17
Insulin รูปแบบยาและความแรง 1. Gensulin M 70/30 10 mL 2. Gensulin M 70/30 Penfill 3 mL 3. Gensulin N 100 IU/ml, 10 mL 4. Gensulin N Penfill 3 mL 5. Gensulin R 100 IU/ml, 10 mL 6. Gensulin R Penfill 3 mL 7. Humalog Mix 25 Penfill 3 mL 8. Humulin 70/30 10 mL 9. Humulin 70/30 Penfill 3 mL 10. Humulin N Penfill 3 mL 11. Humulin N 10 mL 12. Humulin R 10 mL 13. Insulatard Penfill 3 mL 14. Lantus Solostar Pre – filled pen 100 IU/ml, 3 mL 15. Levemir flexpen 100 IU/ml, 3 mL 16. Mixtard 30 10 mL 17. Mixtard 30 Penfill 3 mL 18. Novomix 30 Penfill 19. Novorapid penfill 100 IU/ml, 3 mL

Insulin - Rajavithi Hospital · Novorapid penfill 100 IU/ml, 3 mL ข้อบ่งใช้1-3 Type 1 diabetes mellitus Type 2 diabetes mellitus Gestational diabetes mellitus 1-4

  • Upload
    vukhanh

  • View
    242

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

เอกสารอางอิง

1. Micromedex® solutions [Database on the internet]. Colorado: Truven Health

Analytics Inc; c2017. DRUGDEX® System, heparin [cites 2017 Mar 12]. Available

from: http://www.micromedexsolutions.com

2. American Pharmacists Association. Drug Information Handbook with International

Trade name index. 23nd ed. Ohio: Lexicoimp Inc; 2014-2015. P.1002-6.

3. Heparin [cites 2017 Mar 13]. Available from: http://www.rxkinetics.com/heparin.html

4. Heparin [cites 2017 Mar 13]. Available from:

http://www1.si.mahidol.ac.th/km/sites/default/files/u11/Heparinupdate11122013.pdf

5. โรงพยาบาลศิรริาช คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด. คูมือปฏิบัติงานเกี่ยวกับยาที่มีความ

เสี่ยงสูง (High Alert Drugs: HAD) โรงพยาบาลศิริราช. พิมพครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ : 2 พฤษภาคม

2557. หนา 44-49.

6. Heparin [cites 2017 Mar 13]. Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/6993082

7. American Pharmacists Association. Drug Information Handbook with International

Trade name index. 23nd ed. Ohio: Lexicoimp Inc; 2014-2015. P.1764-5.

Insulin รูปแบบยาและความแรง

1. Gensulin M 70/30 10 mL2. Gensulin M 70/30 Penfill 3 mL3. Gensulin N 100 IU/ml, 10 mL4. Gensulin N Penfill 3 mL5. Gensulin R 100 IU/ml, 10 mL6. Gensulin R Penfill 3 mL7. Humalog Mix 25 Penfill 3 mL8. Humulin 70/30 10 mL9. Humulin 70/30 Penfill 3 mL10. Humulin N Penfill 3 mL11. Humulin N 10 mL12. Humulin R 10 mL13. Insulatard Penfill 3 mL14. Lantus Solostar Pre – filled pen 100 IU/ml, 3 mL15. Levemir flexpen 100 IU/ml, 3 mL16. Mixtard 30 10 mL17. Mixtard 30 Penfill 3 mL18. Novomix 30 Penfill19. Novorapid penfill 100 IU/ml, 3 mL

Insulin

40|คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง40 | คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง

Insulin

ชื่อยา ภาพยา Gensulin M 70/30 10 mL

Gensulin M 70/30 Penfill 3 mL

Gensulin N 100 IU/ml, 10 mL

Gensulin N Penfill 3 mL

ชื่อยา ภาพยาGensulin R 100 IU/ml, 10 mL

Gensulin R Penfill 3 mL

Humalog Mix 25 Penfill 3 mL

Humulin 70/30 10 mL

Insulin

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง|41คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง | 41

Insulin

ชื่อยา ภาพยาGensulin M 70/30 10 mL

Gensulin M 70/30 Penfill 3 mL

Gensulin N 100 IU/ml, 10 mL

Gensulin N Penfill 3 mL

ชื่อยา ภาพยา Gensulin R 100 IU/ml, 10 mL

Gensulin R Penfill 3 mL

Humalog Mix 25 Penfill 3 mL

Humulin 70/30 10 mL

Insulin

42|คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง42 | คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง

Insulin

ชื่อยา ภาพยา Humulin 70/30 Penfill 3 mL

Humulin N Penfill 3 mL

Humulin N 10 mL

Humulin R 10 mL

ชื่อยา ภาพยาInsulatard HM Penfill 3 mL

Lantus Solostar Pre – filled pen 100 IU/ml, 3 mL

Levemir flexpen 100 IU/ml, 3 mL

Mixtard 30 HM 10 mL

Insulin

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง|43คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง | 43

Insulin

ชื่อยา ภาพยาHumulin 70/30 Penfill 3 mL

Humulin N Penfill 3 mL

Humulin N 10 mL

Humulin R 10 mL

ชื่อยา ภาพยา Insulatard HM Penfill 3 mL

Lantus Solostar Pre – filled pen 100 IU/ml, 3 mL

Levemir flexpen 100 IU/ml, 3 mL

Mixtard 30 HM 10 mL

Penfill 3 mL

10 mL

Insulin

44|คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง44 | คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง

Insulin

ชื่อยา ภาพยา Mixtard 30 HM Penfill 3 mL

Novomix 30 Penfill

Novorapid penfill 100 IU/ml, 3 mL

ข้อบ่งใช้1-3

Type 1 diabetes mellitus

Type 2 diabetes mellitus

Gestational diabetes mellitus

ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง1-4

ห้ามใช้ในผู้ป่วยต่อไปนี้1. ผู้ป่วยที่มีภาวะน้้าตาลต่้า2. ผู้ที่มีประวัติแพ้ยาหรือสารประกอบของยาข้อควรระวัง1. ก่อนการให้ยาหรือก่อนการเปลี่ยนแปลงรูปแบบยาฉีด insulin และการเพิ่มหรือลดขนาดยา

ควรตรวจสอบการรับประทานอาหารหรืออาการที่มีผลต่อระดับน้้าตาลในเลือดก่อน เช่น ใจสั่นเหงื่อออกมาก ตัวเย็น ซึมลง หมดสติ (ภาวะ hypoglycemia) ซึ่งอาจมีผลมาจากการท้างานหรือออกก้าลังกายที่เพ่ิมข้ึนโดยไม่ได้รับประทานอาหาร

2. การใช้ insulin ชนิด long-acting insulin อาจท้าให้เกิดภาวะ hypoglycemia ช้าลง3. ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 ควรใช้ insulin lisproร่วมกับ insulin ชนิด long-acting insulin

อย่างไรก็ตามในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2อาจจะไม่ใช้ร่วมกันกับ insulin ชนิด long-acting insulinเมื่อใช้ร่วมกับยากลุ่ม sulfonylurea

4. ระวังการเกิดภาวะ hypokalemia (K +เกิด intracellular shift)โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ได้รับยาชนิดอื่นที่มีผลลดระดับ potassium ในเลือด

5. ระวังการเกิด hypoglycemia โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีภาวะ renal impairment, ผู้ป่วยสูงอายุ และผู้ป่วย hepatic impairment

อาการไม่พึงประสงค์ที่ส าคัญ2

ระดับน้้าตาลในเลือดต่้า ซึ่งมีอาการแสดงส้าคัญ ได้แก่ ใจสั่น เหงื่อออกมาก ตัวเย็น ซึมลง หมดสติซ่ึงอาจแบ่งตามระดับความรุนแรงได้ดังนี้

Mild to moderate: หิว, วติกกังวล, อ่อนเพลีย, คลื่นไส้, ใจสั่น, หัวใจเต้นเร็ว, มือ/ตัวสั่น,ปวดศีรษะ, ตาพร่า, สมาธิลดลง และอาจท้าให้เกิดภาวะ hypokalemia, hypomagnesemiaและ hypophosphatemia ได้

Severe: confusion, seizure และ coma, acute myocardial infarction, acute lung injury, cardiac dysrhythmias (จาก hypokalemia)

อันตรกริยาระหว่างยาที่ส าคัญ5

1. ยาที่เสริมฤทธิ์ insulin ท้าให้ระดับน้้าตาลลดต่้าลงได้แก่

Penfill 3 mL

Insulin

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง|45คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง | 45

Insulin

ชื่อยา ภาพยาMixtard 30 HM Penfill 3 mL

Novomix 30 Penfill

Novorapid penfill 100 IU/ml, 3 mL

ข้อบ่งใช้1-3

Type 1 diabetes mellitus

Type 2 diabetes mellitus

Gestational diabetes mellitus

ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง1-4

ห้ามใช้ในผู้ป่วยต่อไปนี้ 1. ผู้ป่วยที่มีภาวะน้้าตาลต่้า2. ผู้ที่มีประวัติแพ้ยาหรือสารประกอบของยาข้อควรระวัง 1. ก่อนการให้ยาหรือก่อนการเปลี่ยนแปลงรูปแบบยาฉีด insulin และการเพิ่มหรือลดขนาดยา

ควรตรวจสอบการรับประทานอาหารหรืออาการที่มีผลต่อระดับน้้าตาลในเลือดก่อน เช่น ใจสั่นเหงื่อออกมาก ตัวเย็น ซึมลง หมดสติ (ภาวะ hypoglycemia) ซึ่งอาจมีผลมาจากการท้างานหรือออกก้าลังกายที่เพ่ิมข้ึนโดยไม่ได้รับประทานอาหาร

2. การใช้ insulin ชนิด long-acting insulin อาจท้าให้เกิดภาวะ hypoglycemia ช้าลง3. ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 ควรใช้ insulin lisproร่วมกับ insulin ชนิด long-acting insulin

อย่างไรก็ตามในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2อาจจะไม่ใช้ร่วมกันกับ insulin ชนิด long-actinginsulinเมื่อใช้ร่วมกับยากลุ่ม sulfonylurea

4. ระวังการเกิดภาวะ hypokalemia (K +เกิด intracellular shift)โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ได้รับยาชนิดอื่นที่มีผลลดระดับ potassium ในเลือด

5. ระวังการเกิด hypoglycemia โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีภาวะ renal impairment, ผู้ป่วยสูงอายุ และผู้ป่วย hepatic impairment

อาการไม่พึงประสงค์ที่ส าคัญ2

ระดับน้้าตาลในเลือดต่้า ซึ่งมีอาการแสดงส้าคัญ ได้แก่ ใจสั่น เหงื่อออกมาก ตัวเย็น ซึมลง หมดสติซ่ึงอาจแบ่งตามระดับความรุนแรงได้ดังนี้

Mild to moderate: หิว, วติกกังวล, อ่อนเพลีย, คลื่นไส้, ใจสั่น, หัวใจเต้นเร็ว, มือ/ตัวสั่น,ปวดศีรษะ, ตาพร่า, สมาธิลดลง และอาจท้าให้เกิดภาวะ hypokalemia, hypomagnesemiaและ hypophosphatemia ได้

Severe: confusion, seizure และ coma, acute myocardial infarction, acute lunginjury, cardiac dysrhythmias (จาก hypokalemia)

อันตรกริยาระหว่างยาที่ส าคัญ5 1. ยาที่เสริมฤทธิ์ insulin ท้าให้ระดับน้้าตาลลดต่้าลงได้แก่

Insulin

46|คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง46 | คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง

Insulin

ACEI เช่น enalapril

Octreotide (Sandostatin®)

Salicylate เช่น Aspirin2. ยาที่ลดฤทธิ์ Insulin ท้าให้ระดับน้้าตาลไม่ลดเท่าท่ีควร ได้แก่

Corticosteroids

Thyroid supplements

Estrogen

INH (Isoniazid)

Niacin

Rifampicin

Phenothiazine – type antipsychotics เช่น chlorpromazine

การจัดเก็บยาที่เหมาะสม3-4

1. ใช้ฉลากแสดงชื่อยาที่ชัดเจน2. มีป้ายหรือฉลากบ่งบอกว่าเป็นยาที่มีความเสี่ยงสูง ที่กล่องเก็บยาให้เห็นชัด เป็นการเตือนผู้

ปฏิบัติเมื่อจะหยิบใช้ ทั้งท่ีห้องยา และหอผู้ป่วย3. เก็บ insulin ในตู้เย็น อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส (ไม่เก็บในช่องแช่แข็ง) และแยกจากยาฉีดอ่ืน4. Insulinที่เปิดแล้ว หรือไม่ได้เก็บในตู้เย็น สามารถเก็บที่อุณหภูมิห้องได้ 1 เดือน แต่ควรเก็บให้

พ้นแสงแดด5. Insulin แบบ penfilledเมื่อเปิดใช้แล้ว ไม่ควรเก็บปากกาในตู้เย็น6. เก็บแยกกับ heparin อย่างชัดเจน7. ควรเก็บ regular insulin แยกกับ long-acting insulin โดยเฉพาะบนหอผู้ป่วย เพื่อหลีกเลี่ยง

โอกาสในการหยิบยาผิด8. ควรจัดเตรียม dextrose infusionส้าหรับแก้ไขภาวะน้้าตาลเลือดต่้า9. การจ่ายยาไม่ว่าในจุดใด ต้องอ่านฉลาก 2 ครั้ง และต้องมีการตรวจสอบซ้้า10. หลังจากจ่ายหรือใช้ insulin แล้วไม่ควรใส่กลับไปในกล่อง เนื่องจากจะเพ่ิมความเสี่ยงที่จะใส่ยา

ผิดกล่อง และท้าให้ผู้อ่ืนหยิบใช้ยาผิดได้

การสั่งใช้ยารวมถึงขนาดยาที่สั่งใช้บ่อยในแต่ละข้อบ่งใช้3-4

1. Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดยา และขนาดยาทุกครั้ง2. หลีกเลี่ยงการเขียน “U” เนื่องจากมองคล้ายเลข “o” แนะน้าให้ใช้ “unit” แทน3. สั่งยาด้วยวาจาได้เฉพาะกรณีฉุกเฉินและต้องลงบันทึกทันทีที่ท้าได้4. การสั่งใช้การให้ยา IV แบบหยดเข้าหลอดเลือดด้าอย่างต่อเนื่อง ควรระบุพารามิเตอร์ในการ

ปรับขนาดยาหรือความถี่ในการติดตามระดับน้้าตาลในเลือด5. การปรับขนาดยาขึ้นกับระดับน้้าตาลในเลือด6. ระมัดระวังหากใช้ร่วมกับยาที่บดบังฤทธิ์ hypoglycemia ได้แก่ Beta – blockers เช่น

propranolol, clonidine, reserpine ซึ่งอาจท้าให้ไม่สามารถแยกได้ว่าเกิดอาการ hypoglycemia หรือเกิด reflex tachycardia จาก Beta – blocker

7. ควรระมัดระวังการใช้ยากลุ่ม fluoroquinolonesกับ ยาลดน้้าตาลเนื่องจากอาจท้าให้เกิดhypoglycemia หรือ hyperglycemia ได้ควรติดตามระดับน้้าตาลในเลือดเป็นระยะ

ขนาดยา1-4

Regular insulin, NPH, glargine: type 1 DM ในวัยรุ่น และผู้ใหญ่

Usual maintenance dose: 0.5 – 1 unit/kg/day โดยแบ่งฉีด ซึ่งขนาดยาปรับตามน้้าหนักตัวและกิจกรรมที่ท้า

Non – obese: 0.4 – 0.6 units/kg/day

Obese: 0.8 – 1.2 units/kg/day

การเตรียมยาและผสมยารวมถึงความคงตัวหลังละลายและเจือจางยา1-4

สารละลายเจือจางความคงตัวหลังเจือจางยา

ตู้เย็น (2 – 8 oC) อุณหภูมิห้องNSS, SWI 24 hr.

การบริหารยา4

1. ตรวจสอบโดย 2 บุคคล (Double check) หรืออย่างน้อย 2 ครั้ง (กรณีขาดบุคลากร) ในการหยิบยา ค้านวณขนาดยา และ การผสมยา รวมทั้งชนิดและขนาดยาเพราะ Insulin มีหลายชนิด

,

Insulin

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง|47คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง | 47

Insulin

ACEI เช่น enalapril

Octreotide (Sandostatin®)

Salicylate เช่น Aspirin 2. ยาที่ลดฤทธิ์ Insulin ท้าให้ระดับน้้าตาลไม่ลดเท่าท่ีควร ได้แก่

Corticosteroids

Thyroid supplements

Estrogen

INH (Isoniazid)

Niacin

Rifampicin

Phenothiazine – type antipsychotics เช่น chlorpromazine การจัดเก็บยาที่เหมาะสม3-4

1. ใช้ฉลากแสดงชื่อยาที่ชัดเจน 2. มีป้ายหรือฉลากบ่งบอกว่าเป็นยาที่มีความเสี่ยงสูง ที่กล่องเก็บยาให้เห็นชัด เป็นการเตือนผู้

ปฏิบัติเมื่อจะหยิบใช้ ทั้งท่ีห้องยา และหอผู้ป่วย 3. เก็บ insulin ในตู้เย็น อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส (ไม่เก็บในช่องแช่แข็ง) และแยกจากยาฉีดอ่ืน 4. Insulinที่เปิดแล้ว หรือไม่ได้เก็บในตู้เย็น สามารถเก็บที่อุณหภูมิห้องได้ 1 เดือน แต่ควรเก็บให้

พ้นแสงแดด 5. Insulin แบบ penfilledเมื่อเปิดใช้แล้ว ไม่ควรเก็บปากกาในตู้เย็น 6. เก็บแยกกับ heparin อย่างชัดเจน 7. ควรเก็บ regular insulin แยกกับ long-acting insulin โดยเฉพาะบนหอผู้ป่วย เพื่อหลีกเลี่ยง

โอกาสในการหยิบยาผิด 8. ควรจัดเตรียม dextrose infusionส้าหรับแก้ไขภาวะน้้าตาลเลือดต่้า 9. การจ่ายยาไม่ว่าในจุดใด ต้องอ่านฉลาก 2 ครั้ง และต้องมีการตรวจสอบซ้้า 10. หลังจากจ่ายหรือใช้ insulin แล้วไม่ควรใส่กลับไปในกล่อง เนื่องจากจะเพ่ิมความเสี่ยงที่จะใส่ยา

ผิดกล่อง และท้าให้ผู้อ่ืนหยิบใช้ยาผิดได้

การสั่งใช้ยารวมถึงขนาดยาที่สั่งใช้บ่อยในแต่ละข้อบ่งใช้3-4

1. Double check ชื่อผู้ป่วย ชนิดยา และขนาดยาทุกครั้ง 2. หลีกเลี่ยงการเขียน “U” เนื่องจากมองคล้ายเลข “o” แนะน้าให้ใช้ “unit” แทน 3. สั่งยาด้วยวาจาได้เฉพาะกรณีฉุกเฉินและต้องลงบันทึกทันทีที่ท้าได้ 4. การสั่งใช้การให้ยา IV แบบหยดเข้าหลอดเลือดด้าอย่างต่อเนื่อง ควรระบุพารามิเตอร์ในการ

ปรับขนาดยาหรือความถี่ในการติดตามระดับน้้าตาลในเลือด 5. การปรับขนาดยาขึ้นกับระดับน้้าตาลในเลือด 6. ระมัดระวังหากใช้ร่วมกับยาที่บดบังฤทธิ์ hypoglycemia ได้แก่ Beta – blockers เช่น

propranolol, clonidine, reserpine ซึ่งอาจท้าให้ไม่สามารถแยกได้ว่าเกิดอาการ hypoglycemia หรือเกิด reflex tachycardia จาก Beta – blocker

7. ควรระมัดระวังการใช้ยากลุ่ม fluoroquinolonesกับ ยาลดน้้าตาลเนื่องจากอาจท้าให้เกิด hypoglycemia หรือ hyperglycemia ได้ควรติดตามระดับน้้าตาลในเลือดเป็นระยะ

ขนาดยา1-4

Regular insulin, NPH, glargine: type 1 DM ในวัยรุ่น และผู้ใหญ่

Usual maintenance dose: 0.5 – 1 unit/kg/day โดยแบ่งฉีด ซึ่งขนาดยาปรับตามน้้าหนักตัวและกิจกรรมที่ท้า

Non – obese: 0.4 – 0.6 units/kg/day

Obese: 0.8 – 1.2 units/kg/day

การเตรียมยาและผสมยารวมถึงความคงตัวหลังละลายและเจือจางยา1-4

สารละลายเจือจาง ความคงตัวหลังเจือจางยา

ตู้เย็น (2 – 8 oC) อุณหภูมิห้อง NSS, SWI 24 hr.

การบริหารยา4

1. ตรวจสอบโดย 2 บุคคล (Double check) หรืออย่างน้อย 2 ครั้ง (กรณีขาดบุคลากร) ในการหยิบยา ค้านวณขนาดยา และ การผสมยา รวมทั้งชนิดและขนาดยาเพราะ Insulin มีหลายชนิด

,

Insulin

48|คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง48 | คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง

Insulin

2. ในการเตรียมยาและให้ยาต้องมีพยาบาลอีกคน double check และลงลายมือชื่อก้ากับ

ระวังการหยิบสลับกับ Heparin

หากบริหารยาแบบ IV drip ควรใช้ infusion pump

สอนวิธีดูดยาและวิธีฉีดยาที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยหรือผู้ดูแลหากผู้ป่วยต้องน้ากลับไปใช้เองที่บ้าน

3. ก่อนใช้ยา ห้ามเขย่าขวดให้ใช้วิธีกลิ้งขวดบนฝ่ามือ 4. Insulin ที่ฉีด IV ได้ ได้แก่Regular Insulin (RI) (ได้แก่ Gensulin R กับ Humulin R), Aspart

(Novorapid), Lispro (Humalog), Glulisine (Apidra) 5. Long acting insulin ใช้ได้เฉพาะทาง SC เท่านั้น 6. หากต้องฉีดยา Insulin ชนิดน้า้ใสและน้้าขุ่นพร้อมกัน ต้องดูดยาน้้าใสก่อนเสมอ 7. IV drip ควรใช้ infusion pump ด้วยอัตราเร็ว 0.1 unit/kg/hr 8. การผสม RI เพ่ือให้ IV infusion ควรผสมเผื่อ flush สายประมาณ 20 ml เพ่ือให้ยาเคลือบ

อุปกรณ์พลาสติกที่ใช้ในการให้ยาก่อน 9. การฉีด Insulin เข้าใต้ผิวหนัง สามารถฉีดได้ในบริเวณหน้าท้อง หน้าขา สะโพก หรือต้นแขน

และต้าแหน่งที่ฉีด ควรฉีดห่างจากต้าแหน่งเดิมประมาณ 1 นิ้ว ไม่ควรฉีดซ้้าที่เดิม 10. เมื่อฉีดยาแล้วอย่าคลึงบริเวณที่ฉีด 11. ควรบริหารยาก่อนอาหาร 30 นาที ยกเว้น Novorapid, Novomixควรให้ก่อนอาหาร 10 นาที

การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)4

1. ตรวจระดับน้้าตาลในเลือดทั้งก่อนและระหว่างการให้ยา หากระดับน้้าตาลผิดปกติให้แจ้งแพทย์ (ค่าปกติ 60-100 mg/dL)

2. ติดตามค่า serum electrolyte ระหว่างการให้ยา 3. ประเมินภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า ได้แก่ เหงื่อออก หัวใจเต้นเร็ว หิว กังวล วิงเวียน ปวดศีรษะ ตา

มัว หงุดหงิด ชัก สับสน 4. หากพบว่า capillary blood glucose น้อยกว่า 60 mg/dLให้หยุดยา insulin ทันที และปฏิบัติ

ดังนี้

ถ้าผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ให้ดื่มน้้าหวานอย่างน้อยครึ่งแก้ว ตรวจระดับ capillary blood glucose ซ้้า หลังจากรับประทานน้้าหวาน 30 นาที

กรณีท่ีผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวหรือไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ พิจารณาให้ 50% glucose 40-50 mL IV push ร่วมกับพิจารณาให้สารน้้าเป็น 10% dextrose ในอัตราเร็ว 80-100 ml/hrตรวจระดับ capillary blood glucose ซ้้า หลังได้รับการรักษาไปแล้วประมาณ 30 นาที ปรับอัตราเร็วของสารน้้าตามระดับน้้าตาลและสภาพของผู้ป่วย

5. ติดตามระดับน้้าตาลในเลือดของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดตามแผนการรักษา ถ้าผิดปกติให้แจ้งแพทย์ ค่าน้้าตาลในเลือดปกติ 60-100 mg/dLในพลาสมา 70-110 mg/dLยกเว้นผู้ป่วยที่มีโรคประจ้าตัวอื่นๆให้เทียบจาก baseline ของผู้ป่วยเอง

6. ภายใน 60 นาทีหลังฉีดยา ให้สังเกตอาการ Hypoglycemia เช่น ใจสั่น เหงื่อออกมาก หน้ามืด เป็นลมหมดสติ

7. ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง

ชื่อยา

ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์

Onset

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์สูงสุด

Peak

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์

Duration (hr)6-7

Gensulin M 70/30 10 mL

0.5-1 4-8 10-16

Gensulin M 70/30 Penfill 3 mL

0.5-1 4-8 10-16

Gensulin N 100 IU/ml, 10 mL

2-4 4-10 10-16

Insulin

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง|49คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง | 49

Insulin

2. ในการเตรียมยาและให้ยาต้องมีพยาบาลอีกคน double check และลงลายมือชื่อก้ากับ

ระวังการหยิบสลับกับ Heparin

หากบริหารยาแบบ IV drip ควรใช้ infusion pump

สอนวิธีดูดยาและวิธีฉีดยาที่ถูกต้องแก่ผู้ป่วยหรือผู้ดูแลหากผู้ป่วยต้องน้ากลับไปใช้เองที่บ้าน

3. ก่อนใช้ยา ห้ามเขย่าขวดให้ใช้วิธีกลิ้งขวดบนฝ่ามือ 4. Insulin ที่ฉีด IV ได้ ได้แก่Regular Insulin (RI) (ได้แก่ Gensulin R กับ Humulin R), Aspart

(Novorapid), Lispro (Humalog), Glulisine (Apidra) 5. Long acting insulin ใช้ได้เฉพาะทาง SC เท่านั้น 6. หากต้องฉีดยา Insulin ชนิดน้า้ใสและน้้าขุ่นพร้อมกัน ต้องดูดยาน้้าใสก่อนเสมอ 7. IV drip ควรใช้ infusion pump ด้วยอัตราเร็ว 0.1 unit/kg/hr 8. การผสม RI เพ่ือให้ IV infusion ควรผสมเผื่อ flush สายประมาณ 20 ml เพ่ือให้ยาเคลือบ

อุปกรณ์พลาสติกที่ใช้ในการให้ยาก่อน 9. การฉีด Insulin เข้าใต้ผิวหนัง สามารถฉีดได้ในบริเวณหน้าท้อง หน้าขา สะโพก หรือต้นแขน

และต้าแหน่งที่ฉีด ควรฉีดห่างจากต้าแหน่งเดิมประมาณ 1 นิ้ว ไม่ควรฉีดซ้้าที่เดิม 10. เมื่อฉีดยาแล้วอย่าคลึงบริเวณที่ฉีด 11. ควรบริหารยาก่อนอาหาร 30 นาที ยกเว้น Novorapid, Novomixควรให้ก่อนอาหาร 10 นาที

การติดตามผลการใช้ยา (Monitoring)4

1. ตรวจระดับน้้าตาลในเลือดทั้งก่อนและระหว่างการให้ยา หากระดับน้้าตาลผิดปกติให้แจ้งแพทย์ (ค่าปกติ 60-100 mg/dL)

2. ติดตามค่า serum electrolyte ระหว่างการให้ยา 3. ประเมินภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า ได้แก่ เหงื่อออก หัวใจเต้นเร็ว หิว กังวล วิงเวียน ปวดศีรษะ ตา

มัว หงุดหงิด ชัก สับสน 4. หากพบว่า capillary blood glucose น้อยกว่า 60 mg/dLให้หยุดยา insulin ทันที และปฏิบัติ

ดังนี้

ถ้าผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ให้ดื่มน้้าหวานอย่างน้อยครึ่งแก้ว ตรวจระดับ capillary blood glucose ซ้้า หลังจากรับประทานน้้าหวาน 30 นาที

กรณีท่ีผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวหรือไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากได้ พิจารณาให้ 50% glucose 40-50 mL IV push ร่วมกับพิจารณาให้สารน้้าเป็น 10% dextrose ในอัตราเร็ว 80-100 ml/hrตรวจระดับ capillary blood glucose ซ้้า หลังได้รับการรักษาไปแล้วประมาณ 30 นาที ปรับอัตราเร็วของสารน้้าตามระดับน้้าตาลและสภาพของผู้ป่วย

5. ติดตามระดับน้้าตาลในเลือดของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดตามแผนการรักษา ถ้าผิดปกติให้แจ้งแพทย์ ค่าน้้าตาลในเลือดปกติ 60-100 mg/dLในพลาสมา 70-110 mg/dLยกเว้นผู้ป่วยที่มีโรคประจ้าตัวอื่นๆให้เทียบจาก baseline ของผู้ป่วยเอง

6. ภายใน 60 นาทีหลังฉีดยา ให้สังเกตอาการ Hypoglycemia เช่น ใจสั่น เหงื่อออกมาก หน้ามืด เป็นลมหมดสติ

7. ตรวจสอบ infusion pump เสมอ อย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง

ชื่อยา

ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์

Onset

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์สูงสุด

Peak

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์

Duration (hr)6-7

Gensulin M 70/30 10 mL

0.5-1 4-8 10-16

Gensulin M 70/30 Penfill 3 mL

0.5-1 4-8 10-16

Gensulin N 100 IU/ml, 10 mL

2-4 4-10 10-16

Insulin

50|คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง50 | คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง

Insulin

ชื่อยา

ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์

Onset

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์สูงสุด

Peak

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์

Duration (hr)6-7

Gensulin N Penfill 3 mL

2-4 4-10 10-16

Gensulin R 100 IU/ml, 10 mL

0.5-1 2-3 5-8

Gensulin R Penfill 3 mL

0.5-1 2-3 5-8

Humalog Mix 25 Penfil 3 mL

0.08-0.25 3 10-16

Humulin 70/30 10 mL

0.5-1 4-8 10-16

ชื่อยา

ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์

Onset

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์สูงสุด

Peak

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์

Duration (hr)6-7

Humulin 70/30 Penfill 3 mL

0.5-1 4-8 10-16

Humulin N Penfill 3 mL

2-4 4-10 10-16

Humulin N 10 mL

2-4 4-10 10-16

Humulin R 10 mL

0.5-1 2-3 5-8

Insulatard HM Penfill 3 mL

2-4 4-10 10-16

Insulin

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง|51คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง | 51

Insulin

ชื่อยา

ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์

Onset

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์สูงสุด

Peak

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์

Duration (hr)6-7

Gensulin N Penfill 3 mL

2-4 4-10 10-16

Gensulin R 100 IU/ml, 10 mL

0.5-1 2-3 5-8

Gensulin R Penfill 3 mL

0.5-1 2-3 5-8

Humalog Mix 25 Penfil 3 mL

0.08-0.25 3 10-16

Humulin 70/30 10 mL

0.5-1 4-8 10-16

ชื่อยา

ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์

Onset

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์สูงสุด

Peak

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์

Duration (hr)6-7

Humulin 70/30 Penfill 3 mL

0.5-1 4-8 10-16

Humulin N Penfill 3 mL

2-4 4-10 10-16

Humulin N 10 mL

2-4 4-10 10-16

Humulin R 10 mL

0.5-1 2-3 5-8

Insulatard HM Penfill 3 mL

2-4 4-10 10-16

Penfill 3 mL

Insulin

52|คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง52 | คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง

Insulin

ชื่อยา

ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์

Onset

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์สูงสุด

Peak

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์

Duration (hr)6-7

Lantus Solostar Pre – filled pen 100 IU/ml, 3 mL

2-4 Peakless 20-24

Levemir flexpen 100 IU/ml, 3 mL

2-4 6-14 16-20

Mixtard 30 HM 10 mL

0.5-1 4-8 10-16

Mixtard 30 HM Penfill 3 mL

0.5-1 4-8 10-16

ชื่อยา

ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์

Onset

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์สูงสุด

Peak

(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์

Duration (hr)6-7

Novomix 30 Penfill

0.2-0.4 1-4 24

NovorapidPenfill 3 mL

0.08-0.25 0.5-1.5 3-5

อาการที่แสดงว่าอาจมีระดับยาสูง ต้องเพิ่มความระมัดระวัง ติดตามผลหรือแจ้งแพทย์4

1. capillary blood glucose น้อยกว่า 60 mg/dL 2. ผู้ป่วยมีอาการแสดงภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า ได้แก่ เหงื่อออก หัวใจเต้นเร็ว หิว กังวล วิงเวียน

ปวดศีรษะ ตามัว หงุดหงิด ชัก สับสน การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์ หรือเกิดความคลาดเคลื่อนทางยา4

1. หยุดการให้ insulin 2. ให้ 50% glucose 20-50 ml IV bolus (ซ้้าได้ถ้าผู้ป่วยยังหมดสติหรือไม่ดีข้ึน) 3. แจ้งแพทย์ 4. ตรวจ blood sugar หลังให้การรักษา ในเวลา 15-30 นาที และตรวจซ้้าทุก 2 ชั่วโมง จนระดับ

น้้าตาลเป็นปกติ 2 ครั้ง ใน 24 ชั่วโมงแรก หลังจากนั้นตรวจห่างออกไปตามความจ้าเป็นถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารไม่ได้ ควรให้ 5% หรือ 10% dextrose infusion ในอัตราเร็ว 100-120 ml/hrจนกว่าผู้ป่วยจะรับประทานอาหารได้เอง หรือให้อาหารทางสายยางได้

10 mL

Penfill 3 mL

Insulin

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง|53คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง | 53

Insulin

ชื่อยา

ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์

Onset(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์สูงสุด

Peak(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์

Duration(hr)6-7

Lantus Solostar Pre – filled pen 100 IU/ml, 3 mL

2-4 Peakless 20-24

Levemir flexpen 100 IU/ml, 3 mL

2-4 6-14 16-20

Mixtard 30 HM 10 mL

0.5-1 4-8 10-16

Mixtard 30 HM Penfill 3 mL

0.5-1 4-8 10-16

ชื่อยา

ระยะเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์

Onset(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์สูงสุด

Peak(hr)6-7

ระยะเวลาที่ยาออกฤทธิ์

Duration (hr)6-7

Novomix 30 Penfill

0.2-0.4 1-4 24

NovorapidPenfill 3 mL

0.08-0.25 0.5-1.5 3-5

อาการที่แสดงว่าอาจมีระดับยาสูง ต้องเพิ่มความระมัดระวัง ติดตามผลหรือแจ้งแพทย์4

1. capillary blood glucose น้อยกว่า 60 mg/dL2. ผู้ป่วยมีอาการแสดงภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า ได้แก่ เหงื่อออก หัวใจเต้นเร็ว หิว กังวล วิงเวียน

ปวดศีรษะ ตามัว หงุดหงิด ชัก สับสน

การแก้ไขเมื่อมีอาการไม่พึงประสงค์ หรือเกิดความคลาดเคลื่อนทางยา4

1. หยุดการให้ insulin2. ให้ 50% glucose 20-50 ml IV bolus (ซ้้าได้ถ้าผู้ป่วยยังหมดสติหรือไม่ดีข้ึน)3. แจ้งแพทย์4. ตรวจ blood sugar หลังให้การรักษา ในเวลา 15-30 นาที และตรวจซ้้าทุก 2 ชั่วโมง จนระดับ

น้้าตาลเป็นปกติ 2 ครั้ง ใน 24 ชั่วโมงแรก หลังจากนั้นตรวจห่างออกไปตามความจ้าเป็นถ้าผู้ป่วยรับประทานอาหารไม่ได้ ควรให้ 5% หรือ 10% dextrose infusion ในอัตราเร็ว 100-120ml/hrจนกว่าผู้ป่วยจะรับประทานอาหารได้เอง หรือให้อาหารทางสายยางได้

Insulin

54|คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง54 | คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง

Insulin

เอกสารอ้างอิง 1. American Pharmacists Association. Drug Information Handbook with International

Tradename index. 23rd ed. Ohio: Lexicomp Inc.; 2014-2015. P. 1100 - 10 2. MICROMEDEX® [Database on the internet]. Colorado: Thomson Reuters

(Healthcare); c1974-2009. DRUGDEX® System, insulin; [cited 2017 April 1]. Available from:http://www.thomsonhc.com. Subscription required to view.

3. โรงพยาบาลศิริราช คณะกรรมการควบคุมและดูแลเรื่องยา. คู่มือปฏิบัติงานส้าหรับยา High Alert Drugs. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: 25กันยายน 2550. หน้า 61-68.

4. โรงพยาบาลราชวิถี คณะกรรมการพัฒนาระบบยาโรงพยาบาลราชวิถี. คู่มือปฏิบัติงานส้าหรับยาความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs). พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: 18มิถุนายน 2557. หน้า 71-87.

5. MICROMEDEX® [Database on the internet]. Colorado: Thomson Reuters (Healthcare); c1974-2009. DRUGINTERACTION® System, Insulin; [cited 2017 APRIL 1]. Available from:http://www.thomsonhc.com. Subscription required to view.

6. วีระศักดิ์ ศรินนภากร. ประวัติและการพัฒนายาอินซูลิน. ใน: วีระศักดิ์ ศรินนภากร ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์ ทองค้า สุนทรเทพวรากุล (บรรณาธิการ). ต้าราอินซูลิน พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: กรุงเทพฯ เวชสาร, 2555. น. 1-11.

7. Deglin JH, Vallerand AH, editors.Davis’s drug guide for Nurses. 11th ed. PA: F. A. Davis Company; 2009.

Insulin

คู่มือแนวทางการปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง|55คู่มือแนวทางปฏิบัติงานยาความเสี่ยงสูง | 55

Insulin

เอกสารอ้างอิง 1. American Pharmacists Association. Drug Information Handbook with International

Tradename index. 23rd ed. Ohio: Lexicomp Inc.; 2014-2015. P. 1100 - 10 2. MICROMEDEX® [Database on the internet]. Colorado: Thomson Reuters

(Healthcare); c1974-2009. DRUGDEX® System, insulin; [cited 2017 April 1]. Available from:http://www.thomsonhc.com. Subscription required to view.

3. โรงพยาบาลศิริราช คณะกรรมการควบคุมและดูแลเรื่องยา. คู่มือปฏิบัติงานส้าหรับยา High Alert Drugs. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: 25กันยายน 2550. หน้า 61-68.

4. โรงพยาบาลราชวิถี คณะกรรมการพัฒนาระบบยาโรงพยาบาลราชวิถี. คู่มือปฏิบัติงานส้าหรับยาความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs). พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: 18มิถุนายน 2557. หน้า 71-87.

5. MICROMEDEX® [Database on the internet]. Colorado: Thomson Reuters (Healthcare); c1974-2009. DRUGINTERACTION® System, Insulin; [cited 2017 APRIL 1]. Available from:http://www.thomsonhc.com. Subscription required to view.

6. วีระศักดิ์ ศรินนภากร. ประวัติและการพัฒนายาอินซูลิน. ใน: วีระศักดิ์ ศรินนภากร ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์ ทองค้า สุนทรเทพวรากุล (บรรณาธิการ). ต้าราอินซูลิน พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: กรุงเทพฯ เวชสาร, 2555. น. 1-11.

7. Deglin JH, Vallerand AH, editors.Davis’s drug guide for Nurses. 11th ed. PA: F. A. Davis Company; 2009.