล สงตัว แทน เขา รวม เปน คณะ กรรมการ แขงขัน ทางการ คา และ คณะ กรรมการ กลาง วา ดวย การ กำหนด

Page 74: Inequality in Thailand: An Introduction

74 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ราคา สินคา และ บริการ ใน สัดสวน ไม นอย กวา กึ่ง หนึ่ง เทากับ ให ภาค เอกชน มี อำนาจ ควบคุม คณะ กรรมการ ทั้ง 2 ชุด โดย ปริยาย นอกจาก นี ้คณะ กรรมการ ทัง้ สอง ยงั ม ีวาระ การ ทำงาน เพยีง 2 ป จึง เปราะ บาง มาก ตอ การ แทรกแซง ของ ภาค การเมือง

จาก การ วิเคราะห สาย สัมพันธ ทาง ธุรกิจ ของ คณะ กรรมการ แขงขนั ทางการ คา สอง ชดุ แรก ดร.เดอืน เดน นคิม บริรกัษ และ สุณี พร ท วรรณ กุล พบ วา กรรมการ แขงขัน ทางการ คา บาง ราย มี ความ สัมพันธ กับ ธุรกิจ ผูกขาด หรือ ธุรกิจ ที่ ถูก รอง เรียน เร่ือง การ คา ที่ ไม เปน ธรรม ทั้ง ทาง ตรง และ ทาง ออม (แผนภูมิ 20)

Page 75: Inequality in Thailand: An Introduction

75สฤณี อาชวานันทกุล

แผนภูมิ 20 สรุป ความ สัมพันธ ระหวาง กลุม ธุรกิจ เอกชน นักการ เมือง และ คณะ กรรมการ แขงขัน ทางการ คา

ที่มา: ดร.เดือน เดน นิคม บริรักษ และ สุณี พร ท วรรณ กุล. การ ผูกขาด ทาง ธุรกิจ กับ การเมือง (2549)

Page 76: Inequality in Thailand: An Introduction

76 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

แนวทาง ลด ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน เศรษฐกิจการ ลด ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน เศรษฐกิจ ใน ระบบ เศรษฐกิจ

แบบ ทุนนิยม ซึ่ง ตอง เคารพ สิทธิ และ เสรีภาพ ทาง เศรษฐกิจ ของ ประชาชน ทกุ หมู เหลา เปน สำคัญ สามารถ ทำได โดย การ ลด ความ เหล่ือม ลำ้ ดาน ราย ได และ ลด ความ เหล่ือม ลำ้ ดาน โครงสราง ภาษี ควบคู กัน ไป

1. รัฐบาล ปลอย ให ประชาชน ทุก ภาค สวน แขงขัน กันเอง ภาย ใต กลไก ตลาด ที่ เปด โอกาส ให ทุก คน สามารถ สะสม ความ มั่งคั่ง จาก การ ทำงาน และ การ ประกอบ ธุรกิจ ทวา วิธี นี้ จะ สำเร็จ ได ก็ ตอ เมื่อ ประชาชน มี ราย ได สุทธิ หลัง จาก หัก คา ใช จาย ตางๆ แลว (Disposable Income) ที ่เพยีง พอ ตอ การ ออม ยิง่ ไป กวา นัน้ โครงสราง การ แขงขัน ใน ตลาด จะ ตอง เสรี และ เปน ธรรม ซึ่ง หมายความ วา รัฐ ควร ปรับปรุง กฎหมาย และ การ บังคับ ใช กฎหมาย แขงขนั ทางการ คา ให ใช การ ได จรงิ เพือ่ ลด โอกาส ที ่ความ มั่งค่ัง จะ กระจุก ตัว อยู แต เฉพาะ ใน กลุม ผู มี อำนาจ ผูกขาด หรือ เหนือ ตลาด และ ควร เนน การ สง เสริม ผู ประกอบ การ ขนาด กลาง และ ขนาด ยอม มากกวา ผู ประกอบ การ ขนาด ใหญ ที่ มี “สาย ปาน ยาว” อยู แลว นอกจาก นี้ ทุก คนใน สังคม ก็ ควร มี โอกาส เขา ถึง ปจจัย ตางๆ ที่ จำเปน ตอ การ สราง เสริม สมรรถภาพ ใน การ ดำรง ชีพ หรือ แขงขัน อยาง เทา เทียม กัน (เชน โอกาส ใน การ ได รับ การ ศึกษา ที่ มี คุณภาพ)

2. สง เสริม ระบบ การ เงิน ฐานราก (“การ เงิน ชุมชน” เชน กลุม สัจจะ ออม ทรัพย สัจจะ สะสม ทรัพย และ สหกรณ ออม ทรัพย เพ่ือ การ ผลิต) ที่ ชาว บาน จัดการ กันเอง ซึ่ง ปจจุบัน มี อยู

Page 77: Inequality in Thailand: An Introduction

77สฤณี อาชวานันทกุล

นับ แสน แหง ทั่ว ประเทศ หลาย แหง สามารถ ระดม เงิน ออม และ เปน แหลง ทุน ให สมาชิก กู ไป ประกอบ อาชีพ เพื่อ สราง ราย ได โดย ไม ตอง อาศัย สถาบันการเงิน

3. ผลกั ดนั และ สง เสรมิ สถาบนั “การ เงนิ ขนาด จิว๋” (ไมโคร ไฟแนนซ) ใน ไทย ซึ่ง อาจ ใช หลาย วิธี ผสม ผสาน กัน ระหวาง การ ยก ระดับ องคกร การ เงิน ฐานราก ที่ ชาว บาน จัดการ กันเอง และ มี ความ เขม แข็ง แลว ระดับ หนึ่ง กับ การ สง เสริม ให ธนาคาร ของ รัฐ และ ธนาคาร พาณิชย ริเริ่ม ธุรกิจ ไมโคร ไฟแนนซ ตาม แนวทาง “ธรุกจิ เพือ่ สงัคม” ที ่มุง ให คน ยากจน ม ีโอกาส เขา ถงึ แหลง เงิน ทนุ เพื่อ นำ เงิน กู ไป ปรับปรุง ชีวิต ความ เปน อยู ดัง ตัวอยาง “ธนาคาร กรามี น” (Grameen Bank) ใน บังคลาเทศ ที่ ทำให มู ฮัม หมัด ย ูนสุ (Muhammad Yunus) ผู กอ ตัง้ ธนาคาร ได รบั รางวลั โน เบล สาขา สันติภาพ ประจำ ป 2549 รวม กับ ธนาคาร จาก คำ แปล คำ อธิบาย ของ ยู นุส ใน เว็บไซต ธนาคาร กรามี น กรามี น เชื่อ วา “สิน เชื่อ เปน สิทธิ มนุษย ชน ขั้น พื้น ฐาน อยาง หนึ่ง” และ ยัง เชื่อ วา “มนุษย ทุก คน รวม ทั้งคน ที่ จน ที่สุด ลวน มี ศักยภาพ” นั่น ทำให แมแต ขอทาน ก็ ยัง สามารถ เปน ลูกคา ของ ธนาคาร กรามี น ได

4. ควร มี การ ขยาย ฐาน ภาษี ตาม หลัก ความ เสมอ ภาค ทาง ภาษี ที่ วา “ผู มี ฐานะ ใกล เคียง กนั สภาพ แวดลอม คลาย กัน ควร จาย ภาษี แบบ เดยีวกัน ใน อตัรา เทา กนั และ ไม สามารถ ผลกั ภาระ ภาษี ไป สู ผู อืน่ ได” เพือ่ ครอบคลุม กลุม ผู ที ่ม ีความ สามารถ ใน การ เสยี ภาษ ีแต ยงั ไม ได เสยี ภาษ ีดวย สาเหต ุตางๆ (ไม ยืน่ แบบ ฟอรม การ เสีย ภาษี, ยื่น ต่ำ กวา ความ เปน จริง, หลบ เลี่ยง ภาษี ดวย วิธี ตางๆ เปนตน) และ เพื่อ ลด ภาระ ภาษี ที่ กระจุก ตัว อยู แต เฉพาะ

Page 78: Inequality in Thailand: An Introduction

78 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ใน บาง กลุม ใน การ นี้ สิ่ง ที่ ตอง พัฒนา ควบคู กัน ไป ก็ คือ ระบบ การ ประเมิน การ เรียก เก็บ ภาษี ที่ มี ประสิทธิภาพ และ ควร มี การ ทบทวน พิจารณา แกไข การ ลด หยอน ภาษี ที่ มี อยู ให มี ความ เปน ธรรม มาก ขึ้น

5. รัฐ ควร ผลัก ดัน ภาษี ใหมๆ ที่ สอดคลอง กับ ความ เปลี่ยนแปลง และ ปญหา ใหญ ใน สังคม ปจจุบัน อาทิ ภาษี มลพิษ (ตาม หลัก “ผู กอ มลพิษ เปน ผู จาย”) ตลอด จน ภาษี กาวหนา ที่ ชวย ลด ความ เหลื่อม ล้ำ และ สราง แรง จูงใจ ให ผู มี ฐานะ ดี ใช ทรัพยากร อยาง คุม คา อาทิ ภาษี มรดก ภาษี กำไร สวน เกิน ทุน (Capital Gains Tax หมาย ถึง ภาษี ที่ เก็บ จาก กำไร ที่ ได รับ จาก การ ขาย ทรัพยสิน หรือ หลัก ทรัพย) และ ภาษี ที่ดิน และ ทรัพยสิน ที่ มี โครงสราง ที่ เปน ธรรม และ เหมาะ สม

Page 79: Inequality in Thailand: An Introduction

79สฤณี อาชวานันทกุล

Page 80: Inequality in Thailand: An Introduction

บท ที่ 2ความเหล่ือมล้ำดานทรัพยากร

ถา หาก เรา เชื่อ วา คน ทุก คน ควร มี สิทธิ และ เสรีภาพ ที่ จะ ใช ชีวิต ตาม ที ่ตน มุง หวงั กลไก ตางๆ ใน สงัคม ก ็ควร คุมครอง สทิธ ิใน การ เขา ถงึ และ ใช ทรพัยากร ของ ประชาชน ทกุ หมู เหลา อยางไร กต็าม บอย ครัง้ ความ ตองการ ของ คนนอก พืน้ท่ี (เชน นกั ธรุกจิ ที ่ตองการ สราง โรง ถลุง เหล็ก) ก็ ขัด แยง กับ ความ ตองการ ของ คน บาง สวน ใน พื้นที่ (เชน ไม ตองการ อุตสาหกรรม อยาก พัฒนา ชุมชน ของ ตนเอง ให เปน แหลง ทอง เท่ียว เชิง อนรุกัษ แทน) และ ความ ขดั แยง ดัง กลาว ก็ อาจ สง ผลก ระ ทบ อยาง รุนแรง ตอ ประชาชน ยิ่ง กวา ปญหา การ เขา ไม ถึง ทรัพยากร

ตอ ประเด็น ที่ วา เรา ควร จัดการ กับ ความ ขัด แยง ทำนอง นี้ อยางไร คำ ตอบ สวน หนึ่ง ขึ้น อยู กับ มุม มอง และ อุดมการณ ทางการ เมือง ที่ กลาว ถึง ใน บทนำ นัก คิด สำนัก เสรีนิยม จะ เสนอ วา ควร ปลอย ให เปน ไป ตาม กลไก ตลาด กลาว คอื ถา หาก โรง ถลุง เหล็ก สราง มูลคา ทาง เศรษฐกิจ มากกวา ทาง เลือก อื่น (เชน การ

Page 81: Inequality in Thailand: An Introduction

81สฤณี อาชวานันทกุล

ทอง เทีย่ว เชิง นเิวศ) นกั ลงทุน ก ็ยอม ม ีแรง จงูใจ ที ่จะ สราง โรง ถลุง เหล็ก มากกวา ทำ ธรุกจิ อืน่ ใน พืน้ที ่ดงั นัน้ กลไก ตลาด จะ “จดัการ” ให โรง ถลงุ เหลก็ เกดิ ขึน้ ใน ทีส่ดุ สิง่ เดยีว ที ่ภาค รฐั และ ภาค ประชา สงัคม ควร ทำ คอื หา วธิ ีเยยีวยา หรอื บรรเทา ผลก ระ ทบ ที ่จะ เกิด กบั ชาว บาน ใน พืน้ที ่เชน จาย คา ชดเชย (หรือ ให บริษทั จาย) ให ชาว บาน ยอม ยาย ออก จาก พื้นที่ ใน กรณี ที่ ผลก ระ ทบ ทาง สิ่ง แวดลอม สอ เคา วา จะ รุนแรง จน ไมมี ใคร ควร อาศัย อยู ใน ละแวก นั้น

นัก คิด สำนัก ความ ยุติธรรม ทาง สังคม จะ แยง วา โรง ถลุง เหลก็ อาจ สราง มลูคา ทาง เศรษฐกจิ สงู กวา การ ทอง เทีย่ว เชงิ นเิวศ แต ผล ประโยชน ที ่เกดิ ขึน้ สวน ใหญ จะ กระจกุ ตวั อยู ใน มอื คน กลุม นอย คือ ผู ถือ หุน พนักงาน และ ลูกคา ของ บริษัท ซึ่ง เปน บริษัท ดวย กัน (ซื้อ เหล็ก ไป ผลิต สินคา และ บริการ) ยัง ไม นับ ตนทุน ดาน สิง่ แวดลอม และ สขุภาพ จาก อตุสาหกรรม หนกั ที ่คนใน ชมุชน ตอง รบั ภาระ ขณะ ที ่ธรุกจิ การ ทอง เทีย่ว เชิง นเิวศ สราง มลูคา ทาง เศรษฐกิจ นอย กวา ก็ จริง แต ผล ประโยชน ที่ เกิด ขึ้น จะ ตก อยู กับ คน จำนวน มากกวา โดย เฉพาะ คนใน ชุมชน ที่ ควร มี สิทธิ ใน การ รวม ตัดสิน ใจ วา จะ ใช ทรัพยากร ใน พื้นที่ อยางไร การ ปลอย ให นัก ธุรกิจ จาก นอก พื้นที่ เขา มา ตักตวง ทรัพยากร ใน ทอง ถิ่น ดวย ขอ อาง วา สราง มูลคา ทาง เศรษฐกิจ สูง กวา จึง เปนการ กระทำ ที่ ไม ยุติธรรม ตอ คนใน ชุมชน และ จะ ยิ่ง ทำให ความ เหลื่อม ล้ำ ใน สังคม ถาง กวาง กวา เดิม

นัก คิด สำนัก สมรรถภาพ มนุษย จะ ตั้ง ตน จาก คำถาม วา โครงการ กอสราง โรง ถลงุ เหลก็ นา จะ สง ผลก ระ ทบ ตอ สมรรถภาพ หรอื อสิรภาพ ใน ดาน ตางๆ ของ ใคร บาง และ อยางไร และ ให ความ

Page 82: Inequality in Thailand: An Introduction

82 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

สำคัญ กับ สิทธิ ของ ทุก ฝายใน กระบวนการ ตัดสิน ใจ บน พื้น ฐาน ของ การ มี ขอมูล ที่ เทา เทียม กัน ถา หาก คนใน ชุมชน ตัดสิน ใจ วา อยาก ได รับ เงิน คา ชดเชย การ สูญ เสีย วิถี ชีวิต จาก โรง ถลุง เหล็ก และ ยาย ออก จาก พื้นที่ เพราะ ไม อยาก ทน เสี่ยง กับ ภาวะ มลพิษ ที่ อาจ เกิด ขึ้น และ ไม อยาก ทำ ธุรกิจ การ ทอง เท่ียว เชิง นิเวศ พวก เขา ก็ อาจม อง วาการ ยาย ออก อาจ เปน ทาง เลือก ที่ จะ ชวย เพ่ิม สมรรถภาพ หรือ อิสรภาพ ของ พวก เขา ใน ระยะ ยาว ได ดี กวา การ ที่ สมรรถภาพ และ อิสรภาพ ใน ดาน ตางๆ ถูก ลิดรอน จาก การ อาศัย อยู ติด กับ โรงงาน และ ได รับ ผลก ระ ทบ ถา เปน อยาง นั้น นกั ธรุกจิ ก ็ควร ยอม จาย คา ชดเชย ซึง่ อาจ เรยีก วา “คา เสยี โอกาส” ให ชาว บาน ยาย ออก จาก พื้นที่ และ ภาค รัฐ ก็ ควร ดูแล อยาง พอ เพยีง เชน หา พืน้ท่ี ใหม ที ่เหมาะ สม กบั การ ประกอบ อาชพี เดมิ เพือ่ ให ชาว บาน มัน่ใจ ได วา สมรรถภาพ และ อสิรภาพ ของ พวก เขา จะ ไม เลว ราย ลง กวา เดิม

ใน เมือ่ การ พฒันา เศรษฐกิจ โดย เฉพาะ อตุสาหกรรม หนัก ลวน แต ตอง อาศัย การ ตักตวง ทรัพยากรธรรมชาติ และ ทำลาย สิ่ง แวดลอม ไม มาก ก็ นอย โดย เลี่ยง ไม พน ประเด็น ที่ สำคัญ ใน ยุค ทรพัยากร รอย หรอ แหง ศตวรรษ ที ่21 จงึ มไิด อยู ที ่การ ตัง้ เปา หมาย ที่ การ อนุรักษ สิ่ง แวดลอม หรือ การ พัฒนา เศรษฐกิจ อยาง ใด อยาง หนึ่ง ดัง เชน ใน อดีต หาก อยู ที่ การ หา แนวทาง “พัฒนา อยาง ยั่งยืน” (Sustainable Development) ที่ เปน รูป ธรรม ภาย ใต “หลัก การ ปองกัน ไว กอน” (Precautionary Principle) และ การ คำนึง ถึง ความ เทา เทียม กัน (Equity) ของ สิทธิ พลเมือง และ สิทธิ ชุมชน และ ความ เปน ธรรม (Fairness) เปน สำคัญ ความ

Page 83: Inequality in Thailand: An Introduction

83สฤณี อาชวานันทกุล

เทา เทียม กัน และ ความ ยุติธรรม เปน องค ประกอบ ที่ ขาด ไม ได ของ “การ พัฒนา อยาง ยั่งยืน” เนื่องจาก ตั้ง อยู บน ขอ เท็จ จริง ที่ วา ถา เรา ละเลย ผลก ระ ทบ จาก การก ระ ทำ ของ เรา ตอ คน อื่น (โดย เฉพาะ ผู ดอย โอกาส) ใน โลก ที่ เกี่ยว โยง ซึ่ง กัน และ กัน เรา ก็ จะ ตอง ยอมรับ ความ เสี่ยง ที่ จะ เกิด อันตราย ขึ้น กับ ตัว เอง หรือ ลกู หลาน ใน อนาคต ดวย

2.1 ที่ดิน และ ปา ไมที่ดิน คือ ทรัพยากร ที่ จำเปน ตอ การ ยังชีพ ของ มนุษย ไม

วา จะ ใน แง ของ การ เปน ที่ อยู อาศัย หรือ เปน ปจจัย การ ผลิต ที่ สราง ราย ได (เชน ทำ นา หรือ เก็บ ของ ปา ไป ขาย) และ ใน เมื่อ ที่ดิน มี ปริมาณ จำกัด และ เพิ่ม ขึ้น อีก ไม ได (ยกเวน ดวย การ ถม ทะเล ซึ่ง มี คา ใช จาย สูง มาก กับ ทั้ง ยัง สง ผลก ระ ทบ ตอ ระบบ นิเวศ และ วิถี ชีวิต ของ ชาว ประมง และ ผู อาศัย อยู ชายฝง) ที่ดิน จึง เปน “ทรัพยากร หา ยาก” (Scarce Resource) ที่ สังคม ตองหา วิธี บริหาร จัดการ ให มี สมดุล ระหวาง ประสิทธิภาพ (สราง มูลคา ทาง เศรษฐกิจ) กับ ความ เปน ธรรม (กระจาย อยาง ทั่ว ถึง)

เครอื ขาย ปฏิ รปู ทีด่นิ แหง ประเทศไทย มลูนิธ ิสถาบนั ทีด่นิ แหง ประเทศไทย ประเมิน วา คน ไทย ประมาณ รอย ละ 90 ถือ ครอง ที่ดิน ไม เกิน 1 ไร ใน ขณะ ที่ คน อีก รอย ละ 10 ที่ เหลือ ถือ ครอง ทีด่นิ คนละ มากกวา 100 ไร และ ประมาณ รอย ละ 70 ของ ทีด่นิ ที ่ม ีผู จบัจอง ถกู ปลอย ทิง้ ให รกราง ไม ได ใช ประโยชน หรือ ใช ไม เต็ม ที่ แต เปนการ ถือ ครอง เพื่อ เก็ง กำไร1

1 “ภาษี ที่ดิน และ สิ่ง ปลูก สราง เพื่อ ลด ความ เหลื่อม ล้ำ ทาง สังคม” หนังสือพิมพ กรุงเทพ ธุรกิจ. 19 สิงหาคม 2553.

Page 84: Inequality in Thailand: An Introduction

84 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ผศ .ดร .ดวงมณี เลา วกุล จาก คณะ เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร วิเคราะห สัดสวน การ ถือ ครอง ที่ดิน ของ เจาของ ทีด่นิ 50 ราย ที ่ใหญ ทีส่ดุ ตอ พืน้ที ่ที ่สามารถ ถอื ครอง ท้ังหมด ใน 8 จังหวัด จาก ขอมูล ของ กรม ที่ดิน พบ วา จังหวัด ภูเก็ต มี สัดสวน การ ถือ ครอง ที่ดิน ที่ กระจุก ตัว ใน 50 อันดับ แรก สูง ถึง รอย ละ 14.2 ของ ที่ดิน ที่ สามารถ ถือ ครอง ได ทั้งหมด ตาม มา ดวย ปทุมธานี (รอย ละ 12.4) สมุทรปราการ (รอย ละ 11.7) และ กรุงเทพฯ (รอย ละ 10.1) ตาม ลำดบั ตวัเลข ดงั กลาว สะทอน ให เห็น ความ เหล่ือม ล้ำ ของ การ จัดสรร ทรัพยากร ที่ดิน ใน แตละ จังหวัด อยาง ชัดเจน (แผนภูมิ 21)2

2 ผศ.ดร.ดวงมณี เลา วกุล, รายงาน ความ กาวหนา ครั้ง ที่ 3 โครงการ วิจัย เรื่อง “การก ระ จุก ตัว ของ ความ มั่งคั่ง ใน สังคม ไทย” (The Concentration of Wealth in Thai Society) (ยัง ไม ตี พิมพ).

แผนภูมิ 21 สัดสวน ของ การ ถือ ครอง ที่ดิน ของ ผู ครอง ที่ดิน 50 อันดับ แรก ใน 8 จังหวัด ป 2552

หมายเหตุ: *ขอมูล ป 2551ทีม่า: ผศ.ดร.ดวงมณ ีเลา วกลุ, รายงาน ความ กาวหนา ครัง้ ที ่3 โครงการ วจิยั เร่ือง “การก ระ จกุ ตวั ของ ความ มั่งค่ัง ใน สังคม ไทย” (The Concentration of Wealth in Thai Society)

Page 85: Inequality in Thailand: An Introduction

85สฤณี อาชวานันทกุล

รศ.ดร.อด ิศร อศิร า งกรู ณ อยธุยา จาก สถาบันวจิยั เพือ่ การ พัฒนา ประเทศไทย (ที ดี อาร ไอ) อธิบาย ปญหา ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน การ ถือ ครอง ที่ดิน วา3

สาเหตุ ที่แท จริง เกิด จาก ความ ความ เหลื่อม ล้ำ ทาง ราย ได

ขอมูล ตัวเลข ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน ราย ได จะ สอดคลอง กับ ตัวเลข

ความ เหลื่อม ล้ำ ของ มูลคา ที่ดิน คือ เม็ด เงิน สวน ใหญ กระจุก ตัว

อยู ที่ ประชากร รอย ละ 20 ของ ประเทศ และ จะ ถูก นำ มา ใช ใน

การกวาน ซื้อ ที่ดิน ดัง นั้น ตราบ ใด ที่ ยัง แก ปญหา ดัง กลาว ไม ได

ทีด่นิ จะ หลดุ มอื จาก คนจน สู มอื คนรวย ซำ้ซาก ทำให กลุม คน เลก็ๆ

ครอบ ครอง ที่ดิน สูง ถึง รอย ละ 51 และ การ กวาน ซื้อ ท่ีดิน สง ผล

ให ราคา ที่ดิน ใน พื้นที่ เกษตรกรรม สูง ขึ้น จน เกษตรกร ไม สามารถ

ซื้อ มา ทำการ เกษตร ได และ ทำให เกษตรกร ที่ มี ที่ดิน ตองการ ขาย

เพราะ ได ราคา ดี

สาเหต ุตอ มา คอื การ แขงขัน ทางการ คา ที ่ไป สราง การก ระ จกุ

ตัว ของ กำไร เกิน ปกติ ใน กลุม ผู ประกอบ การ การ เก็ง กำไร ใน

โครงการ กอสราง พื้น ฐาน กวาน ซื้อ ที่ดิน ใน ราคา ต่ำ จาก เจาของ

เดิม กระท่ัง โครงการ แลว เสร็จ ที่ ดิน รอบๆ ได ประโยชน จาก ราคา

ที่ สูง ขึ้น แต กลับ ไมมี การ ถาย โอน ประโยชน จาก เจาของ ที่ดิน เดิม

กลับ สู รัฐ การ บังคับ ใช กฎหมาย สอง มาตรฐาน กับ ที่ดิน บาง แปลง

ที่ ไม ควร ได รับ เอกสาร สิทธิ์ เชน เกาะ หรือ ภูเขา แต คน มี ฐานะ

3 อมราวดี ออง ลา, “ปม รอน “ที่ดิน ทำ กิน ภาค เกษตร” ความ เหลื่อม ล้ำ จาก โครงสราง” ศูนย ขอมูล ขาวสาร ปฏิรูป ประเทศไทย โดย สำนัก ขาว สถาบัน อิศร า. 2 ธันวาคม 2552. ดาวนโหลด ได จาก http://thaireform.in.th/fl ow-reform/scoop-commercial-news-documentary/21-2009-11-09-11-40-47/2350-2010-12-01-14-59-12.html

Page 86: Inequality in Thailand: An Introduction

86 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ครอบ ครอง ได ขณะ ที่ คนจน ดอย โอกาส

สุดทาย คือ ความ ไม เปน ธรรม ของ กฎหมาย การ เชา ที่ดิน

เชน กฎหมาย ครอบ ครอง ปรปกษ ที่ นำ ไป สู การ ไม ให ผู อื่น ได ใช

ประโยชน ที่ดิน หรือ การ ปลอย ที่ดิน ให วาง เปลา, กฎหมาย เชา ที่

เขียน เอื้อ ตอ ผู เชา แต เจาของ ที่ดิน เสีย เปรียบ นำ ไป สู การ ไม ให เชา

ที่ดิน หรือ การ ปลอย ที่ดิน ให วาง เปลา, กฎหมาย ภาษี ที่ดิน ที่ ไม ได

ใช ประโยชน นำ ไป สู การ ลงทุน ใน ที่ดิน ที่ ไร เหตุผล กระทั่ง เกิด การ

สูญ เสีย ทาง เศรษฐกิจ ทั่ว ประเทศ

สาเหตุ ที่ สรุป ขาง ตน ยัง ไม รวม ปญหา “สอง มาตรฐาน” ใน การ บังคับ ใช กฎหมาย ที่ดิน เชน เปน ที่ รับ รู กัน ทั่วไป วา ราชการ ออก เอกสาร สิทธิ์ ที่ ไม เปน ธรรม ให กับ นายทุน หรือ นักการ เมือง โดย ทุจริต อยู หลาย ครั้ง ใน ขณะ ที่ ประชาชน ที่ อาศัย อยู ใน พื้นที่ มา นาน กลับ ถูก ฟอง รอง ใน ขอหา บุกรุก เปนตน

ใน ขณะ ที่ ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน การ ถือ ครอง ที่ดิน สวน หน่ึง จะ เกิด จาก ปญหา เชิง โครงสราง โดย เฉพาะ โครงสราง ภาษี ที่ดิน ที่ ไม เหมาะ สม และ ปญหา การ ทุจริต ใน ระบบ ราชการ ดาน ความ เหล่ือม ล้ำ ใน การ ใช ประโยชน จาก ปา ไม ซึ่ง กอ ให เกิด ความ ขัด แยง ระหวาง ชุมชน กับ รัฐ อยู เนืองๆ สวน หนึ่ง ก็ มี สาเหตุ มา จาก ปญหา โครงสราง ของ กฎหมาย เชน กัน ใน ประเด็น นี้ บณัฑรู เศรษฐ ส ิโร ตม จาก สถาบนัวิจยั เพือ่ การ พฒันา สงัคม และ สิง่ แวดลอม มอง วา พระ ราช บญัญตั ิปา ไม ปจจบุนั รวม ศนูย อำนาจ ใน การ ใช ทรัพยากร ไป สู สวน กลาง สถาปนา ระบบ กรรมสทิธ์ิ ตาม แบบ ตะวัน ตก พรอม กับ ลด ทอน สิทธิ ชุมชน ใน การ ใช ปา ไม เพื่อ

Page 87: Inequality in Thailand: An Introduction

87สฤณี อาชวานันทกุล

การ ยังชีพ เจตนารมณ หลัก ของ กฎหมาย ปา ไม คือ เพื่อ ให รัฐ สวน กลาง ม ีอำนาจ ควบคุม ไม เศรษฐกิจ แต กลบั ให อำนาจ ครอบคลุม ที่ดิน ทั้งหมด เนื่องจาก มี ขอ บัญญัติ วา “ปา คือ ที่ดิน ที่ ยัง มิได มี บุคคล ได มา ตาม กฎหมาย” อีก ทั้ง ยัง ไม กำหนด วา กอน ประกาศ เปน เขต อุทยาน รัฐ ควร ตอง ออก สำรวจ การ ใช ประโยชน ของ ชาว บาน กอน

บัณฑูร มอง วา โครงสราง ความ ขัด แยง ระหวาง ชุมชน กับ รฐั ใน ประเดน็ ปา ไม เกดิ จาก ความ ไม สอดคลอง ระหวาง กฎหมาย มาก ถึง 50 ฉบับ ซึ่ง รัฐ และ ราชการ ยึด ปฏิบัติ ขณะ ที่ ชุมชน เอ็น จี โอ นัก วิชาการ และ ชาว บาน มอง วา ขัด ตอ รัฐธรรมนูญ ที่ ให สิทธิ ชุมชน ยก ตัวอยาง กรณี ที่ อำเภอปว จังหวัดนาน ซึ่ง คณะ กรรมการ สิทธิ มนุษย ชน รับ เรื่อง สง ให ศาล รัฐธรรมนูญ พิจารณา ชุมชน บริหาร จัดการ ปา ชุมชน กันเอง มา นาน สภาพ ปา สมบูรณ ดี แต ภาย หลัง การ ประกาศ ให เปน เขต อุทยาน ทำให ชุมชน ไม สามารถ จัดการ ปา ที่ ตนเอง ดูแล มา นาน กวา 10 ป ได4

(ดู กรณี ตัวอยาง ความ ขัด แยง ระหวาง ชุมชน กับ รัฐ ใน ประเด็น ปา ไม เพิ่ม เติม ได ใน กรณี ศึกษา 4: คดี โลก รอน ใน บท ที่ 3: ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน สิทธิ และ โอกาส)

4 บัณฑูร เศรษฐ สิ โร ตม, ความ ขัด แยง ปญหา ที่ดิน-ปา: แง มุม ปญหา ดาน โครงสราง กฎหมาย และ นโยบาย รัฐ นำ เสนอ ใน การ สัมมนา วิชาการ ประจำ ป 2553 สถาบันวิจัย เพื่อ การ พัฒนา ประเทศไทย: 2553. ดาวนโหลด ได จาก http://www.tdri.or.th/ye_10/sec3.4b_paper.pdf

Page 88: Inequality in Thailand: An Introduction

88 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

นอกจาก ทีด่นิ และ ปา ไม จะ ม ีความ เหลือ่ม ลำ้ คอน ขาง มาก ทั้ง ใน ดาน การ ถือ ครอง และ ดาน การ ใช ประโยชน ก็ ยัง มี ความ เหลือ่ม ลำ้ อกี เรือ่ง หนึง่ ที ่กระทบ ตอ สทิธิ ใน การ ใช ทีด่นิ และ ปา ไม นั่น คือ ความ เหล่ือม ล้ำ ใน การ มี สวน รวม วางแผน ผังเมือง ซึ่ง วัตถุประสงค หลัก ของ การ จัด ทำ ผังเมือง ก็ เพื่อ กำหนด ทิศทาง การ พัฒนา ของ เมือง ใน อนาคต รวม ถึง กำหนด หลัก เกณฑ การ ใช พื้นท่ี อยาง เหมาะ สม เพื่อ พัฒนา ทาง สังคม สิ่ง แวดลอม และ รองรับ การ ขยาย ตัว ทาง เศรษฐกิจ แต ใน ความ เปน จริง ผังเมือง กลับ เปน ราก ปญหา ของ ความ ขัด แยง หลาย กรณี ระหวาง ชุมชน ใน พื้นที่ กับ อุตสาหกรรม จาก นอก พื้นท่ี ที่ ตองการ มา ตั้ง ฐาน การ ผลิต ใน ชุมชน

พระ ราช บัญญัติ การ ผังเมือง พ.ศ. 2518 กำหนด วา การ วาง ผงัเมือง จะ ตอง เริม่ จาก “การ รบั ฟง ขอคดิ เห็น” ของ ประชาชน ใน ทอง ถิน่ กอน ประกาศ ใช หาก ม ีผลก ระ ทบ ตอ ประชาชน ผู ม ีสวน ได เสีย จะ ตอง โต แยง คัดคาน เปน หนังสือ ตอ กรม โยธา ธิ การ และ ผังเมือง หรือ เจา พนักงาน ทอง ถิ่น ผู วาง และ จัด ทำ ผัง นั้น ภายใน 90 วัน นับ แต วัน ที่ ประกาศ เพื่อ ขอ แกไข เปล่ียนแปลง หรือ ยกเลิก ขอ กำหนด ใน ผังเมือง ดัง กลาว หาก ผู คัดคาน ยัง ไม พอใจ คำ สัง่ ก ็ยงั สามารถ รอง ตอ ศาล ปกครอง เพือ่ ให เพกิ ถอน ประกาศ กำหนด ผังเมือง ตอ ไป ได

ปญหา ใน ทาง ปฏบิตั ิที ่เกดิ ขึน้ คอื หลาย ครัง้ คณะ กรรมการ ผังเมือง ไม ได รับ ฟง ความ คิด เห็น ของ ประชาชน อยาง เพียง พอ ไม ให ขอมูล ขาวสาร ที่ ครบ ถวน เพียง พอ ตอ การ ตัดสิน ใจ และ มี แนว โนม ที ่จะ เอน เอยีง เขา ขาง นกั ธรุกจิ มากกวา เน่ืองจาก มอง วา

Page 89: Inequality in Thailand: An Introduction

89สฤณี อาชวานันทกุล

ผล ประโยชน ทาง เศรษฐกิจ ที่ ทอง ถิ่น จะ ได รับ มี ความ สำคัญ กวา ผลก ระ ทบ ตอ คุณภาพ ชีวิต และ สิ่ง แวดลอม (ดู กรณี ศึกษา 2: ผังเมือง ชุมชน บางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ)

กรณี ศึกษา 2: ผังเมือง ชุมชน บางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ

โครงการ กอสราง โรง ถลงุ เหล็ก ของ เครือ สหวิรยิา ตำบลแม

รำพึง อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ เปน โครงการ

ระดบั แสน ลาน บาท ที ่ม ีขอ ขดั แยง กบั ชาว บาน และ ขอ กงัขา อยาง

ตอ เนื่อง เกี่ยว กับ การ เลือก ปฏิบัติ ของ เจา หนาที่ รัฐ และ ความ

หละ หลวม ใน การ บงัคบั ใช กฎหมาย กำกบั ดแูล ธรุกจิ ชาว บาน ใน

พื้นท่ี สวน หนึ่ง รวม ตัว กัน เปนก ลุม อนุรักษ แม รำพึง เพื่อ ติดตาม

ตรวจ สอบ การ ดำเนิน งาน ของ บรษิทั อยาง จรงิจงั จน พบ วาที ่ดนิ

ที่ บริษัท เตรียม การ ไว มี ปญหา เร่ือง การ บุกรุก ปา สงวน และ ปา

คุมครอง กวา 1,000 ไร ตั้งแต ป 2533 ขอ เท็จ จริง ที่ พบ ดัง กลาว

เปน เหตผุล ขอ หน่ึง ที ่ปจจุบนั รายงาน ผลก ระ ทบ ดาน สิง่ แวดลอม

(อี ไอ เอ) ของ โครงการ นี้ ยัง ไม ผาน การ อนุมัติ จาก ผู ชำนาญ การ

แต อยาง ใด

ราก สาเหตุ ของ ความ ขัด แยง สวน หนึ่ง มา จาก ผังเมือง

ชุมชน บางสะพาน ฉบับ แรก ป 2546 ซึ่ง ปา พรุ ที่ อยู ใน เขต

ปา สงวน เปรียบ เสมือน “ไข แดง” เน่ืองจาก พื้นท่ี ลอม รอบ ถูก

กำหนด ให เปน เขต พื้นที่ สี มวง (เขต อุตสาหกรรม และ คลัง สินคา)

และ พื้นท่ี สี มวง นี้ ก็ กิน เนื้อที่ กวา รอย ละ 80 ของ ตำบล แม รำพึง

Page 90: Inequality in Thailand: An Introduction

90 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

กลุม อนุรักษ แม รำพึง ระบุ วาการ กำหนด พื้นที่ สี มวง นี้ คือ ตนตอ

ของ การ บุกรุก ที่ สาธารณะ และ ปา สงวน แหง ชาติ จาก กลุม ทุน

ทั้ง ยัง เปน สาเหตุ สำคัญ ของ ปญหา น้ำ ทวม ซ้ำซาก ที่ อำเภอ

บางสะพาน อีก ดวย

หลัง จาก ที่ คณะ รัฐมนตรี ได มี มติ เมื่อ วัน ที่ 3 พฤศจิกายน

2552 ยก ระดับ ให พื้นที่ สี เขียว ใน ผังเมือง เปน “พื้นที่ ชุม น้ำ ที่ มี

ความ สำคัญ ระดับ ชาติ” กลุม อนุรักษ แม รำพึง ได เรียก รอง ให

องคการ บริหาร ปกครอง สวน ทอง ถิ่น และ ผู เชี่ยวชาญ รวม กัน

จดั ทำ ผงัเมอืง ใหม ที ่สะทอน สภาพ ความ เปน จรงิ ความ เหมาะ สม

และ ศักยภาพ ของ พื้นที่ โดย เสนอ วา บางสะพาน ควร มี การ

พัฒนา ดาน เกษตรกรรม ซึ่ง ถือ เปน แหลง อาหาร ของ ชุมชน และ

ของ ชาติ อีก ทั้ง ยัง เปน แหลง ที่มา ของ ราย ได หลัก ของ ชุมชน

จาก การ สง ขาย สินคา การเกษตร ตางๆ รวม ถึง ควร มี การ พัฒนา

ดาน การ ทอง เท่ียว ซึ่ง เปนการ พัฒนา ที่ ยั่งยืน กวา การ พัฒนา

ดาน อุตสาหกรรม และ บางสะพาน เอง ก็ มี ชายหาด ที่ งดงาม

ไม แพ หัวหิน ใน อดีต

Page 91: Inequality in Thailand: An Introduction

91สฤณี อาชวานันทกุล

2.2 น้ำ น้ำ คือ ทรัพยากร ที่ ขาด ไม ได ใน การ ดำรง ชีวิต ของ มนุษย

ตัง้แต นำ้ ดืม่ และ นำ้ ใช สำหรบั คน เมอืง ไป จนถงึ ระบบ ชลประทาน สำหรับ เกษตรกร ปจจุบัน ความ ตองการ ใช น้ำ ใน ประเทศไทย สวน ใหญ มา จาก ลุม น้ำ ภาค กลาง โดย ขอมูล จาก กรม ทรัพยากร น้ำ ระบุ วา ใน ป 2549 ภาค กลาง มี ความ ตองการ ใช น้ำ 47,336 ลาน ลูกบาศก เมตร ตอ ป ใน ขณะ ที่ ภา คอ่ืนๆ รวม กัน มี ความ ตองการ ใช น้ำ เพียง 40,159 ลาน ลูกบาศก เมตร เทาน้ัน5

สถติ ิดงั กลาว ใน แง หนึง่ อาจ ด ูสม เหต ุสม ผล เน่ืองจาก ภาค กลาง เปน ทัง้ ที ่ตัง้ ของ กรงุเทพฯ เมอืง ใหญ ทีส่ดุ ซึง่ เปน ศนูยกลาง ของ ภาค อุตสาหกรรม และ ธุรกิจ และ เรือก สวน ไร นา ใน เขต ท่ีราบ ลุม ซึง่ อดุม สมบูรณ ทีส่ดุ ใน ประเทศ แต อกี แง หนึง่ ก ็นา คดิ วา ภาค กลาง เปน ภูมิภาค ที่ มี พื้นท่ี การเกษตร นอย ที่สุด ทวา กลับ มี ความ ตองการ ใช นำ้ สงู ทีส่ดุ ขณะ ที ่ภาค ตะวนั ออก เฉยีง เหนอื ซึง่ ม ีพืน้ที ่การเกษตร มาก ที่สุด กลับ มี ปริมาณ ความ ตองการ ใช น้ำ ต่ำ ที่สุด ทั้ง ยัง ตอง ประสบ ปญหา ภัย แลง ทุก ป

ใน แง ของ การ เขา ถงึ ทรพัยากร นำ้ ยงั ม ีความ เหลือ่ม ลำ้ คอน ขาง มาก ระหวาง ผู มี น้ำ ประปา กับ ไมมี น้ำ ประปา และ ระหวาง พืน้ท่ี ทางการ เกษตร ที ่เขา ถงึ ระบบ ชลประทาน กบั พืน้ที ่ที ่เขา ไม ถงึ โดย ขอมลู จาก เวบ็ไซต ของ การ ประปา นครหลวง และ การ ประปา สวน ภูมิภาค ระบุ วา ณ สิ้น ป 2552 มี ผู ใช น้ำ ใน เขต นครหลวง

5 ปริมาณ ความ ตองการ ใช น้ำ จำแนก ตาม ลุม น้ำ. กรม ทรัพยากร น้ำ. http://www.thaienvimonitor.net/Concept/priority2.htm. วนั ที ่6 ตลุาคม 2553.

Page 92: Inequality in Thailand: An Introduction

92 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

1.92 ลาน ราย และ ใน เขต ภูมิภาค 2.97 ลาน ราย รวม เปน ประมาณ รอย ละ 28 ของ จำนวน ครัว เรือน ทั้ง ประเทศ ผู ที่ อาศัย อยู ใน เขต นครหลวง (กรุงเทพฯ สมุทรปราการ และ นนทบุรี) ใช น้ำ ประปา ตอ ราย ตอ เดือน มากกวา ผู ใช น้ำ ใน เขต ภูมิภาค กวา 2 เทา (54 ลกูบาศก เมตร เทยีบ กบั 25 ลกูบาศก เมตร) สวน ขอมลู ของ กรมชลประทาน ระบุ วา พืน้ท่ี ทางการ เกษตร ที ่ม ีศกัยภาพ ใน การ พฒันา เปน พืน้ที ่ชลประทาน ทัง้ ประเทศ ม ีทัง้หมด 60.3 ลาน ไร พัฒนา เปน พื้นที่ ชลประทาน แลว เพียง 28.7 ลาน ไร หรือ รอย ละ 47.6 เทานั้น6

นอกจาก จะ ม ีความ เหลือ่ม ลำ้ ดาน การ เขา ถงึ ทรพัยากร นำ้ ใน รปู ของ นำ้ ประปา และ แหลง นำ้ ชลประทาน แลว ความ เหล่ือม ลำ้ ที่ เกี่ยว กับ น้ำ ใน ประเทศไทย ยัง มี อีก รูป แบบ หนึ่ง ที่ นา สังเกต นัน่ คอื ความ เหลือ่ม ลำ้ ดาน ความ เสยี หาย จาก อทุกภยั ซึง่ มไิด เกิด ตาม ธรรมชาต ิแต เพียง อยาง เดยีว (เชน นำ้ ทวม แต เฉพาะ ใน พืน้ที ่ลุม ที่ ทวม เปน ปกติ อยู แลว) หาก แต ความ เสีย หาย สวน หน่ึง เปน ผลลพัธ จาก คำ สัง่ ของ ผู ม ีอำนาจ ให “ปลอย นำ้” ให ทวม ทีด่นิ ของ ผู มี อำนาจ การ ตอ รอง ต่ำ ยัง ไม นับ ความ หละ หลวม ใน การ บังคับ ใช กฎหมาย เก่ียว กบั การ ถม ที ่การ ตดั ไม ทำลาย ปา และ การ บกุรุก ที ่สาธารณะ ซึง่ ลวน ทำให ความ เสยี หาย จาก นำ้ ทวม สงู กวา ที ่ควร เกดิ ตาม ธรรมชาต ิปญหา เหลา นี ้ลวน เปน “ปญหา เชงิ โครงสราง” ที่ ซ้ำ เติม ความ เหลื่อม ล้ำ ให เลว ราย ลง

6 รายงาน ขอมลู สารสนเทศ โครงการ ชลประทาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2552, กรมชลประทาน: 2552. ดาวนโหลด ได จาก http://www.rid.go.th/2009/_data/docs/stat52.pdf

Page 93: Inequality in Thailand: An Introduction

93สฤณี อาชวานันทกุล

การ จงใจ “ปลอย น้ำ” ให ทวม จัง หวัด รอบๆ กรุงเทพฯ เพื่อ ปองกัน ไม ให กรุงเทพฯทวม ฝน ธรรมชาติ ของ กรุงเทพฯ ซึ่ง เปน ที่ราบ ลุม ปาก อาว แมน้ำ เจาพระยา สะทอน ให เห็น อยาง เดน ชัด ใน ขอมูล ของ สถาบัน สารสนเทศ ทรัพยากร น้ำ และ การเกษตร (องคการ มหาชน) ซึง่ ตดิตาม บนัทกึ เหตกุารณ อทุกภยั ใน แตละ ป อยาง ละเอียด (แผนภูมิ 22 และ แผนภูมิ 23)

แผนภูมิ 22 พื้นที่ ที่ ได รับ ผลก ระ ทบ จาก อุทกภัย ใน ภาค กลาง เดือน กันยายน ถึง พฤศจิกายน 2553 (ไร)

ที่มา: สถาบัน สารสนเทศ ทรัพยากร น้ำ และ การเกษตร (องคการ มหาชน), เว็บไซต คลัง ขอมูล สภาพ น้ำ, http://www.thaiwater.net/

Page 94: Inequality in Thailand: An Introduction

94 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ศ.ดร.นิธิ เอียว ศรี วงศ อธิบาย ลักษณะ และ สาเหตุ ของ ความ เหลือ่ม ลำ้ ที ่ไม เปน ธรรมชาต ินี ้ใน บทความ เรือ่ง “การเมอืง เรื่อง น้ำ ทวม” ตอน หนึ่ง วา7

...น้ำ ทวม ป นี้ [2549] เปน ป แรก ที่ ไม ตอง กระดาก ปาก อีก

ตอ ไป ที่ จะ ผลัก น้ำ ไป ยัง คน ซึ่ง ความ ลาด ชัน ของ อำนาจ ตอ รอง

ทางการ เมอืง ตำ่ เพราะ เขา บอก ชดัเจน เลย วา ตอง ผลกั นำ้ เขา เรอืก

สวน ไร นา ใน ภาค กลาง เพื่อ ชวย กรุงเทพฯ ไว จาก อุทกภัย

ดวย พืน้ที ่กี ่แสน กี ่ลาน ไร, ดวย ชะตา กรรม ของ ผูคน อกี กี ่แสน

กี่ ลาน ครอบครัว, ดวย เศรษฐกิจ ครอบครัว อีก กี่ แสน กี่ ลาน บาท,

ดวย ชีวิต ที่ สูญ เสีย ไป โดย ไม จำเปน อีก ไมรู กี่ สิบ กี่ รอย ฯลฯ ก็ ไมมี

การ เปด เผยอ ยาง ชัดเจน...เมื่อ ไม ตอง ตอ รอง แลว จะ รู ไป ทำไม

7 นิธิ เอียว ศรี วงศ, “การเมือง เรื่อง น้ำ ทวม” หนังสือพิมพ มติ ชน ราย วัน, 18 ธันวาคม 2549. ดาวนโหลด ได จากhttp://www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q4/2006dec18p4.htm

แผนภูมิ 23 พื้นที่ ที่ ได รับ ผลก ระ ทบ จาก อุทกภัย ป 2549, 2551 และ 2553

ที่มา: สถาบัน สารสนเทศ ทรัพยากร น้ำ และ การเกษตร (องคการ มหาชน), เว็บไซต คลัง ขอมูล สภาพ น้ำ, http://www.thaiwater.net/

Page 95: Inequality in Thailand: An Introduction

95สฤณี อาชวานันทกุล

รวม ทั้ง ไม ตอง รู หรือ คิด ไว กอน ดวย วา จะ ตอง ชดเชย ให แก

ความ เสีย สละ ที่ ไม เจตนา ของ ผูคน เหลา นั้น กัน เทาไร และ อยางไร

ดวย เงิน หรือ ทรพัยากร ที ่คน กรุงเทพฯ จะ ตอง รบั ผดิ ชอบ รวม ดวย

สกั เทาไร และ อยางไร หลงั จาก นี ้ไป อกี 5 ป เรา ก ็จะ ไดยนิ ขาว อยาง

ที ่เคย ไดยนิ จาก โครงการ บำเรอ คน กรงุเทพฯ อ่ืนๆ วา ม ีชาว บาน ที ่

ยัง ไม ได รับ คา ตอบแทน ที่ สัญญา เลย สัก บาท อีก หลาย ครอบครัว

...แรง กดดัน ดาน ประชากร เพียง อยาง เดียว ไม สามารถ

อธิบาย การ ตั้ง ถิ่นฐาน ใน เขต น้ำ ทวม โดย ไมมี การ สราง

สาธารณูปการ รองรับ ได

ประเทศไทย เกือบ จะ เปน ประเทศ เดียว ใน โลก ที่ ปลอย

ให ที่ดิน เปน สินคา บริสุทธิ์ ไม ตาง จาก กวยเต๋ียว และ เคร่ือง เสียง

ทั้งๆ ที่ ที่ดิน เปน ทรัพยากร การ ผลิต ขั้น พื้น ฐาน ของ ทุก สังคม-ไม

วา จะ เปน สังคม เกษตรกรรม หรือ อุตสาหกรรม-ฉะนั้น ที่ดิน จึง ถูก

นำ ไป ใช เก็ง กำไร ได เหมือน สินคา อื่น หรือ อยาง นอย ก็ ถือ ครอง ไว

เพือ่ ความ มัน่คง ทาง เศรษฐกจิ จงึ เปน ธรรมดา ที ่ทีด่นิ สวน ใหญ ของ

ประเทศ ตก อยู ใน มอื คน จำนวน หยบิ มอื เดียว ใน ขณะ ที ่คน สวน ใหญ

เขา ไม ถงึท่ี ดนิ ซึง่ เหมาะ แก การ ประกอบ การ ทาง เศรษฐกจิ ที ่เหมาะ

สม กับ กำลัง ของ ตน

หนทาง เดียว คือ บุกเบิก ไป ยัง ที่ “ชาย ขอบ” ทั้ง หลาย รวม

ทั้ง พื้นท่ี ชุม น้ำ และ พื้นที่ น้ำ ทวม ถึง ซึ่ง แต เดิม ไมมี เศรษฐี คน ไหน

ตองการ ถือ ครอง เกิด ไร นาสา โท และ หมูบาน ชุมชน ขึ้น ทั่วไป โดย

รัฐ ไม เคย ลงทุน ปรับ สภาพ ให รองรับ น้ำ หลาก ประจำ ป ได

...มิติ ทาง สังคม ที่ ถูก ละเลย ใน การ แก ปญหา น้ำ ทวม ยัง มี

อีก มาก เชน ไม เคย มี การ วาง ระเบียบ เกี่ยว กับ การ ถม ที่ จน กระทั่ง

Page 96: Inequality in Thailand: An Introduction

96 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

น้ำ ไม เคย ไหล สู ที่ ต่ำ ได สะดวก พื้นที่ สาธารณะ ซึ่ง เคย มีหนา ที่

ตาม ธรรมชาติ ใน การ บรรเทา น้ำ หลาก เชน พื้นที่ ชุม น้ำ ตางๆ ถูก

บกุรุก ทัง้ จาก เอกชน และ หนวย ราชการ เอง จน ไมม ีขนาด เพยีง พอ

ที ่จะ ชะลอ นำ้ หลาก จาก ภาค เหนือ ได ยงั ไม พดู ถงึ การ ตดั ไม ทำลาย

ปา ซึ่ง เปน ผล มา จาก ความ ทุจริต ของ เจา หนาที่ ตอ การ ละเมิด

กฎหมาย ของ ประชาชน โดย เฉพาะ ประชาชน ที่ มี อิทธิพล ทาง

เศรษฐกิจ-การเมือง

นอกจาก ความ เหลื่อม ล้ำ ที่ เกี่ยว กับ น้ำ จะ มี ทั้ง ดาน การ เขา ถึง น้ำ และ ผลก ระ ทบ จาก น้ำ ทวม แลว วิธี บริหาร จัดการ น้ำ ก็ อาจ กอ ให เกดิ ความ เหลือ่ม ลำ้ ได เชน กนั โดย เฉพาะ กรณ ีการ สราง เขื่อน ขนาด ใหญ ซึ่ง มี หลาย กรณี ที่ พิสูจน ให เห็น วา การ กอสราง เขื่อน มิได ตั้ง อยู บนความ เขาใจ ระบบ นิเวศอยาง เพียง พอ ทำให ชาว บาน จำนวน มาก ถูก น้ำ ทวม หรือ สูญ เสีย วิถี ชีวิต และ ไม ได รับ ประโยชน จาก การ ชลประทาน เต็ม ที่ อยาง ที่ ประเมิน ไว กลาย เปน วา พื้นที่ ที่ ได รับ ผลก ระ ทบ จาก น้ำ ทวม มี มากกวา พื้นที่ ที่ ได ประโยชน จาก ระบบ ชลประทาน อกี ทัง้ ยงั ตอก ลิม่ ความ เหล่ือม ลำ้ เน่ืองจาก ผู ที ่ได รบั ความ เสีย หาย มกั จะ เปน ผู ม ีราย ได นอย ที ่ไร ซึง่ อำนาจ การ ตอ รอง

ยก ตัวอยาง เชน โครงการ โรง ไฟฟา พลัง น้ำ เขื่อน ปาก มูล จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่ง ทำให ชาว ประมง กวา 6,200 ครัว เรือน ตอง สูญ เสีย วิถี ชีวิต ชาว บาน อีก 1,700 ครัว เรือน ตอง โยก ยาย ถิ่นฐาน และ ปลา 116 ชนิด ตอง สูญ พันธุ เขื่อน ปาก มูล เปน เข่ือน ที่ คณะ กรรมการ เข่ือน โลก (World Commission on

Page 97: Inequality in Thailand: An Introduction

97สฤณี อาชวานันทกุล

Dams – WCD) สรุป ไว อยาง ชัดเจน ใน รายงาน ศึกษา กรณี นี้ วา ประสบ ความ ลม เหลว ใน ทกุ ดาน โดย ผล การ ศกึษา ดงั ที ่เกบ็ ความ ใน นิตยสาร สารคดี เดือน ตุลาคม 2543 ระบุ วา “กำลัง ไฟฟา ที่ เขื่อน ปาก มูล ผลิต ได จริง นั้น นอย กวา ที่ การ ไฟฟา ฝาย ผลิต แหง ประเทศไทย คาด การณ ไว ตอน แรก หลาย เทา คือ จาก 150 เมกะ วัตต เหลือ เพียง 20.81 เมกะ วัตต ซึ่ง เมื่อ เปรียบ เทียบ กับ ตนทุน ใน การ สราง เขื่อน ทั้งหมด ที่ เพิ่ม สูง ขึ้น จาก ที่ คาด การณ ไว ตอน แรก กวา หนึ่ง เทา ตัว คือ จาก 3,880 ลาน บาท เปนก วา 8,000 ลาน บาท เขื่อน แหง นี้ จึง ไมมี ความ คุม คา ทาง เศรษฐกิจ ดัง ที่ คาด การณ ไว สวน ใน ประเด็น ดาน สิ่ง แวดลอม คณะ กร รม- การฯ สรุป วา โครงการ กอสราง เขื่อน ปาก มูล ไม ได เปน ไป ตาม แนวทาง ที่ ธนาคารโลก กำหนด ไว กลาว คือ มิได มี การ ประเมิน ผลก ระ ทบ ดาน สิ่ง แวดลอม และ หา มาตรการ แกไข ผลก ระ ทบ อยาง เหมาะ สม กอน ดำเนนิ โครงการ นอกจาก นี ้กอน ที ่จะ ดำเนนิ การ กอสราง เข่ือน ปาก มูล ทาง กฟผ. ก็ ไม เคย มี การ หารือ กับ ชาว บาน ผู ได รับ ผลก ระ ทบ และ ไม เปด โอกาส ให ชาว บาน เขา มา มี สวน รวม ใน กระบวนการ ตัดสิน ใจ ตลอด จน กระบวนการ แกไข ผลก ระ ทบ แต อยาง ใด”8

ผู เขียน เคย สรุป ขอ ถก เถียง เรื่อง เขื่อน ใน วง วิชาการ เศรษฐศาสตร วา9 ที่ ผาน มา นัก เศรษฐศาสตร กระแส หลัก

8 วัน ดี สันติ วุฒิ เมธี, “บท สรุป เขื่อน ปาก มูล “ของ แท” จาก คณะ กรรมการ เขื่อน โลก”. นิตยสาร สารคดี ป ที่ 16 ฉบับ ที่ 188 เดือน ตุลาคม 2543.9 ส ฤณ ีอา ชวา นนัท กลุ, “ความ(ไม)ยตุธิรรม ของ เข่ือน ขนาด ใหญ”, เวบ็ไซต

Page 98: Inequality in Thailand: An Introduction

98 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

มัก จะ คำนึง ถึง มูลคา ทาง เศรษฐกิจ ที่ เขื่อน สราง หรือ ทำลาย เปน หลัก เวลา ที่ ประเมิน วา เขื่อน แตละ แหง ควร สราง หรือ ไม แต นัก เศรษฐศาสตร พฒันา มกั จะ สนใจ ประเด็น ผลก ระ ทบ ตอ ชวีติ ความ เปน อยู ของ ผูคน โดย เฉพาะ ประเด็น ที่ วา รัฐบาล หรือ เจาของ โครงการ ได เยียวยา ผู ได รับ ผลก ระ ทบ อยาง ยุติธรรม แลว หรือ ไม เรื่อง นี้ สำคัญ เพราะ การ สราง เขื่อน ทุก แหง ยอม มี ทั้งคน ได และ คน เสีย และ ใน เมื่อ คน ที่ เสีย ประโยชน (ที่ดิน และ วิถี ชีวิต) มัก จะ เปน ชาว บาน ผู เสีย เปรียบ ทางการ เมือง และ เศรษฐกิจ รัฐบาล ก็ ยิ่ง ควร ให ความ สำคัญ กับ มาตรการ เยียวยา พวก เขา และ แบง ผล ประโยชน ที ่เกดิ จาก เขือ่น ม ิฉะนัน้ ปญหา ความ เหลือ่ม ลำ้ ทาง ราย ได และ โอกาส ก็ มี แนว โนม วา จะ รุนแรง ขึ้น หลัง จาก ที่ เขื่อน สราง เสร็จ

เอส เธอ ร ดฟูโล (Esther Dufl o) และ โร ฮ ิน ีปน เด (Rohini Pande) นัก เศรษฐศาสตร พัฒนา ชั้น แนว หนา ของ โลก จาก มหา -วิทยา ลัย เอ็ม ไอที ใช ขอมูล เชิง ประจักษ ประกอบ กับ เทคนิค ทาง เศรษฐ มติ ิเพือ่ ศกึษา ผลก ระ ทบ ของ เขือ่น ขนาด ใหญ 4,000 แหง ทั่ว ประเทศ อินเดีย ประเทศ ที่ มี เขื่อน มาก เปน อันดับ 3 ของ โลก (ตาม หลงั จนี และ สหรฐัอเมรกิา) ระหวาง ป 1970-1999 ใน งาน วจิยั ป 2005 พบ วาการ สราง เขือ่น ขนาด ใหญ ใน อนิเดยี เปนการ ลงทุน ที ่คุม คา ทาง เศรษฐกิจ เพยีง เลก็ นอย เทานัน้ กลาว คอื เขือ่น มี สวน เพียง รอย ละ 9 ใน อัตรา การ เติบโต ของ ผลผลิต ทางการ เกษตร ระหวาง ป 1971-1987 ใน ขณะ ที่ เพิ่ม ความ เหลื่อม ล้ำ

มูลนิธิ โลก สี เขียว: สิงหาคม 2553. ดาวนโหลด ได จาก http://www.green-world.or.th/columnist/ecosaveworld/769

Page 99: Inequality in Thailand: An Introduction

99สฤณี อาชวานันทกุล

และ อตัรา ความ ยากจน โดย รวม ของ ทัง้ ประเทศ ซึง่ ก ็หมายความ วา รัฐบาล อินเดีย ลม เหลว ใน การ ชดเชย ผู ที่ เสีย ประโยชน จาก การ สราง เขื่อน เพราะ เขื่อน เปน กิจกรรม ที่ สราง ความ เหล่ือม ล้ำ โดย ธรรมชาติ (มี ทั้งคน ได และ คน เสีย) นัก เศรษฐศาสตร ทั้ง สอง ตั้ง ขอ สังเกต ตอ ไป วา ความ ลม เหลว ใน การ ชดเชย ผู เสีย หาย นั้น เก่ียว โยง กับ กรอบ เชิง สถาบัน ที่ รัฐ ใช ใน การ ตัดสิน ใจ เชิง นโยบาย – ใน แควน ที่ โครงสราง เชิง สถาบัน เอื้อ ประโยชน ตอ กลุม คน ที่ ได เปรียบ ทางการ เมอืง และ ทาง เศรษฐกิจ เขือ่น ขนาด ใหญ ก ็ยิง่ ทำให ความ ยากจน เพิ่ม สูง ขึ้น และ ตอก ลิ่ม ความ เหลื่อม ล้ำ ใน สังคม

ใน เมือ่ การ เยยีวยา และ ชดเชย ผู เสยี หาย จาก การ สราง เขือ่น เกิด ขึ้น เอง ไม ได โดย อัตโนมัติ การ ตัดสิน ใจ สราง เขื่อน จึง ตอง คำนึง ถึง ผลก ระ ทบ ดาน ความ เหลื่อม ล้ำ ที่ จะ เกิด ขึ้น เปน สำคัญ ดูฟโล และ ปน เด เสนอ วา นัก วิจัย หรือ ใคร ก็ตาม ที่ จะ ประเมิน ผลก ระ ทบ จาก การ สราง เขื่อน ใน อนาคต ควร ทำความ เขาใจ กับ สถาบัน และ โครงสราง อำนาจ ที่ ผลัก ดัน ให เกิด โครงการ แบบ นี้ – โครงการ ที่ เลย จุด คุม ทุน เพียง เล็ก นอย แต ทำให ความ เหลื่อม ล้ำ ใน ประเทศ สูง ขึ้น และ มี ผู ยากไร มากกวา เดิม

2.3 ไฟฟาไฟฟา อาจ ไมใช ทรัพยากร พื้น ฐาน ที่ จำเปน ตอ การ ดำรง

ชีวิต เทากับ ที่ดิน และ น้ำ แต ก็ เปน ทรัพยากร ที่ ขาด ไม ได ใน สังคม สมยั ใหม และ ดงั นัน้ การ ได เขา ถงึ ไฟฟา จงึ เปน ที ่เห็น พอง ตอง กนั อยาง แพร หลาย ใน ทุก สังคม วา เปน “สวัสดิการ พื้น ฐาน” หรือ “สิทธิ พลเมือง” ที่ รัฐ มีหนา ที่ จัดหา ให อยาง ทั่ว ถึง

Page 100: Inequality in Thailand: An Introduction

100 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ขอมูล ของ กระทรวง พลังงาน ระบุ วา ใน ป 2552 ใน เขต นครหลวง ม ีผู ใช ไฟฟา ใน สวน ที ่เปน ผู อยู อาศยั จำนวน 2.40 ลาน ราย ใช ไฟฟา เฉล่ีย ราย ละ 339 หนวย ตอ เดือน รวม 9,779 ลาน หนวย ขณะ ที่ มี ผู ใช ไฟฟา ขนาด ใหญ จำนวน เพียง 8,584 ราย แต ใช ไฟฟา เฉลี่ย ราย ละ 116,186.03 หนวย ตอ เดือน รวม 1,393,872.3 ลาน หนวย นอกจาก นี้ ผู ใช ไฟฟา ราย ใหญ ยัง จาย คา ไฟฟา ตอ หนวย ใน ราคา ที่ ถูก กวา ผู ใช ไฟฟา ราย ยอย ถึง รอย ละ 3810

การ ที่ ผู ใช ไฟฟา ราย ใหญ (โดย มาก เปน บริษัท ใน ภาค อุตสาหกรรม) ใช ไฟฟา เฉลี่ย มากกวา ผู อยู อาศัย ถึง 96 เทา ตอ ราย นั้น เปน ความ เหลื่อม ล้ำ ที่ ดู จะ มี เหตุ มี ผล เนื่องจาก เปน ธรรมดา ที่ สถาน ประกอบ ธุรกิจ จะ ใช ไฟฟา มากกวา ที่ อยู อาศัย แต ขอ เทจ็ จริง ที ่นา กงัขา คอื ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน ราคา ระหวาง ผู ใช ราย ใหญ กบั ผู อยู อาศัย กอ ให เกดิ คำถาม วา เหตุ ใด รฐั จงึ ลด ราคา ให ผู ใช ไฟฟา ราย ใหญ แทนท่ี จะ ลด ราคา ให กบั ผู ม ีราย ได นอย ซึง่ ม ีกำลัง ซื้อ ต่ำ กวา มหาศาล

จาก ขอมูล รายงาน การ ใช ไฟฟา ป 2549 พบ วา ปริมาณ การ ใช ไฟฟา ของ 3 หาง สรรพ สินคา ขนาด ใหญ ไดแก สยาม พา รา กอน, มาบุญครอง และ เซ็นทรัล เวิลด (เซ็นทรัล เวิลด เพ่ิง เปด ให บริการ กลาง เดือน กรกฎาคม) มี ปริมาณ เทากับ 279 ลาน หนวย มากกวา ปริมาณ การ ใช ไฟฟา ใน จังหวัด แมฮองสอน (65 ลาน หนวย) จังหวัด อำนาจเจริญ (110 ลาน หนวย) และ

10 กรม พัฒนา พลังงาน ทดแทน และ อนุรักษ พลังงาน, กระทรวง พลังงาน. รายงาน ไฟฟา ของ ประเทศไทย ป 2552.

Page 101: Inequality in Thailand: An Introduction

101สฤณี อาชวานันทกุล

จงัหวดั มกุดาหาร (128 ลาน หนวย) และ มากกวา ปรมิาณ ที ่เขือ่น ปาก มูล เขื่อน อุบลรัตน และ เขื่อน สิ ริน ธร ผลิต ได รวม กัน11

ใน แง จำนวน ของ ผู ใช ไฟฟา ทั่ว ประเทศ พบ วา ผู อยู อาศัย ใช ไฟฟา รวม กัน เพียง รอย ละ 22 ของ ประเทศ ใน ขณะ ที่ ภาค อุตสาหกรรม และ ภาค บริการ ใช ไฟฟา ถึง รอย ละ 35 และ 42 ตาม ลำดับ เมื่อ ดู สัดสวน การ ใช ไฟฟา เชิง พื้นท่ี พบ วา มี 10 จังหวัด ที่ ใช พลังงาน ไฟฟา เกือบ รอย ละ 50 ของ การ ใช พลังงาน ไฟฟา ทั่ว ประเทศ โดย 5 จังหวัด ที่ ใช ไฟฟา สูงสุด คือ กรุงเทพฯ นนทบรุ ีและ สมทุรปราการ สมทุรสาคร และ ระยอง ใช ไฟฟา รวม กัน ถึง รอย ละ 27 ของ ปริมาณ การ ใช ไฟฟา ทั่ว ประเทศ (แผนภูมิ 24) นับ เปน ตัวเลข ที่ สะทอน ถึง ความ เหลื่อม ล้ำ ใน การ พัฒนา ได เปน อยาง ดี วา ความ เจริญ ทาง เศรษฐกิจ ยัง กระจุก ตัว อยู ใน เขต กรุงเทพฯ และ ปริมณฑล (นา สังเกต วา สัดสวน การ ใช ไฟฟา ของ 5 จังหวัด ดัง กลาว ยัง นอย กวา สัดสวน ของ จี ดี พี ซึ่ง อยู ที่ รอย ละ 41.3 ของ จี ดี พี ทั้ง ประเทศ ใน ป 2552)

11 กลุม พลัง ไท และ การ ไฟฟา นครหลวง, นิตยสาร โลก สี เขียว ฉบับ ที่ 98 พ.ค.-มิ.ย. 2551

Page 102: Inequality in Thailand: An Introduction

102 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

2.4 สิทธิ ชุมชน vs. สิทธิ อุตสาหกรรมการ ถก เถียง หรือ วิเคราะห เรื่อง ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน

ทรพัยากร ใน ประเทศไทย คง ไม สมบูรณ ถา หาก ไม คำนึง ถงึ ความ ขัด แยง ที่ เกิด ขึ้น ใน หลาย พื้นที่ ระหวาง “คนใน” อยาง ชาว บาน ผู อาศัย อยู ใน ทอง ถิน่ กบั “คนนอก” อยาง อตุสาหกรรม ที ่ตองการ มา พัฒนา โครงการ ใน พื้นที่

ประเด็น ที่ สำคัญ ที่สุด ใน บรรดา ขอ ขัด แยง เหลา นี้ มิได อยู ที่ การ มุง ตัดสิน ให ได วา จะ “เอา” หรือ “ไม เอา” โครงการ อตุสาหกรรม แบบ ขาว-ดำ ดงั ที ่นกั ธรุกจิ และ เอน็ จ ีโอ สิง่ แวดลอม

ที่มา: “รายงาน ไฟฟา ของ ประเทศไทย” โดย กรม พัฒนา พลังงาน ทดแทน และ อนุรักษ พลังงาน, กระทรวง พลังงาน ป 2552 และ การ คำนวณ

แผนภูมิ 24 สัดสวน การ ใช พลังงาน ไฟฟา ตอ ประชาชน 1 คนใน แตละ จังหวัด ป 2552

Page 103: Inequality in Thailand: An Introduction

103สฤณี อาชวานันทกุล

จำนวน หนึ่ง พยายาม เรียก รอง ใน ทาง ที่ เขา ขาง ตัว เอง หาก แต อยู ที ่การ พจิารณา “ความ เหมาะ สม” ของ โครงการ เปรียบ เทยีบ กบั ศกัยภาพ และ ลกัษณะ ของ พืน้ที ่การ ประเมิน “ผล ได และ ผล เสยี” อยาง รอบคอบ และ รอบ ดาน กอน ตดัสิน ใจ การ ม ีกระบวนการ ให ประชาชน เจาของ พืน้ที ่“ม ีสวน รวม” ใน การ ตดัสนิ ใจ บน พืน้ ฐาน ของ การ เปด เผย ขอมูล ที่ ครบ ถวน ตลอด จน การ คำนึง ถึง “ความ เปน ธรรม” ของ มาตรการ บรรเทา เยียวยา และ ชดเชย ประชาชน ผู ได รับ ผลก ระ ทบ ใน กรณี เกิด ผลก ระ ทบ ที่ หลีก เลี่ยง ไม ได และ มาตรการ ปองกัน ผลก ระ ทบ ใน กรณี ที่ หลีก เลี่ยง ได

รัฐธรรมนูญ ไทย ฉบับ ป พ.ศ. 2550 มี บทบัญญัติ ที่ คุมครอง สทิธ ิของ ประชาชน ใน พืน้ที ่โครงการ ใหญ และ สทิธ ิชมุชน ไว หลาย มาตรา ดวย กัน อาทิ

มาตรา 57 สิทธิ ได รับ ขอมูล คำ ชี้แจง และ เหตุผล จาก หนวย งาน ของ รฐั กอน การ อนุญาต หรอื การ ดำเนิน โครงการ หรอื กิจกรรม ใด ที่ อาจ มี ผลก ระ ทบ ตอ คุณภาพ สิ่ง แวดลอม สุขภาพ อนามัย คุณภาพ ชีวิต หรือ สวน ได เสีย สำคัญ อื่น ใด ที่ เก่ียว กับ ตน หรือ ชุมชน ทอง ถิ่น

มาตรา 66 ชุมชน ยอม มี สิทธิ อนุรักษ หรือ ฟนฟู จารีต ประเพณ ีภมูปิญญา ทอง ถิน่ ศลิป วฒันธรรม อนั ด ีของ ทอง ถิน่ และ ของ ชาติ และ มี สวน รวม ใน การ จัดการ การ บำรุง รักษา และ การ ใช ประโยชน จาก ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ง แวดลอม รวม ทั้ง ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ อยาง สมดุล และ ยั่งยืน

มาตรา 67 การ ดำเนิน โครงการ หรือ กิจกรรม ที่ อาจ กอ ให เกิด ผลก ระ ทบ ตอ ชุมชน อยาง รุนแรง ทั้ง ทาง ดาน คุณภาพ

Page 104: Inequality in Thailand: An Introduction

104 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

สิง่ แวดลอม ทรัพยากรธรรมชาต ิและ สขุภาพ จะ กระทำ มไิด เวน แต จะ ได ศึกษา และ ประเมิน ผลก ระ ทบ ตอ คุณภาพ สิ่ง แวดลอม และ สขุภาพ ของ ประชาชน ใน ชมุชน และ จดั ให ม ีกระบวนการ รบัฟง ความ คิด เห็น ของ ประชาชน และ ผู มี สวน ได เสีย กอน รวม ทั้ง ได ให องคการ อิสระ ซึ่ง ประกอบ ดวย ผู แทน องคการ เอกชน ดาน สิ่ง แวดลอม และ สุขภาพ และ ผู แทน สถาบัน อุดมศึกษา ที่ จัดการ การ ศึกษา ดาน สิ่ง แวดลอม หรือ ทรัพยากรธรรมชาติ หรือ ดาน สุขภาพ ให ความ เห็น ประกอบ กอน มี การ ดำเนิน การ ดัง กลาว

ปญหา หนึ่ง ที่ ผาน มา คือ กระบวนการ รับ ฟง ความ คิด เห็น (ประชา พิจารณ) ของ หนวย งาน รัฐ และ องคกร ธุรกิจ โดย มาก ยัง กระทำ อยาง ไม ถูก ตอง ตาม หลัก “ประชาธิปไตย แบบ ปรึกษา หารอื” (Deliberative Democracy) ที ่ประชาชน ม ีสวน รวม อยาง แทจรงิ กลาว คอื การ ทำ ประชา พจิารณ ที ่ถกู ตอง จะ ตอง นำ เสนอ ขอ เทจ็ จรงิ และ ขอมูล ตางๆ อยาง รอบ ดาน ทัง้ ดาน ด ีและ ดาน ลบ และทำ เพื่อ “เสนอ” โครงการ ตอ ประชาชน ผู มี สวน ได เสีย เพื่อ รับ ฟง ความ คิด เห็น อยาง รอบ ดาน กอน ที่ จะ มี การ ลง นาม ใน สญัญา ใดๆ ทัง้ สิน้ แต ผู ทำ ประชา พจิารณ ที ่ผาน มา มกั จะ เสนอ แต ดาน ด ีใน ลกัษณะ ของ การ ประชาสมัพนัธ และ จดั ประชา พจิารณ หลัง จาก ที่ ผู มี อำนาจ ได ตัดสิน ใจ ไป แลว วา จะ ดำเนิน โครงการ

การ ทำ ประชา พจิารณ ที ่ไม ถกู ตอง สง ผล ให ประชา พจิารณ มกั จะ กลาย เปนการ “เผชิญ หนา” ระหวาง หนวย งาน รฐั กบั บรษิทั ผู ดำเนิน โครงการ ฝาย หนึ่ง และ ชาว บาน ใน พื้นที่ กับ เอ็น จี โอ อกี ฝาย หนึง่ เนือ่งจาก หนวย งาน รฐั และ บรษิทั ที ่ตดัสนิ ใจ เรยีบรอย แลว วา จะ เดิน หนา ลง นาม ผูกพัน ใน สัญญา เงิน กู และ สัญญา

Page 105: Inequality in Thailand: An Introduction

105สฤณี อาชวานันทกุล

ตางๆ ไป แลว มัก จะ อยาก หวาน ลอม ให ชาว บาน เห็นดี เห็น งาม ดวย และ พยายาม คาด คัน้ ให ชาว บาน สวน ใหญ แสดง ความ คดิ เห็น ไป ใน ทาง ที ่เหน็ ดวย กบั โครงการ ทัง้ ที ่กระบวนการ ประชา พจิารณ ไมใช กระบวนการ ประชามต ิซึง่ ตอง ม ีการ ลง มต ิอยาง เปน ทางการ ฝาย ชาว บาน เมื่อ พบ วา หนวย งาน รัฐ และ บริษัท ตัดสิน ใจ ไป แลว ยอม รูสึก วา ประชา พิจารณ เปน เพียง “ผักชี โรย หนา” และ รัฐ ไม จริงใจ ที่ จะ รับ ฟง ความ คิด เห็น ของ ตน อยาง จริงจัง ดัง นั้น จึง มี แนว โนม ที่ จะ ไม ไว วางใจ รัฐ และ ธุรกิจ ถึง แมวา ใน ความ เปน จริง โครงการ นั้น อาจ เปน ผล ดี จริงๆ แก ชุมชน และ กอ ผล เสีย นอย มาก ก็ตาม

ใน อดีต การ ทำ ประชา พิจารณ แทบ ทุก ครั้ง ใน พื้นที่ ที่ มี ความ ขัด แยง ระหวาง ชุมชน กับ อุตสาหกรรม เชน บอน อก หนิ กรดู จงัหวดั ประจวบคีรขีนัธ และ อำเภอ จะนะ จงัหวดั สงขลา กรณี ทอ กาซ ไทย-มา เลย ลวน เปนการ ดำเนิน การ ที่ ผิด หลัก การ และ กระบวนการ ประชา พิจารณ ที่ ถูก ตอง และ ความ ผิด พลาด ดัง กลาว ก็ มี สวน ทำให ความ ขัด แยง และ ความ เหลื่อม ล้ำ ใน พื้นที่ ขยาย วง และ รุนแรง มากกวา เดิม

กรณี ศึกษา 3: ปญหา ใน นิคม อุตสาหกรรม มาบตาพุด

เกือบ 3 ทศวรรษ นับ แต กอ ตั้ง มา นิคม อุตสาหกรรม

มาบตาพุด เปน ฐาน การ ผลิต ที่ สำคัญ ดาน ปโตรเคมี เคมีภัณฑ

เหล็ก และ โลหะ เกิด การ รวม ตัว กัน ของ กลุม อุตสาหกรรม จน

เกิด ความ ประหยัด จาก ขนาด (Economy of Scale) จน ทำให

สามารถ แขงขนั ใน ตลาด โลก ได แต กระน้ัน ที ่แพร กระจาย ออก มา

Page 106: Inequality in Thailand: An Introduction

106 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

จาก นิคม อุตสาหกรรม มาบตาพุด กลับ ไม ได มี เพียง ความ เจริญ

เตบิโต ของ เศรษฐกิจ อตุสาหกรรม แต ยงั ม ีผลก ระ ทบ ตอ คณุภาพ

ชวีติ ของ ประชาชน ซึง่ อาศยั อยู ใน เขต ที ่มลภาวะ ดาน ตางๆ จาก

อุตสาหกรรม แพร กระจาย ไป ถึง ดวย ประชาชน ที่ อาศัย อยู ใน

บริเวณ ใกล เคียง กับ นิคม อุตสาหกรรม มาบตาพุด ตอง ประสบ

ปญหา เร่ือง กลิน่ รบกวน (พ.ศ. 2543-2546) การ แยง ชงิ ทรพัยากร

น้ำ กับ ภาค อุตสาหกรรม ใน ชวง เวลา น้ำ แลง (พ.ศ. 2548) ปญหา

สุขภาพ อนามัย ใน ดาน ตางๆ จาก การ มี สาร พิษ ปน เปอน ใน สิ่ง

แวดลอม และ ทรัพยากร ที่ จำเปน ตอ การ อุปโภค บริโภค (พ.ศ.

2550)12 แบก รับ ความ เสี่ยง จาก การ รั่ว ไหล ของ สาร เคมี ที่ บาง

ชนิด เปน อันตราย ตอ สุขภาพ ใน ระยะ ยาว (เชน สาร เคมี ที่ เปน

สาร กอ มะเร็ง) บาง ชนิด ก็ ทำให เสีย ชีวิต ได ทันที (เชน ไฮโดรเจน

ไซยาไนด)13

นอกจาก นี ้นาย แพทย มรกต กรเกษม รฐัมนตรี ชวย วาการ

กระทรวง สาธารณสุข (ใน ค รม. ชุด พล.อ.สุร ยุทธ จุ ลา นนท)

เปด เผย เม่ือ ป พ.ศ. 2550 วา จาก การ ตรวจ สุขภาพ ประชาชน

2,177 ราย ที่ อาศัย บริเวณ 25 ชุมชน รอบ นิคม อุตสาหกรรม

มาบตาพุด พบ วา มี 329 ราย (รอย ละ 16) มี สาร เบน ซีน ตกคาง

ใน รางกาย เกิน มาตรฐาน ซึ่ง สาร ดัง กลาว หาก มี การ สัมผัส ซ้ำๆ

12 เรยีบ เรยีง จาก “ทีม่า ปญหา สิง่ แวดลอม มาบตาพุด” (การ นคิม อตุสาหกรรม ประเทศไทย: http://www.ieat.go.th/ieat/index.php?option=com_content&view=article&id=154&Itemid=157&lang=th)13 เรยีบ เรยีง จาก: ศภุ กจิ นนัท ะว รการ, ปญหา จาก การ พฒันา อตุสาหกรรม ที่ มาบตาพุด และ กระบวนการ กำหนด แนวทาง พัฒนา ใน อนาคต

Page 107: Inequality in Thailand: An Introduction

107สฤณี อาชวานันทกุล

ตดิตอ กนั หลาย ป อาจ ทำ เกดิ โรค มะเรง็ เมด็ เลอืด ขาว ได14 เหลา นี ้

ลวน แสดง ให เห็น วา นิคม อุตสาหกรรม มาบตาพุด กำลัง ดำเนิน

กจิกรรม และ เจรญิ เตบิโต ขึน้ บน คณุภาพ ชวีติ ที ่แย ลง เรือ่ยๆ ของ

ประชาชน ที ่อาศยั โดย รอบ และ สทิธ ิชมุชน กำลงั ถกู ละเลย ภาย ใต

ขอ อาง เร่ือง ผล ประโยชน ทาง เศรษฐกิจ ของ ชาติ

ใน การ แกไข สิง่ ที ่สำคญั ทีส่ดุ คอื การ พฒันา ใดๆ ทาง ดาน

อุตสาหกรรม จะ ตอง มี การ คำนึง ถึง การ จัดการ ผลก ระ ทบ ดาน

สิง่ แวดลอม และ ทรพัยากร รวม ทัง้ คณุภาพ ชวีติ ของ ประชาชน ใน

บรเิวณ ที ่อตุสาห กร รม นัน้ๆ จะ ถอื กำเนดิ ขึน้ ดวย หรอื อาจ กลาว

ได วา ตอง เปน ไป โดย คำนงึ ถงึ ศกัดิศ์รี ความ เปน มนษุย อนั ม ีสทิธ ิ

เสรีภาพ เทา เทียม กัน ตาม บทบัญญัติ รัฐธรรมนูญ นั่นเอง

บท เรยีน สำคญั จาก กรณ ีมาบตาพดุ คอื การ กำหนด “พืน้ที ่

กันชน” (Buff er Zone) และ “แนว ปองกัน” (Protection Strip)15

ที่ จะ ปกปอง เขต ที่ อยู อาศัย ของ ประชาชน จาก ผลก ระ ทบ ดาน

ตางๆ จาก อตุสาหกรรม เปน สิง่ จำเปน อาจ กลาว ได วา ตอง ม ีการ

กำหนด ผงัเมอืง ที ่ด ีและ ตอง ม ีมาตรการ ควบคมุ ไม ให กจิการ ที ่ม ี

ผลก ระ ทบ ตอ ประชาชน ขยาย ตวั เลย พืน้ที ่กนัชน และ แนว ปองกัน

ที ่กำหนด ไว มา ได และ หาก จะ ม ีการ ปรบัปรุง หรอื ขยาย กจิการ ใด

ก ็ตอง เปด เผยอ ยาง โปรงใส วา จะ ไมม ีการ ลวง ลำ้ แนว ปองกนั เขา

มา และ ประชาชน ที่ อยู ใน พื้นท่ี ตอง สามารถ เขาไป มี สวน รวม ใน

กระบวนการ เปด เผย และ ตรวจ สอบ ดวย นอกจาก นี ้ใน ภาพ รวม

14 “เผย สขุภาพ คน รอบ มาบตาพุด กวา 300 ราย เสีย่ง มะเร็ง”, หนงัสอืพมิพ ไทยรัฐ 15 พฤศจิกายน 2550.15 ศุภ กิจ นันท ะว รการ, ปญหา จาก การ พัฒนา อุตสาหกรรม ที่ มาบตาพุด และ กระบวนการ กำหนด แนวทาง พัฒนา ใน อนาคต, 2553.

Page 108: Inequality in Thailand: An Introduction

108 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ควร มี การ ประเมิน “ศักยภาพ ใน การ รองรับ มลพิษ” (Carrying

Capacity) ของ พื้นที่ วา รองรับ โรงงาน ได สูงสุด กี่ โรง ตาม “หลัก

ความ รอบคอบ” (Precautionary Principle) ของ การ พฒันา อยาง

ยั่งยืน มิใช ปลอย ให สราง โรงงาน เพิ่ม ไม สิ้น สุด (ดู แผนภูมิ 25

ตำแหนง แหลง กำเนิด มลพิษ จังหวัด ระยอง)

อุตสาหกรรม โดย เฉพาะ อุตสาหกรรม หนัก ควร มี การ เปด

เผย ขอมูล ตอ สาธารณะ วา มี สาร เคมี อะไร ที่ ใช ใน อุตสาหกรรม

บาง รวม ทัง้ ม ีมาตรการ ปองกัน อุบตัภิยั ที ่ม ีประสิทธภิาพ ไวใจ ได

ใน กรณี ที ่สาร เคม ีเหลา นัน้ เกดิ การ รัว่ ไหล และ ควร ม ีการ ทดสอบ

ประเมิน ประสิทธิภาพ ของ มาตรการ ปองกัน อยาง สมำ่เสมอ เพ่ือ

สราง ความ ไวใจ แก คนใน ชมุชน ไมใช แค ม ีไว ให รู เฉยๆ นอกจาก นี ้

เมือ่ ใด ที ่ระดบั มลพิษ ม ีแนว โนม ที ่จะ เพิม่ ขึน้ อยาง ม ีนยั สำคญั รฐั ก ็

ควร ตอง ประกาศ ให พืน้ที ่ที ่ม ีการ ดำเนนิ กจิการ เหลา นัน้ เปน “เขต

ควบคุม มลพิษ” โดย เรว็ เพือ่ ดำเนิน การ ควบคุม และ ลด มลพิษ ให

อยู ใน ระดบั ปลอดภยั กอน ที ่จะ อนมุตั ิให สราง โรงงาน ใหม โดย ไม

ตอง รอ ให ชาว บาน เดือด รอน จน รวม กลุม กนั ใช สทิธ ิฟอง รอง ตาม

รัฐธรรมนูญ ดัง เชน เหตุการณ ที่ เกิด ขึ้น ใน มาบตาพุด

แผนภูมิ 25 ตำแหนง แหลง กำเนิด มลพิษ จังหวัด ระยอง

Page 109: Inequality in Thailand: An Introduction

109สฤณี อาชวานันทกุล

แนวทาง ลด ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน ทรัพยากรการ ลด ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน ทรัพยากร ควร เริ่ม จาก การ

คำนึง ถึง ความ ตองการ ของ ผู มี สวน ได เสีย ฝาย ตางๆ โดย ยึด หลกั ความ เสมอ ภาค และ เทา เทยีม ของ สทิธ ิพลเมอืง สทิธ ิใน การ ประกอบ ธรุกจิ และ สทิธ ิของ ชมุชน ตาม ที ่บญัญตั ิไว ใน รฐัธรรมนญู การ ถก เถยีง กนั วา ใคร ควร เปน “เจาของ” ทรพัยากร ตางๆ นัน้ ไม สำคญั เทาไร นกั ประเดน็ สำคญั อยู ที ่วา ใคร บาง ที ่ควร ม ีสทิธ ิ“ใช” ทรัพยากร เหลา นั้น และ เรา จะ มี “วิธี บริหาร จัดการ” ทรัพยากร นั้น อยางไร ให เกิด ความ สมดุล ระหวาง เศรษฐกิจ สิ่ง แวดลอม และ สังคม

2.1) ที่ดิน และ ปา ไมการ แกไข ปญหา ที่ดิน กระจุก ตัว ดวย การ ปฏิรูป การ ถือ

ครอง ทีด่นิ เพือ่ ลด ความ เหลือ่ม ลำ้ ใน การ เขา ถงึ หรอื ถอื ครอง ทีด่นิ นั้น นอกจาก จะ ทำให ประชาชน ที่ ตองการ ที่ดิน ทำ กิน สามารถ มี ทีด่นิ เปน ของ ตวั เอง แลว ยงั สามารถ ชวย ลด ความ เหล่ือม ลำ้ ดาน ราย ได (ซึง่ ดงั ที ่กลาว ไป แลว วา ความ เหลือ่ม ลำ้ ดาน ราย ได ก ็เปน ผล ให เกดิ ความ เหล่ือม ลำ้ ดาน การ ถอื ครอง ทีด่นิ ดวย เพราะ ทำให คน บาง กลุม สามารถ ซื้อ ที่ดิน สะสม ไว เก็ง กำไร ได ใน ขณะ ที่ คน อีก มากมาย ไม อาจ ซื้อ ที่ดิน เปน ของ ตัว เอง ได แมแต เพียง แปลง เดยีว) สราง ทาง เลอืก ให แก การ ดำรง ชวีติ แทนท่ี จะ ตอง ยาย เขา มา ทำงาน ใน เขต เมือง อยาง เดียว ยิ่ง ไป กวา นั้น บาง วิธี ใน การ ปฏิรูป ที่ดิน อยาง เชน “โฉนด ชุมชน” และ “ธนาคาร ที่ดิน” ยัง เปนการ กระจาย อำนาจ การ ปกครอง ออก จาก รัฐ สวน กลาง ได ดวย

Page 110: Inequality in Thailand: An Introduction

110 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ภาษี เปน เคร่ือง มือ หนึ่ง ของ การ ปฏิรูป ที่ดิน ที่ มี การ พูด ถึงกัน มาก ซึ่ง เพื่อ ให เกิด การก ระ จาย ตัว ของ การ ถือ ครอง ที่ดิน ที่ เปน ธรรม แลว ตอง มี การ ออกแบบ โครงสราง ภาษี ที่ จะ เปล่ียน “ที่ดิน ที่ ถือ ครอง ไว โดย ไม ได ใช ประโยชน” ให มี สถานะ เปน ทรัพยสิน ที่ มี ภาระ ตนทุน ใน การ ถือ ครอง สูง กวา ผล ประโยชน ที่ คาด วา จะ ได รบั จาก การ ถอื ครอง ไว เพือ่ การ เกง็ กำไร ซึง่ ใน การณ นี ้ตอง กำหนด เกณฑ ในการ พจิารณา นยิาม ความ หมาย ของ “ทีด่นิ ที ่ถอื ครอง ไว โดย ไม ได ใช ประโยชน” ให ชดัเจน และ ม ีความ เปน ธรรม และ สราง ระบบ การ จดั เกบ็ ภาษ ีใน กรณี ดงั กลาว ที ่ม ีประสทิธภิาพ นอกจาก นี้ ยัง ควร มี การ เก็บ ภาษี ที่ดิน ใน อัตรา คงที่ (Flat Rate) ใน อัตรา ที่ สูง มาก เพียง พอ จะ สราง ภาระ ตอ การ ถือ ครอง ที่ดิน จำนวน มาก (การ เก็บ ภาษี ใน อัตรา กาวหนา ตาม ขนาด ของ การ ถอื ครอง ทีด่นิ ที ่ทำให ใคร ถอื ครอง มาก เสยี ใน อตัรา สงู กวา ใคร ถอื ครอง นอย เสยี ใน อตัรา ตำ่ กวา เปน ขอ เสนอ หนึง่ ที ่ได รบั การ พดู ถงึ แต ใน ทาง ปฏิบัติ แลว ตรวจ สอบ ยาก มาก)

ความ ไม สมมาตร ของ ขอมูล ขาวสาร (Information

Asymmetry) เปน อีก ปญหา หนึ่ง ที่ ทำให เกิด ความ เหลื่อม ล้ำ ใน การ เขา ถือ ครอง ที่ดิน กลุม นัก ธุรกิจ บาง กลุม เปน “คนใน” (In-sider) ที่ สามารถ รู ลวง หนา วา โครงการ สาธารณูปโภค ของ รัฐ จะ เกิด ขึ้น ที่ไหน (เชน รถไฟฟา, ทางหลวง ฯลฯ) ทำให สามารถ ไป ซื้อ หรือ กวาน ซื้อ ที่ดิน ใน บริเวณ ที่ โครงการ รัฐ เหลา นั้น จะ เกิด ขึ้น ได กอน คน อืน่ ซึง่ นอกจาก จะ ทำให เกดิ ปญหา ใน เรือ่ง การก ระ จกุ ตัว ของ การ ถือ ครอง ที่ดิน แลว ยัง เปนการ ขัด ขวาง การ แขงขัน กัน

Page 111: Inequality in Thailand: An Introduction

111สฤณี อาชวานันทกุล

อยาง เสรี ใน ตลาด ทำให ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน เศรษฐกิจ แย ลง อีก ดวย การ มี เครื่อง มือ ที่ จะ ชวย ให เกิด หรือ อยาง นอย ใน ขั้น เริ่ม ตน คอื ชวย เพิม่ ระดบั “ความ สมมาตร ของ ขอมลู ขาวสาร” (Informa-tion Symmetry) จงึ เปน สิง่ จำเปน ซ่ึง อาจ ทำได สวน หนึง่ ดวย การ เปด เผย ขอมลู การ ถอื ครอง ทีด่นิ ให เปน ขอมลู สาธารณะ และ การ ยก ระดับ การ เปด เผย ขอมูล เกี่ยว กับ โครงการ ของ รัฐ

โฉนด ชมุชน และ ธนาคาร ทีด่นิ แนวทาง หน่ึง ใน การ แกไข ปญหา ความ เหลือ่ม ลำ้ ทาง ดาน ทีด่นิ คอื โฉนด ชมุชน ซึง่ เปน ระบบ การ ถอื ครอง ทีด่นิ ที ่พฒันา มา จาก การ ที ่ชมุชน เหน็ วา การ แยก กนั ถือ ครอง กรรมสิทธิ์ ที่ดิน เปนการ สุม เสี่ยง ตอ การ สูญ เสีย ที่ดิน ไป ใน รูป แบบ ตางๆ เชน หลุด จำนอง ให กับ ธนาคาร หรือ ถูก กวาน ซือ้ จาก นายทุน และ กลุม อตุสาหกรรม จงึ พฒันาการ ถอื ครอง ขึน้ มา ให อยู ใน รปู กรรมสทิธ์ิ รวม ของ ชมุชน โดย ใหการ ตดัสนิ ใจ ตางๆ เก่ียว กับ ที่ดิน ที่ อยู ใน โฉนด ชุมชน ตอง ขึ้น อยู กับ การ ตัดสิน ใจ รวม ของ ชุมชน เปน หลัก ไมใช เฉพาะ เจาของ ที่ดิน ราย ใด ราย หน่ึง ซึ่ง การ ที่ ตัดสิน ใจ ตางๆ จะ ตอง ขึ้น อยู กับ ความ คิด เห็น ที่ มี รวม กัน ของ ชุมชน ชวย ให เปน พลัง ตอ รอง กับ แรง กดดัน ตางๆ ที่มา จาก ภายนอก ได เปน อยาง ดี

ปจจุบัน มี บาง ชุมชน ได ริเริ่ม ทำ โฉนด ชุมชน ของ ตนเอง แลว แต ยัง ไม ได รับ การ รับรอง สิทธิ จาก รัฐ ซึ่ง การ เขาไป รับรอง สทิธิ ทาง กฎหมาย แก โฉนด ชมุชน ควร ม ีการ ออกแบบ ให เปนการ สราง ความ มัน่คง ใน รปู แบบ ของ การ ถอื ครอง ทีด่นิ ให กบั ชมุชน คอื เปนการ รบัรอง สทิธ์ิ การ ถอื ครอง แก ชมุชน ไมใช เปน ไป ใน ลกัษณะ

Page 112: Inequality in Thailand: An Introduction

112 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

เปน ที่ดิน ที่ รัฐ อนุญาต ให ชุมชน ถือ ครอง ตาม เงื่อนไข ตางๆ ซึ่ง ไม ได เปนการ สราง ความ มัน่คง ให กบั การ ถอื ครอง ทีด่นิ ของ ชมุชน ไม ได สอดคลอง กบั วตัถปุระสงค ใน การ เกดิ ขึน้ ของ โฉนด ชมุชน ที ่มุง เนน ให ชมุชน ได บรหิาร จดัการ ทีด่นิ กนัเอง ทัง้ ยงั ไม ชวย ให เกิด การก ระ จา ยอำ นา จอ อก จาก สวน กลาง อีก ดวย

เคร่ือง มือ ที่ ควร นำ มา ใช ควบคู กับ โฉนด ชุมชน ก็ คือ การ จดั ตัง้ ธนาคาร ทีด่นิ โดย จดั ตัง้ ใน ลกัษณะ ของ องคกร ที ่ไม แสวงหา ผล กำไร ทำ หนาที่ จัดหา ที่ดิน ทำ กิน ให กับ เกษตรกร และ คน ยากจน ที่ ไมมี ที่ดิน ทำ กิน เปน ของ ตนเอง จัดสรร เงิน กู เพ่ือ การ ลงทนุ ใน การเกษตร ให แก เกษตรกร ผู เปน สมาชกิ โฉนด ชมุชน และ คอย ควบคุม ไม ให ที่ดิน ใน โฉนด ชุมชน เปลี่ยน มือ จาก เกษตรกร ไป สู กลุม นายทุน และ อุตสาหกรรม หาก ตอง เปล่ียน มือ ก็ ควร หมุนเวียน อยู ใน กลุม เกษตรกร ที่ เปน สมาชิก เทานั้น หาก พน ไป จาก นั้น ก็ ควร เปนการ เปลี่ยน มือ โดย ตกทอด สู ลูก หลาน

ดาน การ แก ปญหา ความ ขัด แยง ดาน ปา ไม ควร เริ่ม จาก การ เลิก ยึด กฎหมาย ปา ไม อยาง เครงครัด ตายตัว โดย ปราศจาก ความ เขาใจ ใน วิถี ชีวิต ของ ผู ที่ พึ่งพา ปา และ สภาพ ความ เปน จริง ของ พื้นที่ รัฐ จำเปน จะ ตอง ปรับ แก กฎหมาย ปา ไม ให สอดคลอง กับ เจตนารมณ และ บทบัญญัติ ตาม รัฐธรรมนูญ โดย เฉพาะ สิทธิ ชุมชน นอกจาก นี้ ควร ผลัก ดัน การ สราง ระบบ สิทธิ เชิงซอน ใน การ บริหาร จัดการ ปา ไม กลาว คือ ให ชุมชน มี สทิธิ ใน การ จัดการ ปา แต ถา เมื่อ ใด ที่ ชุมชน ไม ปฏิบัติ ตาม กฎ ระเบียบ หรือ เง่ือนไข รัฐ ก็ มี อำนาจ ใน การ แทรกแซง หรือ เพิก ถอน สิทธิ ดัง กลาว ได สิทธิ เชิงซอน ดัง กลาว อาจ อยู ใน รูป ของ กฎหมาย ปา ชุมชน หรือ

Page 113: Inequality in Thailand: An Introduction

113สฤณี อาชวานันทกุล

กฎหมาย สิทธิ ชุมชน ที่ ได เริ่ม มี การ ทดลอง ราง และ ใช จริง แลว

2.2) น้ำแนว การ แกไข ความ เหล่ือม ล้ำ ใน การ จัดสรร ทรัพยากร น้ำ

อาจ ทำได โดย การก ระ จา ยอำ นาจ ใน การ บรหิาร จดัการ สู ทอง ถิน่ ไมใช รวม ศูนย การ จัดการ ผาน นโยบาย ของ หนวย งาน ภาค รัฐ ดัง ที่ เปน มา การ จัดสรร ทรัพยากร น้ำ ควร เปน เรื่อง ที่ แตละ พื้นที่ จดัการ กนัเอง ตาม ความ รู ที ่ม ีอยู (ภมูปิญญา ชาว บาน/ภมูปิญญา ทอง ถิน่) เพราะ หลาย พืน้ที ่ม ีความ ชำนาญ ใน การ จดัการ เรือ่ง นำ้ ใน พื้นที่ ของ ตน ซึ่ง เปน ความ รู ที่ ตกทอด กัน มา หลาย ชั่ว อายุ คน และ มี ลักษณะ ของ การ จัดการ ที่ ปรับ เปล่ียน ทั้ง ตัว เอง และ ธรรมชาติ เขาหา กัน มากกวา ท่ี จะ ปรับ เปล่ียน ธรรมชาติ เขาหา ตัว เอง แต เพียง อยาง เดียว บทบาท ของ รัฐ ควร เนน ไป ที่ การ เสริม สราง ศักยภาพ ของ ทอง ถิ่น ใน การ บริหาร จัดการ และ ชวย เหลือ ดาน เทคโนโลยี ที ่นำ มา ใช ให เปน ประโยชน ได อาทิ “ระบบสารสนเทศ ภมูศิาสตร” หรอื “Geographic Information System: GIS” แต กระนัน้ เพือ่ ใหการ จดัการ ได ผลอ ยาง ยัง่ยนื ก ็ควร เปนการ จดัการ รวม กนั ระหวาง รฐั และ ชมุชน ที ่อยู อาศัย ใน ลุม นำ้ นัน้ๆ ควร จดัการ ปรับ ใช องค ความ รู ของ แตละ ฝาย อยาง ยดืหยุน หมนุเวยีน รวม กนั ไป โดย จัดการ บน พื้น ฐาน ของ การ ปรับ ความ หมาย ของ “พื้นท่ี” ทั้ง ทาง นิเวศวิทยา, ทาง สังคม, ทางการ เมือง การ ปกครอง ให สอดคลอง เขาหา กัน ไม แยก สวน กัน

Page 114: Inequality in Thailand: An Introduction

114 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

2.3) ไฟฟาปจจุบัน การ ผลิต ไฟฟา ใน ประเทศไทย จะ เปน ไป ตาม ผล

พยากรณ ความ ตองการ ใช ไฟฟา ที่ ระบุ ไว ใน “แผน พัฒนา กำลัง การ ผลติ ไฟฟา” หรอื หรอื “พ ีด ีพ ี(PDP: Power Development Plan)” ซึ่ง ปริมาณ ความ ตองการ ดัง กลาว คำนวณ จาก ปริมาณ ไฟฟา ใน วนั ที ่ม ีปรมิาณ ความ ตองการ ใช ไฟฟา สงูสดุ ของ ป ปจจบุนั แลว กำหนด ปริมาณ ไฟฟา และ ปริมาณ ไฟฟา สำรอง ที่ ตอง ผลิต ใน ป ถัด ไป ดวย วิธี ดัง กลาว ผล การ คาด การณ จึง ได รับ อิทธิพล จาก ความ ตองการ ใช ไฟฟา ของ ภาค อุตสาหกรรม ซึ่ง เปนก ลุม ที่ มี ความ ตอง ใช ไฟฟา มาก ที่สุด มากกวา กลุม อื่นๆ (ที่ อยู อาศัย, ธรุกจิ, เกษตรกรรม และ อืน่ๆ) โดย ไมม ีบท บงัคบั ให อตุสาหกรรม ตอง ประหยดั พลงังาน หรอื เพิม่ ประสทิธภิาพ ใน การ ใช พลงังาน ใน ขณะ ที่ ผู ใช ไฟฟา ทุก กลุม ตอง รวม กัน รับ ภาระ ตนทุน จาก “คา Ft ที่ คำนวณ จาก การ เปลี่ยนแปลง ของ คา เชื้อ เพลิง ใน การ ผลิต ไฟฟา และ คา ซื้อ ไฟฟา” ใน อัตรา เดียวกัน ทั้งหมด

ใน ระดับ พื้นที่ ใน เมื่อ การ ผลิต ไฟฟา ใน แตละ ป ยึด โยง กับ กลุม อุตสาหกรรม มากกวา กลุม อื่น และ การ ผลิต ไฟฟา ตาม พี ดี พี ยัง หมาย ถึง การ สราง โรง ไฟฟา เพิ่ม ขึ้น ทุก ป เม่ือ คำนึง ถึง ผล ประโยชน และ ผลก ระ ทบ ที่ จะ เกิด ขึ้น จาก การ สราง โรง ไฟฟา ประชาชน ใน พืน้ที ่ที ่จะ กอสราง โรง ไฟฟา จงึ ควร ม ีสวน รวม ใน การ ตัดสิน ใจ วา จะ ยอม ให สราง หรือ ไม ถา ยอมรับ ได เงื่อนไข ที่ รับ ได ควร เปน อยางไร บน พืน้ ฐาน ของ การ เปด เผย ขอมลู ที ่ครบ ถวน และ มี ผู เชี่ยวชาญ อิสระ มา รวม ให ความ เห็น นอกจาก นี้ กระบวนการ จาย คา ชดเชย และ ติดตาม ดูแล ผู อยู อาศัย ใน ละแวก ที่ จะ ทำการ

Page 115: Inequality in Thailand: An Introduction

115สฤณี อาชวานันทกุล

กอสราง โรง ไฟฟา ก็ ควร มี ความ เปน ธรรม และ โปรงใส เพ่ือ ให ประโยชน จาก การ ผลิต ไฟฟา กระจาย ไป ยัง ผู ได รับ ผลก ระ ทบ อยาง ยุติธรรม มิใช ให แบก รับ แต ผลก ระ ทบ ทาง ลบ ดัง ที่ เปน มา

นอกจาก นี้ ปจจุบัน ยัง มี ครัว เรือน ราว รอย ละ 0.4 ของ ครัว เรือน ทั่ว ประเทศ ที่ ยัง มี ความ ตองการ ใช ไฟฟา คาด วา เปน พืน้ที ่ทรุกนัดาร การ ไฟฟา จงึ ควร ขยาย บรกิาร เพือ่ ตอบ สนอง ตอ ความ ตองการ เหลา นั้น ใน ระยะ ปาน กลาง และ ยาว ควร สง เสริม การ ผลิต ไฟฟา เพื่อ ใช เอง ภายใน ชุมชน เพื่อ ให ผู บริโภค สามารถ พึ่งพา ตนเอง ทาง พลังงาน และ ขาย ไฟฟา ที่ ผลิต มากกวา บริโภค กลับ คืน สู รัฐ เปนการ สราง ราย ได เสริม อีก ทาง หนึ่ง

2.4) สิทธิ ชุมชน vs. สิทธิ อุตสาหกรรมแนวทาง แก ปญหา ความ ขัด แย ง ระหว าง ชุมชน

กับ อุตสาหกรรม ควร เริ่ม จาก การ ยอมรับ วา ทั้ง ชุมชน และ อุตสาหกรรม ตาง ฝาย ตาง ก็ มี สิทธิ เสรีภาพ ใน การ ดำรง ชีพ และ ประกอบ ธุรกิจ แต การ ใช สิทธิ ของ ฝาย ใด ฝาย หนึ่ง ตอง ไม ทำ ใน ทาง ที ่ลวง ละเมิด สทิธ ิหรอื ปด กัน้ โอกาส ใน การ ใช สทิธ ิของ อกี ฝาย การ ประเมิน โครงการ ขนาด ใหญ ที่ อาจ สง ผลก ระ ทบ รุนแรง จะ ตอง เคารพ สทิธิ ชมุชน และ สทิธ ิใน การ ม ีสวน รวม ตาม รฐัธรรมนญู และ ยดึ แนวทาง “การ พฒันา อยาง ยัง่ยนื” เปน หลกั แทนที ่จะ ยดึ “มูลคา ทาง เศรษฐกิจ” ซึ่ง มัก จะ ตก แก กลุม ผู มี ฐานะ ดี เทาน้ัน

กระบวนการ ทำ ประชา พิจารณ ก็ ตอง ทำ อยาง ถูก ตอง คือ ทำ กอน ที ่จะ ตดัสนิ ใจดำ เนนิ โครงการ และ เคารพ ใน ความ คดิ เหน็ ของ ชาว บาน จริงๆ มิใช ลูบ หนา ปะ จมูก และ มี ลักษณะ ของ การ

Page 116: Inequality in Thailand: An Introduction

116 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ประชาสัมพันธ มากกวา ให ขอมูล อยาง เปนก ลาง อีก ทั้ง ยัง ตั้ง อยู บน ทัศนคติ ที่ ดูถูก ชาว บาน ดัง ที่ เกิด ขึ้น บอย ครั้ง ใน อดีต

Page 117: Inequality in Thailand: An Introduction

117สฤณี อาชวานันทกุล

Page 118: Inequality in Thailand: An Introduction

บท ที่ 3ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน สิทธิ และ โอกาส

แนวคิด เร่ือง “สิทธิ” เปน แนวคิด ที่ ไม เคย หยุด นิ่ง อยู กับ ที่ ทวา ผกผนั และ ผนัแปร ไป ตาม คา นยิม สภาวะ เศรษฐกจิ และ สงัคม ใน แตละ ยุค สมัย เรา อาจ แบง สิทธ ิทั้งหมด ออก เปน 3 ประเภท (ซึ่ง อาจ ทับ ซอน กัน ได) ดัง ตอ ไป นี้

1. “สิทธิ สากล” (Universal Rights) หมาย ถึง สิทธิ มนุษย ชน ที่ มนุษย ทุก คน มี ติดตัว มา ตั้งแต เกิด กลาว ได วา เปน “สิทธิ ธรรมชาติ” ที่ ไม จำเปน จะ ตอง อาศัย กฎหมาย มาร อง รับ การ ดำรง อยู

2. “สทิธิ พลเมอืง” (Civil Rights) หมาย ถงึ สทิธ ิที ่เกดิ จาก ความ เปน พลเมือง ใน ประเทศ เปน สิทธิ ที่ รัฐ ตอง ใหการ คุมครอง อยาง เสมอ ภาค กนั ตาม กฎหมาย

3. “สทิธิ เฉพาะ กลุม” (Interest Group Rights) หมาย ถงึ สิทธิ ของ บุคคล เฉพาะ กลุม ที่ เรียก รอง วา สมควร ได รับ การ คุมครอง เปน พเิศษ นอก เหนอื จาก สทิธ ิพลเมอืง ทัว่ไป ดวย เหตผุล

Page 119: Inequality in Thailand: An Introduction

119สฤณี อาชวานันทกุล

ทาง มนุษยธรรม ศีล ธรรม หรือ ความ จำเปน ใน การ ดำรง ชีวิต ประวัตศิาสตร ให บท เรยีน วา สทิธ ิหลาย ประการ ที ่เรา มอง

วา เปน “สิทธิ สากล” ใน ปจจุบัน นั้น ใน อดีต มิได เปน สิ่ง ที่ สังคม มอง วา เปน “สิทธิ” แต อยาง ใด ยก ตัวอยาง เชน ใน สังคม ยุค ที่ ยัง มี การ คา ทาส คา นิยม กระแส หลัก มอง วา ทาส ไมใช “มนุษย” ที่ มี ศกัดิศ์รี เสมอ กบั นาย ทาส ดงั นัน้ จงึ ไม สมควร ม ีสทิธ ิที ่ทดัเทียม กนั ตอ มา หลงั จาก ที ่ม ีการ ลกุฮอื ขึน้ ตอสู ทางการ เมอืง และ วฒันธรรม จน นำ ไป สู การ เลิก ทาส อยาง แพร หลาย แลว นี่เอง “เสรีภาพ จาก การ ถกู บงัคับ” ใน ลกัษณะ นี ้จงึ ได รบั การ ยอมรบั วา เปน สทิธิ สากล ที่ มนุษย มี เสมอ กัน

โดย รวม อาจ กลาว ได วา สทิธิ ตางๆ ที ่คนใน สงัคม ปจจบุนั เห็น พอง กัน วา เปน “สิทธิ สากล” หรือ “สิทธิ พลเมือง” นั้น ลวน แลว แต ผาน ประวัติศาสตร การ ตอสู เรียก รอง อัน โชกโชน มา แลว ทัง้ สิน้ ไม วา จะ เปน สทิธ ิสตรี สทิธ ิใน การ แสดงออก ทางการ เมอืง สทิธิ ใน ความ เปน สวน ตวั ฯลฯ หลาย ครัง้ สทิธ ิเหลา นี ้เริม่ ตน จาก การ เปน “สทิธ ิเฉพาะ กลุม” ที ่สงวน ไว สำหรับ ผู ม ีอำนาจ ใน สงัคม แต ตอ มา ได รับ การ ขยับ ขยาย ให ครอบคลุม คน ทุก กลุม เชน สิทธิ ใน การ ออก เสียง เลือก ตั้ง ซึ่ง ใน สังคม โบราณ (เชน อินเดีย และ กรีก) เคย สงวน ไว เฉพาะ สำหรับ ชนชั้น สูง หรือ ผู มี ฐานะ ดี เทาน้ัน ปจจุบัน การ ถก เถียง ใน สังคม สมัย ใหม หลาย ประเด็น มี แนว โนม วา อาจ สถาปนา สทิธิ ขอ ใหมๆ ขึน้ ใน อนาคต เชน การ ถก เถยีง วา ผู หญิง ควร ม ีสทิธิ ทำแทง หรอื ไม กลุม บคุคล ที ่ม ีความ หลาก หลาย ทาง เพศ ควร มี สิทธิ จด ทะเบียน สมรส หรือ ไม เปนตน

รัฐธรรมนูญ ไทย ฉบับ ป พ.ศ. 2550 ใหการ คุมครอง สิทธิ

Page 120: Inequality in Thailand: An Introduction

120 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ของ ประชาชน อยาง คอน ขาง ครอบคลุม ตั้งแต สิทธิ มนุษย ชน สิทธิ พลเมือง ไป จนถึง สิทธิ ชุมชน รวม ถึง สิทธิ ที่ จะ ได รับ บริการ สาธารณะ ที่ สำคัญ จาก รัฐ ใน ทาง ที่ สะทอน กระแส การ ขยาย สิทธิ ไป สู คน ทุก หมู เหลา อยางไร ก็ ดี ใน ทาง ปฏิบัติ ยัง มี ปญหา หลาย ประการ เชน กฎหมาย หลาย ฉบับ ยัง ระบุ ใน ตัว บท เอง วา “มี บทบัญญัติ ที่ จำกัด เสรีภาพ” และ มาตรา เหลา นี้ ก็ เปน สิ่ง ที่ ประชาชน เรียก รอง ให แกไข ได ยาก มาก สวน หนึ่ง เนื่องจาก บทบัญญัติ เก่ียว กับ สิทธิ เสรีภาพ หลาย ประการ ใน รัฐธรรมนูญ มี สรอย ตอ ทาย วา “เวน แต โดย อาศัย อำนาจ ตาม บทบัญญัติ แหง กฎหมาย เฉพาะ เพื่อ รักษา ความ มั่นคง ของ รัฐ หรือ เพื่อ รักษา ความ สงบ เรียบรอย หรือ ศีล ธรรม อัน ดี ของ ประชาชน” (อาทิ มาตรา 37 เสรีภาพ ใน การ สื่อสาร ถึงกัน)

ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน สิทธิ มี ความ หมาย ได สอง ลักษณะ คอื อาจ หมาย ถงึ ความ เหลือ่ม ลำ้ ระหวาง คน ที ่ควร ม ีสทิธ ิเดยีวกัน แต ใน ความ เปน จรงิ กลบั ไมม ีหรอื ความ เหลือ่ม ลำ้ ระหวาง คน ที ่ม ีสิทธิ เดียวกัน แต มี “โอกาส” และ “ความ สามารถ” ใน การ “ใช” สทิธ ินัน้ ได ไม เทา กนั ใน ที ่นี ้ผู เขยีน จะ เนน เฉพาะ ความ เหลือ่ม ลำ้ ลกัษณะ หลงั เน่ืองจาก ความ เหลือ่ม ลำ้ ใน ลกัษณะ แรก ตอง อาศยั การ ถก เถียง เชิง ปรัชญา มากกวา ขอ เท็จ จริง (เชน ตัว ออน ใน ครรภ ควร นับ วา เปน “คน” เมื่อ ใด) จึง อยู นอก เหนือ เปา หมาย ของ หนังสือ เลม นี้

มี กรณี มากมาย ที่ คน มี “สิทธิ” ตาม รัฐธรรมนูญ แต ไมมี “โอกาส” ใน การ ใช สิทธิ นั้น อยาง เต็ม ที่ ดวย เหตุผล นานัปการ ซึ่ง มัก จะ เกี่ยว พัน กับ ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน อื่น ยก ตัวอยาง เชน มี

Page 121: Inequality in Thailand: An Introduction

121สฤณี อาชวานันทกุล

สิทธิ ใน การ รับ การ ศึกษา ฟรี 12 ป ตาม กฎหมาย แต ยัง ใช สิทธิ นั้น ไม ได เพราะ การ ศึกษา ยัง ไม ฟรี จริง หรือ เพราะ โรงเรียน อยู ไกล จาก บาน เกิน ไป ไมม ีราย ได พอ จาย คา เดิน ทาง ให ลกู เปนตน ดวย เหตุ นี้ การ ถก ประเด็น เรื่อง ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน สิทธิ จึง ไมมี ความ หมาย เทาไร ถา หาก เรา ไม ถก ประเดน็ เรือ่ง ความ เหลือ่ม ลำ้ ดาน โอกาส ไป พรอม กัน

3.1 สิทธิ และ โอกาส ใน การ รับ บริการ สาธารณะสิทธิ มนุษย ชน ตาม ปฏิญญา สากล วา ดวย สิทธิ มนุษย ชน

(Universal Declaration of Human Rights หรือ UDHR) ซึ่ง ประเทศไทย ใหการ รับรอง ขอ 25 ระบุ วา1

“ทุก คน มี สิทธิ ใน มาตรฐาน การ ครอง ชีพ อัน เพียง พอ สำหรับ สุขภาพ และ ความ อยูดี ของ ตน และ ของ ครอบครัว รวม ทั้ง อาหาร เครื่อง นุง หม ที่ อยู อาศัย และ การ ดูแล รักษา ทางการ แพทย และ บรกิาร สงัคม ที ่จำเปน และ ม ีสทิธิ ใน หลกั ประกนั ยาม วาง งาน เจ็บ ปวย พิการ หมาย วัย ชรา หรือ ปราศจาก การ ดำรง ชีพ อื่น ใน สภาวะ แวดลอม นอก เหนือ การ ควบคุม ของ ตน”

หลกั การ ขาง ตน กลาว ถงึ “บรกิาร การ แพทย” และ “บรกิาร สังคม ที่ จำเปน” วา เปน สิทธิ มนุษย ชน ซึ่ง หมายความ วา รัฐ ควร จัดหา ให แก ประชาชน อยาง เสมอ ภาค กัน อยางไร ก็ ดี ประเด็น ใหญ ที่ แตก ตาง กัน ไป ใน แตละ สังคม คือ ประเด็น ที่ วา บริการ

1 ปฏิญญา สากล วา ดวย สิทธิ มนุษย ชน เผย แพร โดย กรม องคการ ระหวาง ประเทศ กระทรวง การ ตาง ประเทศ http://www.mfa.go.th/humanrights/doc/BOOK.pdf

Page 122: Inequality in Thailand: An Introduction

122 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

สาธารณะ แตละ ประเภท นั้น “ใคร” ควร เปน ผู จัด บริการ บาง และ “ใคร” ควร เปน ผูรบั ภาระ ใน การ จาย บาง ระหวาง รฐั เอกชน (ระบบ ตลาด) องคกร ไม แสวง กำไร (เอ็น จี โอ) หรือ ชุมชน สวน ผสม ระหวาง ผู เลน สี่ ฝาย ที่ คน อยาก เห็น มัก จะ ขึ้น อยู กับ จุดยืน ความ เชื่อ หรือ อุดมการณ ทางการ เมือง ของ คน แตละ คน ยก ตัวอยาง เชน นัก คิด สำนัก เสรีนิยม มัก เรียก รอง ให รัฐ สนับสนุน ให ระบบ ตลาด ทำ หนาที่ จัด บริการ เปน สวน ใหญ รัฐ ทำ หนาที่ เพียง จัด สวัสดิการ แบบ สงเคราะห ให กับ ผู ดอย โอกาส ซึ่ง ตอง ผาน การ ทดสอบ ระดับ ความ จำเปน (Means-test) กอน ฝาย นกั คดิ สำนัก ความ ยตุธิรรม ทาง สงัคม มกั สนบัสนนุ ให รฐั เก็บ ภาษ ีใน อตัรา กาวหนา เพือ่ จดั บริการ สาธารณะ อยาง ทัว่ ถงึ ให กบั คน ทกุ กลุม หรือ ไม ก็ ให รัฐ รวม มือ กับ เอกชน ใน การ สราง ระบบ ประกัน สังคม ขึ้น มา อัน เปน ระบบ ที่ เอกชน รวม มือ กับ รัฐ ใน การ จาย และ จัด บริการ

จาก ผล การ สำรวจ ทัศนะ ของ ประชาชน ใน ป 2552 โดย ดร.สม ชัย จิต สุชน และ ดร.วิโรจน ณ ระนอง สถาบันวิจัย เพื่อ การ พัฒนา ประเทศไทย (ที ดี อาร ไอ) พบ วา รอย ละ 39 เห็น วา รฐั ควร ให สวสัดิการ ขัน้ พืน้ ฐาน อยาง เทา เทยีม กนั แต ให สทิธ ิพเิศษ เพิ่ม บาง อยาง กับ คนจน เมื่อ ถาม ตอวา หาก รัฐ ขึ้น ภาษี อยาก ให นำ เงิน มา ทำ อะไร พบ วา 3 อันดับ แรก คือ ตองการ ให รัฐ นำ เงิน มา ใช พัฒนา เรื่อง การ ศึกษา ฝก อาชีพ และ พัฒนา ฝมือ แรงงาน (รอย ละ 23.7) รอง ลง มา ตองการ ให นำ เงนิ มา แกไข ปญหา หน้ี สนิ (รอย ละ 14.1) และ พัฒนา ปรับปรุง ระบบ การ รักษา พยาบาล

Page 123: Inequality in Thailand: An Introduction

123สฤณี อาชวานันทกุล

(รอย ละ 12.3)2

3.1.1 การ ศึกษาถึง แมวา การ ศึกษา จะ ไมใช ปจจัย สี่ ที่ จำเปน ตอ การ ดำรง

ชีพ การ ศึกษา ก็ เปน ปจจัย ที่ สำคัญ อยาง ยิ่ง ใน สังคม สมัย ใหม โดย เฉพาะ ใน ยุค ที่ โลก เคลื่อน ผาน ยุค อุตสาหกรรม เขา สู ยุค ของ ขอมูล ขาวสาร และ เศรษฐกิจ ฐาน ความ รู อยาง เต็ม ตัว งาน วิจัย จาก ทั่ว โลก ชี้ ชัด วา ระดับ การ ศึกษา สง ผล ตอ แนว โนม ราย ได อยาง มี นัย สำคัญ และ ประเทศไทย ก็ ไมใช ขอ ยกเวน ยก ตัวอยาง เชน ผล การ วิเคราะห ขอมูล จาก สำนักงาน สถิติ แหง ชาติ ของ ศูนยวิจัย เศรษฐกิจ และ ธุรกิจ ธนาคาร ไทย พาณิชย พบ วา คน หนุม สาว (อายุ 25-30 ป) ที่ มี การ ศึกษา ระดับ อนุปริญญา หรือ อุดมศึกษา จะ สามารถ มี ราย ได มากกวา คน รุน เดียวกัน ที่ มี การ ศึกษา ระดับ ประถม ถึง 2 เทา และ เมื่อ พวก เขา มีอายุ ถึง 50-55 ป ความ เหลื่อม ล้ำ ทาง ราย ได ก็ จะ ถาง กวาง ออก ไป เปนก วา 5 เทา เนื่องจาก ผู จบ การ ศึกษา ระดับ อนุปริญญา หรือ อุดมศึกษา มี ทั้ง โอกาส และ ศักยภาพ ที่ จะ พัฒนา ทักษะ และ ไต เตา ใน อาชีพ การ งาน สูง กวา ผู จบ การ ศึกษา ระดับ ประถม มาก (แผนภูมิ 26)3

2 ดร.สม ชัย จิต สุชน และ ดร.วิโรจน ณ ระนอง, ทัศนะ ประชาชน ตอ การเมอืง และ สวสัดกิาร สงัคม เพือ่ สราง ความ เปน ธรรม ทาง สงัคม. นำ เสนอ ใน งาน สมัมนา วชิาการ ประจำ ป 2552 สถาบนัวิจยั เพือ่ การ พฒันา ประเทศไทย: 2552.3 เศรษฐ พฒุ ิสทุธิ วา ทนฤ พฒุ ิและ คณะ, “การ เตบิโต ความ เหลือ่ม ลำ้ และ โอกาส ใน ประเทศไทย” ใน Insight Aug-Sep 2010. ศูนยวิจัย เศรษฐกิจ และ ธุรกิจ ธนาคาร ไทย พาณิชย. 2553.

Page 124: Inequality in Thailand: An Introduction

124 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ใน เมือ่ การ ศกึษา สง ผล ตอ ฐานะ ทาง เศรษฐกิจ อยาง ชดัเจน ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน การ ศึกษา จึง ยอม สง ผล ตอ ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน เศรษฐกิจ ดวย ดวย เหตุ นี้ การ จดัการ ศึกษา ที่ ควร ทำ จึง ตอง มุง กระจาย โอกาส การ ศึกษา ไป สู สมาชิก ทุก กลุม ใน สังคม โดย เฉพาะ คนจน เพือ่ บรรเทา ความ เหลือ่ม ลำ้ ใน “มมุ กลบั” ที ่ความ เหลือ่ม ลำ้ ดาน เศรษฐกจิ สง ผล ตอ ความ เหลือ่ม ลำ้ ดาน การ ศกึษา กลาว คือ คน ยิ่ง จน ยิ่ง ขาด โอกาส ใน การ เขา ถึง การ ศึกษา ที่ มี คุณภาพ ขณะ ที่ คน ยิ่ง รวย ยิ่ง มี โอกาส

รฐัธรรมนูญ ไทย ต้ังแต ฉบับ ป พ.ศ. 2540 ได บญัญตั ิใหการ ศึกษา อยาง นอย 12 ป ที่ “ทั่ว ถึง และ มี คุณภาพ” เปน “สิทธิ พลเมือง” ของ คน ไทย โดย รฐัธรรมนูญ ฉบบั ลาสุด ป 2550 ระบุ

ทีม่า: เศรษฐ พฒุ ิสทุธ ิวา ทนฤ พฒุ ิและ คณะ, “การ เตบิโต ความ เหลือ่ม ลำ้ และ โอกาส ใน ประเทศไทย” ใน Insight Aug-Sep 2010. ศูนยวิจัย เศรษฐกิจ และ ธุรกิจ ธนาคาร ไทย พาณิชย: 2553.

แผนภูมิ 26 คา จาง เฉลี่ย ตอ เดือน ใน ป 2550 แยก ตาม ระดับ การ ศึกษา และ อายุ

2550

Page 125: Inequality in Thailand: An Introduction

125สฤณี อาชวานันทกุล

วา (ตัว หนา แสดง เนื้อหา ที่ เพิ่ม เติม จาก รัฐธรรมนูญ ป 2540)มาตรา 49 บุคคล ยอม มี สิทธิ เสมอ กัน ใน การ รับ การ ศึกษา

ไม นอย กวา สิบ สอง ป ที่ รัฐ จะ ตอง จัด ให อยาง ทั่ว ถึง และ มี คุณภาพ

โดย ไม เก็บ คา ใช จาย

ผู ยากไร ผู พิการ หรือ ทุพพลภาพ หรือ ผู อยู ใน สภาวะ

ยาก ลำบาก ตอง ได รับ สิทธิ ตาม วรรค หนึ่ง และ การ สนับสนุน

จาก รัฐ เพื่อ ให ได รับ การ ศึกษา โดย ทัดเทียม กับ บุคคล อื่น

การ จัดการ ศึกษา อบรม ของ องคกร วิชาชีพ หรือ เอกชน

การ ศกึษา ทาง เลอืก ของ ประชาชน การ เรยีน รู ดวย ตนเอง และ

การ เรียน รู ตลอด ชีวิต ยอม ได รับ ความ คุมครอง และ สง เสริม ที่

เหมาะ สม จาก รัฐ

อีก ทั้ง ยัง ได มี บทบัญญัติ คุมครอง การก ระ จา ยอำ นาจ ใน การ จัดการ ศึกษา เปน ครั้ง แรก วา

มาตรา 80 (4) สง เสริม และ สนับสนุน การก ระ จา ยอำ นาจ

เพื่อ ให องคการ ปกครอง สวน ทอง ถิ่น ชุมชน องคการ ทาง ศาสนา

และ เอกชน จัด และ มี สวน รวม ใน การ จัดการ ศึกษา เพ่ือ พัฒนา

มาตรฐาน คุณภาพ การ ศึกษา ให เทา เทียม และ สอดคลอง กับ แนว

นโยบาย พื้น ฐาน แหง รัฐ

อยางไร ก ็ด ีใน ทาง ปฏิบตั ิเปา หมาย การ ให ประชาชน ได รบั การศึกษา 12 ป ตาม รฐัธรรมนูญ (จบ ชัน้ มธัยมศึกษา ตอน ปลาย) ยัง ไม บรรลุ ผล สำเร็จ เปน ที่ นา พอใจ แมวา โดย รวม อัตรา การ รู หนังสือ จะ อยู ใน ระดับ คอน ขาง สูง คือ มี ประชากร อายุ มากกวา

Page 126: Inequality in Thailand: An Introduction

126 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

15 ป ขึ้น ไป ที่ อาน ออก เขียน ได ถึง รอย ละ 99.4 ใน ป 25524 จำนวน นกัเรยีน ชัน้ มธัยมศกึษา ตอน ปลาย ก ็ม ีเพยีง รอย ละ 69.4 (รวม สาย สามญั และ สาย อาชพี) เมือ่ เทยีบ กบั ประชากร ใน สดัสวน อายุ วัย เรียน ระดับ นี้ (15-17 ป) ทั้งหมด เทียบ กับ รอย ละ 93.4 สำหรับ ระดับ ประถม ศึกษา และ รอย ละ 94.5 สำหรับ ระดับ มัธยมศึกษา ตอน ตน ใน ป เดียวกัน5

นอกจาก ปญหา ใน การ เขา ถึง การ ศึกษา โดย รวม แลว ประเทศไทย ยัง มี ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน การ ศึกษา คอน ขาง มาก ระหวาง ภมูภิาค และ สถานะ ทาง เศรษฐกจิ และ สงัคม ผล การ วจิยั ป 2549 ของ ดร.กอบ ศกัดิ ์ภตู ระ กลู และ คณะ จาก ธนาคาร แหง ประเทศไทย พบ วา จำนวน ป ที่ ประชากร อายุ 15 ป ขึ้น ไป ได รับ การ ศึกษา มี ความ แตก ตาง กัน คอน ขาง มาก ระหวาง จังหวัด โดย จังหวัด ที่ ประชากร ได รับ การ ศึกษา เฉลี่ย สูง กวา 7.49 ป มี เพียง 7 จังหวัด กระจุก ตัว อยู ใน เขต ภาค กลาง ตอน ลาง และ ชลบุรี และ ประชากร ภาค กลาง และ ภาค ใต ม ีระดบั การ ศกึษา สงู กวา ภาค เหนือ และ ภาค อีสาน อยาง เห็น ได ชัด (แผนภูมิ 27)

4 กรม การ พฒันา ชมุชน. กระทรวง มหาดไทย. ขอมลู ความ จำเปน พืน้ ฐาน (ผล สำรวจ) ป 2552. เว็บไซต http://www.rdic.info/5 กระทรวง ศึกษาธิการ. รายงาน ประจำ ป 2552 ดาวนโหลด ได จาก http://www.moe.go.th/moe/upload/news20/FileUpload/21433-7390.pdf

Page 127: Inequality in Thailand: An Introduction

127สฤณี อาชวานันทกุล

งาน วิจัย ชิ้น เดียวกัน ยัง พบ วา สภาพ เศรษฐกิจ และ สังคม ของ ครวั เรอืน สง ผล ใน สาระ สำคัญ ตอ ระดับ การ ศกึษา เชน ระดับ การ ศกึษา ของ หวัหนา ครอบครัว ม ีอทิธิพล ตอ ระดบั การ ศกึษา ของ บุตร ใน ทุก ระดับ ชั้น ราย ได (ยิ่ง พอ แม เรียน สูง ยิ่ง พยายาม สง เสีย ให ลกู เรยีน สงู เทากบั ตนเอง หรอื สงู กวา) และ บตุร ของ ครอบครวั ที ่ม ีราย ได สงูสุด รอย ละ 25 ของ ประเทศ กไ็ด รบั การ ศกึษา มากกวา บุตร ของ ครอบครัว ที่ มี ราย ได ต่ำ สุด รอย ละ 25 ถึง 3.15 ป โดย เฉลี่ย นอกจาก นี้ การ เปรียบ เทียบ ลักษณะ ของ ผู มี ศึกษา สูงสุด รอย ละ 20 กับ ผู มี การ ศึกษา ต่ำ สุด รอย ละ 20 เมื่อ วัด จาก คา

แผนภูมิ 27 จำนวน ป ท่ี ประชากร อายุ 15 ป ข้ึน ไป ได รับ การ ศึกษา ป 2549

ที่มา: Kobsak Pootrakul, et. al. Human Capital Policy: Building a Competitive Workforce for 21st Century Thailand. Bank of Thailand: 2006.

Page 128: Inequality in Thailand: An Introduction

128 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

เฉลีย่ ของ ผู ที ่อยู ใน วยั เดยีวกนั ยงั พบ วา ม ีความ เหลือ่ม ลำ้ ที ่สำคญั หลาย ประการ ดัง แสดง ใน แผนภูมิ 28

ที่มา: Kobsak Pootrakul, et. al. Human Capital Policy: Building a Competitive Workforce for 21st Century Thailand. Bank of Thailand: 2006.

แผนภูมิ 28 ลักษณะ เดน ของ ผู ที่ มี การ ศึกษา สูงสุด รอย ละ 20 และ ต่ำ สุด รอย ละ 20 เทียบ กับ คา เฉล่ีย ของ ผู ท่ี อยู ใน วัย เดียวกัน ป 2549

ขอมูล จาก แผนภมู ิ19 บง ชี ้วา หวัหนา ครอบครวั ของ กลุม ผู มี การ ศึกษา ต่ำ สุด นั้น มี การ ศึกษา และ ราย ได ต่ำ กวา หัวหนา ครอบครัว ของ กลุม ผู ม ีการ ศกึษา สงูสดุ อยาง มาก คอื ม ีการ ศกึษา เฉลี่ย 2.9 ป เทียบ กับ 7.7 ป และ มี ราย ได เฉลี่ย เพียง 4,655 บาท ตอ เดือน เทียบ กับ 11,699 บาท ตอ เดือน ของ กลุม ผู มี การ

Page 129: Inequality in Thailand: An Introduction

129สฤณี อาชวานันทกุล

ศึกษา สูงสุด นอกจาก นี้ ภูมิลำเนา และ อาชีพ หลัก ของ ครอบครัว ก ็เปน ตวัแปร ที ่สำคญั – ใน กลุม ผู ม ีการ ศกึษา ตำ่ สดุ ม ีรอย ละ 57 ที ่อาศยั อยู นอก เขต เทศบาล และ รอย ละ 32 มา จาก ครอบครัว ที ่ประกอบ อาชพี เกษตรกรรม เปน หลกั ม ีเพยีง รอย ละ 2 ที ่อาศยั อยู ใน กรงุเทพฯ และ รอย ละ 2 ทีม่า จาก ครอบครัว ที ่เปน ผู ประกอบ วิชาชีพ เฉพาะ ทาง (ทนาย วิศวกร แพทย นัก บริหาร ฯลฯ) สวน ใน กลุม ผู มี การ ศึกษา สูงสุด มี ผู อาศัย อยู นอก เขต เทศบาล เพียง รอย ละ 22 แต อาศัย อยู ใน กรุงเทพฯ ถึง รอย ละ 16 และ มี เพียง รอย ละ 6 ที่มา จาก ครอบครัว ที่ ประกอบ อาชีพ เกษตรกรรม แต มา จาก ครอบครัว ที่ ประกอบ วิชาชีพ เฉพาะ ทาง สูง ถึง รอย ละ 32

สถิติ ขาง ตน ตอกย้ำ ความ จริง ของ สังคม ไทย ดัง นิทาน สมจริง ที่ ผู เขียน กลาว ถึง ใน บทนำ วา ไพบูลย ลูก หลาน ของ นัก ธุรกิจ ฐานะ ดี ที่ อาศัย อยู ใน กรุงเทพฯ มี แนว โนม ที่ จะ ได รับ การ ศึกษา สูง กวา พิชัย ลูก หลาน ของ เกษตรกร ราย ยอย ใน โคราช หลาย เทา และ การ ศกึษา ที ่สงู กวา ก ็ทำให เขา ม ีสมรรถภาพ ใน การ สราง ราย ได และ แนว โนม ที ่จะ ม ีคณุภาพ ชวีติ ที ่ด ีสงู กวา พชิยั เปน เงา ตาม ตัว

การ ศึกษา ใน ไทย ไม เพียง แต มี ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน การ เขา ถึง และ จำนวน ป ที่ ได รับ การ ศึกษา ระหวาง ผู ที่มา จาก สภาพ เศรษฐกิจ และ สงัคม แตก ตาง กนั เทาน้ัน หาก ยงั ม ีความ เหล่ือม ลำ้ ดาน คุณภาพ ของ การ ศึกษา ตาม แบบแผน เดียวกัน นี้ ดวย สถิติ ตวั หนึง่ ที ่สะทอน ความ เหลือ่ม ลำ้ ดาน คณุภาพ การ ศกึษา ของ ไทย ได อยาง ชัดเจน คือ ผล การ ประเมิน ศักยภาพ ของ นักเรียน อายุ 15 ป ที่ จัด ขึ้น ทุก 3 ป โดย องคกร ความ รวม มือ และ พัฒนา ทาง

Page 130: Inequality in Thailand: An Introduction

130 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

เศรษฐกิจ (Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) ภาย ใต ชื่อ โครงการ Programme for International Student Assessment ยอ วา PISA) จุด เดน ของ PISA อยู ที่ การ มอง ไป ถึง ชีวิต ใน อนาคต ไมใช การ ประเมิน ตาม เนื้อหา ใน หลักสูตร ที่ เรียน กัน อยู ใน ปจจุบัน จึง เนน การ ทดสอบ ทักษะ การ “รู เร่ือง” (Literacy) ใน วิชา ที่ จัด วา เปน หัวใจ ของ การ เรียน รู ตลอด ชีวิต 3 วิชา ไดแก การ อาน คณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร

ผล การ ทดสอบ PISA ประจำ ป 2552 พบ วา นักเรียน จาก ประเทศ และ เขต เศรษฐกิจ ใน ทวีป เอเชีย สวน ใหญ มี คะแนน อยู ใน กลุม 5 (คะแนน ดี ที่สุด) หรือ 10 ประเทศ แรก ทุก วิชา ยกเวน ไทย กับ อินโดนีเซีย โดย เขต เศรษฐกิจ เซี่ยงไฮ ใน จีน มี คะแนน เฉลี่ย เปน อันดับ ที่ หนึ่ง ทุก วิชา และ มี นักเรียน ประมาณ ครึ่ง หนึ่ง ที่ แสดง สมรรถนะ ระดับ สูง สวน นักเรียน ไทย มี ผล การ ประเมิน ต่ำ กวา คา เฉลี่ย นานาชาติ ทุก วิชา ยกเวน กลุม โรงเรียนสาธิต เพียง กลุม เดียว ที่ แสดง วา มี มาตรฐาน ทัดเทียม กับ นานาชาติ

นอกจาก นี้ คะแนน เฉล่ีย ของ นักเรียน ไทย ยัง มี แนว โนม ลด ต่ำ ลง ทุก วิชา เมื่อ เทียบ กับ การ ประเมิน ครั้ง แรก เมื่อ ป 2543 (PISA 2000) นักเรียน ไทย เกือบ ครึ่ง แสดง ผล การ ประเมิน การ อาน และ วิทยาศาสตร ต่ำ กวา ระดับ พื้น ฐาน (ระดับ 2) และ มากกวา ครึง่ ใน วชิา คณติศาสตร สวน ที ่สมรรถนะ ระดับ สงู ม ีนอย

Page 131: Inequality in Thailand: An Introduction

131สฤณี อาชวานันทกุล

มาก และ ไมมี เลย ใน วิชาการ อาน (แผนภูมิ 29)6

เมือ่ ด ูคะแนน แยก ราย ภาค พบ วา ม ีความ เหล่ือม ลำ้ ระหวาง

ภาค ตางๆ อยาง ชัดเจน กลาว คือ นักเรียน จาก กรุงเทพฯ และ ปริมณฑล มี ความ รู และ ทักษะ การอาน สูง กวา นักเรียน จาก ภาค อ่ืน มาก (แต ทักษะ โดย รวม ก็ ยัง คง อยู ใน ระดับ ต่ำ ยกเวน นักเรียน จาก กลุม โรงเรยีนสาธิต เพยีง กลุม เดยีว ที ่ม ีระดับ การ อาน เฉลีย่ เทากบั มาตรฐาน กลุม ประเทศ OECD) นักเรียน จาก ภาค อีสาน และ

6 สถาบัน สง เสริม การ สอน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี (สสวท.), ผล การ ประเมิน PISA 2009: บท สรุป เพื่อ การ บริหาร. สสวท. รวม กับ OECD: 2552. ดาวนโหลด ได จาก http://www3.ipst.ac.th/ReportPISA2006/PISA2009_บท สรุป เพื่อ การ บริหาร.pdf

แผนภูมิ 29 ผล การ ประเมิน PISA ระหวาง ป 2543 ถึง 2552 (คะแนน เต็ม = 800)

ที่มา: สถาบัน สง เสริม การ สอน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี (สสวท.), ผล การ ประเมิน PISA 2009: บท สรุป เพื่อ การ บริหาร. สสวท. รวม กับ OECD: 2552.

Page 132: Inequality in Thailand: An Introduction

132 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ภาค ใต มี ระดับ ความ รู และ ทักษะ การ อาน ต่ำ ที่สุด สถานการณ ที่ นา เปน หวง อยาง ยิ่ง คือ ใน การ ประเมิน ป 2552 (PISA 2009) พบ วา นกัเรยีน ม ีความ รู และ ทกัษะ การ อาน ตำ่ กวา ป 2543 (PISA 2000) ทกุ ภาค ยกเวน นกัเรยีน ใน กรงุเทพฯ และ ปรมิณฑล โดย เฉพาะ ภาค ใต ลด ลง มาก ที่สุด (แผนภูมิ 30)

ผล การ ประเมิน ความ รู และ ทักษะ ดาน คณิตศาสตร และ วทิยาศาสตร ก ็แสดง ผล ที ่ไม แตก ตาง จาก ผล ประเมนิ ความ รู และ ทกัษะ การ อาน มาก นกั แม คะแนน คณิตศาสตร และ วทิยาศาสตร ของ นักเรียน ทุก ภาค ยกเวน กรุงเทพฯ และ ภาค กลาง ใน การ ประเมิน ป 2552 (PISA 2009) จะ สูง กวา ผล การ ประเมิน ป 2546 (PISA 2003) แต โดย รวม ก็ ยัง คง อยู ใน ระดับ ต่ำ และ

แผนภูมิ 30 คะแนน การ อาน PISA ราย ภาค เปรียบ เทียบ ป 2543 กับ 2552

ที่มา: สถาบัน สง เสริม การ สอน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี (สสวท.), ผล การ ประเมิน PISA 2009: บท สรุป เพื่อ การ บริหาร. สสวท. รวม กับ OECD: 2552.

Page 133: Inequality in Thailand: An Introduction

133สฤณี อาชวานันทกุล

นักเรียน ใน เขต กรุงเทพฯ ก็ ยัง คง ได คะแนน สูง กวา นักเรียน จาก ภา คอ่ืนๆ คอน ขาง มาก แมวา จะ ได คะแนน ลด ลง จาก ป 2546 (PISA 2003) ก็ตาม (แผนภูมิ 31)

สาเหตุ ของ ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน การ ศึกษา โดย เฉพาะ ผล สัมฤทธ์ิ ที่ แตก ตาง กัน มาก นั้น ยอม มี หลาย ปจจัย ที่ ซับ ซอน และ ซอน ทบั กนั แต สาเหต ุ 2 ประการ ที ่ชดัเจน วา ม ีนา จะ ม ีสวน อยาง ยิง่ ไดแก ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน ทรัพยากร การ เรียน และ ความ เหล่ือม ล้ำ

ที่มา: สถาบัน สง เสริม การ สอน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี (สสวท.), ผล การ ประเมิน PISA 2009: บท สรุป เพื่อ การ บริหาร. สสวท. รวม กับ OECD: 2552.

แผนภูมิ 31 คะแนน คณิตศาสตร และ วิทยาศาสตร PISA ราย ภาค เปรียบ เทียบ ป 2546 กับ 2552

Page 134: Inequality in Thailand: An Introduction

134 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ใน การ ใช จาย เพื่อ การ ศึกษา ของ ภาค รัฐดาน ทรัพยากร การ เรียน ผล การ ประเมิน PISA ชี้ วา

นักเรียน ไทย ที่ ได คะแนน สูง โดย เปรียบ เทียบ มี ทรัพยากร การ เรียน มากกวา คา เฉล่ีย ของ OECD และ มากกวา นักเรียน ที่ ได คะแนน ตำ่ นอกจาก นี ้ระหวาง ป 2546 ถงึ 2552 นกัเรียน กลุม สูง ยัง มี ทรัพยากร มาก ขึ้น ใน อัตรา ที่ สูง กวา นักเรียน กลุม ต่ำ ดวย สะทอน ให เห็น วา ยัง ไมมี การ จัด ทรัพยากร อยาง พอ เพียง ให กับ กลุม ตำ่ กลบั ทุมเท ทรพัยากร ให กบั กลุม สงู ทัง้ ที ่กลุม ตำ่ ม ีนกัเรยีน จำนวน มากกวา และ เปนก ลุม ที่ ควร จะ ได รับ การ ชวย เหลือ ให ยก ระดับ มาก ทีส่ดุ (ยก ตวัอยาง เชน ใน สงิคโปร นกัเรยีน ที ่สอบ คณิตศาสตร ไม ผาน จะ ถกู สง ไป เรยีน กบั คร ูที ่ด ีทีส่ดุ เพือ่ พยายาม ให นักเรียน รู เรื่อง และ สอบ ผาน ให ได) (แผนภูมิ 32)7

7 สถาบัน สง เสริม การ สอน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี (สสวท.) (อาง แลว).

แผนภูมิ 32 คา ดัชนี ทรัพยากร การ เรียน ของ นักเรียน กลุม สูง และ กลุม ต่ำ เปรียบ เทียบ ป 2546 กับ 2552

ที่มา: สถาบัน สง เสริม การ สอน วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี (สสวท.), ผล การ ประเมิน PISA 2009: บท สรุป เพื่อ การ บริหาร. สสวท. รวม กับ OECD: 2552.

2546 2552

Page 135: Inequality in Thailand: An Introduction

135สฤณี อาชวานันทกุล

ดาน ความ เหล่ือม ล้ำ ใน การ ใช จาย เพ่ือ การ ศึกษา ของ ภาค รัฐ งาน วิจัย ของ ดร.วิโรจน ณ ระนอง จาก สถาบันวิจัย เพื่อ การ พฒันา ประเทศไทย (ท ีด ีอาร ไอ) พบ วา การก ระ จาย เงนิ อดุหนนุ ตอ หวั ไป ยงั โรงเรยีน และ มหาวทิยาลัย ตางๆ รวม ทัง้ มหาวทิยาลยั เปด ของ รัฐ นั้น แม ดู เหมือน วา คาหัว จะ เปน อัตรา เดียวกัน ทั้ง ประเทศ แต คาหวั ดงั กลาว ไม ได รวม เงนิ เดอืน และ งบ ลงทนุ ซึง่ ใน ทาง ปฏิบัติ โรงเรียน ขนาด ใหญ ที่ มีชื่อ เสียง ใน จัง หวัด ใหญๆ มัก จะ ได งบ เหลา นี้ มากกวา โรงเรียน ขนาด เล็ก หรือ โรงเรียน ใน พื้นที่ หาง ไกล นอกจาก นี้ การ ศึกษา ใน ระดับ อุดมศึกษา ยัง ได รับ การ อุดหนุน จาก งบ ของ รัฐ ใน อัตรา ที่ สูง กวา การ ศึกษา ระดับ อื่น มาก และ ใน เมื่อ นักเรียน จาก ครอบครัว ที่ มี ฐานะ ดี เขา เรียน ตอ ระดับ อดุมศกึษา มากกวา กลุม ราย ได อืน่ การ ที ่รฐั ทุมเท เงิน อดุหนนุ ดาน การ ศกึษา จำนวน มาก ไป ใน ระดบั อดุมศกึษา จงึ เอือ้ ประโยชน กบั คนรวย มากกวา คนจน โดย กลุม ผู ม ีราย ได สงูสดุ รอย ละ 10 ได รบั เงิน อุดหนุน ตอ หัว สำหรับ การ ศึกษา ทุก ระดับ ชั้น มากกวา ผู มี ราย ได ต่ำ สุด รอย ละ 10 กวา 2 เทา (แผนภูมิ 33)8

8 ดร.วโิรจน ณ ระนอง, การก ระ จาย ผล ประโยชน จาก การ ใช จาย ของ ภาค รฐัดาน การ ศึกษา นำ เสนอ ใน งาน สัมมนา วิชาการ ประจำ ป 2552 สถาบันวิจัย เพื่อ การ พัฒนา ประเทศไทย: 2552.

Page 136: Inequality in Thailand: An Introduction

136 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ใน ความ เปน จริง ถึง แม ไม มอง ฐานะ ของ ครอบครัว รัฐ ก็ มี ความ จำเปน นอย มาก ที่ จะตอง อุดหนุน การ ศึกษา ระดับ อุดมศึกษา เน่ืองจาก ตัวผู เรียน เอง ยอม มี แรง จูงใจ สูง มาก ที่ จะ เขา ให ถึง การ ศึกษา ระดับ นี้ อยู แลว เพราะ คาด หวัง ได วา จะ ได รับ ผล ตอบแทน คอน ขาง สงู หลงั จบ ปรญิญา จาก การ ที ่ม ีโอกาส และ ทกัษะ มากกวา กลุม อ่ืน ที ่จะ ได งาน ราย ได ด ีระดบั การ ศกึษา ที ่รฐั ควร ให เงิน และ ทรัพยากร อุดหนุน มาก ที่สุด คือ การ ศึกษา ระดับ ปฐมวัย และ ประถม ศึกษา เนื่องจาก เด็ก เล็ก ตองการ “รากฐาน” ที่ แข็ง แรง เพื่อ เตรียม ความ พรอม สำหรับ การ ศึกษา ขั้น ตอ ไป ใน อนาคต และ เด็ก ที่มา จาก ครอบครัว ยากจน มัก ขาด โอกาส และ การ ดูแล เอาใจ ใส อยาง พอ เพียง เนื่องจาก เวลา ของ บิดา มารดา หมด ไป กบั การ ดิน้รน เอา ตวั รอด แต ปจจบุนั รฐั ไทย กลบั ทำ ใน สิง่ ที่ ตรง กัน ขาม ยก ตัวอยาง เชน งบ ประมาณ ป 2549 ถูก จัดสรร ให กับ อุดมศึกษา สูง ถึง 30,150 บาท ตอ คน ตอ ป ใน ขณะ ที่ การ ศึกษา ระดับ ปฐมวัย ประถม ศึกษา และ มัธยมศึกษา ตอน ตน

ที่มา: ดร.วิโรจน ณ ระนอง, การก ระ จาย ผล ประโยชน จาก การ ใช จาย ของ ภาค รัฐ ดาน การ ศึกษา นำ เสนอ ใน งาน สัมมนา วิชาการ ประจำ ป 2552 สถาบันวิจัย เพื่อ การ พัฒนา ประเทศไทย: 2552.

แผนภูมิ 33 การก ระ จาย ผล ประโยชน ทางการ ศึกษา จำแนก ตาม ประเภท สถาน ศึกษา และ ชวง ชั้น ราย ได ป 2552

Page 137: Inequality in Thailand: An Introduction

137สฤณี อาชวานันทกุล

ได รับ งบ ประมาณ เพียง 13,397, 15,793 และ 17,295 บาท ตอ คน ตอ ป ตาม ลำดับ9

3.1.2 บริการ สาธารณสุขปฏิเสธ ไม ได วา สุขภาพ เปน ปจจัย ที่ สำคัญ ตอ ความ อยูดี

มี สุข ของ คนใน สังคม และ ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน สุขภาพ กับ ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน ราย ได ก็ มัก จะ สง ผลก ระ ทบ ซึ่ง กัน และ กัน กลาว คอื ผู ม ีราย ได นอย ม ีโอกาส ที ่จะ เสยี ชวีติ จาก โรค ภยั ไข เจบ็ สงู กวา ผู มี ราย ได สูง และ ผู ที่ มี สุขภาพ ไม ดี ก็ มี โอกาส ที่ จะ หา ราย ได นอย กวา ผู ที่ มี สุขภาพ ดี

รายงาน ป 2008 ของ คณะ กรรมการ พิจารณา มาตร วัด ประสิทธิภาพ ทาง เศรษฐกิจ และ ความ กาวหนา ทาง สังคม (Report by The Commission on the Measurement of Economic Performance and Social Progress) ซึ่ง มี โจ เซฟ สต ิกลติซ และ อมาต ยา เซน เปน ประธาน และ ที ่ปรกึษา ประธาน โดย ลำดับ สรุป วา10 “งาน วิจัย เกี่ยว กับ ความ ไม เทา เทียม ดาน สุขภาพ ชวย ช้ี ให เรา เห็น แบบแผน หลาย ขอ ดวย กัน ขอ แรก ชนช้ัน ลาง ผู ม ีการ ศกึษา และ ราย ได นอย กวา ม ีแนว โนม ที ่จะ เสยี ชวีติ เมือ่ อาย ุนอย กวา และ มี โอกาส เจ็บ ไข ได ปวย ใน อัตรา ที่ สูง กวา ชนชั้น อื่น ขอ สอง ความ แตก ตาง ใน สภาวะ ดาน สุขภาพ นี้ ไม ได เกิด เฉพาะ

9 Kobsak Pootrakul, et. al. (อางแลว).10 ส ฤณี อา ชวา นันท กุล, วิพากษ จี ดี พี ฉบับ ชาว บาน. สวนเงิน มี มา: 2553. เขยีน และ เรียบ เรียง จาก Joseph Stiglitz et. al, Report by The Commission on the Measurement of Economic Performance and Social Progress, 2008.

Page 138: Inequality in Thailand: An Introduction

138 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

กบั ชนช้ัน ลาง ทาง เศรษฐกิจ แต ครอบคลุม ทกุ ลำดับ ชัน้ ทาง สงัคม และ เศรษฐกจิ จน เปน “เสน ลาด ชนั ทาง สงัคม” (Social Gradient) กลาว คือ แรงงาน ไร ฝมือ มีอายุ ขัย เฉลี่ย นอย กวา แรงงาน มี ฝมือ ผู ใช แรงงาน มอีายุ ขยั เฉลีย่ ตำ่ กวา พนกังาน ออฟฟศ และ พนกังาน ออฟฟศ ระดับ ต่ำ มีอายุ ขัย เฉลี่ย ต่ำ กวา พนักงาน ระดับ สูง”

ปจจุบัน การ เขา ถึง บริการ สาธารณสุข ที่ “เหมาะ สม และ ได มาตรฐาน” เปน “สิทธิ พลเมือง” ที่ ได รับ การ คุมครอง ตาม กฎหมาย โดย รัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2550 บัญญัติ วา

มาตรา 51 บุคคล ยอม มี สิทธิ เสมอ กัน ใน การ รับ บริการ ทาง

สาธารณสุข ที่ เหมาะ สม และ ได มาตรฐาน และ ผู ยากไร มี สิทธิ ได

รับ การ รักษา พยาบาล จาก สถาน บริการ สาธารณสุข ของ รัฐ โดย ไม

เสีย คา ใช จาย

บคุคล ยอม ม ีสทิธ ิได รบั การ บรกิาร สาธารณสขุ จาก รฐั ซึง่ ตอง

เปน ไป อยาง ทั่ว ถึง และ มี ประสิทธิภาพ

บุคคล ยอม มี สิทธิ ได รับ การ ปองกัน และ ขจัด โรค ติดตอ

อันตราย จาก รัฐ อยาง เหมาะ สม โดย ไม เสีย คา ใช จาย และ ทัน ตอ

เหตุการณ

การ ประกาศ ใช ระบบ ประกัน สุขภาพ ถวน หนา หรือ “บัตร ทอง” ใน รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชิน วัตร ใน ป 2546 นับ เปน ครัง้ แรก ที ่ผู ม ีราย ได นอย ได เขา ถงึ บรกิาร สาธารณสขุ ของ รฐั อยาง กวาง ขวาง ถึง แม จะ มี ปญหา ดาน คุณภาพ และ ภาระ ทางการ เงิน ของ โรง พยาบาล ที ่ตอง แกไข ปรับปรงุ อยาง ตอ เนือ่ง กต็าม การ ได เขา ถงึ ระบบ สขุภาพ เปน ปจจยั สำคญั ที ่สง ผล ให อตัรา การ ตาย ของ เด็ก อายุ ต่ำ กวา 5 ป ใน ครอบครัว ของ ผู มี ราย ได นอย ลด ลง อยาง

Page 139: Inequality in Thailand: An Introduction

139สฤณี อาชวานันทกุล

มาก ใน ป 2548 เทียบ กับ ป 2533 โดย ใน กลุม ที่ จน ที่สุด รอย ละ 20 อัตรา การ ตาย ลด จาก 40.8 คน ตอ 1,000 คน เปน 23.0 คน และ ใน กลุม รอย ละ 20 ที่ จน รอง ลง มา ลด ลง จาก 32.2 คน ตอ 1,000 คน เปน 19.2 คน ตอ 1,000 คน (สวน เด็ก ต่ำ กวา 5 ป ใน กลุม ราย ได อื่น มี อัตรา การ ตาย ตำ่ อยู แลว) (แผนภูมิ 34)

อยางไร ก็ตาม การก ระ จาย ประโยชน ดาน สุขภาพ จาก งบ ประมาณ รัฐ ก็ ยัง มี ความ เหล่ือม ล้ำ อยู แม จะ ไม รุนแรง มาก งาน วิจัย ของ ดร.วิโรจน ณ ระนอง พบ วา ประมาณ ครึ่ง หน่ึง ของ ผู มี ฐานะ ดี ใช สิทธิ ของ ขาราชการ หรือ ประกัน สังคม ผู ที่ ใช สิทธิ ขาราชการ จะ ได รับ ประโยชน มากกวา ผู ที่ ใช สิทธิ บัตร ทอง

แผนภูมิ 34 อัตรา การ ตาย เด็ก อายุ 5 ป แบง ตาม ชั้น ราย ได ป 2533 และ 2548

ที่มา: สุขภาพ คน ไทย 2552. มหาวิทยาลัย มหิดล (วปส.) สำนักงาน กองทุน สนับสนุน การ สราง เสริมสุข ภาพ (สสส.) และ สำนักงาน คณะ กรรมการ สุขภาพ แหง ชาติ (สช.): 2552.

Page 140: Inequality in Thailand: An Introduction

140 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

เนื่องจาก รัฐบาล จาย เงิน ให กับ โครงการ สวัสดิการ ขาราชการ ถึง 11,000 บาท ตอ คน ตอ ป ซึง่ สงู กวา การ จาย ใน โครงการ บตัร ทอง ประมาณ 5 เทา หมายความ วา รอย ละ 30 ของ ทรัพยากร ที่ ใช รักษา ผู ปวย นอก ตก อยู กับ กลุม คน ที่ มี ฐานะ ดี ที่สุด รอย ละ 10 เนื่องจาก มี ขาราชการ อยู ใน กลุม นี้ มากกวา กลุม ผู มี ราย ได นอย สวน ผู ปวย ใน แมวา ชนชั้น กลาง ระดับ ลาง บาง กลุม ได รับ ประโยชน คอน ขาง มาก แต กลุม ที่ รวย ที่สุด ก็ ยัง ได รับ ประโยชน มากกวา คา เฉลี่ย ประเทศ ถึง 2 เทา (แผนภูมิ 35)11

สาเหตุ ที่ สำคัญ ของ ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน สุขภาพ จาก การ ใช จาย ภาค รัฐ คือ การ ที่ รัฐ กำหนด ให สวัสดิการ ขา รา ชกา รฯ

11 ดร.วิโรจน ณ ระนอง. การ คลัง เพื่อ ความ เปน ธรรม ทาง เศรษฐกิจ: การก ระ จาย ผล ประโยชน จาก การ ใช จาย ใน โครงการ ของ รฐั, สถาบนัวิจยั เพือ่ พฒันา ประเทศไทย: 2552.

แผนภูมิ 35 มูลคา และ สัดสวน การก ระ จาย ผล ประโยชน ตาม ช้ัน ราย ได และ ประเภท สวัสดิการ ของ ผู ปวย นอก และ ผู ปวย ใน ป 2552

ที่มา: ดร.วิโรจน ณ ระนอง. การ คลัง เพื่อ ความ เปน ธรรม ทาง เศรษฐกิจ: การก ระ จาย ผล ประโยชน จาก การ ใช จาย ใน โครงการ ของ รัฐ, สถาบันวิจัย เพื่อ พัฒนา ประเทศไทย: 2552.

Page 141: Inequality in Thailand: An Introduction

141สฤณี อาชวานันทกุล

ครอบคลุม ทัง้ การ จาย “ยา ใน บญัช ียา หลกั แหง ชาติ” และ “ยาน อก บญัช ียา หลัก แหง ชาติ” ใน ขณะ ที ่สทิธ ิใน การ รกัษา พยาบาล อกี 2 ประเภท (บตัร ทอง และ ประกนั สังคม) ซึง่ ผู ม ีราย ได นอย เขา ถงึ ได มากกวา จะ ครอบคลุม เฉพาะ ยา ใน บัญชี ยา หลักฯ เทาน้ัน ซึ่ง ยาน อก บญัช ียา หลกัฯนัน้ มกั จะ เปน ยา ใหม ที ่ม ีราคา แพง รวม ทัง้ อาจ ยัง ไมมี หลัก ฐาน ที่ พิสูจน ความ ปลอดภัย ใน การ ใช ระยะ ยาว12

การ ที่ ขาราชการ ได สิทธ์ิ ใน การ รับ ยา โดย ไม ตอง จาย เงิน (โรง พยาบาล ไป เบกิ กบั กรม บญัชี กลาง โดยตรง) และ การ ที ่ระบบ นี้ แทบ ไมมี กลไก ควบคุม การ จาย ยา เปน เหตุ ให มี การ ใช ยา อยาง ไม สม เหตุ สม ผลอ ยาง แพร หลาย สง ผล ให คา ใช จาย ใน สวน ของ สวัสดิการ ขา รา ชกา รฯเพ่ิม สูง ข้ึน เร่ือยๆ ใน อัตรา ท่ี สูง กวา คา ใช จาย สำหรับ บัตร ทอง และ ประกัน สังคม โดย ตัวเลข ของ กระทรวง สาธารณสุข ระบุ วา คา ใช จาย ใน ระบบ สวัสดิการ รักษา พยาบาล ของ ขาราชการ ที่ ดูแล คน ประมาณ 5 ลาน คน เพิ่ม สูง ขึ้น กวา 2 เทา หรือ คิด เปน มูลคา ถึง 54,904 ลาน บาท ใน ชวง เวลา 5 ป และ ใน ป 2551 ได พุง สูง ขึ้น เกือบ 70,000 ลาน บาท ขณะ ที่ คา ใช จาย ใน ระบบ บัตร ทอง และ ประกัน สังคม ซึ่ง ดูแล คน กวา 47 ลาน คน มี ยอด คา ใช จาย ดาน การ รักษา พยาบาล เพียง 98,700 ลาน บาท เทานั้น

กรม บัญชี กลาง ได เปด เผย ราย ละเอียด คา ใช จาย ใน ระบบ สวัสดิการ ขาราชการ วา โรง พยาบาล มหาวทิยาลยั และ โรง พยาบาล ตตยิ ภมู ิ

12 ดู ราย ละเอียด ใน ASTV ผู จัดการ ออนไลน, “ยา เบา หวาน นอก บัญชี ยา หลกัฯ ทำราย 2 เดง สขุภาพ ขรก.ควบ เศรษฐกิจ ชาต”ิ, http://mgr.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9530000171647

Page 142: Inequality in Thailand: An Introduction

142 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ขนาด ใหญ 34 แหง (โรง พยาบาล ตตยิ ภมู ิหมาย ถงึ โรง พยาบาล ที่ ให บริการ ดาน สุขภาพ อยาง ครบ วงจร ตั้งแต การ ปองกัน และ ควบคุม ปญหา ที่ คุกคาม สุขภาพ การ รักษา พยาบาล และ การ สง เสริมสุข ภาพ ซึ่ง มี ความ ยุง ยาก ซับ ซอน ตอง อาศัย องค ความ รู เทคโนโลยี และ บุคลากร ที่ มี ความ เช่ียวชาญ เฉพาะ ดาน โรง พยาบาล ประเภท นี ้โดย มาก จงึ มกั เปน โรง พยาบาล ขนาด ใหญ) เบิก คา รักษา พยาบาล ผู ปวย นอก เปน สัดสวน ถึง รอย ละ 90 ของ วงเงนิ ทัง้หมด ผล การ ตรวจ สอบ เบ้ือง ตน พบ วา ม ีการ ใช ยา แพง ที ่ผลิต จาก ตาง ประเทศ ไม ใช ยา บัญชี หลักฯ และ มี การ เบิก จาย ยา จำนวน มาก ถา หาก ไม เพิม่ ประสทิธภิาพ ใน การ ดแูล การ เบกิ จาย จะ ทำให มี คา ใช จาย สูง ถึง 1.05 แสน ลาน บาท ใน ปงบประมาณ 255313 ซึ่ง นอกจาก จะ เปนการ ใช เงิน งบ ประมาณ อยาง ไม เหมาะ สม แลว ยัง จะ ซ้ำ เติม ให ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน คา ใช จาย ใน ระบบ สุขภาพ รุนแรง ขึ้น อยาง ตอ เนื่อง

เมื่อ วิเคราะห ปจจัย ที่ จำเปน ตอ การ ให บริการ สาธารณสุข แบง ตาม ภมูภิาค พบ วา ยงั ม ีความ เหลือ่ม ลำ้ คอน ขาง มาก ระหวาง กรุงเทพฯ กับ จังหวัด อื่น ความ เหลื่อม ล้ำ ที่ ถาง กวาง ที่สุด คือ ระหวาง กรุงเทพฯ กบั ภาค อสีาน โดย อตัราสวน จำนวน ประชากร ตอ แพทย ใน ภาค อีสาน สูง กวา กรุงเทพฯ ถึง 6 เทา และ จำนวน ประชากร ตอ เตียง ก็ สูง กวา ถึง 4 เทา (แผนภูมิ 36)

13 สุขภาพ คน ไทย 2552. มหาวิทยาลัย มหิดล (วปส.) สำนักงาน กองทุน สนับสนุน การ สราง เสริมสุข ภาพ (สสส.) และ สำนักงาน คณะ กรรมการ สขุภาพ แหง ชาติ (สช.): 2552.

Page 143: Inequality in Thailand: An Introduction

143สฤณี อาชวานันทกุล

3.1.3 คมนาคมบริการ ขนสง มวลชน ใน รูป แบบ ตางๆ ไม วา จะ เปน รถ

โดยสาร สาธารณะ รถไฟ หรอื รถไฟฟา ปจจุบนั จดั วา เปน บริการ สาธารณะ ที ่สำคญั เพราะ เมอืง ได กลาย เปน ศนูยกลาง ของ ธรุกจิ และ แหลง จาง งาน ที ่ใหญ กวา ชนบท และ ชนบท ก ็ตองการ เสน ทาง คมนาคม ที่ เชื่อม โยง กับ เมือง อยาง สะดวก และ มี ประสิทธิภาพ เพื่อ เพิ่ม โอกาส ทาง เศรษฐกิจ บริการ ขนสง มวลชน ที่ มี คุณภาพ ดี และ ราคา ไม แพง จึง เปน ที่ ตองการ ของ ประชาชน จำนวน มาก

แผนภูมิ 36 อัตราสวน ประชากร ตอ เตียง ผู ปวย ทั่วไป และ ตอ เจา หนาที่ ทางการ แพทย และ สาธารณสุข บาง ประเภท ใน กรุงเทพมหานคร และ จังหวัด อื่น พ.ศ. 2547 – 2551

ที่มา: กระทรวง สาธารณสุข

Page 144: Inequality in Thailand: An Introduction

144 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

โดย เฉพาะ ผู มี ราย ได นอย ที่ ไมมี กำลัง ซื้อ รถยนต สวน ตัว ถึง แม รัฐธรรมนูญ จะ มิได มี บทบัญญัติ วา บริการ ขนสง มวลชน เปน สิทธิ พลเมือง ก็ตาม

ผล การ วจิยั ราย จาย ของ รฐั ใน สาขา การ ขนสง ของ ดร.สเุมธ อง กิตติ กุล จาก สถาบันวิจัย เพ่ือ การ พัฒนา ประเทศไทย (ทีดีอารไอ) พบ วาการ ใช จาย ของ รัฐ ท่ี ผาน มา เอ้ือ ประโยชน ให แก คนรวย มากกวา คนจน และ สง เสริม การ ใช งาน รถยนต สวน บุคคล มากกวา ระบบ ขนสง สาธารณะ อยาง ชัดเจน โดย เฉพาะ เจาของ รถยนต สวน ตัว ใน กลุม ราย ได สงูสดุ รอย ละ 10 (แผนภมู ิ37) และ ความ เหลือ่ม ลำ้ ของ ผู ที ่ได รบั ประโยชน จาก การ ใช จาย นี ้ระหวาง ผู ม ีราย ได สงูสุด รอย ละ 20 กับ ผู มี ราย ได ต่ำ ที่สุด รอย ละ 20 ก็ สูง ถึง 75.4 เทา โดย เฉลีย่ ทัว่ ประเทศ โดย สงู ทีส่ดุ ใน ภาค กลาง และ ภาค ตะวนั ออก(แผนภมู ิ38) นอกจาก นี ้ยงั พบ วา ราย จาย ของ ภาค รัฐ มี การก ระ จุก ตัว อยู ใน สวน ของ กรุงเทพฯ และ ปริมณฑล ซึง่ ม ีราย จาย ของ ภาค รฐั ดาน การ ขนสง ทาง ถนน และ รถไฟ ถึง กวา 13,000 ลาน บาท แต มี พื้นที่ ครอบคลุม เพียง 6 จังหวัด ใน ขณะ ที่ ภาค เหนือ และ ภาค ตะวนั ออก เฉียง เหนอื ม ีราย จาย ของ ภาค รฐั สงู กวา กรงุเทพฯ และ ปริมณฑล เพียง 1,000-4,000 ลาน บาท ขณะ ที่ มี ขนาด พื้นที่ และ ประชากร ที่ สูง กวา มาก (แผนภูมิ 38)14

14 ดร.สเุมธ อง กติต ิกลุ. การ วเิคราะห ผล ประโยชน ที ่ประชาชน ได รบั จาก ราย จาย ของ รฐั ใน สาขา การขนสง. นำ เสนอ ใน งาน สมัมนา วชิาการ ประจำ ป 2552 สถาบันวิจัย เพื่อ การ พัฒนา ประเทศไทย: 2552. ดาวนโหลด ได จาก http://www.thaireform.in.th/various-reform-dimensions/item/180--2552-.html

Page 145: Inequality in Thailand: An Introduction

145สฤณี อาชวานันทกุล

แผนภูมิ 37 สัดสวน การก ระ จาย ผล ประโยชน จาก ราย จาย สาขา การ ขนสง ของ ภาค รัฐ แบง ตาม กลุม ราย ได ใน เขต กรุงเทพฯ และ ปริมณฑล ป 2552

ที่มา: ดร.สุเมธ อง กิตติ กุล. การ วิเคราะห ผล ประโยชน ที่ ประชาชน ได รับ จาก ราย จาย ของ รัฐ ใน สาขา การขนสง. สถาบันวิจัย เพื่อ การ พัฒนา ประเทศไทย: 2552.

แผนภูมิ 38 สัดสวน ราย จาย ภาค รัฐ ที่ เกี่ยว กับ การ คมนาคม สำหรับ ผู มี ราย ได มาก ที่สุด รอย ละ 20 ตอ ผู มี ราย ได ต่ำ ที่สุด รอย ละ 20 ใน แตละ ภูมิภาค (หนวย: เทา)

ที่มา: ดร.สุเมธ อง กิตติ กุล. การ วิเคราะห ผล ประโยชน ที่ ประชาชน ได รับ จาก ราย จาย ของ รัฐ ใน สาขา การขนสง. สถาบันวิจัย เพื่อ การ พัฒนา ประเทศไทย: 2552.

Page 146: Inequality in Thailand: An Introduction

146 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

3.2 สิทธิ และ โอกาส ใน การ ได รับ ความ ยุติธรรมปจจบุนั เปน ที ่เห็น พอง ตอง กนั โดย ทัว่ไป วา สทิธ ิใน การ เขา

ถงึ กระบวนการ ยตุธิรรม ควร เปน สทิธ ิมนษุย ชน ขัน้ พืน้ ฐาน อยาง หนึ่ง ของ มนุษย ไม จำกัด เฉพาะ พลเมือง ของ ประเทศ ใด ประเทศ หน่ึง เทานั้น เชน นายจาง ที่ กระทำ ทารุณ กรรม ตอ แรงงาน ไร สัญชาติ (ละเมิด สิทธิ มนุษย ชน) สามารถ ถูก เหยื่อ ของ ความ รุนแรง ฟอง รอง ให ดำเนิน คดี ตาม กฎหมาย ไทย แมวา จำเลย จะ มไิด ม ีสญัชาต ิไทย กต็าม อกี ทัง้ คง ไมม ีใคร ปฏิเสธ วา เมือ่ กฎหมาย บัญญัติ วา ทุก คน “มี” สิทธิ ใน กระบวนการ ยุติธรรม แลว ทุก คน ก็ ควร ม ี“โอกาส” ได เขา ถงึ กระ กวน การ ยตุธิรรม อยาง แทจรงิ และ เมื่อ เขา ถึง ได แลว ทุก คน ก็ ควร “ได รับ” การ ปฏิบัติ ที่ ยุติธรรม ใน กระบวนการ (Due Process) และ ความ ยุติธรรม ใน เน้ือหา (Substantive Justice) เมื่อ ศาล มี คำ ตัดสิน อยาง เทา เทียม กัน ดัง วา ทะ อมตะ ของ อี เลน อร รูสเวลท (Eleanor Roosevelt) อดีต สุภาพ สตรี หมายเลข หนึ่ง ของ อเมริกา หัว เรือ ใหญ ใน การ ราง ปฏิญญา สากล วา ดวย สิทธิ มนุษย ชน ที่ วา “ความ ยุติธรรม ไม อาจ ยตุธิรรม เฉพาะ กบั ฝาย ใด ฝาย หนึง่ ได แต จะ ตอง ยตุธิรรม กับ ทั้ง สอง ฝาย”15

รัฐธรรมนูญ ไทย ตั้งแต ป 2540 มี บทบัญญัติ ที่ คุมครอง สิทธิ ใน กระบวนการ ยุติธรรม โดย ใน รัฐธรรมนูญ ฉบับ ป 2550 มาตรา 39 ระบุ วา บุคคล ไม ตอง รับ โทษ อาญา ยกเวน วา จะ ทำความ ผดิ ใน เวลา ที ่กฎหมาย บญัญัต ิวา เปนการ กระทำ ผดิ และ

15 “Justice cannot be for one side alone, but must be for both.” วา ทะ ดัง กลาว ได รับ การ จารึก ใน หอง พิจารณา คดี ของ ศาล ฎีกา ประเทศ อังกฤษ

Page 147: Inequality in Thailand: An Introduction

147สฤณี อาชวานันทกุล

จะ รับ โทษ หนัก กวา โทษ ที่ กำหนด ใน กฎหมาย ไม ได นอกจาก นี้ ใน คดี อาญา ตอง สันนิษฐาน ไว กอน วา ผู ตองหา หรือ จำเลย ไมมี ความ ผิด และ “กอน มี คำ พิพากษา อัน ถึงที่ สุด แสดง วา บุคคล ใด ได กระทำ ความ ผิด จะ ปฏิบัติ ตอ บุคคล นั้น เสมือน เปน ผู กระทำ ความ ผิด มิได”

มาตรา ตอ มา คอื มาตรา 40 แจกแจง สทิธ ิใน กระบวนการ ยุติธรรม วา มี ตั้งแต “สิทธิ เขา ถึง กระบวนการ ยุติธรรม ได โดย งาย สะดวก รวดเร็ว และ ทั่ว ถึง” และ “สิทธิ พื้น ฐาน ใน กระบวน พิจารณา” ซึ่ง อยาง นอย “ตอง มี หลัก ประกัน ขั้น พื้น ฐาน เรื่อง การ ได รับ การ พิจารณา โดย เปด เผย การ ได รับ ทราบ ขอ เท็จ จริง และ ตรวจ เอกสาร อยาง เพยีง พอ การ เสนอ ขอ เท็จ จรงิ ขอ โต แยง และ พยาน หลกั ฐาน ของ ตน การ คดัคาน ผู พพิากษา หรอื ตลุาการ การ ได รบั การ พจิารณา โดย ผู พพิากษา หรอื ตลุาการ ที ่นัง่ พจิารณา คด ีครบ องค คณะ และ การ ได รับ ทราบ เหตุผล ประกอบ คำ วินิจฉัย คำ พิพากษา หรือ คำ สั่ง” นอกจาก นี้ ยัง ระบุ สิทธิ ที่ จะ “ได รับ การ สอบสวน อยาง ถูก ตอง รวดเร็ว เปน ธรรม และ การ ไม ให ถอยคำ เปน ปฏิปกษ ตอ ตนเอง”

อยางไร ก็ ดี ใน ทาง ปฏิบัติ กระบวนการ ยุติธรรม ของ ไทย ยัง มี ความ เหลื่อม ล้ำ อยู มาก ระหวาง คนจน กับ คนรวย ทำให วลี “สอง มาตรฐาน” เปน ที่ เขาใจ อยาง แพร หลาย วา สะทอน สภาพ สังคม ปจจุบัน ที่ คน มี “โอกาส” ใน กระบวนการ ยุติธรรม ไม เทา กัน ยัง มิ พัก ตอง พูด ถึง โอกาส ของ การ “ได รับ” ความ ยุติธรรม ใน บั้นปลาย ยก ตัวอยาง เสียง สะทอน จาก ผู รวม เสวนา บาง ราย เวที สาธารณะ “คดี คนจน วา ดวย คนจน กับ ความ ไม เปน ธรรม ใน

Page 148: Inequality in Thailand: An Introduction

148 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

กระบวนการ ยตุธิรรม ไทย” ซึง่ จดั โดย คณะ รฐัศาสตร จฬุาลงกรณ มหาวิทยาลัย รวม กับ องคกร ภาค ประชาชน ราว 20 องคกร เมื่อ วัน ที่ 19 กรกฎ า คม 2553 วา16

พ.ต.อ.ทวี สอด สอง รอง ปลัด กระทรวง ยุติธรรม กลาว วา

เทา ที่ ไป ดู สถิติ จาก กรม ราชทัณฑ มี ผู ตอง ขัง 2.4 แสน คน เปน

คนจน เกือบ หมด และ ประมาณ 5 หมื่น คน ถูก ขัง กอน ศาล ตัดสิน

คดี ตนเอง ถาม อธิบดี กรม ราชทัณฑ ได ความ วา สวน หนึ่ง ถูก ขัง

เพราะ ความ จน ไมม ีหลกั ทรพัย ประกัน ตวั ม ีเรือ่ง การ กกัขงั แทน คา

ปรับ อีก แตม ตอ สำหรับ คนจน มัน มี นอย ดัง นั้น จะ มี กระบวนการ

ยุติธรรม เพ่ือ คนจน ได หรือ ไม ถา กระทรวง ยุติธรรม ให ความ

ยุติธรรม ไม ได ชื่อ กระทรวง นี้ ก็ ไม เหมาะ สม

ปราโมทย ผล ภิญโญ ตัวแทน กลุม ปญหา ที่ดิน ชัยภูมิ ระบุ

วา คดี ที่ดิน ทั่ว ประเทศ รวม แลว ก็ เปน พัน ปญหา เรื่อง ที่ดิน รัฐ

และ เอกชน มัก จะ ใช กระบวนการ ยุติธรรม มา ดำเนิน การ กับ ชาว

บาน ทั้ง อาญา เชน บุกรุก ขัด ขวาง การ ปฏิบัติ งาน ของ เจา หนาที่

และ มี ฟอง แพง อยาง ไล ที่ หรือ คดี ทำให โลก รอน [ดู กรณี ศึกษา 4

ใน บท นี้] ตนเอง สังเกต วา คดี ที่ดิน เริ่ม เพิ่ม มาก ตั้งแต ตน ป 2552

มาตรการ กลับ ไมมี ผล ใน ทาง ปฏิบัติ อยาก เสนอ วา ถา รัฐบาล

จะ ดำเนิน โครงการ โฉนด ชุมชน ขอ ให ยุติ คดี ความ ตางๆ ของ

ชาว บาน ไว กอน

พงษ ศกัด์ิ สาย วรรณ ตวัแทน กลุม ปญหา ทีด่นิ รฐั และ เอกชน

16 “คนจน โวย ถูก เลือก ปฏิบัติ กก.ปฎิ รูป เสนอ ตั้ง ศาล ที่ดิน” หนังสือพิมพ ไทย โพสต ออนไลน. วนั ที ่20 กรกฎาคม 2553. http://www.oknation.net/blog/print.php?id=622824

Page 149: Inequality in Thailand: An Introduction

149สฤณี อาชวานันทกุล

กลาว วา อำนาจ ทุน และ รัฐ ใช กฎหมาย เปน เคร่ือง มือ กับ คนจน

คดี คนจน ถูก ดำเนิน การ เร็ว บาง ครั้ง มี การ แกลง ฟอง บุกรุก ที่ดิน

ผิด แปลง คือ ฟอง ชื่อ คน ที่ ไมใช ผู ครอบ ครอง ที่ ตรง นั้น พอ คน

ครอบ ครอง ที่ ไม ไป ศาล ก็ ถูก ตัดสิน คดี ไป เรื่อยๆ แลว ผู ฟอง ก็ ชนะ

ชาว บาน ถูก กระทำ อยาก ให คณะ กรรมการ ปฏิรูป ประเทศไทย

รู วา ความ เหลื่อม ล้ำ ใน สังคม มี ตนตอ มา จาก เรื่อง ที่ดิน แต การ

แก ปญหา รัฐ แค บอก วา คดี อยู ใน ชั้น ศาล

จนิตนา แกว ขาว แกน นำ กลุม อนรุกัษ สิง่ แวดลอม บอน อก

หิน กรูด กลาว วา คดี ที่ โดน ดำเนิน คดี กลับ กลาย เปน คดี เรียก รอง

ให เกิด ความ เปน ธรรม ใน การ ออก เอกสาร สิทธิ หรือ การ กอสราง

โครงการ ที ่ไม ถกู ตอง เชน โรง ไฟฟา บอน อก หนิ กรดู โรง ถลงุ เหลก็

บางสะพาน ขนาด เจริญ วัด อักษร แกน นำ ที่ เคย ตอ ตาน เสีย ชีวิต

ไป แลว พอ ซึ่ง อายุ จะ 90 ป ยัง ตอง รับ ผิด ชอบ คา เสีย หาย ขณะ นี้

โครงการ โรง ไฟฟา รัฐบาล บอก วา ไม คุม คา ไม สราง โรง ไฟฟา ได

คา ชดเชย แต ประชาชน กลับ ยัง ถูก ดำเนิน คดี เอา คดี ยิบ ยอย หมด

ทัง้ บกุรกุ หม่ิน ประมาท ทำให เสยี ทรพัย ละเมดิ สทิธ ิกระบวนการ

ยุติธรรม ชาว บาน ไมมี โอกาส เขา ถึง ได เพียง พอ แถม ยัง มี การ บอก

ให ยอมรับ สารภาพ เพ่ือ จะ ลด โทษ ลง ได พอ เรา จะ คาน ก็ มี ยัด คดี

เพิ่ม กลุม การเมือง กำลัง พูด เรื่อง ปรองดอง แต ชาว บาน ที่ สู เพื่อ

ทรัพยากร กลับ ถูก ดำเนิน คดี

ไพจิต ศลิา รกัษ กลุม ปญหา เขือ่น ปาก มลู ราษีไศล แสดง ความ

เห็น วา ตนเอง โดน คด ีจำ คกุ 1 ป 6 เดอืน จาก การ ทำ โซ คลอง ประต ู

เขื่อน ราคา 800 บาท ขาด เมื่อ ตอน ที่ ชาว บาน พยายาม เขาไป ใน

เขต เขือ่น ราษไีศล และ ยงั ถกู คด ีซองโจร กรณ ีชมุนมุ ที ่เขือ่น ปาก มลู

Page 150: Inequality in Thailand: An Introduction

150 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

มี การ ออก หมาย จับ ตั้งแต ป 2542-2543 แต เดือน ที่ ผาน มา ไมรู

ตำรวจ คึก อะไร ขึ้น มา สภ.อ.สิ ริน ธร แจง คน ที่ มีชื่อ ใน คดี ซองโจร

14 คน ครั้ง นั้น ไป มอบตัว ถา เปน คดี บุกรุก อายุ ความ จะ 10 ป แต

นี ่ไป ตัง้ ขอหา ซองโจร อายุ ความ 15 ป ไม ทราบ วา เกดิ อะไร ขึน้ ทัง้

ที ่ได เรยีก รอง รฐับาล ให เปด ประต ูระบาย นำ้ เข่ือน ปาก มลู กไ็ด เปด

ราษีไศล ก็ได เปด ขอ ตกลง กับ รัฐ บรรลุ แต ทำไม คดี ไม ยุติ

เสยีง สะทอน ดงั กลาว ขาง ตน เปน เพยีง สวน หนึง่ ของ ปญหา ที่ คนจน ประสบ ตลอด มา และ ตอกย้ำ ขอ เท็จ จริง ที่ วา เจา หนาที่ รฐั ใน กระบวนการ ยตุธิรรม ไทย จำนวน มาก ยดึ ตวั บท ใน กฎหมาย อยาง เครงครัด ใน การ ดำเนิน คดี กับ ชาว บาน แต แทบ ไม เคย แตะ ตอง นายทนุ ที ่กระทำ ผดิ ใน ขอหา เดยีวกัน อาจ กลาว ได วา ยดึ หลกั “นติ ิรฐั” แบบ เลือก ปฏบิตั ิจน ขาด “นติธิรรม” อยาง รนุแรง ความ เหลือ่ม ลำ้ ใน กระบวนการ ยตุธิรรม จงึ เปน ราก สาเหตุ ประการ หนึง่ ที ่สำคญั ของ ความ เหลือ่ม ลำ้ ดาน อืน่ๆ โดย เฉพาะ ความ เหลือ่ม ลำ้ ดาน ทรัพยากร และ ราย ได

อานันท ปน ยาร ชนุ อดตี นายก รฐัมนตรี และ ประธาน คณะ กรรมการ ปฏิรปู ประเทศไทย สรปุ ปญหา ความ ไม ยตุธิรรม ใน การ บรรยาย พิเศษ หัวขอ “แนวทาง ปฏิรูป ประเทศไทย” ป 2553 ตอน หนึ่ง วา17

จดุ ออน คอื ม ีความ ไม ยตุธิรรม เกิด ขึน้ ประชาชน ไมม ีอำนาจ

17 “อานนัท” ชี ้“ปฏิรปู ประเทศไทย” ตอง ไม กำหนด เวลา ตาง จาก “ปฎ ิวตั”ิ แม ไม สำเร็จ ก็ได บท เรียน” มติ ชน ออนไลน 30 พฤศจิกายน 2553. http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1291111227&grpid=02&catid=no

Page 151: Inequality in Thailand: An Introduction

151สฤณี อาชวานันทกุล

ตอ รอง ใดๆ ไม วา จะ ตอ รอง กบั อำนาจ ของ รฐั หรอื วา ทอง ถิน่ ไม วา

ตอ รอง กบั นกัการ เมอืง ทอง ถิน่ หรือ ระดบั ชาต ิไมม ีอำนาจ ตอ รอง

กับ ผู ประกอบ ธุรกิจ นายทุน ที่ มี อำนาจ และ มี อิทธิ พล ผู ประกอบ

ธรุกจิ กจิการ ราย ยอย ตก เปน เบีย้ ลาง ทัง้ นัน้ ทกุ แขนง ของ สงัคม ไทย

ความ เบ่ียง เบน มี อยู เสมอ จะ โดย ตั้งใจ หรือ ไม ตั้งใจ มี การ เอา รัด

เอา เปรียบ อยู เสมอ สิ่ง เหลา นี้ ถา ปลอย วาง นาน เกิน ไป และ ไม ได

รับ การ แกไข ที่ เหมาะ สม สังคม ไทย จะ มี ปญหา มาก ขึ้น

ปญหา ใน การ เขา ถงึ กระบวนการ ยตุธิรรม ของ คนจน พอ จะ แบง เปน 3 ปญหา หลัก ได ดังนี้

1) ฐานะ ยากจน

การ มี ฐานะ ยากจน ทำให ไมมี เงินสด หรือ หลัก ทรัพย ที่ ใช ใน การ ยื่น ประกัน ตัว เปน ผล ให มี ผู ตองหา ที่ มี ฐานะ ยากจน หลาย ราย ตอง ถูก กักขัง กอน ศาล มี คำ ตัดสิน18 นอกจาก นี้ แม จะ เขา สู กระบวนการ พิจารณา คดี แลว ก็ ไมมี เงิน มาก พอ จะ จาง ทนายความ ตาง จาก คน ที่ มี ฐานะ ดี กวา ที่ สามารถ ประกัน ตัว และ จาง ทนายความ สู คดี ได งาย กวา เหลา นี้ ลวน ทำให เกิด ความ เหล่ือม ล้ำ ใน การ เขา ถึง กระบวนการ ยุติธรรม และ ทำให คน ยากจน ตอง ถูก จับกุม คุม ขัง โดยท่ี ยัง ไมมี โอกาส ได เรียก รอง แก ตาง ให ตัว เอง

18 “คนจน โวย ถูก เลือก ปฏิบัติ กก.ปฏิ รูป เสนอ ตั้ง ศาล ที่ดิน”. หนังสือพิมพ ไทย โพสต ออนไลน. วัน ที่ 20 กรกฎาคม 2553 http://www.oknation.net/blog/print.php?id=622824

Page 152: Inequality in Thailand: An Introduction

152 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

2) ไมมี ความ รู ความ เขาใจ ใน สิทธิ ของ ตนเอง และ ขอ กฎหมาย

กรณี นี้ สามารถ เกิด ขึ้น ได กับ คน ทุก ฐานะ แต ผู ที่ มี ฐานะ ดี กวา ยอม มี ชอง ทางใน การ เขา ถึง ความ รู ความ เขาใจ ใน สิทธิ ของ ตนเอง และ ขอ กฎหมาย ได มากกวา เชน เขา ถึงที่ ปรึกษา ทาง กฎหมาย ได งาย กวา การ ไมมี ความ รู ความ เขาใจ ใน สิทธิ ของ ตนเอง และ ขอ กฎหมาย อาจ ทำให ตอง รบั ผดิ ใน คด ีที ่ตนเอง ไม ได มี ความ ผิด หรือ อยาง นอย ที่สุด (ซึ่ง อาจ นำ ไป สู ผลลัพธ ที่ เลว ราย ที่สุด) คือ ทำให สูญ เสีย สิทธิ อัน พึง มี พึง ได ใน กระ บวน การ ยุติธรรม ไป

3) กระบวนการ ไตสวน ขอ กลาว หา พิจารณา คดี

ใน หลาย กรณ ีเชน กรณ ีพพิาท เรือ่ง พืน้ที ่ระหวาง ชาว บาน ใน พื้นที่ กับ กลุม ทุน หรือ กับ หนวย งาน รัฐ การ พิจารณา คดีโดย ยึด เอา เอกสาร เปน หลัก (ทั้ง ที่ เอกสาร เปน สิ่ง ที่ ทำ ปลอม ได) โดย ยึด หลัก “นิติ รัฐ” แตละ เลย หลัก “นิติธรรม” และ ไม สนใจ ที่ จะ ประยุกต ใช องค ความ รู อื่นๆ เชน สิทธิ ชุมชน สง ผล ให กระบวนการ ยตุธิรรม เหล่ือม ลำ้ ไป ใน ทาง ที ่เอือ้ ประโยชน ตอ กลุม ทุน หรือ หนวย งาน รัฐ มากกวา ชาว บาน

อมาต ยา เซน นัก เศรษฐศาสตร สวัสดิการ เจาของ รางวัล โน เบล เศรษฐศาสตร ประจำ ป ค.ศ. 1998 อธิบาย แกน สาร ของ หลัก “นิติธรรม” และ “ความ ยุติธรรม ใน เนื้อหา” (Substantive Justice) ซึ่ง จำเปน ตอ การ ลด ความ อ ยุติธรรม มากกวา การ ยึด หลกั “นติ ิรฐั” และ ออกแบบ สถาบนั ตางๆ ใน ระบบ ยตุธิรรม ตาม

Page 153: Inequality in Thailand: An Introduction

153สฤณี อาชวานันทกุล

ทฤษฎี ไว ใน ปาฐกถา หัวขอ “ความ ยุติธรรม: จาก แนวคิด สู วิถี ปฏิบัติ” เดือน ธันวาคม 2553 ความ ตอน หนึ่ง วา19

มุม มอง เก่ียว กับ พันธะ แหง อำนาจ และ สมรรถภาพ ที่ ไร

สัญญา ของ ผูคน นั้น สะทอน ให เห็น อยาง ทรง พลัง ใน พระ ไตร ปฎก

พระพุทธเจา เสนอ วา เรา มี ความ รับ ผิด ชอบ ตอ สัตว ทั้ง ปวง เพราะ

ความ ไม เสมอ ภาค ระหวาง มนุษย กับ สัตว ไมใช เพราะ ความ เสมอ

ภาค ใดๆ ที ่สราง ความ จำเปน ให มนษุย รวม มอื กบั สตัว พระพทุธ องค

ทรง มอง วา เนื่องจาก มนุษย มี อำนาจ มากกวา สัตว อื่น ทุก ชนิด เรา

จึง มี ความ รับ ผิด ชอบ ตอ สัตว อื่น ที่ เชื่อม โยง กับ ความ ไม เสมอ ภาค

นี้ ...มารดา มี ความ รับ ผิด ชอบ ไมใช เพราะ เธอ ให กำเนิด บุตร แต

เปน เพราะ เธอ สามารถ ทำ สิ่ง ตางๆ ที่ สง อิทธิพล ตอ ชีวิต ของ เด็ก

ใน ทาง ที่ เด็ก เอง ไม อาจ ทำได มอง จาก มุม นี้ เหตุผล ที่ มารดา

ชวย เหลือ เด็ก ไม เกี่ยว กับ ผล ตอบแทน ที่ ได รับ แต มา จาก การ

ตระหนัก ถึง ความ ไม เสมอ ภาค รับ รู วา เธอ สามารถ ทำ สิ่ง ตางๆ ที่

สง ผล ตอ ชีวิต ของ เด็ก อยาง มหาศาล แต เด็ก เอง ทำ ไม ได

...สนัสกฤต ม ีคำ สอง คำ – “นติ”ิ กบั “น ยา ยะ” ซึง่ หมาย ถงึ

ความ ยุติธรรม ทั้ง คู ใน สัน สฤต โบราณ คำ วา นิติ ใช ใน ความ หมาย

เกีย่ว กบั ความ เหมาะ สม เชงิ องคกร และ ความ ถกู ตอง เชิง พฤตกิรรม

สวน คำ วา น ยา ยะ ใช ใน ความ หมาย ที ่ครอบคลมุ คอื ความ ยตุธิรรม

ที่ บังเกิด แลว จาก มุม มอง นี้ บทบาท ของ สถาบัน กฎ เกณฑ และ

19 ศ.ดร.อมาต ยา เซน ความ ยุติธรรม: จาก แนวคิด สู วิถี ปฏิบัติ ปาฐ ถกา พิเศษ จัด โดย สำนักงาน คณะ กรรมการ สุขภาพ แหง ชาติ. 18 ธันวาคม 2553. ดาวนโหลด ปาฐกถา ฉบับ ภาษา อังกฤษ และ ภาษา ไทย ได จาก http://www.nationalhealth.or.th/amartya_sen/

Page 154: Inequality in Thailand: An Introduction

154 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

องคกร ตางๆ ถึง แม จะ สำคัญ ก็ จะ ตอง ประเมิน ใน กรอบ ของ

น ยา ยะ ที่ กวาง กวา และ ครอบคลุม กวา ซึ่ง เชื่อม โยง กับ โลก ที่

ปรากฏ จริง ไมใช แต เพียง สถาบัน หรือ กฎ เกณฑ ที่ เรา มี เทานั้น

ตัวอยาง การ ประยุกต ใช คือ นัก ทฤษฎี กฎหมาย ใน อินเดีย

โบราณ กลาว ถึง สิ่ง ที่ เรียก วา มัสยา น ยา ยะ อยาง ดูแคลน “ความ

ยตุธิรรม ใน โลก ของ ปลา” หมาย ถงึ สถานการณ ที ่ปลา ใหญ กนิ ปลา

เล็ก ได อยาง อิสระ เสรี พวก เขา เตือน วาการ หลีก เลี่ยง มัสยา น ยา

ยะ จะ ตอง เปน สวน สำคญั ของ ความ ยตุธิรรม และ เรา ตอง ปองกนั

ไม ให “ความ ยุติธรรม ของ ปลา” มา บุกรุก โลก ของ มนุษย ประเด็น

สำคัญ ที่ ตอง ตระหนัก คือ การ บรรลุ ถึง ความ ยุติธรรม ใน แง ของ

น ยา ยะ ไมใช เปน เร่ือง ของ การ ตดัสนิ คณุภาพ ของ สถาบัน หรอื กฎ

เกณฑ เทาน้ัน แต ตอง ตัดสิน สังคม ดวย ไม วา องคกร ที่ กอ ตั้ง จะ มี

ระเบยีบ เรียบรอย เพยีง ใด ถา ปลา ใหญ ยงั สามารถ กนิ ปลา เลก็ ตาม

อำเภอ ใจ สถานการณ นี ้ก ็ตอง นบั วา เปนการ ละเมิด ความ ยตุธิรรม

แบบ น ยา ยะ อยาง ชัด แจง

กรณี ศึกษา 4: คดี โลก รอน

สถติ ิที ่รวบรวม โดย เครือ ขาย ปฏริปู ทีด่นิ แหง ประเทศไทย

รายงาน วา ณ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2553 มี คดี เกี่ยว กับ ที่ดิน

ปา ไม และ ที ่สาธารณประโยชน รวม ทัง้ สิน้ 131 กรณี ม ีผู ถกู ฟอง

รอง ดำเนนิ คด ีจำนวน ทัง้ สิน้ 500 ราย ซึง่ ใน จำนวน นี ้ม ีเกษตรกร

ที่ ถูก ฟอง รอง ทาง แพง ตาม มาตรา 97 แหง พระ ราช บัญญัติ

สง เสริม และ รักษา คุณภาพ สิ่ง แวดลอม พ.ศ. 2535 หรือ ที่ เรียก

กัน วา “คดี โลก รอน” 38 ราย โดย คิด เปน มูลคา ความ เสีย หาย ที่

Page 155: Inequality in Thailand: An Introduction

155สฤณี อาชวานันทกุล

ฟอง รอง ใน คดี ความ รวม ทั้ง สิ้น 32,841,608 บาท20

การ ฟอง รอง ดำเนิน คดี ใน คดี ที่ มี ลักษณะ ดัง กลาว ถูก

ตั้ง คำถาม ถึง ความ สอดคลอง กับ มาตรา 66 ของ รัฐธรรมนูญ

ที่ รับรอง สิทธิ ชุมชน ทอง ถิ่น ชุมชน ดั้งเดิม (ที่ อยู มา กอน จะ ถูก

ประกาศ เปน เขต ปา) ใน การ บริหาร จัดการ และ ใช ประโยชน จาก

ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่ง แวดลอม21 และ เปนการ ฟอง รอง ที่

ไม ได อยู บน หลัก ความ เสมอ ภาค กลาว คือ ใช เกณฑ พิจารณา

ฟอง รอง เดยีวกนั ตอ พืน้ที ่กรณ ีคด ีที ่ม ีลกัษณะ ตาง กนั นอกจาก นี ้

หลกั เกณฑ ใน แบบ จำลอง ที ่ใช คำนวณ คา เสยี หาย ใน การ ฟอง รอง

ขอ งก รม อุทยาน แหง ชาติ สัตว ปา และ พันธุ พืช22 ยัง ถูก โต แยง

20 เรียบ เรียง จาก: “วจิยั ชาว บาน ตอสู คด ีความ โลก รอน”, เวบ็ไซต เครอื ขาย ปฏิรปู ทีด่นิ แหง ประเทศไทย (http://www.thailandreform.net/data/index.php?option=com_content&view=article&id=121:2010-07-17-05-44-00&catid=92:2010-04-03-04-10-5221 รฐัธรรมนูญ แหง ราช อาณาจักร ไทย ฉบบั พ.ศ. 2550 หมวด 3 สวน ที ่12 มาตรา 66 ระบ ุไว ดงันี:้ “บคุคล ซึง่ รวม กนั เปน ชมุชน ชมุชน ทอง ถิน่ หรือ ชมุชน ทอง ถิน่ ดัง้เดิม ยอม ม ีสทิธิ อนรุกัษ หรอื ฟนฟ ูจารตี ประเพณ ีภมูปิญญา ทอง ถิน่ ศลิป วฒันธรรม อนั ด ีของ ทอง ถิน่ และ ของ ชาต ิและ ม ีสวน รวม ใน การ จดัการ การ บำรุง รักษา และ การ ใช ประโยชน จาก ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ง แวดลอม รวม ทั้ง ความ หลาก หลาย ทาง ชีวภาพ อยาง สมดุล และ ยั่งยืน”22 ราย ละเอียด แบบ จำลอง ที่ กรม อุ ทยา นฯ ใช ใน การ ฟอง รอง

1. ทำให ธาตุ อาหาร ใน ดิน สูญหาย คิด เปน มูลคา 4,064 บาท ตอ ไร ตอ ป (เปนการ คิด คา ใช จาย ใน การ ซื้อ แม ปุย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพ แทส -เซี ยม ไป โปรย ทดแทน)2. ทำให ดิน ไม ดูด ซับ น้ำ ฝน 600 บาท ตอ ไร ตอ ป3. ทำให สูญ เสีย น้ำ ออก ไป จาก พื้นท่ี โดย การ แผด แผา ของ ดวง อาทิตย 52,800 บาท ตอ ไร ตอ ป4. ทำให ดนิ สญูหาย 1,800 บาท ตอ ไร ตอ ป (คดิ เปน คา ใช จาย ใน การ บรรทุก ดิน ขึ้น ไป และ ปู ทับ ไว ที่ เดิม)

Page 156: Inequality in Thailand: An Introduction

156 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

จาก “รายงาน การ วิจัย ชุมชน เพื่อ ชวย สนับสนุน ชาว บาน ใน

การ ตอสู คดี โลก รอน” ซึ่ง จัด ทำ ขึ้น โดย ความ รวม มือ ระหวาง

ชุมชน ทอง ถิ่น ใน ภาค อีสาน และ ภาค ใต, เครือ ขาย ปฏิรูป ที่ดิน

ภาค อีสาน และ ภาค ใต, กลุม ปฏิบัติ งาน ทอง ถิ่น ไร พรมแดน

และ ศูนย ฝก อบรม วนศาสตร ชุมชน แหง ภูมิภาค เอเชีย แปซิฟก

(รี คอฟ)23 วาการ ออกแบบ แบบ จำลอง ดัง กลาว มี ขอ บกพรอง

เชน ตัว แบบ จำลอง ใช การ วัด จาก อุณหภูมิ ของ ตัว จังหวัด ซึ่ง อยู

หาง ไกล จาก พื้นท่ี ที่ ถูก ฟอง รอง24

นอกจาก นี้ แบบ จำลอง ยัง ไม ได บังคับ ใช กับ ผู ที่ เปนตน

เหตุ หลัก ของ ความ เสีย หาย ไมมี การ วิเคราะห ความ สมบูรณ

ของ ปา ใน พื้นท่ี พิพาท จริง และ ยัง มี ขอ บกพรอง ใน กรณี อื่นๆ

อีก ซึ่ง ทำให แบบ จำลอง ดัง กลาว นั้น ถูก ตั้ง คำถาม และ โต แยง

5. ทำให อากาศ รอน มาก ขึน้ 45,453.45 บาท ตอ ไร ตอ ป (คดิ เปน คา ใช จาย คา กระแส ไฟฟา ที่ ใช เดิน เครื่อง ปรับ อากาศ ชั่วโมง ละ 2.10 บาท ซึ่ง ตอง ใช เครื่อง ปรับ อากาศ ทั้งหมด เทากับ 5.93 ตัน ตอ ชั่ว โมง และ กำหนด ให เครื่อง ปรับ อากาศ ทำงาน วัน ละ 10 ชั่วโมง (08.00-18.00 น.)6. ทำให ฝน ตก นอย ลง 5,400 ไร ตอ ป7. มูลคา ความ เสีย หาย ทาง ตรง จาก ปา 3 ชนิด7.1 การ ทำลาย ปาดง ดิบ คา เสีย หาย จำนวน 61,263.36 บาท (ตอ ไร)7.2 การ ทำลาย ปา เบญจพรรณ คา เสีย หาย จำนวน 42,577.75 บาท (ตอ ไร)7.3 การ ทำลาย ปา เต็ง รัง คา เสีย หาย จำนวน 18,634.19 บาท (ตอ ไร)

23 อาน ราย ละเอียด ไดที่: “วิจัย ชาว บาน ตอสู คดี ความ โลก รอน”, เว็บไซต เครือ ขาย ปฏิรูป ที่ดิน แหง ประเทศไทย(http://www.thailandreform.net/data/index.php?option=com_content&view=article&id=121:2010-07-17-05-44-00&catid=92:2010-04-03-04-10-52)24 อาน ราย ละเอียด ได จาก คำ บรรยาย ของ อร วรรณ คู สัน เที ยะ ใน, บันทึก การ สัมมนา วิชาการ “การ คิด คา เสีย หาย คดี ความ โลก รอน: นัย ทาง วิชาการ และ กระบวนการ ยุติธรรม”, เว็บไซต เครือ ขาย ปฏิรูป ที่ดิน แหง ประเทศไทย

Page 157: Inequality in Thailand: An Introduction

157สฤณี อาชวานันทกุล

ใน แง ความ เปน ธรรม และ เทคนิค ใน การ จัด ทำ25 นอกจาก นี้ ใน

ทาง กฎหมาย แบบ จำลอง ยัง มี ลักษณะ ของ การ ถือ เอา สิ่ง ที่ ไม

เปน ทรัพย หรือ ไม อาจ ที่ จะ คำนวณ มูลคา ทาง ธรรมชาติ ได (เชน

อณุหภูม)ิ มา ฟอง รอง เรยีก คา เสยี หาย ซ่ึง ทำให การ ฟอง รอง อาจ

ขัด ตอ ขอ กฎหมาย อีก ดวย26

การ อนุรักษ ทรัพยากร และ สิ่ง แวดลอม เปน สิ่ง จำเปน

กระนั้น กระบวนการ และ วิธี การ อนุรักษ ก็ ตอง เปน ไป อยาง

ระมัดระวัง ไม ให เกิด ความ เหล่ือม ล้ำ ใน การ เขา ถึง จัดสรร ใช

ประโยชน จาก ทรัพยากร และ สิ่ง แวดลอม ดวย หรือ กลาว ได วา

ตอง กระทำ ไป โดย คำนงึ ถงึ “สทิธ ิชมุชน” ที ่ได รบั การ รบัรอง ตาม

รัฐธรรมนูญ นั่นเอง

คำถาม และ ขอ โต แยง หลาย ประการ ตอ เกณฑ ที่ ใช ใน การ

ฟอง รอง คด ีโลก รอน นบั เปน จดุ เริม่ ตน ที ่นา สนใจ ใน การ พจิารณา

การ ฟอง รอง ดำเนิน คดี ที่ หนวย งาน ภาค รัฐ กระทำ กับ ประชาชน

วา เปน ไป อยาง ถกู ตอง ตัง้ อยู บน ความ เสมอ ภาค ม ีความ นา เช่ือ

ถอื และ ม ีความ เปน ธรรม แลว หรอื ไม โดย เฉพาะ ใน เมือ่ คำนงึ วา

กิจกรรม ทุก กิจกรรม ของ มนุษย ลวน ปลด ปลอย คารบอน การ

ปลด ปลอย คารบอน เพ่ือ ความ อยู รอด นา จะ เปน เรื่อง ที่ ยอมรับ

ได มากกวา วิถี การ ผลิต ของ บริษัท ขนาด ใหญ ที่ ทำให โลก รอน

เลว ราย ลง นอกจาก นี้ การ บรรเทา ภาวะ โลก รอน ที่ ได ผล นา จะ 25 อาน ราย ละเอียด ได จาก คำ บรรยาย ของ ดร.เดช รตั สขุ กำเนดิ ใน, บนัทึก การ สมัมนา วชิาการ “การ คดิ คา เสยี หาย คด ีความ โลก รอน: นยั ทาง วชิาการ และ กระบวนการ ยุติธรรม”, เว็บไซต เครือ ขาย ปฏิรูป ที่ดิน แหง ประเทศไทย26 อาน ราย ละเอียด ได จาก คำ บรรยาย ของ แสง ชัย รัตน เสรี วงษ ใน, บันทึก การ สัมมนา วิชาการ “การ คิด คา เสีย หาย คดี ความ โลก รอน: นัย ทาง วิชาการ และ กระบวนการ ยุติธรรม”, เว็บไซต เครือ ขาย ปฏิรูป ที่ดิน แหง ประเทศไทย

Page 158: Inequality in Thailand: An Introduction

158 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

มา จาก การ ออก เกณฑ บังคับ สวน หนึ่ง (มาตรการ เชิง ลบ) และ

นโยบาย อีก สวน หนึ่ง ให ภาค ครัว เรือน และ ภาค ธุรกิจ ประหยัด

พลังงาน และ เปลี่ยนแปลง วิถี การ ผลิต และ บริโภค ให เปน มิตร

กับ สิ่ง แวดลอม (มาตรการ เชิง บวก) มากกวา การ ดำเนิน คดี

โดย เฉพาะ กับ เกษตรกร ผู มี ราย ได นอย

เหนือ สิ่ง อื่น ใด “คดี โลก รอน” เปด ประเด็น วา “นิติ รัฐ”

(รัฐ ที่ ปกครอง ดวย กฎหมาย) เพียง อยาง เดียว นา จะ ไม สามารถ

อำนวย ความ ยุติธรรม ใน ทาง ที่ จะ ชวย ลด ความ เหลื่อม ล้ำ ใน

สังคม ได ตราบ ใด ที่ ผู รักษา กฎหมาย และ บาง ครั้ง รวม ถึง ตัว

บท กฎหมาย เอง ยัง ไมมี “นิติธรรม” นั่น คือ กฎหมาย และ การ

บงัคบั ใช กฎหมาย ที ่เปน ธรรม สอดคลอง กบั สภาพ ความ เปน จรงิ

อำนวย “ความ ยตุธิรรม ใน เนือ้หา” ให เกดิ ขึน้ ได อยาง แทจรงิ จน

เปน ที ่ยอมรับ ของ สงัคม และ จงูใจ ให ประชาชน เคารพ ใน กฎ หมาย

นั้นๆ ได สำเร็จ

3.3 สิทธิ และ โอกาส ของ เด็ก เยาวชน สตรี ผู สูง อายุ คน พิการ และ ผู ดอย โอกาส

เด็ก เยาวชน สตรี ผู สูง อายุ คน พิการ และ ผู ดอย โอกาส มัก ถูก มอง วา เปนก ลุม ที่ รัฐ และ สังคม ตอง ใหการ ชวย เหลือ และ ดแูล เปน พเิศษ เนือ่งจาก ม ีความ เปราะ บาง โดย ธรรมชาต ิม ีความ ไม มั่นคง ใน ชีวิต หรือ สุม เสี่ยง ที่ จะ ถูก เอา รัด เอา เปรียบ ใน สังคม รัฐธรรมนูญ ไทย ฉบับ ป 2550 มี บทบัญญัติ ที่ คุมครอง สิทธิ ของ

Page 159: Inequality in Thailand: An Introduction

159สฤณี อาชวานันทกุล

กลุม คน เหลา นี้ อยู หลาย มาตรา ดวย กัน อาทิ- มาตรา 6 เด็ก เยาวชน สตรี ผู สูง อายุ หรือ ผู พิการ

หรือ ทุพพลภาพ ยอม มี สิทธิ ได รับ ความ คุมครอง ใน การ ดำเนิน กระบวน พิจารณา คดี อยาง เหมาะ สม และ ยอม มี สิทธิ ได รับ การ ปฏิบัติ ที่ เหมาะ สมใน คดี ที่ เกี่ยว กับ ความ รุนแรง ทาง เพศ

- มาตรา 30 ชาย และ หญิง มี สิทธิ เทา เทียม กัน- มาตรา 52 เดก็ และ เยาวชน ม ีสทิธิ ใน การ อยู รอด และ ได

รับ การ พัฒนา ดาน รางกาย จิตใจ และ สติ ปญญา ตาม ศักยภาพ ใน สภาพ แวดลอม ที ่เหมาะ สม โดย คำนึง ถงึ การ ม ีสวน รวม ของ เดก็ และ เยาวชน เปน สำคัญ นอกจาก นี ้เดก็ เยาวชน สตรี และ บคุคล ใน ครอบครวั ม ีสทิธ ิได รบั ความ คุมครอง จาก รฐั ให ปราศจาก การ ใช ความ รุนแรง และ การ ปฏิบัติ อัน ไม เปน ธรรม ทั้ง มี สิทธิ ได รับ การ บำบัด ฟนฟู ใน กรณี ที่ มี เหตุ ดัง กลาว อีก ทั้ง เด็ก และ เยาวชน ซึ่ง ไมมี ผู ดูแล มี สิทธิ ได รับ การ เลี้ยง ดู และ การ ศึกษา อบรม ที่ เหมาะ สม จาก รัฐ

- มาตรา 53 บคุคล ซึง่ มอีาย ุเกนิ หก สบิ ปบ ร ิบรูณ และ ไมม ีราย ได เพียง พอ แก การ ยังชีพ มี สิทธิ ได รับ สวัสดิการ สิ่ง อำนวย ความ สะดวก อัน เปน สาธารณะ อยาง สม ศักด์ิศรี และ ความ ชวย เหลือ ที่ เหมาะ สม จาก รัฐ

- มาตรา 54 บคุคล ซึง่ พกิาร หรอื ทพุพลภาพ ม ีสทิธ ิเขา ถงึ และ ใช ประโยชน จาก สวัสดิการ สิ่ง อำนวย ความ สะดวก อัน เปน สาธารณะ และ ความ ชวย เหลือ ที่ เหมาะ สม จาก รัฐ

- มาตรา 55 บคุคล ซึง่ ไร ที ่อยู อาศยั และ ไมม ีราย ได เพยีง พอ แก การ ยังชีพ ยอม มี สิทธิ ได รับ ความ ชวย เหลือ ท่ี เหมาะ สม จาก รัฐ

Page 160: Inequality in Thailand: An Introduction

160 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

กวา หนึง่ ทศวรรษ ที ่ผาน มา หลงั การ ประกาศ ใช รฐัธรรมนญู ป 2540 สถานการณ การ “เขา ถึง” สิทธิ พื้น ฐาน ได ดี ขึ้น มาก สำหรบั เด็ก เยาวชน ผู สงู อาย ุและ ผู พกิาร ใน กลุม ที ่ม ีราย ได นอย ยกเวน สำหรับ คน บาง กลุม ซึง่ สงัคม ยงั ไม ใหการ ยอมรับ (ด ูหวัขอ 3.3.5 แรงงาน นอก ระบบ และ ผู ไร สัญชาติ) เนื่องจาก หนวย งาน รัฐ และ องคกร ตางๆ ได พยายาม คุมครอง สิทธิ และ จัด ให มี สวัสดิการ ขึ้น พื้น ฐาน ตาม ที่ กฎหมาย กำหนด อยาง ตอ เน่ือง จน ทำให ภาวะ “ดอย สิทธิ” เบาบาง ลง กวา เดิม มาก

อยางไร ก ็ด ีประเดน็ ปญหา และ ความ เหลือ่ม ลำ้ ที ่คน เหลา นี ้ประสบ ได เปลี่ยน ลักษณะ ไป กลาย เปน “ปญหา ความ ไม มั่นคง ใน ชีวิต” ที่ เกิด จาก การ เปลี่ยนแปลง ของ โครงสราง ประชากร ขนาน ใหญ และ “ปญหา เชิง พฤติกรรม” ของ เด็ก และ เยาวชน ที่ ยาก แก การ เยียวยา โดย เฉพาะ พฤติกรรม เสพ ยา เสพ ติด นิยม ความ รนุแรง และ ปญหา การ ทอง ไม พรอม และ ทำแทง ใน วยั เรยีน ซึง่ ปญหา เหลา นี ้ลวน ม ีความ เหลือ่ม ลำ้ ดาน ราย ได ของ ครอบครวั ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน คุณภาพ การ ศึกษา และ ความ เหล่ือม ล้ำ เชิง พื้นที่ ของ โอกาส ทาง เศรษฐกิจ เปน ราก สาเหตุ ที่ สำคัญ

3.3.1 เด็ก และ ผู สูง อายุผล การ สำรวจ สถานการณ เด็ก ทั่ว ประเทศไทย โดย

สำนักงาน สถิติ แหง ชาติ ดวย การ สนับสนุน จาก ยูนิเซฟ ใน ป 2549 พบ วา ทั่ว ประเทศ มี เด็ก ทารก เพียง รอย ละ 5 ที่ ได ดื่ม นม แม เพียง อยาง เดียว ใน ชวง 6 เดือน แรก ทั้ง ที่ นม แม เปน วิธี ที่ ดี ทีส่ดุ ที ่จะ ทำให ทารก ได รบั สาร อาหาร ที ่จำเปน ทัง้หมด และ สง ผล

Page 161: Inequality in Thailand: An Introduction

161สฤณี อาชวานันทกุล

ตอ พฒันาการ ทาง สมอง ของ เดก็ อตัรา ดงั กลาว ของ ไทย เปน อตัรา ที ่ตำ่ ทีส่ดุ ใน เอเชีย และ อยู ใน กลุม ประเทศ ที ่ม ีอตัรา ตำ่ สดุ ใน โลก ดวย นอกจาก นี ้ประเทศไทย ยงั คง ลา หลงั ประ เท ศอืน่ๆ อกี หลาย ประเทศ ใน เอเชีย ใน ดาน การ บริโภค เกลือ ไอโอดีน ซึ่ง เปน วิธี ที่ ดี ที่สุด และ ประหยัด ที่สุด ที่ จะ แนใจ ได วา ประชาชน ได รับ สาร อาหาร ที ่จำเปน นี ้ใน ปรมิาณ ที ่เพยีง พอ ใน แตละ วนั ความ ผดิ ปกต ิจาก การ ขาด สาร ไอโอดนี เปน สาเหต ุหลกั ของ ภาวะ สมอง ชา และ ฉดุ รัง้ พฒันาการ ทาง สมอง ของ เดก็ ใน ระดับ ประเทศ ม ีครวั เรอืน เพียง รอย ละ 58 ที่ บริโภค เกลือ ไอโอดีน ใน บาง ภาค เชน ภาค อีสาน อัตรา การ บริโภค ลด ลง เหลือ เพียง รอย ละ 35 เทาน้ัน27

ดาน แนว โนม ความ เหลือ่ม ลำ้ ใน คณุภาพ ชวีติ ของ เดก็ งาน วิจัย เรื่อง “ชีวิต คน ไทย ใน รอบ 2 ทศวรรษ ของ การ พัฒนา” ของ สถาบนัวจิยั เพือ่ การ พฒันา ประเทศไทย (ท ีด ีอาร ไอ) พบ วา จาก จำนวน ครัว เรือน ทั้งหมด 19.7 ลาน ครัว เรือน ใน ปจจุบัน แบง ได เปน 6 ประเภท ไดแก (1) อยู คน เดียว รอย ละ 12.2 (2) อยู กับ เพื่อน รอย ละ 3.3 (3) 1 รุน (สามี-ภรรยา) รอย ละ 16.5 (4) 2 รุน (สามี-ภรรยา-ลูก) รอย ละ 40.6 (5) 3 รุน และ มากกวา รอย ละ 20.4 (6) เด็ก อยู กับ ปูยา ตา ยาย (“แหวง กลาง”) รอย ละ 6.9 โดย พบ วา ประเภท ของ ครวั เรอืน ที ่เพิม่ มาก ทีส่ดุ คอื ครวั เรอืน แหวง กลาง ม ีอตัรา การ เตบิโต เฉลีย่ รอย ละ 7.59 ตอ ป ครวั เรอืน ประเภท นี ้ม ีจำนวน ถงึ 1.35 ลาน ครวั เรอืน ทัว่ ประเทศ โดย ม ีมาก

27 โร เบริต ฟว “การ สำรวจ สถานการณ เดก็ ใน ประเทศไทย – ความ เหล่ือม ลำ้ ที่ ชัดเจน” เว็บไซต ยูนิเซฟ ประเทศไทย http://www.unicef.org/thailand/tha/reallives_6272.html

Page 162: Inequality in Thailand: An Introduction

162 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ที่สุด ใน ภาค อีสาน รอย ละ 11 ตาม มา ดวย ภาค เหนือ รอย ละ 8 สวน กรุงเทพฯ มี นอย ที่สุด รอย ละ 1.2 (แผนภูมิ 39)

รศ.ดร.นิพนธ พัว พงศกร ประธาน ที ดี อาร ไอ สรุป ผล การ คน พบ วา “กลุม ครัว เรือน แหวง กลาง มี ราย ได เฉลี่ย ตอ หวั ต่ำ สุด ซึ่ง ก็ คือ คน อีสาน คน ภาค เหนือ ที่มา ทำงาน กรุงเทพฯ ทิ้ง ลูก ให ปูยา ตา ยาย เล้ียง ที่ ชนบท เปน ความ ขัด แยง ใน ปจจุบัน อยาง ชัดเจน”28

28 “ขาวดี ปน ขาว ราย...ชีวิต คน ไทย 2 ทศวรรษ ของ การ พัฒนา” ศูนย ขอมูล ขาวสาร ปฏิรูป ประเทศไทย โดย สำนัก ขาว สถาบัน อิศร า http://www.thaire-form.in.th/fl ow-reform/scoo”p-commercial-news-documentary/25-2009-11-09-11-42-03/2212--2-.html

แผนภูมิ 39 จำนวน ครัว เรือน 6 ประเภท และ อัตรา การ เติบโต ระหวาง ป 2529 ถึง 2549

ที่มา: “ชีวิต คน ไทย ใน รอบ 2 ทศวรรษ ของ การ พัฒนา” ของ สถาบันวิจัย เพื่อ การ พัฒนา ประเทศไทย (ที ดี อาร ไอ) (ยัง ไม ตี พิมพ).

Page 163: Inequality in Thailand: An Introduction

163สฤณี อาชวานันทกุล

อัตรา การ เติบโต ของ “ครอบครัว แหวง กลาง” เปน ปรากฏการณ ที่ นา กังวล วา จะ ซ้ำ เติม ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน ตางๆ ที่ ผู มี ราย ได นอย ประสบ ให เลว ลง กวา เดิม เน่ืองจาก เปนก ลุม ครัว เรือน ที่ มี ราย ได เฉล่ีย ตอ หัว นอย ที่สุด และ การ ให ผู สูง อายุ ที่ มี ราย ได นอย เลี้ยง ดู เด็ก เอง ก็ มี แนว โนม วา ทั้ง เด็ก และ ผู สูง อายุ จะ ไม ได รับ การ ดูแล เอาใจ ใส อยาง เพียง พอ นอกจาก นี้ การ ที่ ผู สงู อาย ุใน ครอบครวั แหวง กลาง สวน ใหญ ม ีความ รู นอย และ ไมม ีกำลังวังชา พอท่ี จะ ชวย สอน หนังสือ หลาน นา จะ สง ผล ให ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน ผล สัมฤทธิ์ ของ การ ศึกษา ซึ่ง ได อธิบาย ใน บท ที่ 3 เลว ราย ลง กวา เดิม และ ทำให เด็ก ที่ เติบโต ขึ้น มา ใน ครอบครัว แหวง กลาง ยิ่ง มี โอกาส นอย กวา เดิม ใน การ ได รับ การ ศึกษา ที่ มี คณุภาพ พอที ่จะ ยก ฐานะ ตวั เอง เมือ่ โต เปน ผูใหญ ให ด ีกวา รุน บดิา มารดา ผลลพัธ ที ่เกดิ ขึน้ จงึ กลาว ได วา เปนก ระ บวน การ “ผลติ ซำ้” ความ จน ให ดำรง อยู ตอ ไป จาก รุน สู รุน

ดาน ความ เหล่ือม ล้ำ ที่ ผู สูง อายุ ประสบ นอกจาก ประเด็น ที่ ผู สูง อายุ ใน ครัว เรือน แหวง กลาง 1.35 ลาน ครัว เรือน สวน ใหญ มี ราย ได นอย แต ตอง เล้ียง ดู หลาน เอง แลว ยัง พบ วา ผู สูง อายุ จำนวน มาก ยัง ตอง ทำงาน หา ราย ได เนื่องจาก ไมมี บุตร หลาน เลี้ยง ดู เปน ที่ พึ่ง และ ไมมี เงิน ออม พอที่ จะ ใช ดำรง ชีวิต ใน วัย ชรา โดย ใน รายงาน ผล การ ศึกษา เรื่อง “การ สราง โอกาส การ ทำงาน ของ ผู สูง อายุ” ผศ.ดร.นงนุช สุนทร ชว กานต คณะ เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร หัวหนา โครงการ วิจัย พบ วา ณ ไตรมาส ที่ 3 ป 2552 มี ผู สูง อายุ วัย ตั้งแต 60 ป ขึ้น ไป ที่ ยัง อยู ใน กำลัง แรงงาน จำนวน มาก ถึง 2.8 ลาน คน คิด เปน

Page 164: Inequality in Thailand: An Introduction

164 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

รอย ละ 37.9 ของ จำนวน ผู สงู อาย ุทัง้หมด โดย รอย ละ 70 ของ กลุม ผู สูง อายุ ชาย อายุ 60-65 ป และ รอย ละ 65 ของ กลุม ผู สูง อายุ ชาย อาย ุ65 ป ขึน้ ไป “ตอง ทำงาน ตอ เนือ่ง” เพราะ เปน ราย ได หลกั ของ ครอบครวั และ พบ วา “ผู สงู อาย ุที ่ม ีระดบั การ ศกึษา สงู ที ่ยงั คง ทำงาน อยู นัน้ ม ีอยู ไม มาก สวน ใหญ ของ ผู สงู อาย ุที ่ยงั ทำงาน เปน ผู ที่ ไมมี การ ศึกษา หรือ มี การ ศึกษา ต่ำ กวา ประถม และ มี ราย ไดที ่ตำ่ จงึ ไม สามารถ เกบ็ สะสม เงนิ ออม ไว เพยีง พอ สำหรับ เลีย้ง ชพี ใน วัย ชรา และ จำเปน ตอง ทำงาน ตอ ไป”29

เมื่อ คำนึง วา ประเทศไทย ได กาว เขา สู “สังคม ผู สูง อายุ” (ตาม นิยาม ของ ธนาคารโลก คือ มี สัดสวน ผู สูง อายุ มากกวา รอย ละ 10 ของ ประชากร ทั้งหมด) ไป แลว ตั้งแต ป 2549 และ จำนวน ผู สงู อาย ุจะ เพิม่ สงู ขึน้ อยาง ตอ เนือ่ง โดย คาด การณ วา ใน ป 2568 ไทย จะ มี ผู สูง อายุ มาก ถึง 14.4 ลาน คน ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน คุณภาพ ชีวิต ระหวาง ผู สูง อายุ ที่ มี ฐานะ ทาง เศรษฐกิจ แตก ตาง กัน ก็ มี แนว โนม วา จะ ยิ่ง รุนแรง ขึ้น ใน อนาคต

3.3.2 เยาวชนดัง ที่ ได เกริ่น ไป กอน หนา นี้ วา ปจจุบัน สภาพ ปญหา

เยาวชน ได เปล่ียน ลักษณะ ไป จาก ภาวะ ดอย โอกาส กลาย เปน “ปญหา เชิง พฤติกรรม” ที่ มี เหตุ ปจจัย ซับ ซอน และ ยาก แก การ เยียวยา แกไข โดย เฉพาะ พฤติกรรม เสพ ยา เสพ ติด พฤติกรรม

29 เรียบ เรียง จาก นพรัตน นริส รา นนท “เตรียม รับมือสังคม ผู สูง อายุ” เว็บไซต สำนักงาน กองทุน สนับสนุน การ สราง เสริมสุข ภาพ (สสส.) http://www.thaihealth.or.th/node/14100

Page 165: Inequality in Thailand: An Introduction

165สฤณี อาชวานันทกุล

นิยม ความ รุนแรง และ ที่ เปน ปญหา ใหญ ที่สุด และ ปรากฏ ความ เหลื่อม ล้ำ มาก ที่สุด ระหวาง วัย รุน ที่ มี ฐานะ ทาง ครอบครัว ไม เทา กัน คือ ปญหา การ ทอง ไม พรอม และ ทำแทง ใน วัย เรียน

ปจจุบัน ประชากร ไทย จำนวน ประมาณ 7 ลาน คน เปน วัย รุน ที่ อายุ นอย กวา 19 ป และ กลุม วัย รุน ที่ ขาด การ ดูแล จาก ครอบครัว มี แนว โนม วา จะ เพิ่ม มาก ขึ้น โดย จาก การ สำรวจ ของ สำนกั สถติ ิแหง ชาต ิใน ป 2546 พบ วา รอย ละ 10 ของ ครอบครัว เปน ครอบครัว เดี่ยว ใน จำนวน นี้ รอย ละ 30 มี แม เปน ผู ปกครอง เพียง คน เดียว และ อีก รอย ละ 30 เด็ก วัย รุน ตอง ใช ชีวิต ตาม ลำพัง

ดาน สถติ ิของ วยั รุน ตัง้ ครรภ ขอมูล จาก คลินกิ ตัง้ ครรภ

แม วัย รุน รพ.รามาธิบดี ระบุ ไว วา ประเทศไทย มี การ คลอด

บตุร ของ แม วยั รุน ที ่มอีายุ ตำ่ กวา 20 ป สงู ถงึ วนั ละ 140 ราย

ขณะ ที่ ขอมูล การ แจง เกิด จาก สวน ทะเบียน ราษฎร สำนัก

บรหิาร การ ทะเบยีน กระทรวง มหาดไทย ระบุ ไว วา ใน ป 2550

พบ มี แม อายุ 16-20 ป มา แจง เกิด ลูก 145,747 ราย สถิติ นี้

นับ วา สูง เปน อันดับ หนึ่ง ใน เอเชีย30

แม จะ ไมมี ตัวเลข การ ทำแทง เถื่อน ที่ ชัดเจน แต จาก การ รายงาน ภาวะ แทรกซอน จาก การ ทำแทง เถ่ือน ของ โรง พยาบาล ตางๆ ทำให คะเน ได วา ใน แตละ ป มี วัย รุน ที่ ทำแทง ประมาณ 2-3 แสน ราย ตอ ป และ มารดา วยั รุน ที ่เครียด และ หา ทางออก ไม ได ก ็ทิง้ ลกู หรอื ทำราย ลกู (เชน ฆา ลกู) โดย ปรากฏ ทาง หนา หนงัสอืพมิพ

30 “วัย รุน ทอง แม ที่ ไม พรอม” หนังสือพิมพ มติ ชน ราย วัน. 22 มีนาคม 2553. เก็บ ความ จาก http://talkaboutsex.thaihealth.or.th/news/249

Page 166: Inequality in Thailand: An Introduction

166 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ไม ต่ำ กวา 30 ราย ตอ ป นอกจาก นี้ การ ใหการ ศึกษา ดาน เพศ ศึกษา ใน ไทย ก็ ยัง ลา หลัง และ ไม เขม แข็ง โดย พบ วา เพศ ศึกษา ใน วยั รุน เริม่ ชา อาย ุเฉล่ีย ราว 14 ป ใน ขณะ ที ่วยั รุน ได ขอมูล สวน ใหญ จาก เพื่อน และ สื่อ โดย เฉพาะ อินเทอรเน็ต ไมใช ผู ปกครอง หรือ ครู นอกจาก นี้ วัย รุน ที่ มี พฤติกรรม เพศ สัมพันธ มากกวา รอย ละ 60 ติด เชื้อ ทาง เพศ สัมพันธ หรือ ตั้ง ครรภ ภายใน 1 ป ของ การ มี พฤติกรรม ทาง เพศ สัมพันธ31

นพ.สุ ริยเดว ทรี ปาตี ผู จัดการ แผน งาน สุข ภาวะ เด็ก และ เยาวชน สำนักงาน กองทุน สนับสนุน การ สราง เสริมสุข ภาพ (สสส.) ชี้ วา ปจจุบัน ขอ กฎหมาย เกี่ยว กับ สิทธิ เด็ก ยัง ไม ครอบคลุม ไป ถึง การ คุมครอง “สิทธิ ของ เยาวชน” ซึ่ง ยัง เปน ที่ ถก เถยีง กนั มาก เพราะ เดก็ ใน กฎหมาย คอื บคุคล ที ่มอีายุ ตัง้แต แรก เกิด ถึง 18 ป แต เยาวชน คือ บุคคล ที่ มีอายุ ตั้งแต 18-25 ป โดย ใน กลุม เยาวชน ดัง กลาว มัก จะ มี ปญหา การ ละเมิด สิทธ ิทาง เพศ สูง โดย จาก ขอมูล พบ วา เยาวชน ไทย ถูก ละเมิด ทาง เพศ สูง ที่สุด ใน กลุม ประเทศ อาเซียน และ ติด อันดับ 1 ใน 5 ของ ประเทศ เอเชีย และ มี การ เสีย ชีวิต เน่ืองจาก การ ทำแทง และ คลอด ลูก ติด อัน ดับ ตนๆ เชน กัน32

31 นพ.สุ ริยเดว ทรี ปาตี ผู จัดการ แผน งาน สุข ภาวะ เด็ก และ เยาวชน สำนักงาน กองทุน สนับสนุน การ สราง เสริมสุข ภาพ “วัย รุน กับ เพศ สัมพันธ” วัน ที่ 12 พฤศจิกายน 2551 เว็บไซต สำนกังาน กองทุน สนับสนุน การ สราง เสริมสุข ภาพ http://www.thaihealth.or.th/node/575232 ณัฏฐ ตุม ภู “สิทธิ ของ เด็กๆ เร่ือง ไม เล็ก ที่ ผูใหญ ตอง ใสใจ” วัน ที่ 15 พฤศจิกายน 2553. เว็บไซต สำนักงาน กองทุน สนับสนุน การ สราง เสริมสุข ภาพ http://www.thaihealth.or.th/node/18155

Page 167: Inequality in Thailand: An Introduction

167สฤณี อาชวานันทกุล

นอกจาก จะ ประสบ กับ ความ เหลื่อม ล้ำ ดาน คุณภาพ ชีวิต แลว เยาวชน ใน ยุค นี้ ยัง เติบโต ขึ้น มา พรอม กับ มหกรรม บริโภค นิยม และ การ แขงขัน ชิง ดี ชิง เดน ซึ่ง กลาย เปน คา นิยม หลัก ใน สังคม และ ภาวะ ความ หละ หลวม ของ การ บัง คับ ใช กฎ หมาย เชน กฎหมาย ควบคุม โฆษณา ตรง เปน เพียง “เสือกระดาษ” และ โฆษณา แฝง ยัง ไมมี กฎ เกณฑ กำกับ ด ูแล ใดๆ ประกอบ กบั ความ ออนแอ ของ ระบบ การ ศกึษา ที ่ไม อาจ ปลูก ฝง ทักษะ ดาน การ คิด วิเคราะห และ รู เทา ทัน สื่อ ได ตัว ช้ี วัด ความ สำเรจ็ วดั กนั ที ่ผล สมัฤทธิ ์ทางการ เรยีน เทาน้ัน เพราะ วดั งาย และ จับ ตอง ได พอ แม ก็ ไมมี เวลา ดูแล เพราะ เศรษฐกิจ รัดตัว

ปจจัย ทั้งหมด ขาง ตน นี้ สง ผล ให เด็ก ทุก ชวง อายุ เครียด มากกวา ใน อดีต แขง กัน เรียน ทั้ง ใน ชั้น เรียน ปกติ และ เรียน พิเศษ เพื่อ เอาชนะ ผู อื่น ทาย ที่สุด ก็ ทำให เด็ก และ เยาวชน ไทย ขาด วุฒิ ภาวะ และ แตก ออก เปน สอง ขั้ว ที่ นับ วัน จะ ยิ่ง เหลื่อม ล้ำ แตก ตาง ราวกับ มา จาก คนละ สังคม กัน กลาว คือ เด็ก และ เยาวชน ที่ เรียน ได ดี ก็ จะ เกาะ กลุม เด็ก เรียน และ ถูก กำหนด โดย สังคม วา เด็ก เรียน เปน “เด็ก ดี” สวน เด็ก และ เยาวชน ที่ เรียน ได ไม ดี ก็ จะ เกาะ กลุม เดก็ ขาด เรียน หรือ เกเร และ ถกู กำหนด โดย สงัคม วา เปน “เด็ก มี ปญหา”

ที ่นา เศรา คอื เดก็ ที ่ถกู สงัคม ตรา หนา วา เปน “เดก็ ม ีปญหา” ม ีแนว โนม ที ่จะ ถกู สงัคม ประณาม และ ละเลย และ ดงั นัน้ พวก เขา ก็ จะ มี แรง จูงใจ ที่ จะ “มี ปญหา” มาก ขึ้น ขณะ ที่ “เด็ก ดี” ก็ จะ ได รับ การ ทุมเท ทรัพยากร ทุก ดาน และ ความ เอาใจ ใส เปน อยาง ดี จาก รัฐ และ สังคม และ ดัง นั้น พวก เขา ก็ จะ “ดี” ได มากกวา เดิม

Page 168: Inequality in Thailand: An Introduction

168 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ภาวะ เชน นี้ เปน ภาวะ ที่ สลับ ขาง กับ ภาวะ ที่ ควร เปน ภาวะ ที่ เปน อยู นี้ จะ ตอก ลิ่ม ความ เหลื่อม ล้ำ ระหวาง เด็ก สอง กลุม นี้ ให เลว ราย ลง ไม สิ้น สุด

3.3.3 สตรีการ เติบโต ทาง เศรษฐกิจ ใน 3 ทศวรรษ ที่ ผาน มา ของ ไทย

เปด โอกาส ให ผู หญิง ได เขา มา มี สวน รวม มากกวา ทุก ยุค ที่ แลว มา ใน อดีต สง ผล ให ผู หญิง มี โอกาส และ ความ มั่นคง ทาง เศรษฐกิจ และ ม ีทาง เลือก ใน การ ดำรง ชวีติ มากกวา ที ่แลว มา อยางไร กต็าม ก ็ยงั ม ีความ เหลือ่ม ลำ้ ทาง เพศ หลาย รปู แบบ ที ่แพร หลาย ใน สงัคม ทัง้ ใน รปู ของ การ เลอืก ปฏบิตั ิใน ที ่ทำงาน (ความ ไม เทา เทยีม ของ คา ตอบแทน ระหวาง หญิง-ชาย การ กีดกัน ไม รับ เขา ทำงาน และ การ ลวง ละเมิด ทาง เพศ) ความ รนุแรง ตอ ผู หญงิ (ด ูกรณ ีศกึษา 5: การ ลวง ละเมิด ทาง เพศ กับ คา นิยม ของ สังคม) และ ความ ไม เทา เทียม ใน สถานะ และ ศักดิ์ศรี ของ ผู หญิง ใน สังคม

จาก รายงาน “ชอง วาง ทาง เพศ ใน โลก” (Global Gender Gap) ประจำ ป พ.ศ. 2010 ซึ่ง จัด ทำ โดยที่ ประชุม เศรษฐกิจ โลก (World Economic Forum) พบ วา ประเทศไทย อยู ใน อันดบั 57 จาก 134 ทั่ว โลก ใน ดาน ความ เทา เทียม ทาง เพศ โดย ได คะแนน คอน ขาง ดี ใน ดาน สุขภาพ และ อัตรา การ รอด ชีวิต ของ ผู หญิง (อันดับ 1) และ ดาน โอกาส และ การ มี สวน รวม ทาง เศรษฐกิจ ของ ผู หญิง (อันดับ ที่ 34) แต คอน ขาง ต่ำ ใน ดาน การ มี สวน รวม ทางการ เมือง (อันดับ ที่ 94) ซึ่ง วัด จาก สัดสวน ของ ผู

Page 169: Inequality in Thailand: An Introduction

169สฤณี อาชวานันทกุล

หญิง ที่ เปน สมาชิก สภา ผู แทน ราษฎร และ รัฐมนตรี33

ผล การ ศกึษา “กฎหมาย ที ่ขดั กบั รฐัธรรมนูญ และ ขอ ตกลง ระหวาง ประเทศ ใน ประเดน็ กลุม คน ที ่ถกู เลอืก ปฏบิตั:ิ ศกึษา กรณ ีการ เลือก ปฏิบัติ ตอ สตรี” โดย สุดา รัตน เส รี วัฒน และ วนิดา ตง ศริ ิที ่รายงาน ตอ คณะ กรรมการ สทิธิ มนษุย ชน แหง ชาต ิพบ วา ปจจุบัน ยัง มี กฎหมาย หลาย ฉบับ ที่ ไม สอดคลอง กับ รัฐธรรมนูญ ใน กรณี ที่ เกี่ยว กับ สิทธิ สตรี ใน ประเด็น ของ ความ เทา เทียม ทาง เพศ และ การ เลอืก ปฏบิตั ิอยาง ไม เปน ธรรม สรปุ สาระ สำคัญ ของ รายงาน ได โดย สงัเขป ดัง ตอ ไป นี้34

สาเหตุ และ ขอบเขต ของ การ เลือก ปฏิบัติ ตอ สตรี ไดแก เจตคต ิเกีย่ว กบั บทบาท ของ ชาย ใน การ เปน ผูนำ ครอบครัว เจตคต ิทาง เพศ แบบ ดั้งเดิม เรื่อง สิทธิ ของ ชาย ที่ มี เหนือ ภริยา อิทธิพล ความ เชื่อ ทาง สังคม เรื่อง เสรีภาพ ทาง เพศ และ ลักษณะ เฉพาะ ทาง เพศ ที่ แตก ตาง กัน และ อิทธิพล ความ เชื่อ เก่ียว กับ สถานะ ของ สตรี ใน ศาสนา ที่ เห็น สตรี เปน ผูนำ ความ เสื่อม ถอย เชน ไม ยอมรับ การ บวช ภิกษุณี ของ สตรี เชน เดียว กับ การ บวช เปน พระ ภิกษุ ของ บุรุษ

33 Ricardo Hausmann, et. al. Global Gender Gap Report 2010. World Economic Forum: 2010. ดาวนโหลด ได จาก http://www.weforum.org/issues/global-gender-gap34 สำนักงาน คณะ กรรมการ สิทธิ มนุษย ชน แหง ชาติ. สรุป สาระ สำคัญ รายงาน การ ศกึษา “กฎหมาย ที ่ขดั กบั รฐัธรรมนญู และ ขอ ตกลง ระหวาง ประเทศ ใน ประเด็น กลุม คน ที่ ถูก เลือก ปฏิบัติ: ศึกษา กรณี การ เลือก ปฏิบัติ ตอ สตรี” เว็บไซต http://www.nhrc.or.th/kcontent.php?doc_id=Research_Woman

Page 170: Inequality in Thailand: An Introduction

170 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ปญหา การ เลือก ปฏิบัติ ตอ สตรี อยาง ไม เปน ธรรม สามารถ แยก ออก เปน

1. การก ระ ทำ รนุแรง ทาง กายภาพ เชน สาม ีทำราย รางกาย ภริยา สามี บังคับ ขืนใจ ทาง เพศ ภริยา ที่ ชอบ ดวย กฎหมาย

2. ปญหา การ จาง งาน พิจารณา ได เปน 3 กลุม คือ 2.1 แรงงาน หญิง ใน ระบบ ยัง ขาด กฎหมาย คุมครอง

ความ มั่นคง ใน การ ทำงาน และ กฎหมาย คุมครอง สุขภาพ ความ ปลอดภัย จาก สิง่ แวดลอม ใน การ ทำงาน และ รฐั ยงั ขาด กลไก และ แนวทาง ที่ ชัดเจน ใน การ คุมครอง แรงงาน หญิง ใน ระบบ ใน ดาน ตางๆ ยัง คงขาด สวัสดิการ และ มี การ เลือก ปฏิบัติ เชน เรื่อง คา จาง และ การ เลื่อน ตำแหนง

2.2 แรงงาน หญิง นอก ระบบ ไดแก ผูรับ งาน ไป ทำ ที่ บาน ซึ่ง เปน หญิง ถึง รอย ละ 78 มี ราย ได เฉล่ีย ตอ เดือน ประมาณ ไม เกิน 2,000 บาท

2.3 แรงงาน หญิง ที่มา จาก การ อพยพ : หญิง จาก พมา แรงงาน หญิง จาก พมา เปน ผู ที่ อพยพ เขา มา เพราะ ความ ยากจน และ สงคราม รฐับาล ไทย มนี โย บาย ให แรงงาน อพยพ จด ทะเบียน ป ตอ ป โดย เนน ความ มั่นคง ของ ประเทศ กอ ให เกิด การ เลือก ปฏบิตั ิและ การ ละเมดิ โดย บงัคบั ผู หญงิ ที ่จด ทะเบยีน เปน แรงงาน อพยพ ให ทดสอบ การ ตั้ง ครรภ ซึ่ง ถา ปรากฏ วา ตั้ง ครรภ ก็ จะ ถูก สง กลับ โดย ไม คำนึง ถึง ความ ปลอดภัย และ เปน เหตุ ให มี การ ลักลอบ ทำแทง

3. ความ ไม เทา เทียม ใน สถานะ และ ศักดิ์ศรี ของ สตรี ใน สงัคม ซึง่ ยงั ม ีอยู ใน กฎหมาย ฉบบั ตางๆ เชน พระ ราช บญัญตั ิการ

Page 171: Inequality in Thailand: An Introduction

171สฤณี อาชวานันทกุล

คา หญงิ และ เดก็ ที ่ไม สามารถ ลงโทษ ผู กระทำ ผดิ ใน ตาง แดน การ ลงโทษ ชาย ที ่จด ทะเบยีน ซอน ดวย ความ ผดิ สถาน เบา โดย เฉพาะ เมือ่ เทยีบ กบั กฎหมาย ใน ตาง ประเทศ ประมวล กฎหมาย แพง และ พาณิชย เรื่อง การ บอก เลิก สัญญา หมั้น พระ ราช บัญญัติ สัญชาติ พระ ราช บัญญัติ คำนำ หนา นาม พ.ศ. 2460 ที่ กำหนด ให สตรี ที่ ยงั ไม ได แตงงาน ใช คำนำ หนา วา “นางสาว” เมือ่ แตงงาน ตอง ใช วา “นาง” สวน ชาย กำหนด ให ใช คำนำ หนา วา “นาย” เทาน้ัน และ พระ ราช บัญญัติ การ จด ทะเบียน ครอบครัว พ.ศ. 2478 ยัง ไมมี กฎ กระทรวง ที ่จะ ให อำนาจ เจา หนาท่ี ใน การ ตรวจ สอบ สถานภาพ บุคคล กอน การ จด ทะเบียน สมรส

กรณี ศึกษา 5: การ ลวง ละเมิด ทาง เพศ กับ คา นิยม ของ สังคม

พัช รี จุล หิรัญ นัก สังคมสงเคราะห มูลนิธิ เพื่อน หญิง เปด

เผย วา ใน ป พ.ศ. 2552 ม ีผู ถกู กระทำ มา ขอ คำ ปรกึษา จาก มลูนธิ ิ

เพือ่น หญิง 775 ราย โดย ใน จำนวน นี ้เปน กรณี การ ถูก ลวง ละเมิด

ทาง เพศ 83 ราย (รอย ละ 11) โดย แยก เปน

1. กรณี ถูก ขมขืน กระทำ ชำเรา 45 ราย (รอย ละ 54)

2. พราก ผู เยาว และ ขมขนื กระทำ ชำเรา ใน เดก็ อาย ุตำ่ กวา

18 ป จำนวน 8 ราย (รอย ละ 10)

3. พราก ผู เยาว โดย การ ยินยอม มี เพศ สัมพันธ 9 ราย

(รอย ละ 11)

4. กรณี ถูก รุม โทรม 7 ราย (รอย ละ 9) โดย มี ผู กระทำ รุม

โทรม มาก สุด ถึง 9 ราย

5. อนาจาร 7 ราย คิด เปน (รอย ละ 9)

Page 172: Inequality in Thailand: An Introduction

172 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

6. เปนการ คุกคาม ทาง เพศ 3 ราย (รอย ละ 4)

7. พยายาม ขมขืน คา มนุษย แอบ ถาย โชว อนาจาร 4

ราย (รอย ละ 4)

จาก สถติ ิดงั กลาว ม ีผู กระทำ 33 ราย (รอย ละ 40) เปน คน

ที่ ใกล ชิด กับ ผู เสีย หาย เชน เปน เพื่อน หรือ เพื่อน บาน นอกจาก

นี้ ยัง พบ วา ผู เสีย หาย ที่ อายุ นอย สุด คือ 3 ขวบ สวน ผู กระทำ ที่

มีอายุ มาก สุด คือ 78 ป ลวง ละเมิด ทาง เพศ ดวย การ อนาจาร ลูก

ตัว เอง ที่ มีอายุ เพียง 10 ป และ บาง ราย ขอ หลับ นอน กับ ลูก อายุ

24 ป นอกจาก นี้ การ ลวง ละเมิด ทาง เพศ ใน ที่ ทำงาน มี เพิ่ม มาก

ขึ้น ถึง 18 ราย ซึ่ง คิด เปน รอย ละ 22 จาก ใน ป พ.ศ. 2551 ซึ่ง

มี เพียง 8 ราย35

ยิง่ ไป กวา นัน้ พชั ร ียงั เปด เผย ถงึ กรณี อดตี ประธาน รฐัสภา

ลวง ละเมิด ทาง เพศ ขาราชการ สาว ระดับ 5 (C5) ที่ ทำให เหยื่อ

ตอง หยุด งาน ไป ถึง 15 วัน จน เปน ผล ให ถูก ไล ออก และ พัช รี ยัง

กลาว ถึง ปญหา ของ การ ดำเนิน คดี กรณี ถูก ขมขืน วา สามารถ

ยอม ความ กัน ได และ คดี มีอายุ ความ เพียง 3 เดือน ซึ่ง ควร จะ

ให เวลา มากกวา นัน้ เพือ่ ให ผู เสยี หาย ม ีเวลา ฟนฟ ูจติใจ กอน การ

ดำเนิน คดี ความ36

ขอมูล จาก การ สัมภาษณ ทั้ง “ผู กระทำ” และ “เหยื่อ” ใน

เว็บไซต มูลนิธิ เพื่อน หญิง ยัง ได แสดง ถึง ทัศนะ คติ ที่ มอง ชาย

หญิง ไม เทา เทียม กัน ดัง เชน บท เรียบ เรียง การ สัมภาษณ ตอน

35 เรียบเรียงจาก: http://www.thaihealth.or.th/node/1650236 “เผย การ คุกคาม ทาง เพศ ใน ที่ ทำงาน ลาม ถึง องคกร สิทธิ์”, เว็บไซต โครงการ รณรงค เพือ่ แรงงาน ไทย (http://www.thailabour.org/autopagev4/print_all.php?idp=topic&topic_id=206&auto_id=7)

Page 173: Inequality in Thailand: An Introduction

173สฤณี อาชวานันทกุล

หน่ึง ที่ วา37

“เม่ือ วิทยากร ถาม ผู ตอง ขัง ทั้งหมด วา ผูชาย ที่ มี ผู หญิง

หลาย คน เปน อยางไร ทกุ คน พดู ดวย นำ้ เสยีง แหง ความ ภาค ภมูใิจ

มี รอย ยิ้ม เห็น ถึง พลัง จาก เสียง ดัง ที่ พูด วา “ขุนแผน เต็ กกอ”

และ เม่ือ ถาม กลับ กรณี ผู หญิง ที่ มี สามี หลาย คน เปน อยางไร

คำ ตอบ ยัง ดัง พรอม ดวย เสียง หัวเราะ และ ชัดเจน เหมือน เดิม

วา “นาง กากี””

นอกจาก นี้ ใน อีก บท สัมภาษณ บท หนึ่ง ยัง สะทอน ถึง

มายา คติ ตางๆ เกี่ยว กับ การ ขมขืน ดังนี้38

ปา เจอ อะไร บาง หลัง ถูก ขมขืน

มายา คต ิที ่วา การ ถกู ขมขนื “ไมใช เรือ่ง ใหญ” สำหรบั

ผู หญิง ที่ มี สามี แลว

เม่ือ ปาบ อก คนใน ชมุชน วา ถกู ขมขนื เพือ่ หวงั ให เขา พา ปา

ไป แจง ความ เขา ถาม ปา วา “ถาม จรงิๆ เถอะ ไหนๆ ก ็เคย ม ีสามี

มา แลว อยู กับ มัน (ผู กระทำ) ตั้ง 2 ชั่วโมง โดน กี่ ครั้ง ละ”

37 “ชีวิต ลูก ผูชาย ที่ ขม ขื่น ผู หญิง”, เว็บไซต มูลนิธิ เพื่อน หญิง (http://www.friendsofwomen.or.th/index.php?key=Y29udGVudD1jb250ZW50JmlkPTk=)38 “ปา ถกู ขมขนื ใน บาน”, เวบ็ไซต มลูนธิ ิเพือ่น หญงิ (http://www.friendsof-women.or.th/index.php?key=Y29udGVudD1jb250ZW50JmlkPTEw)

Page 174: Inequality in Thailand: An Introduction

174 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

มายา คติ ที่ วา ผูชาย ที่ กระทำ การ ขมขืน เปน โรคจิต

เม่ือ ปา ตัดสิน ใจ ไป ตรวจ รางกาย ที่ โรง พยาบาล เพื่อ เก็บ

เปน หลัก ฐาน ไว แจง ความ พยาบาล แนะนำ วา “หาก เปน ฉัน ฉัน

จะ ไม แจง ความ หรอก นา จะ ให ผูชาย คน นั้น มา รักษา ตัว วา เขา

เปน คน โรคจิต หรือ เปลา”

มายา คติ ที่ วา ผู หญิง ที่มา แจง ความ วา ถูก ขมขืน เพราะ ตอง

การ แบล็ค เมล ผูชาย

หลงั เกิด เหต ุ2 เดอืน อาย ุความ ยงั ไม หมด ปา ไป แจง ความ

ที ่สถาน ีตำรวจ เจา หนาที ่ตำรวจ ซกัฟอก ปา เปนการ ใหญ ราวกบั

ปา เปน คน ผดิ เสีย เอง ทัง้ ที ่ปา เปน ผู ถกู กระทำ แถม ยงั ตะโกน ถาม

เสียง ดัง ลั่น โรง พัก “ถูก ขมขืน ที่ไหน วัน ไหน จำ มัน ได ไหม แลว

ทำไม เพิ่ง มา แจง ความ ไป ตรวจ รางกาย ที่ไหน...”

จาก ขอมูล ขาง ตน จะ เห็น ได วาการ ลวง ละเมิด ทาง เพศ

มี ปญหา ตั้งแต ระดับ นามธรรม อยาง คา นิยม ใน สังคม ไป จนถึง

ระดับ การ เอาผิด ทาง กฎหมาย คา นิยม ใน สังคม ให คุณคา

พฤติกรรม ทาง เพศ ระหวาง เพศ ชาย และ เพศ หญิง แตก ตาง กัน

เชิดชู พฤติกรรม มาก เมีย ประณาม พฤติกรรม หลาย ผัว คา นิยม

ลักษณะ นี้ แสดง ถึง ความ ไม เสมอ ภาค สะทอน ถึง การ แบง แยก

และ เลือก ปฏิบัติ เพราะ ความ แตก ตาง ทาง เพศ และ กด ผู หญิง ไว

ใน สถานะ ที่ ต่ำ กวา ซึ่ง ไม ได หมายความ วา ถา จะ ทำให เทา เทียม

กัน ก็ ตอง เชิดชู พฤติกรรม มาก ผัว หาก หมาย ถึง การ ให คุณคา

แก พฤติกรรม ทาง เพศ ที่ เปน ไป ใน ทาง เดียวกัน ใน เพศ ชาย และ

Page 175: Inequality in Thailand: An Introduction

175สฤณี อาชวานันทกุล

หญิง

คา นิยม ทาง เพศ ที่ กำหนด ให เพศ หญิง ตอง รัก นวล สงวน

ตัว ทำให การ มี เพศ สัมพันธ กับ ชาย ที่ ไมใช คน รัก หรือ สามี (หรือ

กระทั่ง การ แตะ เนื้อ ตอง ตัว ใน กรณี ของ การ ลวนลาม) กลาย

เปน เรื่อง นา อับอาย สง ผล ให เมื่อ ตอง ตก เปน เหยื่อ ของ การ

ลวง ละเมิด ทาง เพศ ผู หญิง ตอง ทุกข ทรมาน กับ ความ อับอาย

มากกวา จะ ออก มา เรียก รอง การ ดำเนิน การ ทาง กฎหมาย เพื่อ

ปกปอง สิทธิ ของ ตัว เอง ยิ่ง ไป กวา นั้น นอก เหนือ ไป จาก ความ

อับอาย บาง กรณี โครงสราง อำนาจ ก็ เปน ปจจัย ให เหยื่อ ความ

รุนแรง ไม กลา แจง ความ ดัง จะ เห็น ได จาก คำ บอก เลา ของ พัช รี

ตอ กรณ ีลวง ละเมดิ ทาง เพศ ขาราชการ ระดบั 5 ที ่วา “ที ่ผู เสยี หาย

ไม แจง ความ ขอหา ขมขืนตั้งแต แรก เพราะ ผู กระทำ อยู ใน

อำนาจ เปน ถงึ ประธาน รฐัสภา ขณะ นัน้ และ ผู เสีย หาย เปน ถงึ ลกู

ขาราชการ ระดับ สูง จึง เปน หวง ชื่อ เสียง หนาตา ของ ครอบครัว

อกี ทัง้ ถกู เพือ่น รวม งาน มอง วา เปนการ สมยอม จงึ ไม กลา ดำเนนิ

การ ใดๆ”39

ใน การ แกไข ควร มี การ รณรงค สราง คา นิยม ทาง เพศ ขึ้น

มา ใหม ใน สังคม ให มี บรรทัดฐาน เดียวกัน ทั้ง ใน เพศ ชาย และ

เพศ หญิง ซึ่ง ตอง ดำเนิน ควบคู ไป กับ การ ทำให ผู หญิง ตระหนัก

ถึง สิทธิ ตาม กฎหมาย ใน ฐานะ ผู เสีย หาย จาก การ ลวง ละเมิด ทาง

เพศ รูป แบบ ตางๆ ที่ เกิด ขึ้น กับ ตัว เอง

การ ลวง ละเมิด ทาง เพศ ที่ เกิด ขึ้น ภายใน ครอบครัว เชน

39 “เผย การ คุกคาม ทาง เพศ ใน ที่ ทำงาน ลาม ถึง องคกร สิทธ์ิ”, เว็บไซต โครงการ รณรงค เพือ่ แรงงาน ไทย (http://www.thailabour.org/autopagev4/print_all.php?idp=topic&topic_id=206&auto_id=7)

Page 176: Inequality in Thailand: An Introduction

176 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

สามี ขมขืน ภรรยา ตนเอง เปน ปญหา ที่ มี ความ ซับ ซอน กวา การ

ลวง ละเมิด ทาง เพศ โดย คนนอก ครอบครัว เนื่องจาก กรณี นี้

คา นิยม กระแส หลัก ยัง มอง วา เปน “เร่ือง สวน ตัว” ไมใช การ

ละเมดิ สทิธ ิและ ดงั นัน้ จงึ ม ีแนว โนม ที ่จะ มอง ความ รนุแรง ภายใน

ครอบครัว วา ไมใช เรื่อง ของ รัฐ หรือ สังคม

ความ กาวหนา เร่ือง หนึ่ง ใน ดาน นี้ คือ การ ออก พระ ราช

บญัญตั ิคุมครอง ผู ถกู กระทำ ดวย ความ รนุแรง ใน ครอบครัว พ.ศ.

2550 ซึ่ง วาง อยู บน หลัก การ เคารพ ศักด์ิศรี ของ ความ เปน มนุษย

ไม วา หญงิ หรอื ชาย อยาง เทา เทยีม กนั กฎหมาย ฉบบั นี ้ตระหนกั

วา ความ รุนแรง ใน ครอบครัว เปน ปญหา ที่ มี ความ ละเอียด ออน

และ ซับ ซอน ทาง ดาน จิตใจ รัฐ ควร ใหการ ปกปอง ผู ท่ี ถูก กระทำ

กฎหมาย ยัง ระบุ วา ใน การ สอบ ปากคำ เหยื่อ พนักงาน สอบสวน

ตอง จัด ให มี จิตแพทย นัก จิตวิทยา นัก สังคมสงเคราะห หรือ

บุคคล ที่ เหยื่อ รองขอ รวม อยู ดวย เพื่อ ให คำ ปรึกษา40 อยางไร

ก็ตาม ใน ทาง ปฏิบัติ ตำรวจ มัก จะ ไม รับ แจง ความ หรือ พยายาม

ไกล เกลี่ย ทำให ผู หญิง อยู ใน ฐานะ ลำบาก และ ขาด หลัก ฐาน ใน

การ ฟอง รอง ดำเนิน คดี41

40 ทีม งาน องคการ สหประชาชาติ ประจำ ประเทศไทย และ สำนักงาน คณะ กรรมการ สิทธิ มนุษย ชน แหง ชาติ. ศักดิ์ศรี และ ความ ยุติธรรม สำหรับ ทุก คน: เสียง ของ เรา ที ่ไดยนิ บน แผน ดนิ ไทย. 2550. ดาวนโหลด ได จาก http://www.un.or.th/documents/UND_UDHR_TH_031208_V10_Final.pdf41 สำนักงาน คณะ กรรมการ สิทธิ มนุษย ชน แหง ชาติ. สรุป สาระ สำคัญ รายงาน การ ศกึษา “กฎหมาย ที ่ขดั กบั รฐัธรรมนญู และ ขอ ตกลง ระหวาง ประเทศ ใน ประเด็น กลุม คน ที่ ถูก เลือก ปฏิบัติ: ศึกษา กรณี การ เลือก ปฏิบัติ ตอ สตรี” เว็บไซต http://www.nhrc.or.th/kcontent.php?doc_id=Research_Woman

Page 177: Inequality in Thailand: An Introduction

177สฤณี อาชวานันทกุล

3.3.4 ผู พิการจาก รายงาน การ สำรวจ ความ พิการ พ.ศ. 2550 ของ

สำนักงาน สถิติ แหง ชาติ พบ วา คน พิการ ใน วัย แรงงาน (15 - 59 ป) มี จำนวน สูง ถึง 1.8 ลาน คน ทั่ว ประเทศ แต มี งาน ทำ เพียง รอย ละ 35.2 ของ จำนวน ดัง กลาว โดย เปน ผู ปฏิบัติ งาน ที่ มี ฝมือ ดาน เกษตร และ ประมง มาก ที่สุด คือ รอย ละ 19.4 สวน อีก รอย ละ 64.8 ของ ประชากร คน พิการ ใน วัย แรงงาน นั้น ไมมี งาน ทำ (แผนภูมิ 40)42

42 รายงานการสำรวจความพิการ พ.ศ. 2550 สำนักงานสถิติแหงชาติ: 2550.

แผนภูมิ 40 รอย ละ ของ ประชากร ที่ พิการ อายุ ตั้งแต 15 ป ข้ึน ไป จำแนก ตาม การ มี งาน ทำ อาชีพ และ กลุม อายุ ป 2550

ที่มา: รายงาน การ สำรวจ ความ พิการ พ.ศ. 2550 สำนักงาน สถิติ แหง ชาติ

Page 178: Inequality in Thailand: An Introduction

178 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

นอกจาก นี ้จาก รายงาน ดงั กลาว ยงั พบ วา ผู พกิาร ที ่ม ีความ ลำบาก ใน การ ดแูล ตนเอง ม ี3.9 แสน คน ใน จำนวน นี ้ม ีถงึ รอย ละ 61.4 (2.4 แสน คน) ที่ มี ความ ลำบาก ใน ขั้น รุนแรง คือ มี ความ ลำบาก มาก หรอื ไม สามารถ ทำ กจิวตัร สวน ตวั ได ดวย ตนเอง อยาง นอย 1 ประเภท และ ใน จำนวน นี้ มี 27,351 คน ที่ ไมมี ผู ดูแล คิด เปน รอย ละ 11.4 โดย ใน ภาค เหนือ มี สัดสวน ผู พิการ รุนแรง ที่ ไมม ีผู ดแูล สงู ทีส่ดุ ตาม มา ดวย ภาค กลาง ภาค อสีาน และ ภาค ใต ตาม ลำดับ (แผนภูมิ 41)

ที่มา: รายงาน การ สำรวจ ความ พิการ พ.ศ. 2550 สำนักงาน สถิติ แหง ชาติ และ การ คำนวณ

แผนภูมิ 41 สัดสวน ประชากร ผู พิการ ที่ มี ความ ลำบาก ใน การ ดูแล ตัว เอง ที่ มี ผู ดูแล และ ไมมี ผู ดูแล ป 2550

Page 179: Inequality in Thailand: An Introduction

179สฤณี อาชวานันทกุล

3.3.5 แรงงาน ตางดาว และ บุคคล ไร สัญชาติรัฐธรรมนูญ ไทย มาตรา 55 บัญญัติ คุมครอง สิทธิ ของ

“คน ไทย” ผู ไร บาน ไว วา บุคคล ซึ่ง ไร ที่ อยู อาศัย และ ไมมี ราย ได เพียง พอ แก การ ยังชีพ ยอม มี สิทธิ ได รับ ความ ชวย เหลือ ท่ี เหมาะ สม จาก รัฐ แต ปจจุบัน แรงงาน ตางดาว นับ ลาน คน ที่มา ทำงาน ใน ประเทศ แทบ ไม ได รับ การ คุม ครอง ใดๆ ทาง กฎหมาย แรงงาน จำนวน มาก ถูก เลือก ปฏิบัติ และ ละเมิด สิทธิ มนุษย ชน นานัปการ ใน ทาง ปฏิบัติ ทั้ง ที่ พวก เขา เปน กำลัง สำคัญ ใน การ ขับ เคลื่อน เศรษฐกิจ ไทย และ ทดแทน แรงงาน ไทย ใน สาขา ที่ ขาดแคลน แรงงาน ได เปน อยาง ดี

จาก การ ประมวล สถิติ และ สภาพ ปญหา ของ คณะ อนุกรรมการ สิทธิ มนุษย ชน ดาน ชนชาติ ผู ไร สัญชาติ แรงงาน ขาม ชาติ และ ผู พลัด ถิ่น สภา ทนายความ สามารถ สรุป ได ดัง ตอ ไป นี้43

ใน ป พ.ศ. 2551 มี จำนวน แรงงาน ที่ ตอ ใบ ขอ อนุญาต ทำงาน ทั่ว ประเทศ จำนวน 454,262 คน แต จาก การ ประเมิน ของ องคกร พัฒนา เอกชน ที่ ทำงาน ดาน แรงงาน ขาม ชาติ คาด วา นา จะ ม ีแรงงาน ที ่ไม ขึน้ ทะเบยีน มากกวา 4 เทา ซึง่ จำนวน ทัง้หมด นา จะ ม ีไม นอย กวา 3 ลาน คน ทัว่ ประเทศ โดย เปน แรงงาน ขาม ชาต ิจาก ประเทศ พมา กวา รอย ละ 80 ซึ่ง กระจาย ตัว อยู ตาม ภาค การ ผลิต ที่ ตองการ แรงงาน ระดับ ลาง

43 สถิติ และ สภาพ ปญหา. คณะ อนุกรรมการ สิทธิ มนุษย ชน ดาน ชนชาติ ผู ไร สัญชาติ แรงงาน ขาม ชาติ และ ผู พลัด ถิ่น สภา ทนายความ. http://www.statelessperson.com/www/?q=node/6706

Page 180: Inequality in Thailand: An Introduction

180 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

รายงาน วิจัย ของ สถาบันวิจัย ประชากร และ สังคม มหาวิทยาลัย มหิดล เร่ือง “ความ ทาทาย ที่ ลุม น้ำ โขง: การ จาง แรงงาน ขาม ชาติ ใน ประเทศไทย : งาน หนัก จาย นอย และ ไม ได รับ การ คุมครอง” ได ศึกษา วิธี การ วา จาง แรงงาน และ สภาพ การ ทำงาน ของ แรงงาน ขาม ชาติ ใน การ จาง งาน สำคัญ 4 ภาค ของ ประเทศไทย คือ การเกษตร งาน บาน เรือ ประมง และ การ แปรรูป ปลา และ การ ผลติ พบ วา แรงงาน รบั ใช ใน บาน กวา ครึง่ หนึง่ และ ลูก เรือ หา ปลา อีก กวา 1 ใน 5 ถูก หาม ไม ให ออก จาก ที่ ทำงาน หรือ ถูก นายจาง บังคับ ให ทำงาน เยี่ยง ทาส มี การ ละเมิด สทิธิ มนุษย ชน แรงงาน ขาม ชาต ิหนุม สาว หลาย เรือ่ง ตัง้แต ทำราย รางกาย บังคับ ให ทำงาน จำกัด พื้นที่ ใช แรงงาน เด็ก ใน งาน เสี่ยง อันตราย ซึ่ง จัด เปนการ ใช แรงงาน เด็ก ที่ เลว ราย ที่สุด อยาง หนึ่ง และ ถูก กระทำ ทารุณ ทั้ง ทาง ใจ และ ทาง วาจา เปน ประจำ

บาง กรณี ยัง แสวงหา ประโยชน จาก แรงงาน โดย มิ ชอบ ใกล เคียง กับ พฤติกรรม การ คา มนุษย ดวย โดยท่ี เจา หนาท่ี บาน เมือง และ ประชาชน สวน ใหญ มกั ไม คอย รู เรือ่ง แรงงาน เหลา นี ้แรงงาน รับ ใช ใน บาน 82% และ แรงงาน ทำงาน บน เรือ ประมง อีก 45% ตอง ทำงาน วัน ละ กวา 12 ชั่วโมง สัปดาห ละ 7 วัน จำเปน อยาง ยิ่ง ที่ ตอง มี การ ตรวจ แรงงาน อยาง จริงจัง โดย เฉพาะ อยาง ยิ่ง ใน ภาค การ ทำงาน ที่ มี การ ใช แรงงาน เด็ก ที่ อายุ ต่ำ กวา 18 ป

ดาน แรงงาน ขาม ชาติ เอง พบ วา มี เพียง 1 ใน 5 ของ แรงงาน ที่ ทำงาน บน เรือ ประมง และ การ แปรรูป ปลา ที่ เคย พบเห็น ผู ตรวจ แรงงาน ไทย ใน สถาน ประกอบ การ นอกจาก นี้ แรงงาน สวน ใหญ ยัง ไม เขาใจ สิทธิ ตาม พ.ร.บ.คุมครอง แรงงาน

Page 181: Inequality in Thailand: An Introduction

181สฤณี อาชวานันทกุล

และ กฎหมาย ฉบับ นี้ ก็ ไม ได คุมครอง แรงงาน ลูก เรือ หา ปลา หรือ แรงงาน รับ ใช ใน บาน ดวย แรงงาน สวน ใหญ ได รับ คา จาง ต่ำ กวา คา จาง ขั้น ต่ำ ที่ กฎหมาย กำหนด และ แมวา ความ จริง ขอ นี้ ไมใช เรื่อง แปลก ใหม แต ก็ ถือวา เปนการ ละเมิด กฎหมาย ไทย

ปญหา หนึ่ง ที่ นา เปน หวง คือ ทัศนคติ ของ นายจาง ที่ มี ตอ แรงงาน ขาม ชาติ โดย เฉพาะ ใน เรื่อง การ จำกัด เสรีภาพ ใน การ เดนิ ทาง โดย นายจาง มากกวา ครึง่ ให สมัภาษณ กบั นกั วจิยั วา เหน็ ดวย กับ ขอความ ที่ วา “กัก แรงงาน ไว ใน ตอน กลาง คืน เพื่อ ไม ให หลบ หนี ไป ไหน” ซึ่ง แรงงาน ขาม ชาติ ที่ ทำงาน รับ ใช ใน บาน 8% ยืนยัน วา เคย ถูก นายจาง กักตัว นายจาง คน ไทย จำนวน มาก นิยม จาง แรงงาน เดก็ และ แรงงาน เดก็ ตาง ชาต ิที ่อาย ุนอย เนือ่งจาก เชือ่ วา เด็ก เหลา นี้ เชื่อ ฟง และ ควบคุม งาย

นโยบาย การ บรหิาร จดัการ แรงงาน ตางดาว ของ ไทย นบั แต ป พ.ศ. 2535 เปนตน มา จน ปจจบุนั กำหนด นโยบาย ใน ลกัษณะ ควบคุม แรงงาน ตางดาว ไม สอดคลอง กับ สถานการณ ความ ตองการ แรงงาน และ สภาวะ ของ โลก ใน ปจจุบัน หาก แต รัฐ ไทย กลับ ไม ยอมรับ ความ จริง วา แรงงาน ขาม ชาติ ม ีสวน สำคัญ ใน การ ขับ เคล่ือน เศรษฐกิจ ของ ไทย ใน อีก ดาน กลับ ให อำนาจ รัฐ ใน ทอง ถ่ิน เกี่ยว กับ นโยบาย การ ควบคุม แรงงาน ใน พื้นที่ ซึ่ง หลาย ครั้ง มี ลกัษณะ ที ่ละเมดิ สทิธ ิเสรภีาพ อยาง ชดัเจน เชน นโยบาย ของ ผู วา ราชการ จงัหวัด ระนอง ภเูกต็ พงังา ที ่หาม แรงงาน ใช โทรศัพท มอื ถอื หาม แรงงาน ออก นอก ที่พัก อาศัย หลงั 22.00 นาิกา และ การ หาม จัด งาน วัน ชาติ มอญ ของ ผู วา ราชการ จังหวัด สมุทรสาคร

ประเทศไทย เปน ภาคี อนุสัญญา วา ดวย การ ขจัด การ เลือก

Page 182: Inequality in Thailand: An Introduction

182 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ปฏบิตั ิทาง เชือ้ ชาต ิใน ทกุ รปู แบบ ค.ศ.1965 แต หนึง่ ใน กลุม ที ่ถกู เลือก ปฏิบัติ มาก ที่สุด ใน สังคม ไทย คือ แรงงาน ขาม ชาติ ทั้ง การ เลอืก ปฏิบตั ิโดย เจา หนาที ่รฐั กลไก และ กฎหมาย โดย ม ีกฎหมาย หลาย ฉบับ ที่ แรงงาน ขาม ชาติ ไม สามารถ เขา ถึง ได เชน พระ ราช บัญญัติ คุมครอง แรงงาน พ.ศ. 2541 ซึ่ง ไม คุมครอง แรงงาน ใน ภาค เกษตรกรรม ประมง ทะเล งาน บาน และ งาน ที่ รับ ไป ทำ ที่ บาน พระ ราช บญัญตั ิเงนิ ทดแทน พ.ศ. 2537 ซึง่ แรงงาน ขาม ชาต ิทัง้ ขึน้ ทะเบียน อนญุาต ทำงาน และ ไม ขึน้ ทะเบียน อนญุาต ทำงาน เมือ่ ประสบ อบุตัเิหต ุจาก การ ทำงาน ไม สามารถ ขอรบั สทิธ ิใน เงิน กองทุน ได ตอง ดำเนิน การ เรียก รอง เอา กับ นายจาง ซึ่ง ตอง ผาน แบบ พิธี ตาม กลไก ที่ ยาวนาน รวม ถึง กฎหมาย ประกัน สังคม และ กฎ หมา ยอ่ืนๆ อีก หลาย ฉบับ ดวย กัน

3.4 สิทธิ และ โอกาส ใน การ มี สวน รวม ทางการ เมืองนับ ตั้งแต กระแส “ปฏิรูป ประเทศไทย” ถูก จุด ขึ้น เปน ครั้ง

แรก ใน ป พ.ศ. 2540 หลัง จาก ที่ “รัฐธรรมนูญ ฉบับ ประชาชน” รับรอง สิทธิ ใน การ มี สวน รวม ทางการ เมือง ของ ประชาชน ทั้ง กลไก ทาง ตรง เชน การ เขา ชื่อ กัน เสนอ กฎหมาย และ กลไก ทาง ออม ผาน กลไก องคกร อสิระ ตางๆ ปจจบุนั สงัคม ไทย กไ็ด กาว เขา สู ยุค ที่ สังคม มี ความ เห็น พอง ตอง กัน อยาง แพร หลาย วา กลไก “ประชาธิปไตย แบบ ตัวแทน” (Representative Democracy) เพียง อยาง เดียว นั้น ไม เพียง พอที่ จะ พิทักษ สิทธิ ของ ประชาชน และ ขบั เคลือ่น สงัคม ไป ขาง หนา เนือ่งจาก อำนาจ ใน การ ตดัสนิ ใจ ยัง กระจุก ตัว อยู ใน มือ ของ นักการ เมือง ระดับ ชาติ

Page 183: Inequality in Thailand: An Introduction

183สฤณี อาชวานันทกุล

ถึง แมวา ประชาชน หลาย สวน จะ ยัง มี ความ เห็น ไม ลง รอย กัน ที เดียว นัก วา รูป แบบ และ องค ประกอบ ของ กลไก “ประชาธิปไตย แบบ ตัวแทน” ควร เปน เชน ใด (เชน ควร แกไข รัฐธรรมนูญ ให วุฒิสมาชิก ทั้งหมด มา จาก การ เลือก ตั้ง หรือ ไม) ประเด็น ที่ นา จะ มอง ไป ใน ทิศทาง เดียวกัน คือ รัฐ ควร กระจาย อำนาจ ไป สู ภาค ประชาชน ชุมชน และ องคการ บริหาร จัดการ สวน ทอง ถิน่ มาก ขึน้ และ สง เสริม กลไก การ ม ีสวน รวม ตางๆ เพ่ือ ขับ เคลื่อน ประเทศ ไป สู “ประชาธิปไตย แบบ มี สวน รวม” หรือ “ประชาธิปไตย แบบ ปรึกษา หารือ” (Deliberative Democracy) ที่ ผู มี สวน ได เสีย ทุก ฝาย สามารถ มี สวน รวม ใน การ กำหนด นโยบาย ได อยาง เทา เทียม กัน

กลาว โดย หลัก การ การ ตอบ สนอง จาก ภาค รัฐ ที่ มี ตอ ขอ เรียก รอง ของ ประชาชน แม จะ ใน ระดับ เปน รายๆ ไป ก็ สะทอน ถงึ การ ยดึ ใน หลกั การ ประชาธิปไตย ขอ ที ่วา “หนึง่ เสยีง หน่ึง สทิธิ”์ หรือ “One Man, One Vote” ที่ แสดง ถึง การ ให ความ สำคัญ กับ สิทธิ ของ ประชาชน ใน การ รอง เรียน เรื่อง ตางๆ แต ใน ความ เปน จริง แม จะ มี หนวย งาน ที่ คอย รับ เรื่อง รอง เรียน ตางๆ แต การ ตอบ สนอง ตอ ขอ รอง เรียน จนถึง ขั้น ที่ เกิด การ แกไข ตาม ขอ เรียก รอง (ใน กรณี ที่ กระทำ ได และ สมควร กระทำ) กลับ เปน ไป อยาง เชื่อง ชา และ หลาย กรณี ขอ เรียก รอง เหลา นั้น กลับ ได รับ การ เพิก เฉย หรือ หนวย งาน รัฐ มี การ ตอบ สนอง ที่ ทำให ผู เรียก รอง รูสึก วา ถกู เพกิ เฉย หรอื บาง กรณ ีคำ อธบิาย ให เหตผุล ใน การ ไม สามารถ ตอบ สนอง ก็ ไม อาจ ทำให ผู เรียก รอง เขาใจ พึง พอใจ และ ยอมรับ เหลา นี้ คือ ปญหา ที่ ประชาชน ประสบ เปน อาจิณ ซึ่ง จะ แตก ตาง

Page 184: Inequality in Thailand: An Introduction

184 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

จาก กรณี ของ นัก ลงทุน หรือ นัก ธุรกิจ ที่ สามารถ เขา ถึง บุคลากร ภาค รัฐ โดยตรง ได งาย กวา (เชน นัด กิน ขาว กัน) อีก ทั้ง บุคลากร ของ รัฐ ก็ มี แนว โนม จะ ตอบ สนอง ขอ เรียก รอง ของ นัก ลงทุน และ นกั ธรุกจิ มากกวา นัน่ ทำให เกดิ ความ เหลือ่ม ลำ้ ใน การ ตอบ สนอง ตอ ขอ เรียก รอง ของ ประชาชน ซึ่ง เทากับ วา เกิด ความ เหล่ือม ล้ำ ใน การ มี สวน รวม ทางการ เมอืง ดวย

ศ.ดร.นิธิ เอียว ศรี วงศ สรุป ปญหา ของ คนจน ใน การ เขา ถึง กระบวนการ ตัดสิน ใจ ทางการ เมือง ไว วา44

ความ ยากจน ใน ประเทศไทย เขา ไม ถงึ กระบวนการ ตดัสนิ ใจ

ใน ทางการ เมือง ซึ่ง ก็ คือ การ ตัดสิน ใจ ใน การ ใช ทรัพยากร นั่นเอง

นอกจาก นั้น ยัง เขา ไม ถึง ทรัพยากร ทางการ เมือง สมัย ใหม ดวย

หมายความ วา คนจน เขา ไม ถงึ สือ่ ทกุ ชนดิ ไม วา จะ เปน สือ่ โทรทศัน

สือ่ หนงัสอืพมิพ เขา ถงึ ได นอย มาก หรอื เกอืบ จะ เรยีก ได วา เขา ไม ถงึ

เลย จะ เขา ถงึ สือ่ แตละ ครัง้ ก ็ตอง ทำ อะไร ที ่หมิน่เหม กฎหมาย หรอื

ที่ มัน ดู ทาทาง จะ สอ ไป ใน ทาง ความ รุนแรง จึง จะ ได รับ ความ สนใจ

จาก สื่อ ที หน่ึง แต วา ก็ ไม ได รับ ความ สนใจ ใน แง ปญหา ของ เขา

ขอ เสนอ แนวทาง แก ปญหา ของ เขา มัก ไม ได รับ ความ

สนใจ เทากับ วาการ ที่ เขา เผา ตัว ตาย ผูก คอ ตาย หรือ วา เดิน ขบวน

มา มากกวา ...การ ทำ ประชา พิจารณ ก็ เปน ทรัพยากร ทางการ

เมือง อีก อยาง หนึ่ง ซึ่ง คนจน ก็ เขา ไม ถึง การ ทำ ประชา พิจารณ อีก

44 นธิ ิเอยีว ศร ีวงศ, บทนำ การ สนทนา เวที ระดม ความ คดิ ชดุ “แก โครงสราง อยางไร จึง จะ หาย จน” ใน ความ จริง ของ ความ จน. คณะ ทำงาน วาระ ทาง สังคม สถาบันวิจัย สังคม จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, 2544. ดาวนโหลด ได จาก http://fringer.org/?page_id=37

Page 185: Inequality in Thailand: An Introduction

185สฤณี อาชวานันทกุล

เหมือน กัน

การ มี สวน รวม ทางการ เมือง ของ ประชาชน มิได จำกัด อยู เพียง การ พยายาม เขา ให ถึง ตัวผู มี อำนาจ ทางการ เมือง แต เพียง อยาง เดียว แต การ แลก เปล่ียน ความ คิด เห็น และ ขอมูล กัน ใน ประเด็น สาธารณะ ตางๆ ก็ เปนการ ใช สิทธิ ใน ฐานะ พลเมือง ที่ สำคัญ ไม แพ กัน และ ดัง นั้น โอกาส ใน การ ใช สิทธิ เสรีภาพ ใน การ แสดงออก และ แลก เปลี่ยน ขอมูล ขาวสาร จึง มิได เปน เพียง สิทธิ มนุษย ชน ขั้น พื้น ฐาน หาก เปน หัวใจ ที่ ขาด ไม ได ของ การ พัฒนา “ประชาธิปไตย แบบ มี สวน รวม” ใน ทุก สังคม

ใน ประเด็น นี้ สถานการณ ที่ นา หดหู คือ ประชาชน ยัง ถูก จำกัด สิทธิ เสรีภาพ ใน การ แสดงออก และ แลก เปล่ียน ขอมูล ขาวสาร คอน ขาง มาก ผาน การ บังคับ ใช กฎหมาย ตางๆ ใน ทาง ที่ ไม เปน ธรรม ยก ตัวอยาง เชน รายงาน “สถานการณ การ ควบคุม และ ปด กั้น สื่อ ออนไลน ดวย การ อาง กฎหมาย และ แนว นโยบาย แหง รัฐ ไทย” ป 2553 ระบุ วา ระหวาง ป 2550 ถึง 2553 มี จำนวน หนา เวบ็ไซต (ย ูอาร แอล) ที ่ถกู ระงบั การ เผย แพร โดย คำ สัง่ ศาลสูง ถงึ 73,686 ย ูอาร แอล ใน จำนวน นี ้ม ี57,330 ย ูอาร แอล ที ่คำ สัง่ จาก ศาล อาญา ระบุ วา ม ี“เนือ้หา ด ูหมิน่ พระ มหา กษตัริย” สงู กวา ย ูอาร แอล ที ่ม ี“เนือ้หา และ ภาพ ลามก อนาจาร” กวา 3 เทา (16,740 ยู อาร แอล) นอกจาก นี้ ยัง พบ วา มี คดี ที่ ฟอง ตามพ ระ ราช บญัญตั ิวา ดวย การก ระ ทำความ ผดิ เกีย่ว กบั คอมพวิเตอร พ.ศ. 2550 ใน ขอหา “เขา ขาย หมิ่น สถาบันฯ” รวม 31 คดี และ คณะ ผู วิจัย คาด วา ยัง มี คดี ใน ขอหา เดียวกัน ท่ี อยู ใน ช้ัน พนักงาน สอบสวน อีก ถึง 997 คดี ใน จำนวน นี้ มี ไม นอย ที่ กลาว ได วา ใช กฎหมาย

Page 186: Inequality in Thailand: An Introduction

186 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

เปน เคร่ือง มอื ทางการ เมอืง เพือ่ เลน งาน ฝาย ตรง ขาม45 ทัง้ ที ่ขอหา หมิน่ สถาบนั พระ มหา กษตัรยิ (มาตรา 112 ใน ประ มวล กฎหมาย อาญา) ถกู ตัง้ คำถาม อยาง ตอ เนือ่ง ถงึ ความ คลมุเครอื ของ ถอยคำ วิธี การ ตีความ และ โทษ ที่ รุนแรง (ดู กรณี ศึกษา 6: ขอหา “หมิ่น พระบรม เดชานุภาพ” กับ สิทธิ เสรีภาพ ใน การ แสดงออก)

45 สาว ตรี สุข ศรี และ คณะ รายงาน สถานการณ การ ควบคุม และ ปด กั้น สื่อ ออนไลน ดวย การ อาง กฎหมาย และ แนว นโยบาย แหง รัฐ ไทย. โครงการ อินเทอรเน็ต เพ่ือ กฎหมาย ประชาชน (iLaw): 2553. ดาวนโหลด ได จาก http://ilaw.or.th/node/631

กรณี ศึกษา 6: ขอหา “หมิ่น พระบรม เดชานุภาพ” กับ สิทธิ เสรีภาพ

ใน การ แสดงออก

การ ฟอง รอง ผู กระทำ ความ ผิด ตาม ประมวล กฎหมาย

อาญา มาตรา 11246 หรือ ที่ เรียก กัน วา “กฎหมาย/คดี หม่ิน

พระบรม เดชานุภาพ” (กฎหมาย/คดี หมิ่น) ใน ป พ.ศ. 2549 -

2551 มี จำนวน ถึง 508 คดี47 ซึ่ง เดวิด ส เต รกฟสส (David

Streckfuss) นัก วิชาการ อิสระ ดาน ประวัติศาสตร ผู เชี่ยวชาญ

ดาน มานุษยวิทยา ใน ภาค อีสาน และ ผู ติดตาม สถิติ นี้ มา ตลอด

ระบุ วาการ ฟอง รอง ใน คดี ดัง กลาว เพิ่ม ขึ้น ตั้งแต ป พ.ศ. 2548 46 ประมวล กฎหมาย อาญา มาตรา 112 ระบ ุวา “ผู ใด หมิน่ ประมาท ด ูหมิน่ หรือ แสดง ความ อาฆาต มาด ราย พระ มหา กษัตริย พระ ราชินี รัชทายาท หรือ ผู สำเร็จราชการ แทน พระองค ตอง ระวาง โทษจำ คุก ตั้งแต สาม ป ถึง สิบ หา ป”47 “นกั วชิาการ อดั รฐั เลือ่นลอย แผน ลม เจา”, หนงัสอืพมิพ ขาวสด ออนไลน (http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROd01EVXdNekEzTURVMU13PT0=)

Page 187: Inequality in Thailand: An Introduction

187สฤณี อาชวานันทกุล

เปนตน มา48

แม มาตรา 112 ของ ประมวล กฎหมาย อาญา จะ ระบุ ถึง

การ “หม่ิน ประมาท” เฉก เชน มาตรา 32649 ซึง่ เปน ความ ผดิ ฐาน

หม่ิน ประมาท บุคคล แต ใน ความ เปน จริง การ ฟอง รอง ดำเนิน

คดี มาตรา 112 และ 326 นั้น มี ความ แตก ตาง กัน โดย ใน ขณะ

ที่ การ ฟอง รอง ดำเนิน คดี ตาม มาตรา 326 นั้น “เจา ทุกข” หรือ ผู

ถูก หม่ิน ประมาท นั้น จะ ตอง เปน ผู ฟอง รอง เอง แต การ ฟอง รอง

ตาม มาตรา 112 นัน้ ใคร จะ เปน ผู ฟอง รอง เอาผิด กไ็ด นอกจาก นี ้

มาตรา 326 ยัง มี ขอ ยกเวน ให ได ตาม มาตรา 32950 และ 33051

48 “ความ จริง-การเมือง-กฎหมาย หมิ่น ใน ทรรศนะ “เดวิด ส เต รกฟสส” “กฎหมาย นี ้ใช เปน อาวธุ ทางการ เมอืง ก ็วา ได””, หนงัสอืพิมพ ประชาชาต ิธรุกจิ ออนไลน (http://www.prachachat.net/view_news.php?newsid=02pol01251153&sectionid=0202&day=2010-11-25)49 ประมวล กฎหมาย อาญา มาตรา 326 ระบ ุวา “ผู ใด ใส ความ ผู อืน่ ตอ บคุคล ที่ สาม โดย ประการ ที่ นา จะ ทำให ผู อื่น นั้น เสีย ชื่อ เสียง ถูก ดู หมิ่น หรือ ถูก เกลียด ชัง ผู นั้น กระทำ ความ ผิด ฐาน หมิ่น ประมาท ตอง ระวาง โทษจำ คุก ไม เกิน หนึ่ง ป หรือ ปรับ ไม เกิน สอง หมื่น บาท หรือ ทั้ง จำ ทั้ง ปรับ”50 ประมวล กฎหมาย อาญา มาตรา 329 ระบุ วา “ผู ใด แสดง ความ คิด เห็น หรือ ขอความ ใด โดย สุจริต (1) เพื่อ ความ ชอบ ธรรม ปองกัน ตน หรือ ปองกัน สวน ได เสีย เกี่ยว กับ ตน ตาม คลอง ธรรม (2) ใน ฐานะ เปน เจา พนักงาน ปฏิบัติ การ ตาม หนาที่ (3) ติ ชม ดวย ความ เปน ธรรม ซึ่ง บุคคล หรือ สิ่ง ใด อัน เปน วิสัย ของ ประชา ชน ยอม กระทำ หรือ (4) ใน การ แจง ขาว ดวย ความ เปน ธรรม เรื่อง การ ดำเนิน การ อัน เปด เผย ใน ศาล หรือ ใน การ ประชุม ผู นั้น ไมมี ความ ผิด ฐาน หมิ่น ประมาท”51 ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 330 ระบุวา “ในกรณีหมิ่นประมาท ถาผูถูกหาวากระทำความผิด พิสูจนไดวาขอที่หาวาหม่ินประมาทน้ันเปนความจริง ผูนั้นไมตองรับโทษ แตหามไมใหพิสูจน ถาขอท่ีหาวาเปนหมิ่นประมาทน้ันเปนการใสความในเรือ่งสวนตวั และการพิสจูนจะไมเปนประโยชนแกประชาชน”

Page 188: Inequality in Thailand: An Introduction

188 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

แต การ ฟอง รอง ตาม มาตรา 112 นั้น ไมมี ขอ ยกเวน ใน ลักษณะ

ดัง กลาว บัญญัติ ไว ซึ่ง ตรง นี้ เกี่ยว เนื่อง กับ รัฐธรรมนูญ แหง ราช

อาณาจักร ไทย หมวด 2 มาตรา 8 ที่ บัญญัติ ไว วา “องค พระ

มหา กษัตริย ทรง ดำรง อยู ใน ฐานะ อัน เปน ที่ เคารพ สัก กา ระ ผู ใด

จะ ละเมิด มิได ผู ใด จะ กลาว หา หรือ ฟอง รอง พระ มหา กษัตริย ใน

ทาง ใดๆ มิได”

การ ที ่การ ฟอง รอง ใน ขอหา ละเมดิ มาตรา 112 ม ีลกัษณะ

พเิศษ ดงั กลาว ทำให ม ีการ ใช มาตรา นี ้เปน “อาวธุ ทางการ เมอืง”

เพื่อ การก ลั่น แกลง ทำลาย ความ นา เช่ือ ถือ จนถึง ขั้น ทำลาย

ลาง ศัตรู ทางการ เมือง ของ ตน นอกจาก นี้ การ ที่มา ตรา 112

ไม ได ม ีการ ระบ ุชดัเจน ถงึ ขอบเขต ของ การ “หมิน่ ประมาท ด ูหมิน่

อาฆาต มาด ราย” โดย ไมมี การ แยกแยะ ให ชัดเจน ออก จาก การ

“วิพากษ วิจารณ” ทำให ขอบเขต การ ตีความ เอาผิด ตาม มาตรา

ดัง กลาว กวาง ขวาง อยาง มาก ทำให แทบ ตัดสิน ไม ได วา สิ่ง ใด พูด

ได สิ่ง ใด พูด ไม ได จน สุดทาย ก็ กลาย เปนการ ปด กั้น เสรีภาพ ใน

การ แสดง ความ คิด เห็น ไป ยัง ไม นับ วาการ ไม เปด โอกาส ให ผู ถูก

กลาว หา ได พิสูจน ขอ เท็จ จริง ของ สิ่ง ที่ ตัว เอง พูด นั้น เปน ความ

ไม เปน ธรรม ใน กระบวนการ พิจารณา คดี อีก ดวย

ใน ทาง ปฏิบัติ การ ที่ สถาบัน กษัตริย มี สถานะ เปน ประมุข

ของ ประเทศ การ มี กฎหมาย เฉพาะ เพื่อ ปกปอง ยอม เปน เรื่อง

ที่ สังคม ยอมรับ ได ประเด็น ที่ สำคัญ คือ การ ออกแบบ ขอบเขต

การ บังคับ ใช กฎหมาย ดัง กลาว ให ชัดเจน เหมาะ สม และ เปน

ธรรม เพื่อ หยุด ยั้ง การ ฉวย โอกาส ใช กฎหมาย นี้ เลน งาน ผู คิด

ตาง ทางการ เมือง หรือ ลิดรอน สิทธิ เสรีภาพ ใน การ แสดง ความ

Page 189: Inequality in Thailand: An Introduction

189สฤณี อาชวานันทกุล

คิด เห็น ของ ประชาชน ดัง ที่ เกิด ขึ้น ซ้ำ แลว ซ้ำ เลา ตัวอยาง จาก

ตาง ประเทศ เชน ประเทศ นอรเวย แม จะ มี การ กำหนด โทษจำ

คุก 5 ป สำหรับ คดี หมิ่น พระบรม เดชานุภาพ แต ก็ มี ขอ จำกัด คือ

การ ดำเนิน คดี ตอง ได รับ ความ ยินยอม จาก พระ มหา กษัตริย จึง

จะ กระทำ ได52 ฉะนั้น การ บังคับ ใช กฎหมาย อาญา มาตรา 112

ควร มี แนวทาง ใน การ พิจารณา คดี ที่ มี ขอบเขต ชัดเจน รวม ทั้ง

ตอง กระทำ อยาง รอบคอบ และ ระมัดระวัง เพื่อ ไม ให ไป ลิดรอน

สิทธิ เสรีภาพ ใน การ แสดง ความ คิด เห็น อัน เปน สิทธิ ขั้น พื้น ฐาน

ของ ประชาชน

ประเดน็ สำคญั อกี ประเดน็ ที ่ตอง พจิารณา ก ็คอื ใน ขณะ ที ่

กฎหมาย อาญา มาตรา 112 มี เจตนารมณ เพื่อ ปกปอง สถาบัน

พระ มหา กษัตริย แต กระบวนการ ตีความ ที่ กวาง ขวาง เกิน เลย

จน ดู เหมือน ไมมี ขอบเขต และ ขาด การ พิสูจน ขอ เท็จ จริง ของ สิ่ง

ที่ ถูก กลาว หา ทำให ขอมูล ตางๆ ที่แท จริง แลว อาจ มี ประโยชน

ใน การ พัฒนา สถาบัน กลับ ถูก พูด ถึงกัน อยาง ลับๆ ใน ทาง

“ใตดิน” และ ใน ทาง กลับ กัน ขอมูล ที่ เปน อันตราย ตอ สถาบัน ก็

จะ เผย แพร แลก เปลี่ยน กัน อยาง “ใตดิน” เชน กัน ซึ่ง ก็ จะ กลาย

เปนการ บอน ทำลาย ใน ระยะ ยาว ใน ที่สุด

52 เดวิด ส เต รกฟสส, “ความ จริง-การเมือง-กฎหมาย หมิน่ ใน ทรรศนะ “เดวิด ส เต รกฟสส” “กฎหมาย นี้ ใช เปน อาวุธ ทางการ เมือง ก็ วา ได””, หนังสือพิมพ ประชาชาติ ธุรกิจ ออนไลน (http://www.prachachat.net/view_news.php?newsid=02pol01251153&sectionid=0202&day=2010-11-25)

Page 190: Inequality in Thailand: An Introduction

190 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

นอกจาก ประชาชน จะ ขาด โอกาส ใน การ ม ีสวน รวม ทางการ เมือง แลว อีก ประเด็น หนึ่ง ที่ สะทอน ความ เหลื่อม ล้ำ ใน การ ให ความ สำคัญ ของ รัฐ ระหวาง ผล ประโยชน ของ ประชาชน กับ ผล ประโยชน ของ ภาค ธุรกิจ คือ ความ ลาชา ใน การ พิจารณา ราง กฎหมาย ที่ เปน ประโยชน ตอ ประชาชน โดย เฉพาะ เมื่อ เทียบ กับ ราง กฎหมาย ที่ เปน ประโยชน ตอ ธุรกิจ ขนาด ใหญ ยก ตัวอยาง เชน ผู บรโิภค ตอง รอ ถงึ ป 2551 กอน ที ่จะ ม ีกฎหมาย ความ รบั ผดิ ตอ ความ เสยี หาย ที ่เกดิ ขึน้ จาก สนิคา ที ่ไม ปลอดภยั (Product Li-ability Law) ซึง่ เปน กฎหมาย ระดบั พืน้ ฐาน ดาน การ คุมครอง สทิธ ิผู บรโิภค ยงั ไม นบั ราง กฎหมาย อกี จำนวน มาก ที ่ม ีความ สำคญั ตอ ประชาชน แต ยงั ไมม ีวีแ่วว วา จะ ได เห็น ใน อนาคต อัน ใกล ไม วา จะ เปน กฎหมาย วา ดวย การ ชมุนมุ ใน ที ่สาธารณะ กฎหมาย คุมครอง ผู เสีย หาย จาก การ รับ บริการ สาธารณสุข กฎหมาย ฟอง คดี แบบ รวม กลุม (Class Action) กฎหมาย ปา ชุมชน หรือ กฎหมาย คุมครอง ขอมูล สวน บุคคล

แนวทาง ลด ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน สิทธิ และ โอกาส3.1 บริการ สาธารณะ

ทาง เลือก ใน การ จัด บริการ สาธารณะ แก ประชาชน มี มากมาย หลาย แนวทาง แต ทุก แนวทาง ควร พิจารณา 3 ประเด็น หลัก คือ 1) ประสิทธิภาพ (ซึ่ง มัก จะ ขึ้น อยู กับ ประเด็น วา จะ หา สมดุล ใน การ เปน ผู “จัด” บริการ อยางไร ระหวาง รัฐ เอกชน ชุมชน และ องคกร ไม แสวง กำไร) 2) ความ ครอบคลุม (บริการ สาธารณะ ที่ สังคม มี ฉันทา มติ วา เปน “สวัสดิการ ขั้น พื้น ฐาน” ที่

Page 191: Inequality in Thailand: An Introduction

191สฤณี อาชวานันทกุล

ทุก คน มี “สิทธิ พลเมือง” ที่ จะ ได รับ ควร ครอบคลุม ประชากร ทุก หมู เหลา โดย เฉพาะ ผู มี ราย ได นอย) และ 3) ความ ยั่งยืน ทางการ เงิน (ประเด็น นี้ ขึ้น อยู กับ วา สุดทาย แลว ใคร จะ เปน ผู “จาย” คา ใช จาย ใน การ จัด บริการ และ จะ บริหาร จัดการ อยางไร ความ ยั่งยืน ทางการ เงิน มี ความ สำคัญ มาก สำหรับ ประเทศ กำลัง พัฒนา ที่ ยัง มี ฐาน ภาษี คอน ขาง ต่ำ เมื่อ เทียบ กับ ภาระ การ ดูแล ประชาชน ทั้ง ประเทศ)

3.1.1 การ ศึกษาการ ศึกษา เปน เคร่ือง มือ หน่ึง ที่ จะ ชวย ลด ความ เหล่ือม ล้ำ

ใน ดาน ตางๆ เนื่องจาก เปน ปจจัย ที่ ขาด ไม ได ใน การ พัฒนา ทุน มนุษย ทวา ระบบ การ ศึกษา เอง ก็ กลับ มี ความ เหลื่อม ล้ำ อยู ใน ตัว เพราะ รัฐ ใหการ อุดหนุน การ ศึกษา ใน ระดับ อุดมศึกษา เปน เมด็ เงนิ ที ่สงู และ เปน สดัสวน ที ่สงู กวา การ ศกึษา ระดบั อืน่ มาก ทัง้ ที่ ผู ที่ จะ มา ศึกษา ใน ระดับ ดัง กลาว ได สวน ใหญ คือ นักศึกษา จาก ครอบครวั ที ่ม ีราย ได สงู และ/หรอื ม ีแรง จงูใจ ที ่จะ เขา ถงึ การ ศกึษา ระดับ นี้ อยู แลว เนื่องจาก ให ผล ตอบแทน สูง กวา ระดับ อื่น

การ ขยาย โอกาส ทางการ ศึกษา ตอง คำนึง ถึง การ ขยาย โอกาส ลง ไป ถงึ ประชาชน ใน ทกุ กลุม โดย เฉพาะ กลุม คน ที ่ยากจน การ พจิารณา ใน ภาพ รวม เพยีง ประการ เดียว ไม สามารถ ทำให การ ศกึษา ลด ความ เหลือ่ม ลำ้ ของ การก ระ จาย ราย ได ลง ได เนือ่งจาก นกัเรยีน จาก ครอบครวั ที ่ม ีฐานะ ด ียอม ม ีโอกาส ใน การ เลอืก เรยีน และ จบ การ ศึกษา จาก สถาบัน การ ศึกษา ที่ มี คุณภาพ และ มีชื่อ เสียง มากกวา นักเรียน จาก ครอบครัว ที่ มี ราย ได นอย

Page 192: Inequality in Thailand: An Introduction

192 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

การ เปรียบ เทียบ ประสบการณ การ จัดการ ศึกษา ของ ประเทศ ตางๆ ชี้ ให เห็น วา53 ระบบ การ ศึกษา ของ แตละ ประเทศ จะ มี การ จัดการ ศึกษา ใน ลักษณะ ผสม ผสาน ระหวาง โรงเรียน หลาย รูป แบบ ขึ้น อยู กับ หลัก การ และ แนวคิด ของ การ บริหาร จดัการ ศกึษา ของ รฐั สำหรบั ประเทศไทย ความ แตก ตาง ระหวาง รปู แบบ ของ การ จดัการ ศกึษา ขึน้ อยู กบั 2 ปจจยั หลกั ไดแก ระดบั เงนิ อดุหนนุ จาก ภาค รฐั (Public Financing of Education) และ ระดบั การ ใหการ ศกึษา ของ รฐั (Public Provision of Education) ซึ่ง แสดง เปน แผนภูมิ ได ดังนี้

53 ดร.สม ชัย ฤชุ พันธุ, รายงาน ผล การ วิจัย การ ศึกษา เปรียบ เทียบ ระบบ งบ ประมาณ เพื่อ การ ศึกษา ของ ประเทศไทย กับ ประเทศ ตางๆ, เสนอ ตอ กระทรวง ศึกษาธิการ: 2550.

ระดับ เงิน อุดหนุน จาก รัฐ (public fi nancing)

สูง

ต่ำ สูงระดับ การ ใหการ ศึกษา ของ รัฐ

(public provision)

โรงเรียน เอกชน ที่ ไม ได รับ เงิน อุดหนุน

โรงเรียน เอกชน ที่ รับ คูปอง (vouchers) / เงิน อุดหนุน จาก รัฐ

โรงเรียน รัฐ ที่ ไม เก็บ คา ใช จาย

โรงเรียน รัฐ ที่ เก็บ คา ใช จาย บาง สวน

Page 193: Inequality in Thailand: An Introduction

193สฤณี อาชวานันทกุล

ใน อดตี ที ่ผาน มา งบ ประมาณ ที ่จดัสรร ให กบั โรงเรยีน แตละ โรงเรียน จะ จัดสรร จาก หนวย งาน สวน กลาง ไป ยัง สถาน ศึกษา โดย ผาน เขต พื้นที่ การ ศึกษา โดย หนวย งาน สวน กลาง จะ เปน ผู พจิารณา กรอบ วงเงนิ งบ ประมาณ และ จดัสรร เงนิ อยางไร กต็าม เนือ่งจาก งบ ประมาณ หมวด เงนิ เดอืน คร ูและ งบ ลงทนุ ยงั ถกู แยก ออก จาก สูตร การ จัดสรร เงิน ดัง กลาว โดยท่ี เงิน งบ ประมาณ ทั้ง สอง สวน ดงั กลาว คดิ เปน สดัสวน กวา รอย ละ 85 ของ งบ ประมาณ ราย ป โดย เฉลี่ย ทำให เงิน สวน ที่ เหลือ มี จำนวน นอย มาก จน ไม สราง ความ แตก ตาง จาก ระบบ เดิม อยาง มี นัย สำคัญ

การ พิจารณา จัดสรร เงิน อุดหนุน ราย หัว ใน ระดับ ขั้น พื้น ฐาน โดย ผาน ความ ตองการ ของ ผู เรียน (Supply Side) ใน ระดับ อดุมศกึษา ตอง ลด ความ เหลือ่ม ลำ้ ที ่สง ผล ให เกดิ ความ เหลือ่ม ลำ้ ของ การก ระ จาย ราย ได ทั้งนี้ ควร พิจารณา จาก ความ เหล่ือม ล้ำ ของ การ ศกึษา กลาว คอื กลุม ผู เรียน ท่ี อยู ใน สถาน ศกึษา ขนาด เล็ก และ หาง ไกล ซึ่ง มี ความ ตองการ และ ความ จำเปน ที่ ควร ได รับ การ พัฒนา สูง กวา สถาน ศึกษา ที่ ตั้ง อยู ใน เมือง รวม ทั้ง ผู เรียน ใน สถาบัน อุดมศึกษา ที่ ตั้ง อยู ใน ภูมิภาค

ดาน การ พัฒนา และ การ สราง กำลัง แรงงาน ให สอดคลอง กับ ความ ตองการ ใน การ พัฒนา ประเทศ โดย เฉพาะ แรงงาน ระดับ กลาง ซึ่ง เปน ผลผลิต ของ การ ศึกษา ดาน อาชีวศึกษา ควร สนบัสนนุ และ พฒันา ให เปน แรงงาน ที ่ม ีฝมอื เพราะ เปน แรงงาน ที ่สำคัญ และ เปนก ลุม ที ่ม ีขนาด ใหญ ทีส่ดุ ซึง่ เปน ปจจัย สำคัญ ใน การ พฒันา ประเทศ หาก ม ีการ สนบัสนนุ และ พฒันา แรงงาน กลุม นี ้ให มาก ขึ้น ก็ จะ ทำให ความ เหลื่อม ล้ำ ของ การก ระ จาย ราย ได ลด ลง

Page 194: Inequality in Thailand: An Introduction

194 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

การ เสริม สราง โอกาส ทางการ ศึกษา ใน ระดับ อุดมศึกษา ผาน กองทุน กู ยมื ที ่ผกูพนั กบั ราย ได ใน อนาคต (กรอ.) ซึง่ ม ีแนวคิด วา คา ใช จาย ใน การ ศึกษา ควร จะ เปน ภาระ ของ ผู เรียน มากกวา ผู ปกครอง กลาว คือ ผู เรียน กู ยืม จาก รัฐ เมื่อ จบ แลว มี งาน ทำ จึง ใช คืน รัฐ แต ประเด็น ที่ นา พิจารณา ตอ มา คือ กรอ. ไม ได จำกัด การ กู ยืม ให คน ยากจน เทาน้ัน นักศึกษา อุดมศึกษา ทุก สถาบันไม วา รวย หรือ จน สามารถ กู ยืม ได เพราะ ถือวา เปน สิทธิ หาก ผู กู สวน ใหญ ไม ยากจน เปา หมาย ของ การ ลด ความ เหลื่อม ล้ำ ของ การก ระ จาย ราย ได อาจ ไม บรรลุ เปา หมาย แต ใน แง ดี คือ จะ เปนการ สง เสริม ให มี การ พัฒนา ทุน มนุษย มาก ขึ้น

ใน การ ใช จาย ของ รัฐ สำหรับ ระดับ การ ศึกษา ขั้น พื้น ฐาน โครงการ เรยีน ฟร ี12 ป ควร ม ีการ ควบคมุ ไม ให สถาบนั การ ศกึษา แตละ แหง ผนั ภาระ คา ใช จาย ไป อยู ใน รปู “เงนิ อดุหนนุ การ ศกึษา” รูป แบบ ตางๆ ที่ ทั้ง อาจ ไมมี ความ จำเปน ตอ เด็ก ทำให โครงการ เรียน ฟรี “ไม ฟรี จริง” และ เด็ก ยงั อาจ ไม ได รบั ประโยชน เทยีบ เทา เม็ด เงิน ที่ สูญ เสีย ไป และ ตอง บรรเทา ความ เหล่ือม ล้ำ ที่ เกิด จาก การ ให เงิน “แปะเจี๊ยะ” และ ระบบ เสน สาย เด็ก ฝาก

ใน สวน ของ หลักสูตร การ ศึกษา ควร มี การ พัฒนา ให โรงเรียน ทั่ว ประเทศ มี มาตรฐาน เดียวกัน หรือ อยาง นอย คือ ใกล กนั ให มาก ทีส่ดุ เพือ่ ไม ให เกดิ ความ เหลือ่ม ลำ้ ใน พืน้ ฐาน ความ รู ที ่ตอง ใช กบั ขอสอบ เขา ศกึษา ตอ ใน ระดบั อดุมศึกษา ที ่ใช มาตรฐาน เดียวกัน ทั้ง ประเทศ

ใน ระดับ ที่ แยก ยอย ลง มา อีก ควร มี การ รับรอง รับ สถานะ การ ศึกษา ของ ปอเนาะ โดย เทียบ วุฒิ ผู ที่ จบ การ ศึกษา จาก

Page 195: Inequality in Thailand: An Introduction

195สฤณี อาชวานันทกุล

ปอเนาะ กับ การ ศึกษา ใน ระบบ เพื่อ เปด โอกาส ให ผู ที่ จบ การ ศึกษา ที่ มี ลักษณะ เปน “การ ศึกษา ทาง เลือก” สามารถ ประกอบ อาชีพ ได เฉก เชน เดียวกัน กับ ผู ที่ จบ การ ศึกษา ใน ระบบ หรือ หาก จะ จัดการ ศึกษา ใน รูป แบบ ของ “โรงเรียน เอกชน อิสลาม” ที่ รัฐ รบัรอง และ ม ีการ สอน ควบคู กนั ไป ทัง้ หลกัสตูร ทัว่ไป และ หลกัสตูร ตาม ศาสนา อสิลาม ก ็ตอง ม ีการ รวม กนั ออกแบบ หลกัสตูร ที ่เปน ที่ ยอมรับ ของ ชาว มุสลิม ดวย

ใน สวน ของ เด็ก พิการ หรือ ทุพพลภาพ หาก ไม ราย แรง จน ไม สามารถ เรียน รวม กับ ผู อื่น ได ก็ ควร สง เสริม ให ได เรียน รวม กับ เดก็ ปกต ิแต หาก ไม ได ก ็ควร ม ีการ จดัการ ศกึษา แบบ “โฮม สคลู” (Home School) ที่ เปนการ สอน ที่ บาน โดย อาจ เปนการ สอน โดย พอ แม ผู ปกครอง เอง หรือ โดย บุคลากร ของ รัฐ และ จัด ให มี การ ประเมิน ผล ตาม วาระ ที่ สมควร

ทาย ที่สุด รัฐ ควร สง เสริม ให มี การ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย ใน รูป แบบ ตางๆ ที่ หลาก หลาย รวม ทั้ง การ ศึกษา นอก ระบบ สื่อ และ เทคโนโลยี สมยั ใหม อยาง เชน อนิเทอรเนต็ รวม ทัง้ การ ศกึษา ทาง ไกล และ การ ศึกษา ทาง เลือก ใน ทอง ถิ่น ที่ จัด โดย ชุมชน และ เพื่อ ชุมชน

3.1.2) บริการ สาธารณสุขปจจุบัน สิทธิ ใน การ รักษา พยาบาล ครอบคลุม คน ไทย ทั้ง

ประเทศ ผาน 3 กลไก คือ 1) โครงการ หลัก ประกัน สุขภาพ ถวน หนา 2) สวัสดิการ ขาราชการ และ พนักงาน รัฐวิสาหกิจ และ 3) โครงการ ประกัน สังคม และ กองทุน ทดแทน ทวา ใน ความ

Page 196: Inequality in Thailand: An Introduction

196 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ครอบคลุม โดย หลัก การ นั้น (ซึ่ง หมายความ วา ยัง ไม ตอง พูด ถึง ความ ครอบคลุม ใน ทาง ปฏิบัติ) ก็ ยัง มี ความ เหลื่อม ล้ำ ปรากฏ อยู ดัง จะ เห็น ได จาก งาน วิจัย ที่ อาง ถึง ใน บท นี้ ที่ อธิบาย วา กลุม คน ที่ มี ฐานะ ดี (โดย เฉพาะ รอย ละ 20 ของ กลุม ที่ มี ฐานะ ดี ที่สุด) สามารถ เขา ถึง และ ได รับ ประโยชน จาก การ ใช จาย ดาน สาธารณสุข ของ รัฐ มากกวา กลุม อื่นๆ โดย มาก เน่ือง มา จาก การ ใช สทิธ ิของ ขาราชการ ใน ระบบ สวสัดกิาร ขาราชการ ซึง่ ปจจบุนั ม ีจำนวน 5 ลาน คน ใน ขณะ ที ่ประชาชน ที ่ม ีสทิธ ิรบั บรกิาร ใน ระบบ ประกัน สุขภาพ ถวน หนา (บัตร ทอง) มี จำนวน ถึง 47 ลาน คน

นอกจาก นี้ ดัง ที่ ได กลาว ใน บท นี้ วา สวัสดิการ ขาราชการ ปจจุบัน ครอบคลุม ทั้ง การ จาย “ยา ใน บัญชี ยา หลัก แหง ชาติ” และ “ยาน อก บัญชี ยา หลัก แหง ชาติ” ใน ขณะ ที่ สิทธิ ใน การ รักษา พยาบาล อีก 2 ประเภท จะ ครอบคลุม เฉพาะ ยา ใน บัญชี ยา หลักฯ เทานั้น ซึ่ง ยาน อก บัญชี ยา หลักฯนั้น มัก จะ เปน ยา ใหม ที่ มี ราคา แพง รวม ทั้ง อาจ ไมมี หลัก ฐาน ความ ปลอดภัย ใน การ ใช ระยะ ยาว การ ที่ ขาราชการ ได สิทธ์ิ ใน การ รับ ยา โดย ไม ตอง จาย เงิน และ ไมมี กล ควบคุม การ จาย ยา สง ผล ให งบ ประมาณ ใน สวน ของ สวัสดิการ ขา รา ชกา รฯ สูง ขึ้น ทุก ป และ ซ้ำ เติม ความ เหล่ือม ล้ำ ใน การ คา ใช จาย ของ รัฐ ดาน สุขภาพ ดัง นั้น จึง มี การ ควบคุม การ จาย ยา ใน สวน นี้ ให มี ประสิทธิภาพ มาก ขึ้น และ จาย เฉพาะ ยา ที่ จำ เปน จริงๆ เทานั้น

ใน การ แกไข ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน การ เขา ถึง บริการ รัฐ ดาน สาธารณสุข ควร แกไข โดย ตั้ง อยู บน ฐาน คิด ที่ ได รับ การ รับรอง ใน รัฐธรรมนูญ วา คน ทุก คน เปน มนุษย เหมือน กัน ไม วา จะ มี ฐานะ

Page 197: Inequality in Thailand: An Introduction

197สฤณี อาชวานันทกุล

เชน ไร ประกอบ อาชีพ อะไร ก็ ตาง มี สิทธิ ที่ จะ ได รับ การ รักษา ที่ มี คุณภาพ อยาง เทา เทียม กัน โดย ไม แบง แยก ปญหา ที่ สำคัญ ที่สุด ที่ ควร พิจารณา คือ การ ที่ ประชาชน สวน ใหญ ยัง ไม สามารถ เขา ถึง บริการ การ รักษา พยาบาล ที่ มี ประสิทธิภาพ ได อยาง เทา เทียม กัน ซึ่ง อาจ เปน เพราะ ขอ จำกัด เรื่อง งบ ประมาณ การก ระ จาย ตัว ของ สถาน รักษา พยาบาล ปริมาณ บุคลากร ที่ ทำให ประชาชน ใน พื้นที่ หาง ไกล ไม สามารถ เขา รับ บริการ การ รักษา พยาบาล ที่ มี ประสิทธิภาพ เทียบ เคียง กับ ประชาชน ที่ อยู ใน เขต เมือง เหลา นี้ ลวน เปน ปญหา ที่ ควร ได รับ การ บรรเทา อยาง ตอ เน่ือง เพ่ือ ลด ความ เหลื่อม ล้ำ ใน ดาน การ เขา ถึง บริการ สาธารณะ ดาน การ รักษา พยาบาล

3.1.3) คมนาคมจาก การ วิเคราะห ผล ประโยชน จาก ราย จาย ของ ภาค รัฐ

แบง ตาม กลุม ราย ได และ ตาม ภูมิภาค พบ วา ผล ประโยชน จาก ราย จาย ของ ภาค รฐั สวน ใหญ ตก สู รถยนต สวน บคุคล โดย เฉพาะ คา ใช จาย ใน การ สราง และ บำรงุ รกัษา ถนน สวน ที ่ตก สู ระบบ ขนสง สาธารณะ ม ีสดัสวน นอย ทัง้ ที ่ระบบ ขนสง สาธารณะ เปน ระบบ ที ่คน ราย ได นอย สามารถ ใช บรกิาร ได (ไม จำเปน ตอง ม ีรถยนต เปน ของ ตวั เอง) สะทอน วา ปจจบุนั นโยบาย ของ ภาค รฐั ที ่สง เสรมิ การ ใช งาน รถยนต สวน บุคคล มากกวา ระบบ ขนสง สาธารณะ และ ทำให สดัสวน ผล ประโยชน จาก ราย จาย ของ ภาค รฐั ตก สู ประชาชน ที่ มี ราย ได สูง เปน สวน ใหญ

อยางไร ก็ ดี การ ที่ รัฐ สวน กลาง ให เงิน อุดหนุน ใน สวน ของ

Page 198: Inequality in Thailand: An Introduction

198 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

การ ขนสง สาธารณะ ผาน การ ดำเนิน งาน ของ ข สมก. ทำให เกิด การก ระ จาย ผล ประโยชน แก กลุม ราย ได ตางๆ ใน กรุงเทพฯ ดี กวา การก ระ จาย ผล ประโยชน ของ ภูมิ ภา คอ่ืนๆ ซึ่ง ภาค รัฐ ยัง ไมมี นโยบาย สนับสนุน ระบบ ขนสง สาธารณะ ดวย เหตุ นี้ การ ลด ความ เหลื่อม ล้ำ ที่ สำคัญ จึง ตอง อาศัย การก ระ จาย คา ใช จาย ไป สู การ สราง ระบบ ขนสง สาธารณะ ใน ภูมิ ภา คอ่ืนๆ ดวย ซึ่ง หนวย งาน ทอง ถิ่น ควร มี สวน รวม ใน การ สนับสนุน โดย ระบบ ขนสง สาธารณะ ที่ ควร ได รับ การ สนับสนุน ไดแก รถ โดยสาร ประจำ ทาง เนื่องจาก มี ราคา ถูก และ ประชาชน สามารถ เขา ถึง ได งาย นอกจาก นี้ ยัง ควร ลงทุน ใน โครงสราง พื้น ฐาน ดาน รถไฟ เพือ่ เปนการ กระจาย ผล ประโยชน สู ประชาชน ที ่ม ีราย ได นอย และ การ วาง โครงการ ระยะ ยาว อยาง รถไฟ ความเร็ว สูง ที่ สามารถ เดิน ทาง สู ภูมิภาค โดย ใช เวลา นอย และ ชวย ให พื้นที่ เศรษฐกิจ กระจาย ตัว ออก จาก กรุงเทพฯ อัน จะ ชวย สนับสนุน ให เกิด การก ระ จาย ราย ได ดวย

ใน การ นี ้สิง่ ที ่ควร ทำ ควบคู กนั ไป อาจ เปนการ ผลกั ดนั การ จัด เก็บ ภาษี รูป แบบ ใหมๆ ออก ใช กับ รถยนต นั่ง สวน บุคคล เพ่ือ ลด ปญหา การ จราจร แออัด และ เพิ่ม แรง จูงใจ ให ใช บริการ ขนสง สาธารณะ เชน การ เพิ่ม ภาระ ของ คา จอด รถ ใน สถาน ที่ ตางๆ โดย อาจ มี การ ออกแบบ ภาษี ขึ้น ใช กับ อาคาร ที่ มี ที่ จอด รถ หรือ ที่ จอด รถ ตางๆ ที่ มี การ เก็บ คา จอด โดย จัด เก็บ แยก ออก มา จาก ภาษี เงนิ ได ปกต ิหรอื อาจ ม ีการ จดั เกบ็ ภาษ ีรถยนต นัง่ สวน บคุคล ราย ป ควบคู ไป ดวย

Page 199: Inequality in Thailand: An Introduction

199สฤณี อาชวานันทกุล

3.2) สิทธิ และ โอกาส ใน การ ได รับ ความ ยุติธรรมดัง ที่ ได กลาว ไป แลว วา ปญหา ของ คนจน ใน การ เขา ถึง

กระบวนการ ยุติธรรม มี ตั้งแต ฐานะ ที่ ยากจน (ทำให ไมมี เงินสด หรอื หลกั ทรพัย ที ่ใช ใน การ ยืน่ ประกัน ตวั และ ไมม ีเงนิ มาก พอ จะ จาง ทนายความ) การ ขาด ความ รู ความ เขาใจ ใน สิทธิ ของ ตนเอง และ ขอ กฎหมาย (อาจ ทำให ตอง รับ ผิด ใน คดี ที่ ตนเอง ไม ได มี ความ ผิด) และ การ เลือก ปฏิบัติ หรือ ปญหา “สอง มาตรฐาน” ใน กระบวนการ พิจารณา (เชน ออก เอกสาร สิทธิ์ ให แก นายทุน หรือ นักการ เมือง ได แต ฟอง ชาว บาน ใน ขอหา บุกรุก ใน กรณี เดียวกัน หรือ พิจารณา คดี โดย ยึด หลัก นิติ รัฐ อยาง เครงครัด แต ขาด หลัก นติธิรรม สง ผล ให กระบวนการ ยตุธิรรม เหล่ือม ลำ้ ไป ใน ทาง ที ่เอือ้ ประโยชน ตอ กลุม ทุน หรือ หนวย งาน รัฐ มากกวา ชาว บาน)

การ จะ แกไข ปญหา ความ เหลื่อม ล้ำ ใน การ ได รับ ความ ยุติธรรม ตอง ทำการ แกไข ปญหา ใน ทั้ง 3 ดาน ดัง กลาว ควบคู กัน ไป การ มี องคกร หรือ กลไก ที่ จะ คอย ให ความ ชวย เหลือ คดี ความ ของ คนจน มี ความ จำเปน โดย รัฐ อาจ สนับสนุน งาน ของ สภา ทนายความ และ ทนาย อาสา ตางๆ ที่ ทำงาน ลักษณะ นี้ อยู แลว เพือ่ ให คนจน ที ่ตอง คด ีความ ได รบั รู และ เขาใจ ใน ขอ กฎหมาย รวม ทัง้ สทิธิ ที ่ตนเอง พงึ ม ีพงึ ได ใน คด ีความ นัน้ๆ นอกจาก นี ้ควร ม ีการ เผย แพร ประชาสัมพันธ ความ รู ความ เขาใจ ตลอด เวลา ไมใช เฉพาะ เมื่อ เกิด มี คดี ความ

นอกจาก นี้ ยัง ควร ดำเนิน การ ใน ลักษณะ กองทุน ที่ จะ คอย ดูแล เรื่อง เงิน หรือ ทรัพยสิน ที่ ตอง ใช ใน ประกัน ตัว เพ่ือ ไม ให ตอง ถูก คุม ขัง กอน มี การ พิจารณา คดี ใน ช้ัน ศาล และ เมื่อ ขึ้น

Page 200: Inequality in Thailand: An Introduction

200 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ศาล แลว ก็ ควร มี การ จัดหา ทนายความ ซึ่ง ตอง มี เกณฑ ใน การ พิจารณา เปน กรณีๆ ไป เพื่อ ให เกิด ประสิทธิภาพ ใน การ ใช จาย และ ดำเนิน งาน ของ องคกร นอกจาก นี้ กองทุน จะ ตอง เปน ผู จาย เงิน โดยตรง ให กับ หนวย งาน ที่ เกี่ยวของ ไมมี การ จาย เงิน ให กับ ผู ที่ ตก เปน คดี ความ เพื่อ ไม ให เกิด ปญหา การนำ เงิน ไป ใช ใน เรื่อง อื่น ที่ ไม เกี่ยวของ กับ คดี ความ

ใน สวน ของ การ พจิารณา คดี โดย เฉพาะ คดี ที ่เปน ขอ พพิาท ระหวาง ชาว บาน ใน พื้นที่ กับ กลุม ทุน หรือ กับ หนวย งาน รัฐ องค ความ รู เรื่อง “สิทธิ ชุมชน” เปน สิ่ง ที่ ควร รวม อยู ใน หลัก เกณฑ ใน การ พิจารณา คดี ดวย ซึ่ง นา จะ ชวย ให ชาว บาน ที่ ถูก ฟอง รอง มี สวน ได รบั การ พจิารณา ใน ฐานะ ผู เสยี หาย ไมใช แต เพยีง ใน ฐานะ ผู ตองหา เทานั้น

นอกจาก นี้ กฎหมาย ใด ก็ตาม ที่ มี บทบัญญัติ ไม เปน ธรรม จน ซ้ำ เติม ความ เหล่ือม ล้ำ ใน ทาง ปฏิบัติ กลาว คือ ใช ขอความ ที่ ครอบคลุม เกิน ไป จน เปด ชอง ให ผู ไม ประสงค ดี ฉวย โอกาส ใช เพื่อ กลั่น แกลง ผู คิด ตาง ทางการ เมือง ลิดรอน สิทธิ เสรีภาพ ใน การ แสดง ความ คิด เห็น ของ ประชาชน หรือ มี บท ลงโทษ ที่ รุนแรง เกิน ฐาน ความ ผิด ก็ ควร ได รับ การ ปรับปรุง แกไข ให มี ความ เปน ธรรม มาก ขึ้น

3.3) สทิธิ และ โอกาส ของ เดก็ เยาวชน สตร ีผู สงู อาย ุคน พิการ และ ผู ดอย โอกาส

ดัง กลาว ไป แลว วา ประเทศไทย มี เด็ก ทารก เพียง รอย ละ 5 ที่ ได ดื่ม น้ำนม แม เพียง อยาง เดียว ใน ชวง 6 เดือน แรก ของ การ

Page 201: Inequality in Thailand: An Introduction

201สฤณี อาชวานันทกุล

เจรญิ เตบิโต ปญหา ดงั กลาว เกดิ จาก ทัง้ การ ที ่ผู เปน แม ไมม ีความ รู ความ เขาใจ ถึง ความ สำคัญ ของ การ ให นม แม ทั้ง ใน แง สาร อาหาร และ สาย สัมพนัธ แม ลูก และ สาเหตุ อีก ประการ หน่ึง ก็ คือ สภาพ เศรษฐกิจ และ สังคม ที่ บีบ คั้น ผู เปน แม ให ตอง ออก ไป ทำงาน จน ไมมี โอกาส ให นม ลูก

ใน การ แกไข ปญหา ดัง กลาว โรง พยาบาล ตางๆ ควร มี การ ให ความ รู ความ เขาใจ ถึง ความ สำคัญ ของ การ ให น้ำนม แม แก เด็ก รวม ทัง้ ตอง ม ีการ แนะนำ การ ให นม ที ่ถกู วธิ ีใน ขณะ เดยีวกัน กรณี ที ่แม ทำงาน ใน สถาน ประกอบ การ ทาง เศรษฐกิจ ตางๆ ควร ม ีการ จดั พืน้ที ่สำหรับ ให นม ลกู ซึง่ ตอง ทำ ควบคู ไป กบั การ ม ีสถาน ที ่และ เจา หนาที่ ดูแล เด็ก ที่ ผู เปน แม ทำงาน ใน สถาน ประกอบ กา รนั้นๆ นำ มา ฝาก ไว หรอื อยาง นอย ทีส่ดุ ควร ม ีพืน้ที ่ให ผู เปน แม สามารถ ปม นำ้นม และ ม ีตู เยน็ สำหรบั เกบ็ รกัษา นำ้นม เพือ่ สามารถ นำ กลบั ไป ให ลกู ได โดย ใน การณ นี ้รฐั อาจ สราง แรง จงูใจ โดย ให นำ ตนทนุ ใน สวน นี้ ไป หัก ภาษี ได ใน ฐานะ ที่ เปน กิจกรรม เพื่อ สังคม ทวา ก็ ตอง มี การ ควบคุม ดูแล ให ดี เพื่อ ไม ให กลาย เปน ชอง ทางใน การ หลบ เลี่ยง ภาษี ดวย

ปญหา “ครอบครัว แหวง กลาง” คือ ผู สูง อายุ เลี้ยง ดู หลาน อยู กับ บาน ใน ชนบท ขณะ ที่ ผู ปกครอง วัย ทำงาน ไป ทำงาน ใน เมือง (โดย มาก ที่ กรุงเทพฯ) เปน ปญหา เชิง โครงสราง ที่ มี ราก มา จาก ความ เหล่ือม ล้ำ ดาน เศรษฐกิจ กลาว คือ หนุม สาว นับ ลาน คน เดิน ทางออก จาก ชนบท มา หา งาน ทำ ใน เมือง เหมือน กับ พิชัย ใน บทนำ เนื่องจาก ใน เมือง มี โอกาส หา งาน ราย ได ดี มากกวา ใน ชนบท มาก วิธี แก ปญหา ที่ ยั่งยืน จึง อยู ที่ การ ลด ความ เหลื่อม ล้ำ

Page 202: Inequality in Thailand: An Introduction

202 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ดาน เศรษฐกิจ เชน ดวย การก ระ จา ยการ ลงทุน ไป สู ชนบท ให มาก ขึน้ เพือ่ สง เสรมิ เศรษฐกจิ ทอง ถิน่ ให เตบิโต สราง โอกาส ทาง เศรษฐกิจ ให กับ คน หนุม สาว ลด แรง จูงใจ ที่ จะ เขา มา หา งาน ทำ ใน เมือง สวน มาตรการ แก ปญหา ใน ระยะ สั้น และ กลาง คือ การ เพิม่ มาตรการ ดแูล เดก็ และ ผู สงู อายุ ใน ครอบครัว แหวง กลาง เชน เพิ่ม โอกาส ใน การ เขา ถึง “เบี้ย ยังชีพ คน ชรา” จัด ตั้ง ศูนย เด็ก เล็ก ใน ชุมชน ทั่ว ประเทศ ที่ ได คุณภาพ และ เพิ่ม การ สนับสนุน อาสา สมัคร สาธารณสุข ประจำ หมูบาน (อสม.)

การ แก ปญหา เด็ก และ เยาวชน ที่ เปน ปญหา เชิง พฤติกรรม ไม วา จะ เปน ปญหา เด็ก ติด ยา เสพ ติด ทอง ไม พรอม หรือ ติด เกม ลวน ตอง เริ่ม จาก การก ลับ ดาน ทัศนคติ กระแส หลัก ใน สังคม เสีย ใหม จาก ที่ มัก จะ ประณาม และ ทอด ทิ้ง “เด็ก มี ปญหา” แต เชิดชู และ ทุมเท ทรัพยากร ให กับ “เด็ก ดี” ที่ ตั้งใจ เรียน มา เปน ความ เขาใจ วา แทจริง เด็ก และ เยาวชน เปน วัย ที่ ตองการ ความ รัก และ ความ เอาใจ ใส เด็ก ยิ่ง “มี ปญหา” ยิ่ง ตองการ การ ดูแล เปน พิเศษ เพื่อ ไม ให เขา มี ปญหา มาก ขึ้น จน ยาก แก การ เยียวยา นอกจาก นี้ สงัคม ควร เปด ใจ ยอมรบั ใน คา นยิม และ วถิ ีชวีติ ของ วยั รุน ที ่เปลีย่น ไป ทั้ง ใน เรื่อง ของ รสนิยม ทาง เพศ และ การ ให ความ สำคัญ กับ “โลก เสมือน” ใน อินเทอรเน็ต ซึ่ง เปน ดาบส อง คม ไม ตาง จาก โทรทัศน และ เกม ซึ่ง มัก จะ ถูก ประณาม วา เปน “ตน เหตุ” ของ เด็ก ที่ มี ปญหา

การ เปด ใจ ให กวาง พยายาม ทำความ เขาใจ กบั วถิ ีชวีติ ของ วัย รุน โดย ไม ตัดสิน หรือ ตี กรอบ ดวย มาตร วัด ทาง ศีล ธรรม ที่ คับ แคบ จะ ชวย ให มอง เห็น ทาง เลือก ตางๆ ใน การ แก ปญหา เด็ก

Page 203: Inequality in Thailand: An Introduction

203สฤณี อาชวานันทกุล

และ เยาวชน โดย เฉพาะ ทาง เลือก ที่ เนน การ หวาน ลอม จูงใจ ใหการ ศึกษา ให เวลา ดูแล และ สราง “พื้นท่ี คุณภาพ” ให เด็ก ได มี ทาง เลือก ใน การ ทำ กิจกรรม มากกวา การ ปด กั้น ประณาม หรือ สัง่ หาม ซึง่ ลวน แต เปน วธิ ีที ่ไม นา จะ ชวย แก ปญหา ได มาก นกั เน่ืองจาก เด็ก และ เยาวชน เปน วยั ที ่อยาก รู อยาก เห็น และ ตอ ตาน การ บังคับ ขืนใจ เปน ธรรมชาติ ยิ่ง หาม ก็ เหมือน ยิ่ง ยุ และ เด็ก ที่ มี ความ ปราด เปรียว เฉลียว ฉลาด ยอม หา หนทาง หลบ เลี่ยง การ หาม ไป ได เสมอ

กรณี ผู สูง อายุ เพื่อ ให ประชากร ที่ ปจจุบัน เปน ผู สูง อายุ มี ราย ได และ ไม ตอง ประสบ ปญหา สขุภาพ จติ เนือ่งจาก ความ เสือ่ม ถอย ใน ดาน ตางๆ ตาม ความ ชรา ของ ตน ควร ม ีการ ดงึ ศกัยภาพ ที ่ผู สงู อาย ุม ีอยู มา ใช โดย สนบัสนนุ ผู สงู อาย ุเปน ผู ถายทอด ความ รู หรือ ทักษะ ดาน ตางๆ ให กับ ผูคน ใน ชุมชน หรือ แนะนำ การ ประกอบ อาชีพ ดาน ตางๆ ที่ เหมาะ สม แก สภาพ สวน ใน ระยะ ยาว ควร มี การ สนับสนุน “การ ศึกษา ตลอด ชีวิต” เพื่อ เปนการ เพิ่ม ทุน มนุษย ให กับ ผู สูง อายุ

นอกจาก มาตรการ ดแูล ผู สงู อาย ุที ่ม ีราย ได นอย การเต ร ียม พรอม ทาง ดาน การ เงิน สำหรับ สังคม ผู สูง อายุ ก็ เปน สิ่ง จำเปน เปา หมาย หลัก อยู ที่ การ มอบ หลัก ประกัน ให ประชาชน เกษียณ อายุ โดย มี ระดับ ราย ไดที่ เพียง พอ และ มี ระดับ คุณภาพ ชีวิต ไม ดอย กวา ตอน ที่ ยัง ทำงาน อยู ปจจุบัน ระบบ บำเหน็จ บำนาญ ของ ไทย ที ่ม ีอยู ครอบคลมุ ประชากร ได เพยีง ประมาณ รอย ละ 30 ของ แรงงาน ทั้ง ประเทศ (ประมาณ 10.5 ลาน คน จาก 35 ลาน คน) ซึ่ง สวน ใหญ เปน แรงงาน ใน ระบบ ดัง นั้น แรงงาน นอก ระบบ จึง มี

Page 204: Inequality in Thailand: An Introduction

204 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

ความ เสี่ยง ตอ สภาวะ ขาด ราย ได หลัง เกษียณ อายุ ทำให มี ความ จำเปน ที ่รฐับาล จะ มนี โย บาย สง เสรมิ “ทกัษะ การ อาน ออก เขยีน ได ทางการ เงิน” (Financial Literacy) อยาง จริงจัง ตั้งแต ระดับ ประถม ศึกษา เพื่อ สราง ศักยภาพ และ วินัย ใน การ บริหาร จัดการ เงิน ออม และ หนี้ สิน สวน บุคคล ตลอด จน เรง บังคับ ใช กฎหมาย “กองทุน บำเหน็จ บำนาญ แหง ชาติ” โดย เร็ว เพื่อ ให หลัก ประกัน การ ออม ครอบคลุม แรงงาน ทุก กลุม

ดาน ผู พิการ ปญหา หลัก อยู ที่ การ ไมมี งาน ทำ ของ ผู พิการ กวา 1.17 ลาน คน หรือ รอย ละ 64.8 ของ ผู พิการ ทั้งหมด สง ผล ให ขาด ความ มั่นคง ใน ชีวิต และ ศักด์ิศรี ควร แกไข ดวย การ เพ่ิม ทรัพยากร และ กลไก สนับสนุน ผู พิการ ใน ระบบ การ ศึกษา และ ชวย หา งาน และ ฝก ทักษะ ที่ จำเปน สวน หนึ่ง ดวย การ สนับสนุน “ธุรกิจ เพื่อ สังคม” เพื่อ ผู พิการ อยาง เชน บริษัท Digital Divide Data ใน กัมพูชา ซึ่ง รับ แต ผู พิการ เขา ทำงาน เปน พนักงาน แปลง เอกสาร ให เปน ดิจิทัล พรอม ทั้ง ออกทุน สนับสนุน ให ผู พิการ เขา เรียน หลักสูตร ระดับ อุดมศึกษา ภาค ค่ำ ระหวาง ที่ ทำงาน เพื่อ ให ผู พกิาร ได ม ีความ รู และ ทกัษะ เพยีง พอที ่จะ หา งาน ใหม ที ่ม ีราย ได ดี กวา เดิม ใน อนาคต

ดาน แรงงาน ตางดาว ปญหา หลัก อยู ที่ การ ถูก ละเมิด สิทธิ โดย นายจาง และ เลือก ปฏิบัติ โดย เจา หนาที่ รัฐ การ แก ปญหา เชิง โครงสราง อยาง ยั่งยืน ควร ตอง เริ่ม จาก การ เปลี่ยน ทัศนคติ ของ นายจาง และ เจา หนาท่ี รฐั วา แรงงาน ตางดาว นอกจาก จะ ตอง ได รับ การ คุมครอง สิทธิ มนุษย ชน ตาม หลัก สากล แลว ยัง เปน กำลัง สำคัญ ที่ ขับ เคลื่อน เศรษฐกิจ ไทย สมควร ได รับ การ คุมครอง สิทธิ

Page 205: Inequality in Thailand: An Introduction

205สฤณี อาชวานันทกุล

แรงงาน เฉก เชน คน ไทย ทั่วไป

3.4) สิทธิ ใน การ เรียก รอง ของ ประชาชน และ การ ตอบ สนอง จาก ภาค รัฐ

ดัง ที่ ได กลาว ไป แลว ใน บท นี้ วา ปจจุบัน มี ความ เหล่ือม ล้ำ ใน การ ตอบ สนอง จาก ภาค รัฐ คอน ขาง มาก ระหวาง ประชาชน กับ นัก ธุรกิจ หรือ นักการ เมือง คนจน มัก จะ ตอง ลงเอย ดวย การ ไป ประทวง ปด ถนน เพือ่ เรยีก รอง ความ สนใจ หลงั จาก ที ่เรยีก รอง ทา งอ่ืนๆ แลว ไม ได รับ การ ตอบ สนอง ขณะ ที่ นัก ธุรกิจ หรือ นักการ เมือง มัก จะ “นัด กิน ขาว” กับ เจา หนาที่ รัฐ ระดับ สูง ได อยาง งายดาย

ใน ความ เปน จริง เรา คง ไม สามารถ ทำให ประชาชน ทุก คน สามารถ นัด กิน ขาว กับ เจา หนาท่ี รัฐ ได แต ควร ตอง เปลี่ยน ทัศนคติ ใน การ ตอบ สนอง ตอ ประชาชน ที่ มอง วา ผู เรียก รอง ทุก คน เปน ประชาชน เหมือน กัน เพื่อ ไม ให คน กลุม ใด กลุม หนึ่ง มี โอกาส เขา ถึง เจา หนาที่ รัฐ มากกวา คน กลุม อื่น ซึ่ง สิ่ง ที่ จะ ตอง พัฒนา ควบคู กัน ไป ก็ คือ ระบบ การ ดำเนิน งาน ที่ มี ความ รวดเร็ว และ มี ประสิทธิภาพ การ มี ระบบ ประเมิน การ ทำงาน โดย วัด จาก ผล ของ การ ตอบ สนอง ขอ เรียก รอง แลว พิจารณา ให รางวัล หรือ ลงโทษ อาจ ชวย ให บคุลากร ของ หนวย งาน รฐั ม ีความ กระตอืรอืรน ใน การ ตดิตาม เรือ่ง รอง เรยีน ที ่รบั ไว มาก ขึน้ สง ผล ให กระบวนการ ตอบ สนอง การ รอง เรียน เปน ไป ดวย ความ รวดเร็ว มาก ขึ้น นอกจาก นี้ ใน การ พิจารณา เรื่อง รอง เรียน ยัง ควร พิจารณา โดย เอา ความ เดือด รอน ของ ผู รอง เรียน เปน ที่ ตั้ง ควบคู ไป กับ การ

Page 206: Inequality in Thailand: An Introduction

206 ความเหล่ือมล้ำฉบับพกพา

พจิารณา ตาม หลัก เกณฑ ตางๆ ที ่เกีย่วของ กบั เร่ือง ที ่ถกู รอง เรยีน อยาง มี การ ยืดหยุน เขาหา กัน และ ใน กรณี ที่ ไม อาจ ตอบ สนอง ขอ เรียก รอง ได ก ็ตอง มี คำ อธิบาย ที่ ทำให ผู เรียก รอง พึง พอใจ

ใน กรณี การ ชุมนุม ประทวง ที่ ทำให มี ผู เดือด รอน เชน ขาด โอกาส ใน การ ประกอบ อาชีพ เพราะ ถูก ผู ประทวง ปด ถนน การ เรงรัด ให รัฐ ออก กฎหมาย วา ดวย การ ชุมนุม ใน ที่ สาธารณะ นา จะ เปน สิง่ จำเปน เนือ่งจาก ที ่ผาน มา ม ีความ ไม ชดัเจน ใน ราย ละเอียด วา เสน แบง ระหวาง สิทธิ ของ ผู ชุมนุม ประทวง กับ สิทธิ ของ ผู อื่น นั้น ควร อยู ที่ ใด แต เหนือ สิ่ง อื่น ใด การ เปล่ียน ทัศนคติ ตอ การ ชุมนุม เปน หัวใจ สำคัญ แทนท่ี จะ มอง วา “การ ชุมนุม ประทวง จุด ชนวน ความ เดือด รอน” อยาง เดียว การ มอง มุม กลับ วา “ความ เดือด รอน จุด ชนวน การ ชุมนุม ประทวง” นา จะ เปน จุด เริ่ม ตน ที่ ดี และ เปน ทัศนคติ ที่ ควร รณรงค ให เกิด ทั้ง ใน ฝง รัฐ และ ประชาชน ทั่วไป ที่ ไม เห็น ดวย กับ การ ชุมนุม ดวย เหตุผล วา “สราง ความ เดอืด รอน” เพือ่ จะ ได เกดิ ความ ยนิดี ที ่จะ รบั ฟง และ เจรจา กบั กลุม ผู เรียก รอง อัน จะ นำ ไป สู การ ถก เถียง กัน เร่ือง ปญหา ตาม ขอ เรียก รอง วา ควร มี การ จัดการ กับ ปญหา นั้น หรือ ไม อยางไร ทั้งนี้ ทั้ง นั้น ส่ิง ท่ี พูด กัน มา นาน ก็ คือ “ความ จริงใจ ใน การ เขาไป แก ปญหา ของ รัฐ” นั่นเอง

Page 207: Inequality in Thailand: An Introduction
Page 208: Inequality in Thailand: An Introduction

ความ เหลื่อม ล้ำ ฉบับ พก พาส ฤณี อา ชวา นันท กุล

หมายเลข มาตรฐาน หนังสือISBN: 978-616-7374-22-2

บรรณาธิการ ณัฐ เมธี สัย เวช ฝาย ขอมูล อิสริยะ สัต กุล พิบูลย กอปร ทิพย อัจฉ ริ ยโส ภณ

ออกแบบ ปก และ รูป เลมณ ขวัญ ศรี อรุโณทัย

พิสูจน อักษรคีรีบูน วงษ ชื่น

พิมพ ครั้ง ที่ 1มีนาคม 2554

จำนวนพมิพ 3,000 เลม

ดำเนิน การ ผลิตเปน ไท พับลิช ชิ่ง0 2736 [email protected]

หนังสือ ชุด นี้ เปน สวน หน่ึง ของ โครงการ การ สำรวจ องค ความ รู เพื่อ การ ปฏิรูป ประเทศไทย โดย คณะ ทำงาน เครือ ขาย วิชาการ เพื่อ การ ปฏิรูป คณะ กรรมการ สมัชชา ปฏิรูป

จัดพิมพและเผยแพรโดยสำนักงานปฏิรูป (สปร.) 126/146 ชั้น 4 อาคาร 10 ชั้นสถาบันบำราศนราดูร ซอยติวานนท 14 ถนนติวานนท อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000โทรศัพท 0 2965 9531-3 โทรสาร 0 2965 9534 www.reform.or.th