29
KM (Knowledge Management) หลักเกณฑการงดหรือลดคาปรับ และขยายเวลาทําการ นายธนัท ศรีวิชัย นบ.,นบท. นิติกรชํานาญการพิเศษ กลุมนิติการ สํานักบริหารกลาง

KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

KM (Knowledge Management)

หลักเกณฑการงดหรือลดคาปรับ และขยายเวลาทําการ

นายธนัท ศรีวิชัย นบ.,นบท.

นิติกรชํานาญการพิเศษ

กลุมนิติการ สํานักบรหิารกลาง

Page 2: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

2

คํานํา

เนื่องจาก พพ. เปนหนวยงานปฏิบัติ จึงตองมีการทําสัญญาซื้อขาย วาจางกอสราง วาจางที่ปรึกษา เมื่อเกิดอุปสรรคในการปฏิบัติตามสัญญา คณะกรรมการที่บริหารสัญญาไมมีคูมือหรือหลักเกณฑในการพิจารณาหรือปฏิบัติงาน ประกอบกับผูจัดทําไดรับมอบหมายจาก ผอ.สบก.ใหจัดทํา KM (Knowledge Management) ดังนั้น ผูจัดทําจึงไดจัดทํา

KM เร่ือง หลักเกณฑการงดหรือลดคาปรับและการขยายเวลาทําการ ที่ผูจัดทํา ไดจัดทําขึ้นมา ก็เพื่อประโยชนของขาราชการ พนักงานราชการ ลูกจาง ของ พพ. ที่มีหนาที่เปนคณะกรรมการตรวจรับ คณะกรรมการการตรวจการจาง เพื่อศึกษาทําความเขาใจ ตลอดจนใชเปนคูมือในการปฏิบัติงาน ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา KM เร่ืองดังกลาวคงจะเปนประโยชนแกขาราชการ พนักงานราชการ ลูกจาง ของ พพ. บางไมมากก็นอย

ผูจัดทําขอขอบคุณคุณสมใจ เพ็งแพง ที่ชวยจัดพิมพในครั้งนี้ดวย

นายธนัท ศรีวิชัย มิ.ย.2553

Page 3: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

3

การงดหรือลดคาปรับ และขยายเวลาทําการ

การทําสัญญาของสวนราชการไมวาจะเปนสัญญาวาจาง สัญญาซื้อขาย สัญญาจาง ที่ปรึกษา จะกําหนดระยะเวลาใหสงมอบสิ่งของ งานกอสราง หรืองานจาง ซ่ึงสัญญาดังกลาวมักจะกําหนดเบี้ยปรับ (คาปรับ) ทั้งนี้เพื่อกําหนดคาเสียหายอันเนื่องมาจากการผิดสัญญา ในการสงมอบสิ่งของ งานกอสราง หรืองานจางลาชา โดยมักจะปรับคูสัญญาเปนรายวัน จนถึงวันที่สงมอบสิ่งของ งานกอสราง หรืองานจาง ตามระยะเวลาที่ลาชา

ดังนั้น ในสัญญาวาจางก็ดี สัญญาซื้อขายก็ดีหรือสัญญาจางที่ปรึกษาก็ดี จะมีขอสัญญาสอดคลองกับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ ขอ 139 ซ่ึงใหอํานาจหัวหนาสวนราชการที่จะใชดุลพินิจพิจารณาลดหรืองดคาปรับหรือขยายระยะเวลาทําการตามสัญญาไดตามจํานวนที่มีเหตุเกิดขึ้นจริงเฉพาะกรณีเหลานี้

1) เหตุเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของสวนราชการ 2) เหตุสุดวิสัย 3) เหตุเกิดจากพฤติการณอันหนึ่งอันใดที่คูสัญญาไมตองรับผิดตามกฎหมาย โดยคูสัญญาตองแจงเหตุดังกลาวใหสวนราชการทราบภายใน 15 วัน นับแตเหตุนั้น

ไดส้ินสุดลง หากมิไดแจงภายในเวลาที่กําหนด คูสัญญาจะยกมากลาวอางเพื่อขอลดหรืองดคาปรับ หรือขอขยายเวลาในภายหลังมิได เวนแตกรณีตาม (1) ซ่ึงมีหลักฐานชัดแจงหรือ สวนราชการทราบดีอยูแลวตั้งแตตน

ขอสังเกต สัญญาที่กําหนดสงมอบหรือแลวเสร็จเวลาเดียว การปรับตองปรับท้ังสัญญา การ

ขยายเวลาก็ตองขยายเวลาทั้งสัญญา เวนกรณีกําหนดคาปรับระหวางงวด (1) เหตุเกิดจากความผิด หรือความบกพรองของสวนราชการซึ่งหมายความวา

ความผิดหรือความบกพรอง นั้น เปนเหตุขัดขวางการทํางาน หรือการสงมอบสิ่งของ ตามสัญญา เชน - สวนราชการสงมอบพื้นที่กอสรางลาชา - คณะกรรมการตรวจการจาง ใชระยะเวลาตรวจรับงานลาชา แลวส่ังใหคูสัญญา

แกไขงาน - สวนราชการ พิจารณาใหความเห็นชอบเรื่องตางๆ ลาชา เชน การเลือกออกอากาศ

การคัดเลือกชุมชน เขารวมโครงการ เห็นชอบแบบกอสราง -ราษฎรบุกรุกพื้นที่กอสราง - สวนราชการขอแกไขแบบ

Page 4: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

4

(2) เหตุสุดวิสัย ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 8 บัญญัติวา “เหตุสุดวิสัย

หมายความวา เหตุใดๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะใหผลพิบัติก็ดี เปนเหตุที่ไมอาจปองกันไดแมทั้งบุคคลผูตองประสบหรือใกลจะตองประสบเหตุนั้น จะไดจัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะและภาวะเชนนั้น”

ขอสังเกต (1) ที่จะเปนเหตุสุดวิสัยไดนั้น จะตองเปนเหตุหรือภัยพิบัติที่เกิดขึ้นโดยไมอาจ

ปองกันได ทั้งนี้อาจเปนเหตุที่เกิดขึ้นตามธรรมดาโลก เชน ฟาผา ลมพายุ น้ําทวมฉับพลัน คล่ืนลม จัดผิดปกติ ฝนตกผิดปกติติดตอกันหลายวัน หรือเหตุจากบุคคลที่ 3 เชน ถูกพนักงานควบคุมตัว เปนเหตุใหมาใหกรรมการคัดเลือกทหารตรวจไมทันกําหนด โจรปลน เพลิงไหมจากที่อ่ืน คนงานนัดหยุดงาน ฉะนั้นเหตุสุดวิสัย จึงไมใชเร่ืองที่ปองกันไมได แตเปนเรื่องที่ผูตองประสบจะปองกันไมไดเทานั้นเอง ถาเหตุที่เกิดขึ้นเปนเพราะความผิดของผูนั้น เชน จําเลยเปนบรรณาธิการหนังสือพิมพเขียนขาวใสรายรัฐบาล จึงถูกสั่งปดโรงพิมพ จําเลยมีหนาที่ดูแลรักษารถใหอยูในสภาพใชไดตามปกติ แตไมระมัดระวังตรวจตราที่คาดหมาย หามลอรถแตก รถที่จําเลยขับชนเครื่องกั้นถนน และชนขบวนรถไฟ หรือเพราะความผิดของตัวแทนหรือบุคคลที่ผูนั้นใช หรือบุคคลซึ่งตนจะตองรับผิดชอบ ดังนั้นจะอางเปนเหตุสุดวิสัยเพื่อใหตนเองพนความรับผิดไมได

(2) ผูประสบหรือใกลจะตองประสบเหตุนั้น ไมอาจปองกันมิใหเกิดขึ้นได เมื่อไดใชความระมัดระวังตามสมควร อันพึงคาดหมายไดจากบุคคลนั้นในฐานะเชนนั้น

2.1 ความระมัดระวังในการจัดการปองกันนั้น กฎหมายมิไดระบุใหผูประสบหรือใกลจะประสบใชความระมัดระวังสูงสุด เพียงแตใชความระมัดระวังตามสมควรเทานั้น

2.2 เมื่อพิจารณาในเรื่องความระมัดระวังแลว ระดับของความระมัดระวังจึงแตกตางกันไปแลวแตบุคคล ความระมัดระวังของศัลยแพทยในการผาตัดผูปวย ยอมพึงคาดหมายไดวา อยูในระดับสูงกวาบุรุษพยาบาลผูทําหนาที่เชนเดียวกัน และความระมัดระวังของบุรุษพยาบาลในการรักษาผูบาดเจ็บยอมมากกวาบุคคลธรรมดาทั่วไป ในทํานองเดียวกันจะหวังใหความระมัดระวังของแพทยผูรักษาพยาบาลผูบาดเจ็บในยามมีศึกสงครามอยูในระดับเดียวกับที่บานเมืองเปนปกติไมได หลักเดียวกันนี้ยอมใชไดกับบุคคลในวิชาชีพอ่ืน เชน วิศวกร สถาปนิก ทนายความ ผูชําระบัญชี ชางกอสราง ชางตัดผม ชางซอมรถ ฯลฯ

2.3 นอกจากขอ 2.2 แลว ยังตองพิจารณาตอไปวาบุคคลนั้นในฐานะเชนนั้น ไดใชความระมัดระวังตามสมควรหรือไม เชน ไฟจากที่อ่ืนลุกลามไหมบาน นาย ก. นาย ก. ใชกระปองตักน้ําเพื่อที่จะดับไฟ แตไมอาจดับได เชนนี้ จะอางวาถา นาย ก.มีเครื่องมือดับเพลิง ไฟก็จะไมไหมบาน ยอมอางไมได เพราะ นาย ก. ไดใชความระมัดระวังตามสมควรที่จะพึง

Page 5: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

5

คาดหมายไดจากบุคคลในฐานะเชน นาย ก. แลว ในเรื่องของการฝากทรัพยเชนกัน กฎหมายกําหนดใหความระมัดระวังของผูรับฝากโดยไมมีบําเหน็จมีระดับอยางหนึ่ง ถามีบําเหน็จระดับแหงความระมัดระวังยอมสูงขึ้นไปเปนอีกอยางหนึ่ง

(3) ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมีบทบัญญัติเฉพาะเรื่องวา เหตุสุดวิสัยเปนขอแกตัวได กลาวคือ กรณีเจาหนี้ไมสามารถทําใหอายุความสะดุดหยุดลง ความเสียหายที่เกิดจากยานพาหนะอันเดินดวยกําลังเครื่องจักรกลซึ่งอยูในครอบครอง รวมถึงทรัพยในครอบครองอันเปนของที่เกิดอันตรายไดโดยสภาพ เชน ไฟฟาแรงสูง เปนตน ในกฎหมายลักษณะรับขน ผูขนสงไมตองรับผิดตอของที่มอบหมายแกตนนั้นสูญหาย บุบสลาย หรือสงมอบชักชา ผูสงของไมตองชดใชคาระวางพาหนะถาของสูญหายไป ถาผูขนสงไดรับไปแลวเทาใดตองคืนใหแกผูสงของ และกรณีความเสียหายเกิดแกคนโดยสาร หรือความเสื่อมเสียใดๆ อันเปนผลโดยตรง แตการที่ตองชักชาในการขนสง ในเรื่องของเจาสํานักโรงแรมความสูญหายหรือบุบสลายตอทรัพยสินของคนเดินทางหรือแขกผูมาพักแรม

(4) กลับกัน ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยหลายมาตราบัญญัติวา แมเปนเหตุสุดวิสัยก็ยังตองรับผิด เพราะเหตุทรัพยสินนั้นสูญหายหรือบุบสลาย กลาวคือ ในเร่ืองยืมใชคงรูป ผูยืมเอาทรัพยสินซึ่งยืมไปใชอยางอื่นนอกจากการอันเปนปกติแกทรัพยสิน หรือนอกจากที่ปรากฏในสัญญา หรือเอาไปใหบุคคลภายนอกใชสอย หรือเอาไปนานแกควรที่จะเอาไว กรณีฝากทรัพย ผูรับฝากเอาทรัพยนั้นออกใช หรือใหบุคคลภายนอกใชสอย หรือใหบุคคลภายนอกเก็บรักษาโดย ผูฝากมิไดอนุญาต ในเรื่องจํานํา ผูรับจํานําเอาทรัพยที่จํานําออกใช หรือใหบุคคลภายนอกใชสอย หรือเก็บรักษาโดยผูจํานําไมไดยินยอม อยางไรก็ตามหากสามารถพิสูจนไดวาทรัพยสินที่ยืมตามมาตรา 643 ก็ดี ทรัพยสินที่รับฝากตามมาตรา 660 ก็ดี ทรัพยที่รับจํานําไวตามมาตรา 760 ก็ดี ถึงอยางไรก็จะตองสูญหาย หรือบุบสลายผูยืม ผูรับฝาก หรือผูรับจํานํา แลวแตกรณีไมตองรับผิด มีขอนาสังเกตวาในเรื่องการฝากเงิน แมเงินที่รับฝากสูญหายไปดวยเหตุสุดวิสัย ผูรับฝากก็ตองใชคืนใหกับผูฝากจนครบจํานวน

(5) จากบทบัญญัติของกฎหมาย และแนววินิจฉัยของศาลฎีกา จึงพอสรุปไดวาจะเปนเหตุสุดวิสัยหรือไมนั้น ขึ้นอยูกับขอเท็จจริงเปนเรื่องๆ ไป เหตุหนึ่งในสถานการณหนึ่งอาจเปนขอแกตัวโดยอางเหตุสุดวิสัยเพื่อใหพนความรับผิดสําหรับบุคคลหนึ่ง แตเหตุเดียวกันนั้นอาจไมเปนขอแกตัวสําหรับอีกคนหนึ่งในอีกสถานการณหนึ่งก็ได ฉะนั้นการที่ลูกหนี้จะตองรับภาระปฏิบัติการชําระหนี้หนักขึ้นกวาปกติจึงไมเปนเหตุสุดวิสัย การทําสัญญายอมรับผิด แมตลอดถึงเหตุสุดวิสัยนั้น ศาลวินิจฉัยวาไมเปนการขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ในกรณีที่ความเสียหายเกิดขึ้นไดจากหลายสาเหตุ ศาลจะใชดุลพินิจชั่งน้ําหนักคําพยาน แลววินิจฉัยเปนเรื่องๆ ไป เชน ในคดีหนึ่งปญหามีวา การที่จําเลยที่ 1 บรรทุกน้ําหนักเกินไป

Page 6: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

6

400 กิโลกรัม จะเปนเหตุใหรถตะแคงหรือไม ขอเท็จจริงไดความวาลอรถขวาขางหนาตกหลุม เปนเหตุใหแหนบรถขางขวาหัก รถเฉไปทางขวา จําเลยที่ 1 พยายามหักพวงมาลัยไปทางซาย แตปรากฏวาหักพวงมาลัยไมได โดยแหนบหักไปค้ําคันสงทําใหจําเลยที่ 1 ขับรถไมได กรณีที่แหนบรถหักไปค้ําคันสงนี้เปนเหตุสุดวิสัยที่จําเลยที่ 1 ไมอาจจะรูและไมสามารถปองกันได แมจะฟงวาแหนบรถหักเนื่องจากบรรทุกน้ําหนักเกินอัตราและรถตกหลุมก็ดี แตกรณีดังกลาวไมนาจะเปนเหตุใหรถตะแคง เพราะปรากฏวาจําเลยที่ 1 ไดใชความระมัดระวังตามวิสัย และปฏิบัติในพฤติการณที่เกิดขึ้นเยี่ยงคนขับรถทั่วไปทั้งหลายแลว จึงถือไดวาเหตุที่เกิดขึ้นไมใชเนื่องจากความประมาทเลินเลอของจําเลยที่ 1 จําเลยทั้งสองจึงไมตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหแกโจทก (คําพิพากษาฎีกา ที่ 1636/2516)

(6) ถาคูสัญญากําหนดความรับผิดไวกวางๆ โดยมิไดยกเวนความรับผิด ถามีเหตุสุดวิสัยเกิดขึ้น ความรับผิดของคูสัญญาจะมีเพียงไร เชน สัญญาเชาขอหนึ่งมีความวา “ขอรับผิดชอบในความเสียหายอันเกิดจากวัตถุแหงการเชา .......ผูเชาจะตองรับผิดตอผูใหเชา (เวนแตจะสึกหรอโดยปกติของการใช)” ศาลฎีกาวินิจฉัยวา คูสัญญามิไดประสงคจะใหผูเชาตองรับผิดนอกเหนือไปจากที่ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 562 กําหนดไว จําเลยในคดีนี้จะตองรับผิดตอโจทกแตในความผิดของจําเลยดังที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย การที่เรือแรจมลงเนื่องจากคลื่นลมจัดผิดปกติอันเปนเหตุสุดวิสัย ดังนี้ถือเปนความผิดของจําเลยไมได (คําพิพากษาฎีกาที่ 565/2497)

(7) ถาวัตถุแหงสัญญาซึ่งเปนทรัพยเฉพาะสิ่งสูญหาย หรือถูกทําลายโดยเหตุสุดวิสัย สัญญายอมระงับ แตถามิใชทรัพยเฉพาะสิ่ง เชนทําสัญญาซื้อขายกระสอบ จําเลยตองรับผิดตามสัญญา ไมอาจอางเหตุสุดวิสัยเปนขอแกตัวมิใหตองรับผิด เพราะจําเลยสามารถจัดหากระสอบชนิดเดียวกับที่ระบุไวในสัญญาซึ่งมีขายอยูทั่วไปสงมอบใหโจทกได หลักเดียวกันนี้ขยายไปถึงกรณีที่โรงงานเลิกลมกิจการแตมีโรงงานอื่นผลิตสินคาชนิดเดียวกัน ซ่ึงลูกหนี้ตองปฏิบัติการชําระหนี้ใหโจทก

(8) ในคดีเร่ืองหนึ่ง จําเลยที่ 1 ทําสัญญารับขนสงขาวสารของโจทกทางเรือจากกรุงเทพฯ ไปชุมพร มีจําเลยที่ 2 เปนผูค้ําประกัน สัญญาขอหนึ่งมีความวา “ของ (ขาวสาร) ที่บรรทุกนั้น ถาขาดจํานวนหรือเปยกน้ํา ผูรับจางจะใชคาเสียหายตามทุนหากวาถูกพายุหรือการ แอ็กซิเดนท ใดๆ ตางยกเลิกสัญญาทั้งสิ้น” จําเลยที่ 1 ถูกเรือกลไฟผูอ่ืนชนหัวเรือแตกและน้ําเขาเรือ จําเลยที่ 1 เกรงเรือจะลม จึงใหเอาขาวสารทิ้งน้ําเพื่อใหหัวเรือขึ้นสูงจากระดับน้ําเปนเหตุใหขาวสารหาย และเสียหายเพราะเปยกน้ํา ศาลฎีกาเห็นวา เหตุดังกลาวเกิดขึ้นกับจําเลยโดยไมรูตัว จําเลยมิไดมีสวนเกี่ยวของกอใหเกิดเหตุนั้นขึ้นโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอแตอยางใด นับวาเปนอุบัติเหตุเกิดขึ้นตามความมุงหมายแหงสัญญานี้

Page 7: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

7

แมคําพิพากษาฎีกาขางตน มิไดกลาววาเหตุที่เกิดขึ้นเปนเหตุสุดวิสัยก็ตาม แตคํา

วินิจฉัยที่วา “จําเลยมิไดมีสวนเกี่ยวของกอใหเกิดเหตุนั้นขึ้นโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอแตอยางใด นับวาเปนอุบัติเหตุเกิดขึ้นตามความมุงหมายแหงสัญญานี้” ประกอบกับนักนิติศาสตรบางทาน ไดรวบรวมและยอคําพิพากษาฎีกาฉบับนี้ไวภายใตประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 8 จึงมีปญหาวา คําวา อุบัติเหตุ และเหตุสุดวิสัยมีความหมายคลายคลึงหรือแตกตางกันหรือไมเพียงไร

8.1 “อุบัติเหตุ” หมายความวา เหตุที่เกิดขึ้นโดยไมทันคิด ความบังเอิญเปนแมจะไมมีบทวิเคราะหศัพทในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเชน เหตุสุดวิสัย แตมีปรากฏอยูในมาตรา 217 ลูกหนี้ตองรับผิดชอบในกรณีที่การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยเพราะอุบัติเหตุอันเกิดขึ้นในระหวางเวลาที่ตนทําผิดนัด มาตรา 439 กรณีคืนทรัพยเพราะเหตุทําละเมิด บุคคลนั้นตองรับผิดชอบตลอดถึงการที่ทรัพยถูกทําลายลงโดยอุบัติเหตุ หรือการคืนทรัพยตกเปนพนวิสัยเพราะอุบัติเหตุหรือทรัพยนั้นเสื่อมเสียลงโดยอุบัติเหตุ

8.2 โดยความหมายดังกลาวแลวในขอ 8.1 มีขอนาคิดวาอุบัติเหตุเปนจําพวกหนึ่งของเหตุสุดวิสัยในลักษณะที่ไมอาจปองกันได โดยใชความระมัดระวังตามสมควรของบุคคลนั้นในภาวะเชนนั้น เชน โดยนัยมาตรา 217 ลูกหนี้จะตองสงมอบรถยนตที่ขายใหกับเจาหนี้ในวันที่ 1 มิถุนายน 2525 แตลูกหนี้ไมสงมอบให ลูกหนี้ไดช่ือวาผิดนัดแลว ระหวางนั้นลูกหนี้เอารถยนตดังกลาวไปขับขี่ ถูกรถคันอื่นชนเสียหายโดยมิใชเกิดจากความผิดหรือประมาทเลินเลอของตน ลูกหนี้ก็ตองรับผิดตอเจาหนี้ในความเสียหายที่เกิดขึ้นตามมาตรานี้

กรณีตามตัวอยาง พอถือไดวา เปนเหตุสุดวิ สัยได เชนกัน แต เหตุสุดวิ สัย มีความหมายกวางกวา เพราะอาจเปนเหตุที่เกิดขึ้นจากเหตุการณธรรมชาติหรือจากการกระทําของคนก็ได ฉะนั้น พิจารณาในแงนี้ อุบัติเหตุจึงตางกับเหตุสุดวิสัยในมูลเหตุที่มา กลาวคือ อุบัติเหตุ เปนเหตุที่เกิดขึ้นซึ่งพอจะสืบสาวราวเรื่องไดจากการกระทําของคน สวนเหตุสุดวิสัยโดยทั่วๆ ไป อาจเนื่องมาจากการกระทําของบุคคล หรือภัยธรรมชาติ เชน ฟาผา น้ําทวม แผนดินไหว ก็ได

8.3 คําวา “อุบัติเหตุ” ตรงกับคําในภาษาอังกฤษวา accident สวนเหตุสุดวิสัยนั้นตนรางภาษาอังกฤษใชคําวา Force Majeure ซ่ึงเปนคําในกฎหมายฝรั่งเศส มีความหมายคลายคลึงกับ act of GOD ในกฎหมายอังกฤษ พิจารณาถอยคําภาษาไทยเปรียบเทียบกับถอยคําภาษาตางประเทศแลว เห็นไดวา “อุบัติเหตุ” กับ “เหตุสุดวิสัย” มีความหมายไมเหมือนกัน แตอาจสรุปไดวา เนื่องจากเหตุที่เกิดขึ้นมิใชเกิดจากความประมาทเลินเลอ หรือมิใชความผิดของ ผูประสบและเปนเหตุที่ เกิดขึ้นโดยบังเอิญ อุบัติเหตุจึงเขาลักษณะเหตุสุดวิสัยได แตมิไดหมายความวา เหตุสุดวิสัยทุกอยางเปนอุบัติเหตุ อุบัติเหตุเปนเพียงสวนหนึ่งของเหตุสุดวิสัยเทานั้น

Page 8: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

8

8.4 เหตุผลงายๆ ที่แสดงวา “เหตุสุดวิสัย” กับ “อุบัติเหตุ” มีความหมายไม

เหมือนกันก็คือ คําสองคําเขียนตางกัน หากตองการใหมีความหมายเชนเดียวกันก็นาจะใชคําเหมือนกัน เพื่อมิใหเกิดความสับสนและยุงยากในการตีความแกบรรดาผูประกอบวิชาชีพกฎหมายทั้งหลายซึ่งมีขอถกเถียงกันไมมีที่ส้ินสุด เพราะขึ้นชื่อวานักกฎหมายแลว เร่ืองที่จะไมโตแยงกันเห็นจะไมมีอยางไรก็ตามมีขอนาสังเกตวา เนื่องจากกฎหมายมีบทวิเคราะหศัพทของคําวาเหตุสุดวิสัย แตไมใหนิยามของคําวาอุบัติเหตุไว คําพิพากษาที่วินิจฉัยถึงความแตกตางของสองคํานี้ ก็ไมมี แตจากความเขาใจโดยทั่วไปทั้งสองคํานี้มีความหมายตอเนื่องใกลเคียงกันมาก แมไมอาจกลาวไดวาเหมือนกัน แตก็สับสนปนเปกันในการสื่อความหมายตามสมควร เชนมักจะไดยินคําพูดหรือการรายงานขาวในทํานองวา “เกิดอุบัติเหตุรถชนกันที่................ไฟไหมรถของนาย................สุดวิสัยที่จะดับได” ทั้งๆ ที่อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในลักษณะนี้ อาจเปนเหตุสุดวิสัยไดตามความหมายของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยหากพิสูจนไดวา ไมใชเกิดจากความผิดของผูตองประสบและผูประสบไดใชความระมัดระวังตามสมควรแลวในทํานองเดียวกัน ถามีภัยธรรมชาติเกิดขึ้น เชน น้ําทวม แผนดินไหว หรือในกรณีที่ความสูญเสียเกิดจากบุคคลที่ 3 เชน โจรปลน กรรมกรหยุดงาน ยอมไมมีใครกลาวไดวา เปนอุบัติเหตุ แตอาจเปนเหตุสุดวิสัยไดตามกฎหมาย

สรุป เหตุสุดวิสัยนี้ อาจเกิดจากธรรมชาติหรือการกระทําของบุคคลก็ได (3) เกิดจากพฤติการณอันหนึ่งอันใด ที่คูสัญญาไมตองรับผิดชอบตามกฎหมาย

นั้น ไมมีขอจํากัดวาจะตองเปนพฤติการณอยางใด ขอสําคัญจะตองเปนพฤติการณ ซ่ึงเกิดขึ้น โดยมิใชความผิดของคูสัญญา อาจเปนเหตุสุดวิสัย หรือเหตุขัดขวางอยางอื่น ซ่ึงคูสัญญามิไดกอใหเกิดขึ้นเอง หรือไมตองรับผิดชอบในเหตุนั้น เชน

ตัวอยางที่ 1 ก ยืมรถยนต ข ไปใช สัญญาวาจะคืนใหภายใน 7 วัน คร้ันครบกําหนด ก จะตองสงรถยนตคืนให ข นั้น น้ําทวมตําบลที่ ก และ ข อยู ก ไมสามารถสงมอบรถยนตคืน ข ไดตามกําหนด ดังนี้ จะถือวา ก ผิดนัดไมได เพราะพฤติการณอันเปนเหตุให ก ไมสามารถสงคืนรถยนตคืน ข นั้น ก ไมตองรับผิดชอบ

ตัวอยางที่ 2 ถา ก ไมสามารถนํารถยนตไปคืน ข ได เพราะ ก เมาสุราอาละวาดจนถูกตํารวจจับไปขังไว หรือ ก เอารถยนตไปใหคนอื่นยืมตอไปจึงไมสามารถคืนรถยนตแก ข ได ตามกําหนด ดังนี้ ก ไมอาจอางเหตุตามขอ 139(3) ได เพราะพฤติการณอันเปนเหตุให ก ไมสามารถคืนรถยนตไดตามกําหนดดังกลาวนั้น ก ตองรับผิดชอบ

ตัวอยางคําพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับพฤติการณอยางอื่นที่ลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบ ฎีกา 2040/2520 สัญญาซื้อขายเสาเข็ม กําหนดใหผูขายตอกเข็มดวย โดยผูซ้ือ

ตองเตรียมสถานที่ใหพรอมที่จะตอกได ตองเตรียมทางใหรถยนตบรรทุกเสาเข็มเขาถึงได เปน

Page 9: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

9

หนาที่ผูซ้ือตัดเสาเข็มที่ตอกจมดินไมได ผูซ้ือไมร้ือถอนรากฐานเกา ไมทําทางใหรถเขาไดสะดวก ไมตัดหัวเสาเข็ม ทําใหการตอกเข็มสําเร็จลาชากวากําหนด ผูซ้ือตองรับผิดใชราคาเสาเข็มที่ซ้ือ

ฎีกา 2189/2523 จําเลยทําสัญญาซื้อของจากโจทก ซ่ึงตองสั่งซื้อจากตางประเทศของสูญหายในระหวางขนสงมาประเทศไทย จึงเปนเรื่องพนวิสัยที่โจทกจะปองกันได ถือวาเปนพฤติการณอันโจทกไมตองรับผิดชอบ ตาม ป.พ.พ. มาตรา 205 โจทกยังไมไดช่ือวาผิดนัดจําเลยตองใหเวลาแกโจทกปฏิบัติตามสัญญา เพราะเวลาที่กําหนดไวเดิมลวงพนไปแลว

ฎีกา 3095/2523 วันที่กําหนดจะไปจดทะเบียนโอนบานกัน ณ ที่วาการอําเภอบังเอิญตรงกับวันอาทิตย โจทกจําเลยจะถือเอาขอกําหนดวันดังกลาวมาเปนขออางวาอีกฝายเปน ผูผิดนัดหาไดไม

การงดหรือลดคาปรับ กรณีตองเปนกรณีที่คูสัญญา ไดสงมอบสิ่งของหรือสงมอบงานตามสัญญาแลว

แตสงมอบสิ่งของลาชา หรือสงมอบงานลาชากวากําหนดของสัญญา และจะตองถูกปรับตามสัญญา แตเนื่องจากมีเหตุอุปสรรคอยางหนึ่งอยางใดตามขอ 139(1)-(3) จึงตองนําเหตุนั้นมางดหรือลดคาปรับ

ตัวอยางที่ 1 บริษัท ก ตองทํางานใหแลวเสร็จภายใน 30 วัน หรือภายในวันที่ 30 กันยายน นับแตวันลงนามในสัญญา แตบริษัท ก สงมอบงานงวดสุดทาย เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ดังนี้ บริษัท ก ตองถูกปรับเปนระยะเวลา 62 วัน แตเนื่องจากมีเหตุสุดวิสัย 60 วัน ดังนั้น เหตุลดคาปรับจึงมีเพียง 60 บริษัท ก จะตองถูกปรับ 2 วัน

ตัวอยางที่ 2 ตามตัวอยางที่ 1 หากบริษัท ก มีเหตุสุดวิสัย 70 วัน ดังนั้น จึงตองงดคาปรับใหบริษัท ก เปนเวลาเพียง 62 วัน ตามที่จะตองถูกปรับจริง

การขยายเวลาทําการ โดยปกติเรามักจะเรียกกันวาขยายอายุสัญญา หรือตออายุสัญญา ดังนั้น อาจกลาวไดวาการขยายเวลาทําการคือการชดเชยระยะเวลาที่เสียไป หรือระยะเวลาที่ขัดขวางการดําเนินการตามสัญญา ทั้งนี้ตองเปนเหตุหนึ่งเหตุใดตาม ขอ 139 (1) – (3) และยังไมมีการสงมอบสิ่งของ หรืองานงวดสุดทาย ทั้งนี้เพื่อคูสัญญาจะไดนําระยะเวลาที่ขยายใหไปทํางานที่เหลืออยูหรือเพื่อสงมอบสิ่งของ

การที่ระเบียบขอ 139 วรรคทาย กําหนดใหคูสัญญาฝายผูรับจางหรือผูขายตองแจงเหตุภายใน 15 วัน นับแตเหตุนั้นสิ้นสุด เพื่อตองการทราบความจริงวาเหตุตาม (2) และ (3) ของขอ 139 ไดเกิดขึ้นจริงและมีความเสียหายจริง เพราะบางครั้งแมจะเกิดเหตุตาม (2) และ (3) ผูรับจางหรือผูขายยังทําการไดอยู มิไดรับความเสียหายแตอยางใด ดังนั้น บางครั้งผูรับจางหรือผูขายจึงมิไดขอลดงดคาปรับ หรือขอขยายระยะเวลามา และโดยเฉพาะเพื่อใหคูสัญญานําพยานเอกสารและพยานบุคคลและขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น พิสูจนใหสวนราชการไดทราบถึงเหตุที่เกิดขึ้นตาม

Page 10: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

10

(2) และ (3) หากปลอยระยะเวลาทิ้งไวเนิ่นนานพยานเอกสาร พยานบุคคลและขอเท็จจริงก็จะ สูญหาย และหายาก อันจะทําใหสวนราชการจะหาเหตุผลขอเท็จจริง พยานหลักฐานดังกลาวมารับรองความรับผิดชอบของตนในการลด งดคาปรับหรือขยายระยะเวลาทําการใหกับคูสัญญา

การแจงเหตุตาม (2) และ (3) ภายใน 15 วัน นับแตเหตุส้ินสุดนั้น คูสัญญาจะแจงเหตุกอน 15 วัน ไดหรือไม ผูเขียน(นายบรม ศรีสุข) เห็นวาการแจงเหตุดังกลาวทําได 2 ระยะ ดังนี้

(1) เมื่อมีเหตุตาม (2) และ (3) เกิดขึ้น คูสัญญาฝายผูรับจางหรือผูขายสามารถแจงเหตุขอลด งดคาปรับหรือขอขยายระยะเวลาทําการไดทันที โดยไมตองรอใหเหตุตาม (2) และ (3) ส้ินสุดกอนแลวจึงแจงเหตุภายใน 15 วัน ดังกลาว

(2) เมื่อเหตุตาม (2) และ (3) ส้ินสุดลง คูสัญญาฝายผูรับจางหรือผูขายจะแจงเหตุขอลด งดคาปรับหรือขยายระยะเวลาทําการตาม (2) หรือ (3) ภายใน 15 วัน มิฉะนั้นถือวาผูรับจางหรือผูขายสละสิทธิดังกลาว

ดังนั้น การที่สวนราชการจะลดหรืองดคาปรับหรือขยายระยะเวลาจะตองพิจารณากอนวา “นับแตเหตุตาม (2) และ (3) ไดส้ินสุดลง คูสัญญาฝายผูรับจางหรือผูขายไดแจงเหตุดังกลาวเปนหนังสือใหสวนราชการทราบกอนหรือภายหลังสิบหาวันนับแตเหตุนั้นสิ้นสุด” หรือไมมีการแจงเหตุจะถือวาผูรับจางหรือผูขายสละสิทธิ การขอลด งดคาปรับหรือการขอขยายระยะเวลาทําการตามสัญญา (ดู ขอ 2 วรรคสองและขอ 12 วรรคสอง ของตัวอยางสัญญาจางและสัญญาซื้อขายทายระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ซ่ึงกําหนดใหผูรับจางและผูขายตองแจงเหตุตาม (2) หรือ (3) ภายใน 15 วัน นับแตเหตุนั้นสิ้นสุดลง ประกอบ) เวนแตเปนเหตุตาม (1) ซ่ึงมีหลักฐานชัดแจง หรือสวนราชการทราบดีอยูแลวมาแตตน คูสัญญาฝายผูรับจางหรือผูขายที่ไมแจงเหตุตาม (1) เพราะโดยหลักเมื่อเปนความผิดหรือความบกพรองของสวนราชการจะตองถือวาสวนราชการเปนฝายผิดสัญญา ที่สวนราชการจะตองขยายระยะเวลาทําการให เชน กรณี สวนราชการสงมอบพื้นที่ใหผูรับจางเขาทํางานไมได สวนราชการยอมทราบเหตุนั้นมาแตตน และตองถือเปนความผิดของสวนราชการเปนตน

ขอสังเกต กรณีสัญญาจางที่ปรึกษา สัญญาจะเขียนแตกตางกัน กลาวคือ ที่ปรึกษาจะตองแจงเหตุสุดวิสัยใหสวนราชการพิจารณาภายใน 14 วัน นับแตวันที่เกิดอุปสรรควาสวนราชการจะยอมรับหรือไม

ปญหาที่สํานักงานอัยการสูงสุด และ กวพ. ตอบขอหารือ ตัวอยางเชน (1) ผูรับจางขาดเงินทุนหมุนเวียนขาดลูกจางแรงงาน หรืออางวา สวนราชการ

จายเงินคาจางหรือคาสิ่งของลาชาหรือธนาคารอนุมัติจายสินเชื่อลาชา เหตุผลที่ไมถือเปนเหตุสุดวิสัยเพราะ เปนหนาที่ของผูรับจางหรือผูขายที่จะตองมีเงินทุนหมุนเวียนหรือตระเตรียมหาลูกจางแรงงานใหพอกอนเขาเสนอราคาและทําสัญญา การที่สวนราชการจายเงินลาชาเปนเหตุให

Page 11: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

11

ผูรับจางหรือผูขายเรียกคาเสียหายจากสวนราชการได นับแตเวลาที่สวนราชการผิดนัดชําระหนี้เปนอัตราดอกเบี้ยได 7 ½ % ตอป ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 7 และ 224 ทั้งนี้ ตามนัยคําตอบขอหารือของสํานักงานอัยการสูงสุดที่ ห.167/2525 หนา 1630 และ 168/2525 หนาที่ 1632 คําวิจฉัย กวพ.ที่ พณ.5-26/2546 และที่ พณ.3-15/2546

(2) มีปญหาในทางปฏิบัติกรณีฝนตกเปนเหตุสุดวิสัยนั้น หากเปนฝนตกน้ําทวมขงับริเวณสถานที่กอสรางไดเกิดขึ้นในชวงเวลาทําการตามสัญญาเปนประจําทุกป แลวก็นับไดวาเหตุนั้นมิใชเหตุสุดวิสัย เพราะกอนทําสัญญาผูรับจางยอมจะใชความระมัดระวังและปองกันในการตอรองระยะเวลาการทํางานใหมีระยะเวลาเทาที่จะสามารถปฏิบัติงานใหแลวเสร็จ เวนแตเหตุนั้นมิไดเกิดขึ้นเปนประจําทุกปและคาดหมายไมไดวาจะเกิดขึ้นเมื่อใดหรือไมก็อาจถือเปนเหตุสุดวิสัยได ทั้งนี้ยอมแลวแตขอเท็จจริง (ตามนัยคําวินิจฉัยอัยการสูงสุดที่ 26/2528) แตอยางไรก็ดี หากปรากฏขอเท็จจริงวาฝนตกน้ําทวมจนเปนเหตุสุดวิสัยที่ทําใหผูรับจางไมสามารถปฏิบัติงานแลวเสร็จตามสัญญาไดจริง ก็อาจขยายเวลาทําการตามสัญญาได (ตามนัยหนังสือสํานักงานอัยการสูงสุด ดวนมาก ที่ อส 0017/8467 ลงวันที่ 22 มิถุนายน 2544 แจงตอบอธิบดีกรมอาชีวศึกษา กับนัยคําวินิจฉัย กวพ. เอกสารหมายเลข พณ 1-4/2549 และ 5-38/2550)

แตหากฝนตกเปนอุทกภัยน้ําทวมเปนเหตุถนนขาดจนทําใหผูรับจางขาดแรงงาน เนื่องจากคนงานกอสรางที่สวนราชการจังหวัดสงขลากลับไปพักนอนที่จังหวัดพัทลุง ซ่ึงอยูหางประมาณ 30 กิโลเมตร กลับมาทํางานที่บริเวณกอสรางไมไดเชนนี้ ก็เปนดุลพินิจของสวนราชการขยายเวลาตามความเปนจริงได และโดยผลของน้ําทวมเปนเหตุทําใหพื้นที่กอสรางซึ่งผูรับจางไดปรับสภาพพื้นที่เรียบรอยพรอมทํางานแลวเกิดการเสียหายระยะเวลาที่ผูรับจางใชไปในการตองปรับพื้นที่ใหเรียบรอยพรอมกอสรางใหม สวนราชการสามารถพิจารณาขยายระยะเวลาทําการ เพื่อลดหรืองดคาปรับใหไดตามขอเท็จจริง (ตามนัยคําวินิจฉัย กวพ. ที่ พณ 4-12/2549)

เหตุตาม (3) ซ่ึงเปนเหตุที่ เกิดจากพฤติการณอันใดอันหนึ่งที่คูสัญญาไมตองรับผิดชอบตามกฎหมายนี้ หมายถึงเหตุตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 205 ซ่ึงบัญญัติวา “ตราบใดการชําระหนี้นั้นยังไมไดกระทําลง เพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่ง ซ่ึงลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบ ตราบนั้น ลูกหนี้ยังหาไดช่ือวาผิดนัดไม” ซ่ึงพฤติการณอันใดอันหนึ่งนี้จะตองเกิดขึ้นกอนผิดนัดมิใชเกิดขึ้นหลังผิดนัดแลว (หลังสัญญาสิ้นสุดแลว) เชน บริษัท ก. รับจางกอสรางอาคารใหแลวเสร็จภายใน 360 วัน ไดทาํการกอสรางอาคารจนเลยกําหนดเวลาแลวเสร็จไป 370 วันก็ยังกอสรางไมแลวเสร็จ ระหวางนั้นไดเกิดอุทกภัยน้ําทวมจนกอสรางไมไดเปนเวลา 30 วัน ระยะเวลาน้ําทวม 30 วันนี้ สวนราชการผูวาจางจะขยายระยะเวลาทําการตามสัญญาใหกับผูรับจางไมได เพราะระยะเวลาดังกลาวเกิดขึ้นภายหลังที่ผูรับจางผิดนัดแลว ความเสียหายยอมเกิดขึ้นแกสวนราชการดวย เชน ทําใหสวนราชการไมไดใชอาคารสํานักงานตองไปเชาสํานักงาน

Page 12: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

12

เอกชน เสียคาเชาเปนรายเดือน หากลดหรืองดคาปรับใหผูรับจาง สวนราชการยอมไมไดรับคาปรับเปนเสียหายซึ่งเปนไปตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 205 ประกอบดวย มาตรา 217 และนัยคําวินิจฉัยสํานักงานอัยการสูงสุดที่ ห.221/2523 หนา 1102 และ ห.80/2523 หนา 910

และพฤติการณนี้โดยหลักจะตองไมใชความผิดของฝายผูรับจางหรือผูขาย แตตองเปนความผิด หรือบกพรองของฝายสวนราชการ ซ่ึงอาจจะเปนตัวสวนราชการผูวาจางนั้นเอง หรือสวนราชการที่มิไดวาจางหรือซ้ือก็ตามเพราะถือวาเปนฝายของสวนราชการ เชน มีกลุมอิทธิพลขมขู เ รียกคาคุมครองซึ่งทางราชการคุมครองไมได (คําวินิจฉัยสํานักงานอัยการสูงสุด ที่ ห.190/2528 หนา 6841) กรมไปรษณียโทรเลขออกใบอนุญาตสรางเครื่องรับสงวิทยุลาชา (ตามคําวินิจฉัยสํานักงาอัยการสูงสุดที่ ห.57/2527 หนา 325) หรือคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กทช.) ตรวจรับรอง และการออกใบอนุญาตนําเขาเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม GPS พรอมวิทยุและอุปกรณลาชา (ตามนัยคําวินิจฉัย กวพ.สน.2-18/2550) ผูรับจางขุดที่กอสรางพบอาคารเกาฝงลึกตองใชเวลารื้อถอนออกกอนกอสราง (ตามคําวินิจฉัยสํานักงานอัยการสูงสุด ที่ ห.41/2530 หนา 47) หรือราชการติดตั้งหมอแปลงไฟฟาลาชาทําใหกอสรางไมแลวเสร็จ แมผูรับจางมีหนาที่ตามขอกําหนดสัญญาจะตองทําการติดตั้ง โดยคาใชจายของผูรับจาง ซ่ึงผูรับจางแจงใหการไฟฟาทราบแตตน เมื่อลงนามสัญญาแลว แตการไฟฟามาติดตั้งลาชา เชนนี้ ถือวาเปนพฤติการณที่ ผูรับจางไมตองรับผิดชอบ เพราะผูรับจางไมอาจจางบุคคลอื่นมาติดตั้งมาติดตั้งได เนื่องจากเปนหนาที่ของการไฟฟาตามกฎหมายที่บุคคลอื่นจะเขาไปดําเนินการแทนไมได แตหากสัญญากําหนดใหผูรับจางมีหนาที่รับผิดชอบรื้อยายเสาไฟฟา และออกคาใชจายทั้งหมด โดยผูรับจางไมใชเปนเหตุในการขอตอสัญญาเชนนี้ สวนราชการยอมขยายระยะเวลาใหผูรับจางไมได เพราะเปนความสมัครใจของผูรับจางเองที่จะไมขอตออายุสัญญา (คําวินิจฉัย กวพ.ที่ พณ.2-30/2546) กรณีบริษัทผูรับจางอางวาชาวบานไมยินยอมใหกอสรางเพราะเกรงวาจะเกิดความเสียหายถึงตัวบาน สวนราชการจะขยายเวลาใหไมได เพราะเปนหนาที่ของผูรับจางที่จะตองปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการทํางานของตน เปนตน

(3) กรณีเคยมีปญหาสัญญาจางกอสรางอาคารกําหนดใหทํางานแลวเสร็จ ภายในวันที่ 30 กันยายน 2546 ผูรับจางไดกอสรางแลวเสร็จและสงมอบงานใหกรม ผูวาจางตรวจรับงานในวันที่ 25 กันยายน 2546 คณะกรรมการตรวจการจางใชเวลาตรวจรับงานไปจนถึงวันที่ 5 ตุลาคม 2546 และแจงใหผูรับจางแกไขงานใหถูกตองตามสัญญา ผูรับจางไดใชเวลาแกไขงาน 2 วัน ก็แลวเสร็จ และสงใหกรมตรวจรับงานในวันที่ 7 ตุลาคม 2546 คณะกรรมการตรวจการจางไดตรวจงานเห็นวาถูกตองเรียบรอย กรมไดรับมอบงานในวันที่ 12 ตุลาคม 2546 มีปญหาวากรมจะใชสิทธิปรับผูรับจางกรณีเลยกําหนดเวลาแลวเสร็จ (30 กันยายน 2546) ไดหรือไม กรณีเชนนี้ กรมใชสิทธิ

Page 13: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

13

ปรับผูรับจางไมได แมจะเลยกําหนดเวลาแลวเสร็จแลวก็ตาม เพราะการตรวจรับมอบงานนั้นหากกรมตรวจรับงานแลว เห็นวางานถูกตองเรียบรอยและรับมอบงานไว การรับมอบงานของกรมก็จะมีผลยอนหลังไปถึงวันที่ผูรับจางสงมอบงาน คือวันที่ 25 กันยายน 2546 ตามระเบียบสํานักนายกฯ พ.ศ.2535 ขอ 72(4) ผูรับจางจึงเหลือระยะเวลาอีก 5 วัน ในการแกไขงาน ดังนั้น เมื่อผูรับจางใชเวลาแกไขงาน 2 วัน ก็แลวเสร็จและสงมอบงานใหกรมในวันแลวเสร็จนั้น ผูรับจางจึงเหลือเวลาอีก 3 วัน ที่จะครบกําหนดแลวเสร็จ จึงถือวา ผูรับจางมิไดทํางานลาชาเกินกําหนดระยะเวลาตามสัญญา กรมจึงใชสิทธิปรับผูรับจางไมได ชวงระยะเวลาที่เสียไปจนถึงวันที่ 12 ตุลาคม 2546 เปนชวงระยะเวลาที่กรมใชไปในการตรวจรับงาน ไมใชความผิดของผูรับจาง จึงนําชวงระยะเวลาเลยกําหนดระยะเวลาตามสัญญาตั้งแต 1-12 ตุลาคม 2546 มาปรับผูรับจางไมไดดังกลาว

(4) กรณีปญหาที่ผูรับจางใชระยะเวลาการรื้อถอนสิ่งปลูกสรางชั่วคราว กลบเกลี่ยพื้นดินตลอดจนการทําความสะอาดบริเวณกอสรางจนเลยกําหนดเวลาตามสัญญา มีปญหาวาจะปรับผูรับจางไดหรือไม สํานักงานอัยการสูงสุดวินิจฉัยวางานดังกลาวมิใชงานจางตามรูปแบบรายละเอียดทายสัญญา ซ่ึงกําหนดใหผูรับจางตองทํางานใหแลวเสร็จภายในกําหนดตามสัญญา ฉะนั้น การทํางานดังกลาวแมลวงเลยกําหนดเวลาตามสัญญา ผูวาจางไมอาจนํามาคํานวณเพื่อการปรับได (คําวินิจฉัยสํานักงานอัยการสูงสุดที่ ห.44/2544 หนา 1185)

(5) กรณีสวนราชการผูวาจางไดอนุมัติใหผูรับจางเลิกสัญญาดวยความสมัครใจทั้งสองฝาย โดยสวนราชการมิไดสงวนสิทธิเรียกคาเสียหายและคาปรับไว สวนราชการจะเรียกรองคาเสียหายและคาปรับจากผูรับจางไมได เพราะเปนเรื่อง เลิกสัญญา โดยสมัครใจทั้งสองฝาย ผูรับจางจึงมิใชผูปฏิบัติผิดสัญญา ตามนัยคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 710/2482 (คําวินิจฉัยสํานักงานอัยการสูงสุดที่ ห.78/2521 หนา 463)

(6) กรมฯ ไดวาจาง บริษัทกอสรางอาคารเรียน โดยสัญญากําหนดให “บริษัทผูรับจางมีหนาที่ทดสอบการรับน้ําหนักของดินฐานรากที่จะกอสรางอาคารเรียนนั้น” ปรากฏวาเมื่อผูรับจางเขาดําเนินการปรับพื้นที่ และไดมีหนังสือลงวันที่ 15 กรกฎาคม 2545 (ทําสัญญา 27 มิถุนายน 2545) ขอใหโยธาธิการจังหวัดมาทําการทดสอบที่ดินให ซ่ึงโยธาธิการจังหวัดไดทําการทดสอบ และแจงใหผูรับจางทราบเมื่อ 25 ธันวาคม 2546 ซ่ึงกรมฯไดรวมทดสอบดวย และกรมฯไดมีหนังสือส่ังการใหโยธาธิการจังหวัดทดสอบอีกครั้งหนึ่ง ผูรับจางขอขยายระยะเวลาที่ตองเสียไป เพราะรอผลทดสอบ การรับน้ําหนักของดินฐานรากที่โยธาธิการจังหวัดไดใชไป กวพ.วินิจฉัยวาขยายระยะเวลาไมได เพราะเปนหนาที่ของผูรับจางที่จะตองทดสอบการรับน้ําหนักของดินฐานรากนั้นเอง ที่ผูรับจางสามารถใหวิศวกรของบริษัทหรือบริษัทเอกชนทดสอบได การใหสวนราชการไปทดสอบไมเปนเหตุใหขยายระยะเวลาได เปนเรื่องที่สวนราชการไมมีหนาที่ตามสัญญาและเขาไปทําผิดหนาที่โดยพละการ (คําวินิจฉัย กวพ. พณ.ที่ 4-30/2546) อนึ่ง มีขอสังเกต

Page 14: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

14

วาในเอกสารประกวดราคาจะกําหนดใหผูรับจางมีหนาที่ไปดู Site งาน (สถานที่กอสราง) และในทางปฏิบัติกอนประกวดราคา ผูเสนอราคาจะตองไปรับฟงคําชี้แจงจากเจาหนาที่และไปดูสถานที่กอสราง หากผูเสนอราคาไมไปและชนะการประกวดราคา แมสัญญาไมกําหนดหนาที่ดังกลาว หากเกิดปญหาดังกลาวผูเสนอราคารายนั้น ก็จะตองรับผิดชอบเอง จะขอขยายระยะเวลาไมได

(7) คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 156/21 หนา 1463 สัญญากําหนดใหปรับวันละ 300 บาท เมื่อผูรับจางกอสรางไมเสร็จตามกําหนดเวลา และสัญญาอีกขอกําหนดใหผูรับจางจะตองจายคาควบคุมงานใหแทนผูวาจาง ที่ผูวาจางตองจางผูควบคุมงานนั้นอีกตอหนึ่งนับแตวันที่ลวงเลยกําหนดเวลาแลวเสร็จตามสัญญาจนถึงวันที่โจทกสงมอบงานเปนรายวัน วันละ 50 บาท อีกสวนหนึ่งตางหากจากคาปรับดวย ผูวาจางปรับตามสัญญาได โดยไมตองพิสูจนความเสียหายใด ๆ เลยเกี่ยวกับจํานวนเบี้ยปรับที่สัญญากันไว สวนคาควบคุมงานซึ่งผูรับจางสัญญาจะชดใชใหเปนคาเสียหายแกผูวาจาง ศาลฎีกาเห็นวาจําเลยมีสิทธิเรียกใหโจทกชําระหรือหักเอาเงินคาจางของ ผูรับจางไดก็ตอเมื่อไดความวาจําเลยไดจางผูควบคุมงานในระยะที่ลวงเลยกําหนดเวลาดังกลาว และผูวาจางไดจายหรือจะตองจายเงินจํานวนนี้ใหแกผูควบคุมงาน แตผูวาจางมิไดนําสืบวาไดเสียหายในขอนี้อยางไร ผูรับจางจึงไมมีหนาที่จะตองจายเงินจํานวนนี้ใหผูวาจางศาลพิพากษาให ผูวาจางคืนเงินคาจางของผูรับจางที่ผูวาจางหักไวเปนคาจางผูควบคุมงาน 11,450 บาท ใหแกผูรับจาง

(8) มหาวิทยาลัยไดทําสัญญาจางกอสรางอาคารอเนกประสงค 1 หลัง กําหนดแลวเสร็จ วันที่ 18 มีนาคม แตมหาวิทยาลัยจะตองจัดงานพระราชทานปริญญาบัตรวันที่ 21-23 มีนาคม จึงจําเปนตองปดถนนดานหนาที่ทําการกอสรางอาคารอเนกประสงค ทําใหสามารถใชผานเขาออกบริเวณกอสรางไดเพียงทางเดียว และคนมีจํานวนมากอาจกระทบตอความปลอดภัยของบุคคลเขาออก มีปญหาวาผูรับจางไมสามารถทํางานไดสะดวก ผูรับจางจะอางเปนเหตุของดหรือลดคาปรับไดหรือไม กวพ. วินิจฉัยวา หากครบกําหนดสัญญาแลวผูรับจางไมสามารถสงมอบงานได ตองถือวาผูรับจางผิดนัดตามสัญญา ประกอบดวย ป.พ.พ.มาตรา 204 วรรคทาย ผูรับจางตองรับผิดในคาปรับ แตอยาไรก็ดี หากผูวาจางสั่งหยุดงานเพราะมีผลกระทบตอการทํางานของ ผูรับจาง เชน ผูวาจางสั่งหยุดงานเพราะฝนตกชุก น้ําทวมขังบริเวณกอสรางจะมีผลทําใหงานฐานรากหรือโครงสรางจะไมแข็งแรง ผูวาจางจะตองพิจารณาลดหรืองดคาปรับใหโดยผูรับจางไมตองแจงเหตุ 15 วัน เพราะผูวาจางทราบเรื่องดีอยูแลว (คําวินิจฉัย กวพ.ที่ พณ 1-5/2549 2-13/2549)

(9) กรณีมีปญหาในทางปฏิบัติเสมอที่สวนราชการไดทําบันทึกขยายเวลาทําการเพื่อลดหรืองดคาปรับใหแกฝายผูรับจาง โดยกําหนดในบันทึกแกไขสัญญาวาขยายเวลาเฉพาะในงวดงานนั้นๆ เทานั้น มิไดขยายเวลาทั้งสัญญา การขยายเวลาทําการมีผลเฉพาะในงวดงานนั้น ๆ

Page 15: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

15

ไดหรือไม ตัวอยางเชน งานกอสรางขุดบอบาดาล โดยสวนราชการเปนผูออกแบบและกําหนดจุดขุดบอบาดาลในพื้นที่กอสราง ซ่ึงสวนราชการไดแบงงวดงานเปน 20 งวด ตอมาในงวดงานที่ 15 เปนงวดที่กําหนดขุดบอบาดาล ปรากฏวาผูรับจางใชเวลาขุดเจาะบอบาดาล 5-6 เดือน ตามที่สวนราชการชี้ใหขุดเจาะ 2-3 ที่แลวไมพบน้ํา จึงไดแกไขเปลี่ยนแบบบอบาดาลเปนบอน้ําธรรมดา โดยใชผายางรองกนบอโดยใชระยะเวลาการอนุมัติแกไขแบบดังกลาวนานหลายเดือน สวนราชการกับผูรับจางจึงไดตกลงทําบันทึกขยายเวลาทํางานเพื่องดหรือลดคาปรับในงวดที่ 15 ใหแกผูรับจาง 70 วัน เมื่อผูรับจางทํางานแลวเสร็จ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2548 เลยกําหนดเวลาแลวเสร็จตามสัญญาคือวันท่ี 30 กันยายน 2548 ไป 61 วัน สวนราชการปรับผูรับจาง 61 วัน โดยอางวา สวนราชการขยายเวลาทําการใหเฉพาะงานงวดที่ 15 และผูรับจางมิไดแจงเหตุเปนหนังสือภายใน 15 วัน นับแตเหตุส้ินสุดลง แตผูรับจางอางวาการขยายเวลา 70 วัน เปนการขยายเวลาทั้งสัญญา และการขุดบอบาดาลไมพบน้ําเลยเปนเหตุพนวิสัยที่สวนราชการตองทราบเหตุดีอยูแลว ไมตองแจงเหตุเปนหนังสือภายใน 15 วัน นับแตเหตุนั้นสิ้นสุดลง ผูเขียน(นายบรม ศรีสุข) เห็นวา “การกําหนดงวดงานนั้น” โดยวัตถุประสงคหลักของสัญญาที่กําหนดระยะเวลางานแลวเสร็จและการปรับไวเปนกําหนดเวลาเดียว เมื่อจะปรับหรือขยายระยะเวลายอมจะมีผลทั้งสัญญามิใชขยายระยะเวลาเฉพาะงวดนั้น และการกําหนดงวดงานนั้น ดังนั้นเมื่อผูรับจางทํางานไมแลวเสร็จในงวดนั้น ตองถือวาผูรับจางปฏิบัติผิดสัญญา ผูรับจางก็ยังไมมีสิทธิรับเงิน(คาจาง) ในงวดงานนั้น แตหากผูรับจางทํางานในงวดนั้นแลวเสร็จกอนกําหนดเวลาในงวดนั้น ผูรับจางก็มีสิทธิรับเงิน แตหากผูรับจางทํางานแลวเสร็จลาชากวาวันที่ 30 กันยายน 2548 ตองถือวาผูรับจางผิดนัดชําระหนี้ ดังนั้น สวนราชการจึงมีสิทธิปรับผูรับจางตามจํานวนวันที่ผูรับจางทํางานลาชาคือ 61 วัน แตเนื่องจากสวนราชการไดทําบันทึกโดยมีเจตนารมณขยายเวลาทําการใหผูรับจาง 70 วัน แมบันทึกจะกําหนดวาใหขยายเวลาทําการเฉพาะงวดที่ 15 ก็ตาม แตก็ตีความตามเจตนารมณที่แทจริงยิ่งกวาตามถอยคําสํานวนหรือตัวอักษร ตาม ป.พ.พ. มาตรา 171 ดังนั้น ตองถือวาสวนราชการขยายเวลาทําการทั้งสัญญาใหผูรับจาง 70 วัน จึงตองนับระยะเวลาตอตอจากวันที่ 30 กันยายน 2548 ไปอีก 70 วัน ดังนั้น จึงปรับผูรับจางไมได ฉะนั้น เมื่อสวนราชการตองการขยายเวลาทําการหรือลดหรืองดคาปรับใหผูรับจาง จึงตองตีความดังกลาว และโดยเฉพาะการที่ผูรับจางขุดเจาะบอบาดาลไมพบน้ําตองถือวาเปนเหตุพนวิสัยที่เปนความผิดของฝายสวนราชการที่เปนผูออกแบบและกําหนดจุดบอบาดาล ที่ตองถือวาสวนราชการทราบเหตุมาแตตน ดังนั้น สวนราชการจะตองนําระยะเวลาที่ผูรับจางใชไปในการขุดบอบาดาล 5-6 เดือนกับระยะเวลาที่สวนราชการใชไปในการอนุมัติแกไขแบบซึ่งมีผลทําใหผูรับจางไมสามารถทํางานในชวงดังกลาวได ซ่ึงเมื่อคํานวณระยะเวลาแลวยอมเลยกําหนดเวลาลาชา 61 วันที่สวนราชการไมสามารถปรับผูรับจางได

Page 16: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

16

(10) มหาวิทยาลัยไดทําสัญญาเลขที่ 1 จางหาง ก.กอสรางอาคารปฏิบัติการ

นาฏศิลป 1 หลัง ราคา 13 ลานบาท สัญญาสิ้นสุด 20 เมษายน 2548 ตอมามหาวิทยาลัยไดทําสัญญาเลขที่ 2 จางหาง ก.ตอเติมหองคุมแสงและเสียง 1 หอง ในอาคารปฏิบัติการนาฏศิลปดังกลาวเปนจํานวนเงิน 92,000 บาท ดําเนินการใหแลวเสร็จในวันที่ 30 เมษายน 2549 ผูรับจางไดขอขยายเวลาอีก 90 วัน ในสัญญาเลขที่ 1 เพราะการดําเนินการกอสรางหองควบคุมแสงและเสียงมีผลกระทบตอการสรางอาคารนาฏศิลป สวนราชการจะขยายเวลาทําการและผูรับจางจะตองแจงเหตุภายใน 15 วัน ไดหรือไม กวพ.วินิจฉัยวา หากปรากฏขอเท็จจริงวา งานตามสัญญาจางเลขที่ 1 กับเลขที่ 2 มีสวนเกี่ยวของหรือสัมพันธกันโดยการทําการตอเติมหองควบคุมแสงและเสียงกอนจนเปนเหตุใหหางไมสามารถปฏิบัติงานตามสัญญาจางเลขก็มีสิทธิขอขยายเวลาทําการเพื่อลดหรืองดคาปรับได สวนการแจงเหตุภายใน 15 วัน นับแตเหตุนั้นสิ้นสุดลง หาง ก.จะตองแจงเหตุกอนหรือหลังเหตุการณตอเติมหองควบคุมแสงเสียงตามสัญญาจางเลขที่ 2 นั้นเสร็จสิ้นลงภายใน 15 วัน นับแตเหตุการณกอสรางเพิ่มเติมสัญญาจางเลขที่ 2 ส้ินสุดลง (ตามนัยคาํวินิจฉัย กวพ. ที่ พณ 6-22/2549)

การนับระยะเวลาที่เกิดอุปสรรคและพยานหลักฐาน 1. อุปสรรคที่เปนเหตุสุดวิสัย หรือพฤติการณอันหนึ่งที่คูสัญญาไมตองรับผิดชอบ

จะตองมีหลักฐานเปนหนังสือรับรองการเกิดอุปสรรควาเกิดขึ้นตั้งแตเมื่อใด ส้ินสุดลงเมื่อใด พยานหลักฐาน ไดแก หนังสือรับรองจากองคกรสวนทองถ่ิน หรือจากอําเภอทองที่ รายงาน ผูควบคุมงาน หรือกรณีจําเปนอาจมีหนังสือรับรองจากกรมอุตุนิยมวิทยา

2. มิใชความผิดของคูสัญญา (เปนความผิดของสวนราชการ) 2.1 กรณีที่จะใหสวนราชการพิจารณาใหความเห็นชอบหรืออนุมัติ การพิจารณา

วาเกิดอุปสรรคจะถือวาหนังสือของคูสัญญาสงมาถึงฝายสารบรรณ เมื่อวันที่เทาใด อุปสรรคจะเริ่มนับวันรุงขึ้น และเมื่อสวนราชการพิจารณาเห็นชอบหรืออนุมัติ จะมีหนังสือแจงคูสัญญาทราบ อุปสรรคการรอคอยการเห็นชอบหรืออนุมัติ จะนับถึงวันที่ที่คูสัญญาไดรับหนังสือ โดยจะตรวจสอบจากไปรษณียตอบรับ เชน บริษัท ก. สงหนังสือ ลงวันที่ 1 มิถุนายน สงหนังสือมาถึงฝายสารบรรณในวันที่ 3 มิถุนายน เพื่อใหสวนราชการพิจารณาเห็นชอบการคัดเลือกชุมชนเขารวมโครงการ ดังนี้ อุปสรรคจะเริ่มนับตั้งแตวันที่ 4 มิถุนายน เปนตนไป เมื่อสวนราชการพิจารณาเสร็จมีหนังสือแจงเห็นชอบ ลงวันที่ 28 มิถุนายน และบริษัท ก .ไดรับหนังสือเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ดังนั้น อุปสรรคจะเกิดขึ้นตั้งแตวันที่ 4 มิถุนายน-30 มิถุนายน

2.2 กรณีสวนราชการสั่งใหหยุดงาน อุปสรรคจะเริ่มนับตั้งแตวันที่ส่ังให หยุดงาน และสิ้นสุดลงกอนวันที่ที่สงใหเขาทํางาน เชน หนังสือกรมสั่งใหหยุดงานในวันที่ 1 มิ.ย. ตอมากรมไดมีหนังสือส่ังใหเขาทํางานในวันที่ 1 ส.ค. ดังนั้น อุปสรรคจึงเกิดขึ้นตั้งแตวันที่ 1 มิ.ย. – 31 ก.ค.

Page 17: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

17

การนับจํานวนวันท่ีเกิดอุปสรรค โดยปกติการนับจํานวนวันที่เกิดอุปสรรคจะเริ่มนับตั้งแตวันที่เกิดอุปสรรคจนถึง

วันที่อุปสรรคสิ้นสุดลงแตมีบางกรณีจะตองดูแผนงานของคูสัญญาประกอบดวย ดังนี้ 1. กรณีตามแผนงานถาแผนงานซ้ําซอนกันบางสวนและไมมีการทํางาน แมวาจะมี

อุปสรรคเกิดขึ้นตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2553 – 30 มิถุนายน 2553 เปนเวลา 181 วัน แตตามแผนงานในชวงวันที่ 1 มิถุนายน – 30 มิถุนายน 2553 ไมมีการทํางาน ดังนั้น อุปสรรคที่เกิดขึ้นเปนเวลา 181 – 30 = 151 วัน

2. กรณีตามแผนงานที่มีระยะเวลาทํางานซ้ําซอนกัน (เร่ิมตนพรอมกันสิ้นสุดพรอม) เมื่อเกิดอุปสรรคขึ้น แตงานอื่น (ที่แผนงานซ้ําซอนกัน) สามารถทํางานได ดังนี้ตองถือวาเกิดอุปสรรค เชน

(1) งานกอสรางถนนสายที่ 1 เร่ิมตั้งแต 1 มกราคม 2553 – 30 มิถุนายน 2553 (2) งานกอสรางถนนสายที่ 2 เร่ิมตั้งแต 1 มกราคม 2553 – 30 มิถุนายน 2553 (3) งานกอสรางถนนสายที่ 3 เร่ิมตั้งแต 1 มกราคม 2553 – 30 มิถุนายน 2553 งาน (1) เกิดอุปสรรค แตงาน (2) และ (3) สามารถทํางานได ดังนี้ ตองถือวา

เกิดอุปสรรคในการทํางาน หมายเหตุ ถาถนนทั้ง 3 สายเกิดอุปสรรคทั้งหมด แตระยะเวลาที่เกิดอุปสรรค

ไมเทากัน ตองใชระยะเวลาที่เกิดอุปสรรคมากที่สุดมาขยายอายุสัญญา วิธีทําบันทึกเสนออนุมัต ิการสรุปขอเท็จจริงในการเสนออนุมัติขยายเวลาทํางาน(ขยายอายุสัญญา) แบงได

เปน 3 สวน ดังนี้ 1. เร่ืองเดิม แบงออกเปน 2 เร่ือง

1.1 ใหกลาวถึงนิติสัมพันธระหวางคูสัญญากับสวนราชการ เชน ตามที่กรมไดทําสัญญาวาจาง บริษัท ก.ใหทําการกอสรางเขื่อนโครงการ...อําเภอ......จังหวัด.........รวมเปนเงิน..............บาท กําหนดสงมอบงาน ภายในวันที่........................

1.2 ใหกลาวถึงหนังสือของคูสัญญาวาไดขอขยายระยะเวลาทํางานออกไปเปนเวลากี่วัน เนื่องจากอุปสรรคใด

2. ขอเท็จจริง ใหสรุปปญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้นวามีสาเหตุมาจากอุปสรรคใด มีพยานหลักฐานสนับสนุนอุปสรรคเพียงพอหรือไม หากไมเพียงพอตองขอเพิ่มเติม ทั้งนี้ อุปสรรค ตามขอ 193 (2)–(3) คูสัญญาจะตองแจงอุปสรรคใหสวนราชการทราบภายใน 15 วัน นับแตวันที่อุปสรรคสิ้นสุดลง หากมิไดแจงภายในกําหนดคูสัญญาจะยกมากลาวอางเพื่อขอลด

Page 18: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

18

หรืองดคาปรับ หรือขอขยายเวลาในภายหลังมิได เวนแตกรณีตามขอ 193 (1) ซ่ึงมีหลักฐาน ชัดแจง หรือสวนราชการทราบมีอยูแลว ตั้งแตตน

3. ขอพิจารณา จะตองทําอุปสรรคตามขอเท็จจริงมาปรับกับระเบียบฯ ขอ 193 วาอุปสรรคดังกลาวอยูในขายจะพิจารณางดหรือลดคาปรับหรือขยายเวลาทําการไดหรือไม เพียงใดเปนเวลากี่วัน คูสัญญาขอขยายระยะเวลาเปนเวลากี่กัน โดยคณะกรรมการตรวจการจางหรือตรวจรับตองเสนอความเห็นวาควรขยายใหเปนเวลากี่วันหรือไมสมควรขยายเวลา

ในสวนสุดทายของบันทึกตองสรุปดวยวาอํานาจอนุมัติใหงดหรือลดคาปรับ หรือขยายเวลาทํางาน เปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการ ที่จะอนุมัติได ตามระเบียบฯ ขอ 193 (1) (2) หรือ (3)

วิธีทําหนังสือแจงคูสัญญา ภายหลังจากหัวหนาสวนราชการไดอนุมัติใหงดหรือลดคาปรับ หรือขยายเวลาทํา

การแลว ปกติกลุมนิติการจะเปนผูจัดทําหนังสือแจง โดยการจัดทําหนังสือแจง จะแบงได 3 สวน ดังนี้ 1. สวนท่ี 1 ช่ือเร่ือง และอางถึง ช่ือเร่ือง ควรใชช่ือเดียวกันกับหนังสือของคูสัญญา เนื่องจากเปนหนังสือตอเนื่อง

ทั้งนี้ เพราะเปนไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ขอ 11.4 สําหรับอางถึง ควรอางถึง 2 ขอ คือ 1. อางถึงสัญญาวาจาง หรือซ้ือขาย 2. อางถึงหนังสือคูสัญญาขอขยายเวลาทําการ

2. สวนท่ี 2 เนื้อหาของหนังสือในวรรคหนึ่งจะกลาวสวนที่อางถึง โดยจะตองรางหนังสือ สรุป นิติสัมพันธระหวางคูสัญญากับสวนราชการ มีการทําสัญญาวาจางหรือซ้ือขายเกี่ยวกับอะไรในวงเงินเทาใด กําหนดสงมอบงานหรือส่ิงของเมื่อใด คูสัญญาของดหรือลดคาปรับ หรือขยายเวลาทําการ (ขอตออายุสัญญา) เนื่องจากอุปสรรคใด เปนเวลากี่วัน

3. สวนท่ี 3 การพิจารณาของสวนราชการ พิจารณาแลวมีความเห็นอยางไร ตองใชเหตุผลตามบันทึกในการพิจารณาตามที่

หัวหนาสวนราชการอนุมัติ โดยสรุปอุปสรรคที่เกิดขึ้นเทาใด งดหรือลดคาปรับ หรือขยายเวลาทําการใหหรือไมเปนจํานวนเทาใด

สําหรับกรณีที่อุปสรรคเกิดขึ้นมากกวาจํานวนที่คูสัญญาขอขยายเวลาทําการ การรางหนังสือจะไมช้ีแจงวามีอุปสรรคเกิดขึ้นกี่วัน แตจะรางแจงไปวาสวนราชการพิจารณาแลวเห็นวาอุปสรรคดังกลาวเกิดขึ้นจริง จึงพิจารณาขยายเวลาทําการ (ตออายุสัญญา) เปนเวลา ...........วัน ตามที่คูสัญญาขอมา โดยนับแตจากวันที่............. ซ่ึงเปนวันสิ้นสุดสัญญา และสัญญาจะครบกําหนดสงมอบงาน/ส่ิงของ ภายในวันที่........................... หากสงมอบงานลาชากวากําหนดดังกลาว คูสัญญาจะตองถูกปรับตามเงื่อนไขแหงสัญญาทุกประการ

Page 19: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

19

บรรณานุกรม กําธร พันธุลาภ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยหนี้, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ

มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2522 ธาดา ศาสตรสาธิต บทบัณฑิตย เนติบัณฑิตยสภา เลมที่ 39 ตอนที่ 3 โรงพิมพบพิธ

การพิมพ, 2535 บรม ศรีสุข วิธีพิจารณาวินิจฉัยหารือของ ก.ว.พ.และหลักเกณฑสาระสําคัญของการ

จัดหาพัสดุของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.2535 โรงพิมพ นิวไทยมิตรการพิมพ (1996), 2551 ประโมทย จารุนิล ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยหนี้ , กรุงเทพฯ : โรงพิมพ

มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2550

Page 20: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

20

Page 21: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

21

Page 22: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

22

Page 23: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

23

Page 24: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

24

Page 25: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

25

Page 26: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

26

Page 27: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

27

Page 28: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

28

Page 29: KM (Knowledge Management) · KM (Knowledge Management) หลักเกณฑ การงดหร ือลดค าปรับ และขยายเวลาทําการ

29