54
103 โครงการวิจัยที2 การศึกษาชนิดและปริมาณแพลงกตอน คุณภาพน้ํา และองคประกอบอาหารในกระเพาะอาหารใน กุงขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) ที่เลี้ยงดวยน้ําความเค็มต่ํา ชลอ ลิ้มสุวรรณ นิติ ชูเชิด วราห เทพาหุดี และ ปทมาภรณ เหลาเกียรติโสภณ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน กรุงเทพฯ 10900 บทคัดยอ ผลการศึกษาชนิดและปริมาณแพลงกตอนและคุณภาพน้ําในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม ความเค็มระหวาง 2-3 สวนในพันสวน (พีพีที) พบแพลงกตอนทั้งหมด 62 สกุล 6 กลุมประกอบ ดวยดิวิชั่น Cyanophyta 12 สกุล, ดิวิชั่น Chlorophyta 28 สกุล, ดิวิชั่น Chromophyta 10 สกุล, ไฟลั่ม Protozoa 2 สกุล, ไฟลั่ม Rotifera 8 สกุล และไฟลั่ม Arthropoda 2 สกุล แพลงกตอนพืชที่พบ ตลอดคือไดอะตอมสกุล Cyclotella และ Nitzschia สาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินที่พบมากคือ Merismopedia, Oscillatoria และ Phormidium และสาหรายสีเขียวที่พบมากคือ Dictyosphaerium, Oocystis และ Scenedesmus ปริมาณแพลงกตอนบริเวณพื้นทองน้ําไมแตกตางกับบริเวณผิวน้ํา ปริมาณแพลงกตอนมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกับปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําและคลอโรฟลล เอ คุณสมบัติของน้ําบางประการตลอดการเลี้ยงมีคาเฉลี่ยดังนีความเค็ม 2.66±0.35 พีพีที คาการนําไฟฟา 4.95±0.53 มิลลิโมหตอเซนติเมตร (mmhos/cm ) อุณหภูมิในชวงเชา 26.46±1.88 และบาย 28.58±1.74 องศาเซลเซียส พีเอชในชวงเชา 7.79±0.23 และบาย 8.37±0.15 ปริมาณ ออกซิเจนที่ละลายน้ําในชวงเชา 6.13±0.62 และบาย 9.32±1.27 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณ แอมโมเนียรวม 0.30±0.34 มิลลิกรัมตอลิตร ไนไตรท 0.10±0.17 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความ เปนดางรวม 140.85±22.77 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความกระดางรวม 741.28±118.25 มิลลิกรัม ตอลิตร ปริมาณของแข็งแขวนลอยรวมในน้ํา 112.79±60.81 มิลลิกรัมตอลิตร และ ปริมาณ คลอโรฟลล เอ 210.16±129.06 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร (มก./3 ) ชนิดแพลงกตอนที่พบในกระเพาะอาหารและลําไสของกุงขาวแวนนาไม ประกอบดวย ดิวิชั่น Cyanophyta 7 สกุล, ดิวิชั่น Chlorophyta 19 สกุล, ดิวิชั่น Chromophyta 10 สกุล, ไฟลั่ม Protozoa 1 สกุลและไฟลั่ม Rotifera 2 สกุล แพลงกตอนที่พบทั้งในกระเพาะอาหารและลําไสสวน

Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

  • Upload
    others

  • View
    11

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

103

โครงการวิจัยท่ี 2การศึกษาชนิดและปริมาณแพลงกตอน คุณภาพน้ํา และองคประกอบอาหารในกระเพาะอาหารใน

กุงขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) ท่ีเล้ียงดวยน้ําความเค็มต่ํา

ชลอ ล้ิมสุวรรณ นิติ ชูเชิด วราห เทพาหุดี และ ปทมาภรณ เหลาเกียรติโสภณ

คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน กรุงเทพฯ 10900

บทคัดยอผลการศึกษาชนิดและปริมาณแพลงกตอนและคุณภาพน้ําในบอเล้ียงกุงขาวแวนนาไม

ความเค็มระหวาง 2-3 สวนในพันสวน (พีพีที) พบแพลงกตอนทั้งหมด 62 สกุล 6 กลุมประกอบดวยดิวิช่ัน Cyanophyta 12 สกุล, ดิวิช่ัน Chlorophyta 28 สกุล, ดิวิช่ัน Chromophyta 10 สกุล, ไฟล่ัมProtozoa 2 สกุล, ไฟล่ัม Rotifera 8 สกุล และไฟลั่ม Arthropoda 2 สกุล แพลงกตอนพืชที่พบตลอดคือไดอะตอมสกุล Cyclotella และ Nitzschia สาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินที่พบมากคือMerismopedia, Oscillatoria และ Phormidium และสาหรายสีเขียวที่พบมากคือ Dictyosphaerium,Oocystis และ Scenedesmus ปริมาณแพลงกตอนบริเวณพื้นทองน้ําไมแตกตางกับบริเวณผิวน้ําปริมาณแพลงกตอนมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกับปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําและคลอโรฟลล เอ

คุณสมบัติของน้ําบางประการตลอดการเลี้ยงมีคาเฉลี่ยดังนี้ ความเค็ม 2.66±0.35 พีพีทีคาการนําไฟฟา 4.95±0.53 มิลลิโมหตอเซนติเมตร (mmhos/cm ) อุณหภูมิในชวงเชา 26.46±1.88และบาย 28.58±1.74 องศาเซลเซียส พีเอชในชวงเชา 7.79±0.23 และบาย 8.37±0.15 ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําในชวงเชา 6.13±0.62 และบาย 9.32±1.27 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณแอมโมเนียรวม 0.30±0.34 มิลลิกรัมตอลิตร ไนไตรท 0.10±0.17 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความเปนดางรวม 140.85±22.77 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณความกระดางรวม 741.28±118.25 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณของแข็งแขวนลอยรวมในน้ํา 112.79±60.81 มิลลิกรัมตอลิตร และ ปริมาณคลอโรฟลล เอ 210.16±129.06 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร (มก./ม3)

ชนิดแพลงกตอนที่พบในกระเพาะอาหารและลําไสของกุงขาวแวนนาไม ประกอบดวยดิวิช่ัน Cyanophyta 7 สกุล, ดิวิช่ัน Chlorophyta 19 สกุล, ดิวิช่ัน Chromophyta 10 สกุล, ไฟล่ัมProtozoa 1 สกุลและไฟลั่ม Rotifera 2 สกุล แพลงกตอนที่พบทั้งในกระเพาะอาหารและลําไสสวน

Page 2: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

104

ใหญคือ Merismopedia, Oscillatoria, Phormidium, Scenedesmus และ Oocystis ซ่ึงพบวามีความสอดคลองกับแพลงกตอนที่พบจํานวนมากในน้ํา

คําสําคัญ : กุงขาวแวนนาไม, องคประกอบอาหารในกระเพาะอาหาร, แพลงกตอน, คุณภาพน้ํา

Page 3: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

105

Study on the Species Composition and Abundance of Plankton, Water Quality and StomachContents of Pacific White Shrimp (Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

Reared in Low Salinity Conditions

Chalor Limsuwan Niti Chuchird Wara Teparhudee and Pattamaporn Laokiatsophon

Faculty of Fisheries, Kasetsart University, Bangkok

AbstractThis study analyzed the species composition and abundance of plankton and water

quality in low-salinity (2-3 parts per thousand,ppt.) ponds used for rearing Pacific white shrimp.A total of 62 genera of plankton were found from 6 groups: 12 genera in Division Cyanophyta, 28genera in Division Chlorophyta, 10 genera in Division Chromophyta, 2 genera in PhylumProtozoa, 8 genera in Phylum Rotifer and 2 genera in Phylum Arthropoda. The phytoplanktonthat were the most prolific were diatoms, Cyclotella and Nitzschia. The most common bluegreenalgae were Merismopedia, Oscillatoria and Phormidium. The most common green algae wereDictyosphaerium, Oocystis and Scenedesmus. The number of plankton found near the bottoms ofthe ponds was not different from the number found near the water surface. The number ofplankton was positively related to the dissolved oxygen and chlorophyll a content in the water.

Water quality throughout the culture period were as follow : salinity 2.66±0.35 ppt;electrical conductivity 4.95±0.53 mmhos/cm; temperature 26.46±1.88°C in the morning and28.58±1.74°C in the afternoon; pH 7.79±0.23 in the morning and 8.37±0.15 in the afternoon;dissolved oxygen 6.13±0.62 mg/l in the morning and 9.32±1.27 mg/l in the afternoon; totalammonia nitrogen 0.30±0.34 mg/l; nitrite 0.10±0.17 mg/l; total alkalinity 140.85±22.77 mg/l;total hardness 741.28±118.25 mg/l; total suspended solid 112.79±60.81 mg/l and chlorophyll a210.16±129.06 mg/m3.

The plankton found in the stomachs and guts of the pacific white shrimp consisted of 7genera in Division Cyanophyta, 19 genera in Division Chlorophyta, 10 genera in DivisionChromophyta, 1 genus in Phylum Protozoa and 2 genera in Phylum Rotifera. The plankton found

Page 4: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

106

in both the stomachs and the guts were Merismopedia, Oscillatoria, Phormidium, Scenedesmusand Oocystis which is the same as the dominant species found in the water.

Keyword : Pacific white shrimp, stomach content, plankton, water quality

Page 5: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

107

บทนํากุงขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei) เปนกุงพื้นเมืองในทวีปอเมริกาใต มีการเลี้ยงกัน

มากในประเทศเอกวาดอร เม็กซิโก เปรู ปานามา ฮอนดูรัส โคลัมเบีย บราซิล ฯลฯ (Rosenberry,1993 ; FAO, 1994) กุงชนิดนี้ไดมีการนําเขามาเลี้ยงในทวีปเอเชียคร้ังแรกในประเทศไตหวันในปพ.ศ. 2539 และประเทศจีนในป พ.ศ. 2541 เนื่องจากการเลี้ยงกุงกุลาดําและกุงชนิดอื่นๆ ภายในประเทศมีปญหาผลผลิตไมไดตามเปาหมาย ในประเทศไทยไดมีการนําเขากุงขาวแวนนาไมซึ่งเกษตรกรผูเล้ียงกุงจะเรียกวากุงขาว เขามาทดลองในป พ.ศ. 2541 แตการทดลองครั้งนั้นไมประสบความสําเร็จมากนัก จนกระทั่งเดือนมีนาคม พ.ศ. 2545 กรมประมงไดอนุญาตใหนําพอแมพันธุที่ปลอดเชื้อ (specific pathogen free, SPF) จากตางประเทศเขามาทดลอง จนถึงสิ้นเดือนกุมภาพันธพ.ศ. 2546 ซ่ึงเปนชวงเวลาที่การเลี้ยงกุงกุลาดําในประเทศไทยกําลังประสบปญหากุงโตชาซึ่งเปนปญหาที่เกิดขึ้นในกุงกุลาดํามาหลายปแลว (Limsuwan, 1999) และมีขนาดแตกตางกันมากตอนจับกุงโดยเฉพาะกุงขนาดเล็กประมาณ 3-5 กรัม ทําใหเกษตรกรบางสวนทดลองเลี้ยงกุงขาวซึ่งผลการเล้ียงสวนใหญดีกวากุงกุลาดํา ทําใหเกษตรกรที่ยังไมเคยเลี้ยงกุงขาวชนิดนี้เปนจํานวนมากทั่วประเทศเลี้ยงกุงขาวกันเพิ่มขึ้น เนื่องจากลูกพันธุที่ไดจากพอแมพันธุที่ปลอดเชื้อมีการเจริญเติบโตรวดเร็วและมีขนาดเทาๆ กัน ใชระยะเวลาเลี้ยงนานประมาณ 90-100 วันก็จับขายได ผลผลิตที่ไดจะสูงกวาการเลี้ยงกุงกุลาดํา

เนื่องจากกุงขาวแวนนาไมมีพฤติกรรมการกินอาหารและอุปนิสัยอ่ืนๆแตกตางกับกุงกุลาดําอยางมาก ซ่ึงกุงขาวจะเปนกุงที่ปราดเปรียว วายน้ํา และกินอาหารตลอดเวลา การปรับอาหารโดยใชยอเชนเดียวกับกุงกุลาดําคอนขางจะยาก เนื่องจากพบวาปริมาณอาหารในยอมักจะเหลืออยูตลอดเวลา แตในทางกลับกันจะพบวาลําไสหรือทางเดินอาหารของกุงขาวจะมีอาหารเต็มตลอดเวลาเชนกัน เนื่องจากกุงขาวจะกินอาหารและสิ่งอื่นๆ ในบอเมื่ออาหารที่ใหไมเพียงพอ ซ่ึงจะพบเสมอวาสีของลําไสมักจะมีสีดําที่ไมใชสีของอาหารสําเร็จรูปที่ใชเล้ียงกุง ซ่ึงยังไมมีการศึกษาในรายละเอียดวาในทางเดินอาหารหรือลําไสของกุงขาว นอกจากอาหารที่ใหแลวกุงกินอาหารอะไรเขาไปบาง ซ่ึงอาจจะเปนแพลงกตอนพืชหรือแพลงกตอนสัตวบางชนิดในบอที่มีอยูในขณะนั้น

ในการเลี้ยงกุงทะเลทุกชนิดมักจะมีการควบคุมคุณภาพน้ําใหอยูในระดับที่เหมาะสม เพื่อทําใหกุงมีการเจริญเติบโตที่ดีและแข็งแรง โดยเฉพาะความพยายามที่จะควบคุมใหมีปริมาณแพลงกตอนพอเหมาะ หรือที่เกษตรกรผูเล้ียงกุงมักจะเรียกวา “สีน้ํา” คือถาสีน้ํานิ่งไมแกวง กุงจะโตเร็วแตในความเปนจริงปริมาณแพลงกตอนมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาตามปจจัยอ่ืนๆ ในบอ เชนปริมาณอาหาร แสงแดด อุณหภูมิ พีเอช ความเค็มฯลฯ

Page 6: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

108

การศึกษาเพื่อหาความสัมพันธของคุณภาพน้ําและชนิดและปริมาณแพลงกตอนในบอ กับชนิดของแพลงกตอนในกระเพาะอาหาร การเจริญเติบโตตลอดระยะเวลาในการเลี้ยงกุงขาวจะเปนประโยชน นอกจากจะเปนขอมูลพื้นฐานที่สําคัญแลว ยังจะใชเปนแนวทางใหแกเกษตรกรนําไปประกอบการเลี้ยงกุงขาวใหประสบความสําเร็จ

อุปกรณและวิธีการวิจัย1. การเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมดวยน้ําความเค็มต่ํา

ทําการศึกษาในฟารมเลี้ยงกุงของเอกชนที่อําเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรีประกอบดวยบอเล้ียงกุง 4 บอ แตละบอมีพื้นที่ 2.78, 2.76, 2.56 และ 2.63 ไร ตามลําดับ และมีบอพักน้ํา 4 บอในขนาดที่ใกลเคียงกับบอเล้ียง (ภาพที่ 1) คือบอเล้ียงกุง 1 บอมีบอพักน้ํา 1 บอ และเปนการเลี้ยงแบบถายน้ําหมุนเวียนระหวางบอเล้ียงกับบอพักน้ํา บอมีความลึกเฉลี่ย 1.2-1.5 เมตร สภาพพื้นดินเปนดินเหนียวปนทราย

1.1 การเตรียมบอหลังจากทําการจับกุงในรุนกอน นําเครื่องมือที่ใชในบอกุง เชน เครื่องใหอากาศ

ตะแกรงประตูน้ําเขาและประตูน้ําทิ้งขึ้นจากบอเพื่อทําความสะอาด จากนั้นตากบอเล้ียงทิ้งไวประมาณ 1-2 สัปดาห ใชปูนแคลเซียมคารบอเนต (CaCO3) หวานบนพื้นบอในปริมาณ 750-1,700กิโลกรัมตอไร เพื่อปรับสภาพดินใหอยูในสภาพที่มีพีเอชเหมาะสม

วางเครื่องใหอากาศซึ่งแตละบอจะประกอบดวย เครื่องยนต 11 แรงมาจํานวน 4 เครื่องติดตั้งใบตีน้ําแบบแขนยาว 2 เครื่องซึ่งแตละเครื่องมี 3 แขน (ภาพที่ 2 และภาพที่ 4) โดยมีความเร็วของใบพัดตีน้ําประมาณ 70-80 รอบตอนาที สวนอีก 2 เครื่องติดเครื่องใหอากาศแบบ spiral (ภาพที่ 5) โดยมีความเร็วของเครื่องยนต 120 รอบตอนาที

1.2 การเตรียมน้ําสูบน้ําจืดจากคลองชลประทานที่รับน้ํามาจากจากแมน้ําบางปะกงที่อยูทางดานหนา

ของฟารม ผานทอลอดเขาไปในบอพักน้ําที่ 5 และ 6 และสูบน้ําตอไปยังคลองสงน้ํา ตามภาพที่ 1และบอเล้ียงทุกบอจนเต็ม โดยผานผากรอง 2 ช้ันเพื่อปองกันลูกปลาและสัตวน้ําอื่นๆ เขาไปในบอนําน้ําความเค็มสูงจากนาเกลือที่มีความเค็มระหวาง 150-200 พีพีที มาเติมลงไปในคอกพลาสติกขนาดพื้นที่ 150 ตารางเมตรจนไดความเค็มประมาณ 8-10 พีพีที สวนน้ําภายนอกคอกพลาสติกเติม

Page 7: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

109

จนมีความเค็มประมาณ 3 พีพีที หลังจากนั้นใชไตรคลอรฟอนเติมลงไป ทิ้งไวประมาณ 15 วัน จนแนใจวาไตรคลอรฟอนสลายตัวหมดแลว จึงนําลูกกุงมาปลอยลงในบอเล้ียง หลังจากนั้นใชไตรคลอรฟอนเติมลงไปในบอเล้ียงและบอพักน้ํา รวมทั้งคลองสงน้ําในอัตราความเขมขน 1.0มิลลิกรัมตอลิตร เพื่อกําจัดสัตวจําพวกกุงและปู ซ่ึงอาจจะเปนพาหะนําเชื้อไวรัสดวงขาวหรือไวรัสชนิดอื่นๆ ปดเครื่องใหอากาศหลังจากเปดเครื่องใหอากาศเต็มที่ 1 วันใหสารเคมีผสมกันทั่วบอ

1.3 การปลอยลูกกุงนําลูกกุงระยะโพสลารวา 12 (P12) (ภาพที่ 6) ที่ผานการปรับความเค็มมาแลวที่ 10 พีพี

ที และผานการเช็คดวยวิธีลูกโซโพลีเมอเรส (PCR) วาปลอดจากเชื้อไวรัสดวงขาว (white spotsyndrome virus) โรคทอรา (Taura syndrome virus) และ infectious hypodermal andhematopoietic necrosis virus (IHHNV) มาปลอยลงในคอกพลาสติก ในอัตราความหนาแนน 60ตัวตอตารางเมตร ขั้นตอนการปลอยลูกกุงแสดงไวในภาพที่ 7

1.4 การเลี้ยงและการจัดการการใหอาหาร ใชอาหารสําเร็จรูปที่ผลิตขึ้นมาเพื่อกุงขาวโดยเฉพาะ ใหอาหารวันละ

4 คร้ังคือ 07.00, 11.00, 16.00 และ 22.00 น. แตในกรณีที่อุณหภูมิของน้ําต่ํากวา 24 องศาเซลเซียสจะเลื่อนระยะเวลาใหอาหารออกไปจนกวาอุณหภูมิน้ําจะเพิ่มสูงขึ้น หรืองดการใหอาหารมื้อนั้นไปเลย ใหอาหารโดยเดินหวานอาหารจากขอบบอเขาไปในบอ

การตรวจอาหารในยอ จะเริ่มทําการปรับอาหารตามยอหลังจากกุงมีอายุประมาณ 35วัน โดยเริ่มจากใสอาหารในยอ 2 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม ใชเวลาตรวจอาหารในยอ 3 ช่ัวโมงแลวคอยๆ ลดเวลาลงเหลือ 2.5 ช่ัวโมงเมื่อกุงโตขึ้น หลังจาก 70 วันเพิ่มอาหารในยอเปน 3 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม และปรับเวลาแบบเดียวกับในตอนแรก คือเมื่อกุงมีขนาดโตขึ้นระยะเวลาในการตรวจอาหารในยอจะลดลงเหลือ 2.5 และ 2 ช่ัวโมงตามลําดับ

การเปลี่ยนถายน้ํา ในระยะแรกคือเร่ิมปลอยลูกกุงจนถึงประมาณ 40 วัน จะไมมีการถายน้ํา แตจะเติมน้ําจากบอพักน้ําเขามาทดแทนสวนที่ระเหยหรือซึมออกไป เร่ิมถายน้ําครั้งแรกเมื่อกุงมีอายุประมาณ 60 วัน น้ําที่ถายออกจากบอเล้ียงทั้งหมดจะสูบกลับเขาไปในบอพักน้ําที่มีการเล้ียงปลาทับทิมไวจํานวนหนึ่ง เพื่อบําบัดและปรับคุณภาพน้ํา โดยที่ไมมีการระบายออกภายนอกฟารม

Page 8: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

110

1.5 การใชเครื่องใหอากาศปดเครื่องใหอากาศทั้งหมดกอนหวานอาหารและในขณะที่หวานอาหาร หลังจากนั้น

1 ช่ัวโมงจึงเริ่มเปดเครื่องใหอากาศแบบแขนยาว 1 เครื่อง จนกวาจะเช็คยอเสร็จจึงจะเปดเครื่องใหอากาศแบบแขนยาวอีก 1 เครื่อง สําหรับเครื่องใหอากาศแบบ spiral จะเปดเฉพาะตอนกลางคืนตั้งแต 20.00 น. จนถึงเชาเพื่อใหแนใจวาปริมาณออกซิเจนมีเพียงพอ

1.6 การจัดการทั่วไประหวางการเลี้ยงมีการควบคุมคุณภาพน้ํา โดยเฉพาะพีเอชใหอยูในระดับที่เหมาะสม

คือ 7.5-8.5 โดยการเติมวัสดุปูนในกรณีที่พีเอชต่ํา และมีการเติมแรธาตุผสมโซดามิกซลงไปเพิ่มปริมาณอิออนที่สําคัญตลอดระยะเวลาในการเลี้ยง เพื่อรักษาระดับอิออนตางๆ ในน้ําใหเหมาะสมโดยเฉพาะในชวงเวลาที่กุงลอกคราบคือ วันโกน (กอนวันพระ) และวันพระจะมีการเติมโซดามิกซมากกวาชวงเวลาอื่นๆ เนื่องจากในน้ําความเค็มต่ําจะมีความเขมขนของเกลือแร เชน โพแทสเซียมโซเดียม แมกนีเซียม เปนตน (Wickins, 1984) นอยมาก ความเค็มของน้ําจะพยายามควบคุมไมใหต่ํากวา 2 พีพีที ในกรณีที่ความเค็มต่ําลงมามากจะมีการนําน้ําจากนาเกลือมาเติมเพื่อรักษาระดับความเค็มไมใหต่ํามากจนมีผลตอการเจิญเติบโต

แรธาตุผสมโซดามิกซมีองคประกอบของแรธาตุที่สําคัญ ไดแก แคลเซียม (Ca2+)แมกนีเซียม (Mg2+) โซเดียม (Na+) โพแทสเซียม (K+) คลอไรด (Cl-) และซัลเฟต (SO4

2-) ที่ความเขมขน 100 มิลลิกรัมตอลิตร ประกอบดวยอิออนดังกลาว 64 , 6.75 , 250 , 1.15 , 398 และ 180มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับที่น้ําหนัก 1 กิโลกรัมมีสวนประกอบของแคลเซียม 60,000 มิลลิกรัมแมกนีเซียม 4,500 มิลลิกรัม โซเดียม 162,000 มิลลิกรัม โพแทสเซียม 350 มิลลิกรัม ซัลเฟต 1,536มิลลิกรัมและฟอสฟอรัส 1,639 มิลลิกรัม

1.7 การจับกุงโดยใชการลากอวนแบบอวนทับตลิ่ง (ภาพที่ 8-9) หลังจากกุงในบอเหลือนอยแลวจึง

ใชประตูเทียม น้ําที่สูบออกจากบอเล้ียงจะนําเขาไปเก็บไวในบอพักน้ํา และไวใชในการเลี้ยงกุงคร้ังตอไป

Page 9: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

111

ภาพที่ 1 แผนผังบอเล้ียงกุงขาว

บอพักน้ํา 3

บอพักน้ํา 2

บอ 3 บอ 4บอพักน้ํา 4

บอพักน้ํา 1บอ 1บอ 2

บานพัก(1)และโรงเรือนเก็บอาหาร

บอ 6

บานพัก (2)

คลองสงน้ํา

ทางเขาฟารม

คลองสงน้ําชลประทาน

บอ5

N

Page 10: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

112

2. การศึกษาชนิดและปริมาณแพลงกตอนในบอเล้ียงกุงขาว

เก็บตัวอยางน้ําโดยตักน้ําบริเวณสะพานที่เช็คยอในแตละบอทั้ง 2 จุด และเก็บน้ํา 2 จุดคือผิวน้ํา (surface) โดยทําการเก็บจากบริเวณผิวน้ําลงไป 30 เซนติเมตร และพื้นทองน้ําโดยทําการเก็บเหนือพื้นทองน้ํา (bottom) 30 เซนติเมตร (ภาพที่ 10) ซ่ึงในการเก็บในชั้นผิวน้ําทําการเก็บจุดละ 8ลิตรดวยถังพลาสติก และพื้นทองน้ําเก็บจุดละ 1 ลิตร โดยใชกระบอกเก็บน้ํากรองผานถุงแพลงกตอน (plankton net) ที่มีชองตาขนาด 20 ไมครอน นําตัวอยางแพลงกตอนที่ไดดองดวยน้ํายาฟอรมาลิน 4 เปอรเซ็นต เก็บไวในขวดขนาด 135 มิลลิลิตร ตัวอยางน้ําที่จะนํามาวิเคราะหตัวอยางคุณภาพน้ําเก็บจากบริเวณเดียวกัน

เร่ิมตนโดยการเขยาขวดเบาๆ หรือเอียงขวดไปมา ใหตัวอยางกระจายทั่วกัน โดยผสมน้ําจากสะพานเช็คยอทั้ง 2 จุดรวมเปนจุดเดียวกันทั้งผิวน้ําและพื้นน้ําเชนกัน จากนั้นใช dropper ดูดขึ้นมา 1 มิลลิลิตร แลวนํามาใสสไลดเพื่อนับจํานวนแพลงกตอน (Sedgwick-Rafter Counting Cell)แลวแยกชนิดและนับจํานวนแพลงกตอน ตามวิธีของลัดดา (2541, 2542) การแยกชนิดและนับจํานวนใชกลองจุลทรรศนกําลังขยายสูง (compound microscope) พรอมทั้งถายรูปชนิดตางๆ ของแพลงกตอน

การวิเคราะหแตละตัวอยางจะทํา 3 ซํ้า แลวหาคาเฉลี่ย คํานวณหาจํานวนของแพลงกตอนตอน้ํา 1 ลิตร โดยใชสูตรการคํานวณดังตอไปนี้

N1 = N2V1

V2

เมื่อ N1 = ปริมาณหรือจํานวนแพลงกตอนที่พบตอน้ํา 1 ลิตร N2 = ปริมาณหรือจํานวนแพลงกตอนที่นับไดในน้ํา 1 มิลลิลิตร V1 = ปริมาณน้ําในขวดเก็บตัวอยาง V2 = ปริมาณน้ําที่กรองผานถุงแพลงกตอน (plankton net)

3. การศึกษาคุณสมบัติของน้ําในบอเล้ียงกุงขาว

เก็บตัวอยางน้ําในบอเล้ียงทั้ง 4 บอ โดยทําการวิเคราะหคาอุณหภูมิ พีเอช และปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําทุกวันทั้งในชวงเชา (6.00 น.) และชวงบาย (13.00 น.) สวนการวิเคราะหคุณภาพน้ําพารามิเตอรอ่ืนๆ รวมทั้งการวิเคราะหอิออนที่สําคัญในน้ํา ทําการวิเคราะหทุกๆ 7 วันหลังจากปลอยกุงจนกระทั่งจับกุง ซ่ึงตัวอยางน้ํานําไปวิเคราะหหาคาตางๆ ดังนี้ คือ

Page 11: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

113

- ความเค็ม และคาการนําไฟฟา ดวยเครื่อง YSI 30/10 FT - ความเปนดาง โดยวิธี titration ตามวิธีของ Strickland and Persons (1972) - ความกระดาง โดยวิธี EDTA titration ตามวิธีของ Strickland and Parsons

(1972) - แอมโมเนียรวม ตามวิธีของ Strickland and Parsons (1972)

- ไนไตรท ตามวิธีของ Strickland and Parsons (1972) - ปริมาณของแข็ง แขวนลอยในน้ํา โดยใช standard methods APHA et al.(1989)

- ปริมาณไอออนบวกที่สําคัญไดแก Ca2+, Mg2+, K+, Na+, Mn2+, Fe2+ ดวยเครื่องAtomic Absorption spectophotometer รุน Hitachi 170-30 APHA et al. (1989)

- Cl- ใชวิธี Titration ตามวิธีของ APHA et al. (1989) - SO4

2- ดวยเครื่อง Spectophotometer ตามวิธีของ APHA et al. (1989) - คลอโรฟลล เอ โดยใช standard methods APHA et al. (1989)

นําผลการวิเคราะหคุณสมบัติของน้ําจากบอดิน และบอที่ปูดวยโพลีเอททีลีนตลอดระยะการเลี้ยงมาเปรียบเทียบกันในทุกสัปดาห

4. การศึกษาองคประกอบของอาหารในกระเพาะอาหารและลําไสของกุงขาว

การศึกษาองคประกอบของอาหารในกระเพาะอาหารและลําไสของกุงขาวในบอเล้ียงแบบพัฒนาที่มีการใหอาหารสําเร็จรูปตลอดการเลี้ยง ดังนั้นเพื่อความเหมาะสมและสะดวกในการศึกษาจําเปนตองเก็บตัวอยางกุงในขณะที่กุงกินอาหารไปนานแลว และพรอมจะกินอาหารมื้อตอไป ดังนั้นจึงทําการเก็บตัวอยางเวลาประมาณ 10.30-10.45 น. กอนเวลาใหอาหารเวลา 11.00 น.

หลังจากกุงมีอายุ 30 วัน สุมตัวอยางกุงจากบอที่ 3 และ 4 บอละ 5 ตัว หลังจากนั้นจะเก็บตัวอยางทุก 2 สัปดาหจนกวาจะสิ้นสุดการเลี้ยง นํากุงตัวอยางดองดวยน้ํายาฟอรมาลิน 10เปอรเซ็นต นําสวนกระเพาะอาหารและลําไสของกุงออกบดใหแบน แลววางบนแผนสไลด กอนที่จะนําไปศึกษาภายใตกลองจุลทรรศนกําลังขยายสูง เพื่อศึกษาชนิดของแพลงกตอนที่มีอยูภายในกระเพาะอาหารและลําไส พรอมทั้งจดบันทึกชนิดแพลงกตอนที่พบ

Page 12: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

114

5. การวิเคราะหทางสถิติ

วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสถิติสําเร็จรูป

6. สถานที่ทําการทดลอง

1. ฟารมเอกชน อ.บานสราง จ.ปราจีนบุรี2. อาคารโรคสัตวน้ํา คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร3. สถาบันสุขภาพสัตวน้ํา กรมประมง4. ศูนยวิจัยการเพาะเลี้ยงกุง บริษัทเจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) จ. สมุทรสาคร

Page 13: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

115

ภาพที่ 2 บอเล้ียงกุงขาว

ภาพที่ 3 คลองสงน้ําของบอเล้ียงกุงขาว

ภาพที่ 4 เครื่องใหอากาศแบบแขนยาว

Page 14: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

116

ภาพที่ 5 เครื่องใหอากาศแบบ spiral

ภาพที่ 6 ลูกกุงขนาดโพสลารวา 12 (พี 12)

ภาพที่ 7 การปลอยลูกกุงลงในคอกพลาสติก

Page 15: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

117

ภาพที่ 8 การลากอวนโดยใชอวนทับตลิ่งในขณะจับกุง

ภาพที่ 9 กุงที่ไดจากการใชอวนลากทับตลิ่ง

ภาพที่ 10 กระบอกเก็บน้ําที่ใชเก็บตัวอยางบริเวณพื้นทองน้ํา

Page 16: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

118

ผลและวิจารณผล1. การเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมดวยน้ําความเค็มต่ํา

เร่ิมปลอยลูกกุงในบอเล้ียงทุกบอพรอมกันหมดในตอนเชาเวลาประมาณ 7.00 น. ขอมูลเกี่ยวกับการเลี้ยงที่สําคัญตั้งแตแสดงผลผลิต อัตรารอด อัตราแลกเนื้อ และน้ําหนักเฉลี่ยของกุงในแตละบอแสดงไวในตารางที่ 1

ผลผลิตที่ไดจากการศึกษาครั้งนี้อยูระหวาง 578-1,053 กิโลกรัมตอไร โดยมีอัตรารอดระหวาง 62-81 เปอรเซ็นต ซ่ึงอยูในเกณฑที่ใกลเคียงกับการเลี้ยงโดยทั่วไปของเกษตรกรในพื้นที่ที่เล้ียงดวยน้ําความเค็มต่ํา แตน้ําหนักเฉลี่ยของกุงในแตละบอคอนขางต่ําคืออยูระหวาง 14-16 กรัมจากการเลี้ยงนาน 123-124 วัน ซ่ึงตามปกติน้ําหนักเฉลี่ยควรจะอยูระหวาง 20-25 กรัม ทั้งนี้เนื่องมาจากการเลี้ยงกุงอยูในชวงที่อุณหภูมิต่ํา โดยเฉพาะในเดือนมกราคม-กุมภาพันธ อุณหภูมิของน้ําในบอต่ํากวา 27 องศาเซลเซียสหลายวันและบางวันต่ําถึง 23 องศาเซลเซียส เนื่องจากกุงเปนสัตวเลือดเย็นอุณหภูมิของรางกายจะเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิของสภาพแวดลอม เมื่ออุณหภูมิต่ํากวา27 องศาเซลเซียสกุงจะกินอาหารลดลง ซ่ึงตามปกติเกษตรกรจะลดการใหอาหารลง 10 เปอรเซ็นตเมื่ออุณหภูมิลดลง 1 องศาเซลเซียส แตเมื่ออุณหภูมิลดลงเหลือ 24 องศาเซลเซียสจะลดอาหารลง50 เปอรเซ็นต และเมื่ออุณหภูมิของน้ําต่ําถึง 23 องศาเซลเซียสจะงดการใหอาหารในมื้อนั้น รอจนกวาอุณหภูมิของน้ําเพิ่มขึ้นในชวงบายจึงจะใหอาหาร เมื่อดูจากสภาพความเปนจริงแลวจากตารางผนวกที่ 20 จะเห็นไดวาระหวางวันที่ 65-109 อุณหภูมิของน้ําในชวงเชาประมาณ 23-24 องศาเซลเซียสเทานั้น ในขณะที่อุณหภูมิของน้ําในชวงบายเพิ่มขึ้นมาเพียงประมาณ 1-2 องศาเซลเซียสทําใหการกินอาหารของกุงในชวงนี้ลดลงมากและมีผลตอการเจริญเติบโต ทั้งๆ ที่เร่ิมปลอยกุงจนถึง 60 วันการเจริญเติบโตอยูในเกณฑที่ดี (ตารางที่ 2) เนื่องจากเปนชวงที่อุณหภูมิของน้ําอยูในระดับที่เหมาะสมคือในชวงเชาควรจะอยูระหวาง 28-29 องศาเซลเซียส และชวงบายระหวาง 30-31องศาเซลเซียส ซ่ึงเปนชวงของอุณหภูมิที่เหมาะสมตอการกินอาหารและการเจริญเติบโตของกุงทะเลทั่วๆ ไป ผลจากการที่น้ําหนักเฉลี่ยจากการศึกษาครั้งนี้เพียง 14-16 กรัม ทําใหผลผลิตทั้งหมดจึงอยูในระดับที่คอนขางต่ํา สอดคลองกับ Wyban et al. (1995) รายงานวา อุณหภูมิของน้ําที่ต่ํามีผลตอการกินอาหาร การเจริญเติบโต และ อัตราแลกเนื้อของกุงขาว

Page 17: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

119

ตารางที่ 1 ขอมูลการเลี้ยงกุงขาวดวยน้ําความเค็มต่ํา

ขอมูลการเลี้ยงกุง บอ 1 บอ 2 บอ 3 บอ 4วันปลอยกุง 24/10/2545 24/10/2545 24/10/2545 24/10/2545ลูกกุงระยะ P12 P12 P12 P12พ้ืนที่บอ (ไร) 2.78 2.76 2.56 2.63ความหนาแนน (ตัวตอตารางเมตร)

60 60 60 60

วันจับกุง 24/2/2546 24/2/2546 25/2/2546 25/2/2546ระยะเวลาเลี้ยงกุง(วัน) 123 123 124 124น้ําหนักเฉลี่ย (กรัมตอตัว) 16.39 14.08 15.15 14.71จํานวนเฉลี่ย (ตัวตอกิโลกรัม) 61 71 66 68ผลผลิตทั้งหมด (กิโลกรัม) 2,715.34 3,023.86 2,454.84 3,024.66ผลผลิตทั้งหมด (จํานวน) 165,671 214,763 162,036 205,620น้ําหนักที่เพิ่มขึ้น (กิโลกรัม) 2,715.07 3,023.60 2,454.59 3,024.41อาหารที่ใหทั้งหมด (กิโลกรัม) 4,751.85 4,989.37 4,173.23 4,869.70อัตราแลกเนื้อ 1.75 1.65 1.70 1.61อัตรารอด (%) 62.08 81.05 65.93 81.44 น้ําหนักเพิ่ม /วัน (กรัม) 0.13 0.11 0.12 0.12ผลผลิตตอพ้ืนที่ (กิโลกรัมตอไร) 745.31 998.18 578.92 1,053.06

Page 18: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

120

ในระหวางการเลี้ยงไมพบกุงปวยหรือแสดงอาการผิดปกติ ทั้งนี้เนื่องมาจากลูกกุงขาวที่ใชในการศึกษาครั้งนี้มาจากพอแมพันธุที่ปลอดเชื้อนําเขามาจากตางประเทศ ลูกกุงที่นํามาเลี้ยงผานการตรวจดวย PCR แลววาไมมีเชื้อไวรัสดวงขาว TSV และ IHHNV

กุงในแตละบอจากบอทดลองทั้ง 4 บอมีขนาดใกลเคียงกันหมด ไมมีกุงขนาดเล็ก 3-5 กรัมในบอ และไมมีกุงที่มีขนาดโตมากเกิน 20 กรัมในบอ ทั้งนี้เนื่องมาจากลูกพันธุกุงขาวที่นํามาศึกษาคร้ังนี้มาจากพอแมพันธุที่ผานการคัดเลือกสายพันธุมาหลายชวงอายุและปลอดเชื้อ กุงในแตละรุนจึงมีขนาดใกลเคียงกันหมด

ตารางที่ 2 การเจริญเติบโตของกุงขาวตลอดการเลี้ยง

อายุการเลี้ยง น้ําหนักเฉลี่ย (กรัม) น้ําหนักเพิ่มตอวัน(สัปดาห) บอ 1 บอ 2 บอ 3 บอ 4 (กรัม) คาเฉลี่ย

5 1.95 2.62 4.31 2.85 - -6 4.73 4.05 5.37 4.67 0.15-0.40 0.25±0.117 6.25 5.09 6.92 5.34 0.10-0.22 0.17±0.068 7.59 6.72 7.89 6.75 0.14-0.24 0.20±0.059 8.90 7.57 8.82 7.59 0.12-0.14 0.13±0.0110 9.63 8.04 9.56 8.23 0.07-0.11 0.10±0.0311 10.51 9.15 10.81 9.33 0.17-0.19 0.16±0.0212 11.60 10.12 11.39 9.98 0.06-0.13 0.12±0.0413 12.63 11.22 12.23 10.62 0.09-0.16 0.13±0.0314 13.69 12.18 13.30 11.61 0.14-0.15 0.15±0.0115 14.85 12.81 13.98 13.07 0.09-0.21 0.14±0.0616 15.07 13.95 14.29 13.43 0.03-0.16 0.07±0.0617 16.36 14.26 15.47 14.54 0.04-0.18 0.14±0.07

Page 19: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

121

ภาพที่ 11 การเจริญเติบโตของกุงขาวแปซิฟกตลอดการเลี้ยง

2. การศึกษาชนิดและปริมาณแพลงกตอนในบอเล้ียงกุงขาว

จากการศึกษาชนิดและปริมาณแพลงกตอนในบอเล้ียงจํานวน 4 บอ ตลอดการเลี้ยงพบแพลงกตอนพืชทั้งหมด 3 ดิวิช่ัน 50 สกุล ไดแก ดิวิชัน Cyanophyta 12 สกุล ดิวิชัน Chlorophyta28 สกุล และดิวิช่ัน Chromophyta 10 สกุล และพบแพลงกตอนสัตว 3 ไฟลัม 12 สกุล ไดแกไฟลัม Protozoa 2 สกุล ไฟลัม Rotifera 8 สกุล และไฟลัม Arthropoda 2 สกุล

แพลงกตอนพืชกลุมที่พบมากตลอดการเลี้ยงคือ กลุมไดอะตอม ที่พบมากคือ Cyclotella ,Nitzschia สาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินที่พบมากคือ Merismopedia, Oscillatoria, Phormidium และสาหรายสีเขียวที่พบมากคือ Dictyosphaerium, Oocystis และ Scenedesmus

ปริมาณแพลงกตอนบริเวณผิวน้ําและบริเวณพื้นทองน้ําตลอดการเลี้ยง แสดงไวในตารางที่ 5 โดยมีจํานวนแพลงกตอนเฉลี่ยบริเวณผิวน้ําและพื้นทองน้ํามีคาเทากับ 17.96x105±23.54x105

และ 29.38x105±30.19x105 เซลลตอลิตร ตามลําดับ ซ่ึงพบวาไมมีความแตกตางกันทางสถิติ (P> 0.05) คาเฉลี่ยของปริมาณแพลงกตอนบริเวณผิวน้ําและพื้นทองน้ําในแตละชวงเวลาแสดงไวในตารางที่ 4 แพลงกตอนบริเวณผิวน้ําจะนอยกวาพื้นทองน้ํา แตเมื่อเปรียบเทียบทางสถิติจะไมมีความแตกตางกัน ทั้งนี้เนื่องจากระดับน้ําในแตละบอมีความลึกไมมากเพียง 1.2-1.5 เมตรเทานั้นและการวางเครื่องใหอากาศมีความเหมาะสม เนื่องจากมวลน้ําสามารถรวมเปนเนื้อเดียวกันได

น้ําหนักเฉลีย่ (กรมั)

0.005.00

10.0015.0020.00

5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17สัปดาห

น้ําหน

ัก (กรัม)

P.1 P.2 P.3 P.4

Page 20: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

122

ตารางที่ 3 ปริมาณแพลงกตอนตลอดการเลี้ยง

ปริมาณแพลงกตอน (เซลลตอลิตร)บอ 1 บอ 2 บอ 3 บอ 4

สัปดาห ผิวน้ํา พื้นทองน้ํา ผิวน้ํา พื้นทองน้ํา ผิวน้ํา พื้นทองน้ํา ผิวน้ํา พื้นทองน้ํา1 563,634 554,175 214,286 658,800 155,598 608,265 205,548 552,8252 384,561 1,179,450 224,112 544,725 195,087 422,550 283,845 639,9003 304,941 446,175 283,338 556,538 224,785 417,319 735,254 828,2254 720,571 756,675 212,634 387,450 599,916 781,650 475,038 768,1605 297,852 458,325 539,838 1,009,800 444,662 585,900 328,225 791,1006 750,947 940,950 3,743,729 6,267,375 426,104 857,925 2,360,820 1,152,9007 1,605,669 1,669,950 977,074 2,008,800 1,047,946 1,888,968 977,916 843,7508 1,099,417 845,100 1,611,573 2,193,750 1,924,603 6,847,878 1,825,885 7,012,5759 632,823 1,666,575 1,814,916 2,943,675 1,428,438 1,848,825 1,435,230 2,869,425

10 1,654,601 3,684,825 1,782,008 3,350,700 1,565,010 4,303,125 1,863,855 2,090,47511 1,096,887 3,685,500 3,229,041 3,893,400 1,214,171 3,212,325 573,759 908,55012 1,198,133 3,023,325 2,197,136 3,904,200 591,478 2,147,175 553,514 1,036,12513 3,260,259 3,939,975 2,684,826 5,052,207 1,187,167 2,907,900 1,137,388 1,298,70014 5,714,732 5,521,500 1,330,605 2,487,375 1,918,701 4,536,000 788,074 1,814,40015 12,225,105 16,049,475 1,753,327 5,639,625 9,533,542 13,374,450 1,456,326 5,766,52516 10,741,150 1,726,650 820,979 3,642,300 7,619,079 11,373,750 1,484,166 4,911,30017 2,588,285 4,514,400 1,552,639 3,973,725 4,271,917 7,946,775 1,459,700 3,289,275เฉลี่ย 2,637,622 2,980,178 1,468,945 2,853,791 2,020,483 3,768,281 1,055,561 2,151,424

Page 21: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

123

ปริมาณแพลงกตอนรวมทั้งบริเวณผิวน้ําและพื้นทองน้ําพบวามีปริมาณเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาการเล้ียง โดยในชวงเดือนแรกจะมีปริมาณต่ําที่สุด และจะมีคาสูงขึ้นเมื่อเล้ียงไประยะหนึ่ง โดยในชวงสุดทายของการเลี้ยงพบวาจะมีปริมาณแพลงกตอนสูงที่สุด

ตารางที่ 4 คาเฉลี่ยของแพลงกตอนบริเวณผิวน้ําและพื้นทองน้ํา

t-test for Equality of Meansเดือน ตําแหนง คาเฉลี่ย

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t df Sig.(2-tailed)

1 ผิวน้ํา 361,446.75 195,088.87พ้ืนทองน้ํา 631,430.13 200,989.68 -3.856 30 P>0.05

2 ผิวน้ํา 1,810,141.25 2,515,651.23พ้ืนทองน้ํา 2,210,640.38 2,293,728.37 -0.471 30 P>0.05

3 ผิวน้ํา 1,426,937.50 702,623.40พ้ืนทองน้ํา 2,785,514.06 1,051,801.10 -4.296 30 P> 0.05

4 ผิวน้ํา 3,676,398.35 3,556,163.15พ้ืนทองน้ํา 5,488,315.35 3,911,462.66 -1.533 38 P>0.05

การเปลี่ยนแปลงปริมาณแพลงกตอนในบอเล้ียงกุงขาวทั้ง 4 บอพบวาในระยะแรกมีปริมาณแพลงกตอนนอย และจะคอยๆ เพิ่มจํานวนขึ้นในสัปดาหที่ 6 และลดลงในสัปดาหที่ 7 และมีการเพิ่มขึ้นอีกครั้งในสัปดาหที่ 8 และลดลงในสัปดาหที่ 9 เนื่องจากในชวงแรกปริมาณสารอาหารมีนอย แตหลังจากการเลี้ยงไปชวงหนึ่งปริมาณสารอาหารจึงเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการใหอาหารกุงภายในบอเล้ียง ทําใหมีปริมาณแพลงกตอนเพิ่มขึ้น ตอมาเมื่อปริมาณสารอาหารภายในบอเล้ียงหมดลง จึงทําใหปริมาณแพลงกตอนในสัปดาหถัดมามีปริมาณลดลง รวมถึงมีการเติมน้ําและถายน้ําเปนครั้งคราว ทําใหปริมาณแพลงกตอนไมคงที่ หลังจากนั้นมีการถายน้ําสม่ําเสมอจึงพบวาระหวางสัปดาหที่ 10-14 มีปริมาณแพลงกตอนใกลเคียงกัน และในสัปดาหที่ 15-16ปริมาณแพลงกตอนมีปริมาณเพิ่มขึ้นแมวาจะยังมีการถายน้ําอยู เนื่องจากในชวงทายของการเลี้ยงมีการสะสมปริมาณสารอาหารไวมาก ทําใหมีปริมาณแพลงกตอนเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะแพลงกตอนบริเวณพื้นทองน้ํามีคาสูงกวาสัปดาหกอนๆ ซ่ึงอาจเกิดจากมีแพลงกตอนบางสวนตายและตกลงสูกนบอ ทําใหมีปริมาณแพลงกตอนสูงในบริเวณพื้นทองน้ํา ซ่ึงพบวามีปริมาณแพลงกตอนสูงสุดในสัปดาหที่ 15 โดยปริมาณแพลงกตอนมีคาผันแปรระหวาง 14.56x105 ถึง 160.49x105 เซลลตอ

Page 22: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

124

ลิตร (ภาพที่ 12) ชนิดแพลงกตอนที่พบมากอยูในกลุม ดิวิช่ัน Cyanophyta ดิวิช่ัน Chlorophytaและ ดิวิช่ัน Chromophyta ตามลําดับ

ภาพที่ 12 ปริมาณแพลงกตอนตลอดการเลี้ยง

ในการเลี้ยงในชวงแรกจะพบวาสีน้ํามีสีน้ําตาลซึ่งพบวามีแพลงกตอนกลุมที่มีเปนจํานวนมาก ไดแก ไดอะตอม แตหลังจากเลี้ยงไประยะหนึ่งจะพบวาสีน้ําจะมีการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาที่ เ ล้ียงและชนิดของแพลงกตอนที่พบเปนจํานวนมากก็มีการเปลี่ยนแปลงตามไปดวย ซ่ึงจะเห็นไดวาในขณะที่สีน้ํามีสีน้ําตาล องคประกอบของชนิดแพลงกตอนสวนใหญจะเปนกลุมไดอะตอม เชน Cyclotella , Entomoneis และ Nitzschia และเมื่อน้ําเปลี่ยนมาเปนสีเขียวองคประกอบชนิดแพลงกตอนจะอยูในกลุมสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน เชน Merismopedia, OscillatoriaPhormidium และ Scenedesmus โดยพบวาตลอดการเลี้ยงสวนใหญจะพบวาเปนแพลงกตอนในกลุมสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน สีน้ําและชนิดของแพลงกตอนที่พบเปนจํานวนมากตลอดการเลี้ยงสรุปไวในตารางที่ 5 ทั้งนี้ลัดดา (2530) กลาววา สีของแพลงกตอนพืชจะเปนสีใดขึ้นกับปริมาณรงควัตถุที่มีในเซลล ซ่ึงแพลงกตอนในไฟลัม Cyanophyta จะมีปริมาณรงควัตถุคลอโรฟลลและไฟโคบิลินมากกวาชนิดอื่นจึงมีสีเขียวแกมน้ําเงินหรือสีเขียว สวนไฟลัม Bacillariophyta และ ไฟลัมPyrrophyta จะมีปริมาณรงควัตถุแคโรทีน (carotene) และแซนโธฟลล (xanthophyll) มากกวาชนิดอ่ืนจึงมีสีเหลืองหรือสีน้ําตาล ดังนั้นสีของน้ําจึงเกิดจากรงควัตถุที่มีในเซลลของแพลงกตอนพืชชนิดนั้นๆ

0.00

50.00

100.00

150.00

200.00

1 3 5 7 9 11 13 15 17สัปดาห

ปริมาณแ

พลงกตอ

น(x10

5 เซลล/ล

ิตร)

1S 1B 2S 2B3S 3B 4S 4B

Page 23: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

125

ตารางที่ 5 ความสัมพันธระหวางสีน้ํากับชนิดแพลงกตอน

ภาพที่ สีน้ํา ชนิดแพลงกตอนที่พบเปนจํานวนมาก1 น้ําตาลใส Cyclotella, Nitzschia2 น้ําตาลเหลือง Scenedesmus, Nitzschia, Phormidium, Kirchneriella3 น้ําตาลดํา Entomoneis, Merismopedia, Oscillatoria, Scenedesmus4 เขียวออน Merismopedia, Dictyosphaerium, Phormidium5 เขียวเหลือง Merismopedia, Nitzschia6 เขียวเขม Scenedesmus, Spirulina, Oocystis

Page 24: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

126

Division Cyanophyta

Anabaena (x1,000) Anabaenopsis (x1,000)

Chroococcus (x1,000) Coelosphaerium (x200)

Cylindrospermopsis (x1,000) Cylindrospermopsis (x1,000)

Merismopedia (x1,000) Oscillatoria (x1,000)

ภาพที่ 13 สกุลแพลงกตอน

Page 25: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

127

Oscillatoria (x1,000) Phormidium (x1,000)

Raphidiopsis (x1,000) Spirulina major (x1,000) Division Chlorophyta

Ankistodesmus (x1,000) Chlorella (x1,000)

Coelastrum (x1,000) Cosmarium (x1,000)

ภาพที่ 13 (ตอ)

Page 26: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

128

Crucigenia (x1,000) Dictyosphaerium (x1,000)

Euglena (x1,000) Golenkinia (x1,000)

Oocystis (x1,000) Phacus (x1,000)

Scenedesmus acuminatus (x1,000) S. armatus (x1,000)

ภาพที่ 13 (ตอ)

Page 27: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

129

Scenedesmus bernardii (x1,000) S. opoliensis (x1,000)Division Chromophyta

Climacosphaerium (x1,000) Cyclotella (x1,000)

Cyclotella (x1,000) Gyrosigma (x1,000)

Gymnodinium (x1,000) Nitzschia (x1,000)

ภาพที่ 13 (ตอ)

Page 28: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

130

Phylum Rotifera

Anuraenopsis (x100) Brachionus (x100)

Trichocerca (x100)Phylum Arthropoda

Copepod calanoid (x100) Copepod nauplius (x100)

ภาพที่ 13 (ตอ)

Page 29: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

131

1) สีน้ําที่มี Cyclotella เปนจํานวนมาก 2) สีน้ําที่มี Scenedesmus เปนจํานวนมาก

3) สีน้ําที่มี Entomeneis เปนจํานวนมาก 4) สีน้ําที่มี Merismopedia เปนจํานวนมาก

5) สีน้ําที่มี Merismopedia เปนจํานวนมาก 6) สีน้ําที่มี Scenedesmus เปนจํานวนมาก

ภาพที่ 14 สีน้ําระหวางการเลี้ยง

Page 30: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

132

3. การศึกษาคุณภาพน้ําในบอเล้ียงกุงขาว

คุณภาพน้ําที่ทําการวัดและวิเคราะหไดแก ความเค็ม คาการนําไฟฟา พีเอช ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา ปริมาณแอมโมเนียรวม ไนไตรท ความเปนดางรวม ความกระดางรวมปริมาณของแข็งแขวนลอยรวม คลอโรฟลล เอ สวนอิออนที่สําคัญ ไดแก โซเดียม แมกนีเซียมโพแทสเซียม แคลเซียม คลอไรด และซัลเฟต แสดงไวในตารางที่ 7 คุณภาพน้ําสูงสุด-ต่ําสุดตลอดการเลี้ยงแสดงไวในตารางที่ 6

ตารางที่ 6 คุณภาพน้ําสูงสุด-ต่ําสุดตลอดการเลี้ยง

คุณภาพน้ํา บอ 1 บอ 2 บอ 3 บอ 4 มีคาเฉลี่ย1. ความเค็ม (ppt) 2.3-3.2 2.4-3.4 2.3-3.3 1.9-3.1 2.66±0.352. คาการนําไฟฟา (mmhos/cm) 4.35-5.67 4.47-5.79 4.44-5.75 3.72-5.69 4.95±0.533. อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) - เชา 23.0-29.0 23.5-29.5 23.0-29.0 23.0-29.0 26.46±1.88 - บาย 25.0-31.0 25.0-31.0 25.0-31.5 25.0-31.0 28.58±1.744. พีเอช - เชา 7.3-8.2 7.3-8.3 7.3-8.2 7.3-8.2 7.79±0.23 - บาย 7.9-8.8 7.6-8.5 8.2-8.8 8.2-8.8 8.37±0.155. ปริมาณออกซิเจนละลายน้ํา (mg/l) - เชา 5.0-7.5 5.0-7.0 5.0-7.5 5.0-7.0 6.13±0.62 - บาย 7.5-12.0 6.5-12.0 7.5-11.0 7.5-11.5 9.32±1.276. ปริมาณแอมโมเนียรวม (mg/l) 0.05-1.5 0.04-1 0.02-0.4 0.05-1.5 0.30±0.347. ไนไตรท (mg/l) 0.01-0.15 0.01-0.17 0-0.15 0-1.2 0.10±0.178. ความเปนดางรวม (mg/l) 119-198 87-180 82-160 103-176 140.85±22.779. ความกระดางรวม (mg/l) 594-1282 641-1064 554-946 585-768 741.28±118.2510.ปริมาณของแข็งแขวนลอยรวม 16-158 38-224 24-130 17-266 112.79±60.81 ในน้ํา (mg/l)11. คลอโรฟลล เอ (mg/m3) 44.49-552.2 20.23-408.37 8.2-434.46 8.96-419.15 210.16±129.06

Page 31: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

133

3.1 ความเค็มความเค็มของน้ําในแตละบอมีคาผันแปรอยูระหวาง 1.9-3.4 พีพีที โดยมีคาเฉลี่ยแตละ

บอเทากับ 2.70±0.29 2.78 ±0.31 2.71± 0.33 และ 2.46±0.40 พีพีที ตามลําดับ โดยการเปลี่ยนแปลงความเค็มในชวงสัปดาหที่ 1-4 มีความเค็มสูงกวาในสัปดาหอ่ืนๆ (ภาพที่ 15) เนื่องจากในชวงแรกตอนปลอยกุงมีการปรับความเค็มโดยใหไดความเค็มนอกคอกพลาสติกประมาณ 3.5-4 พีพีทีและความเค็มคอยๆ ลดลงในสัปดาหตอมาเนื่องจากในระหวางการเลี้ยงในระยะ 40 วันแรก มีการเติมน้ําจืดเขาไปทดแทนน้ําที่ระเหยและรั่วซึมออกไป ทําใหความเค็มจึงคอยๆ ลดลง และในสัปดาหที่ 9 ความเค็มต่ําสุดโดยมีความเค็มระหวาง 1.9-2.3 พีพีที แตหลังจากมีการนําน้ําเค็มจากนาเกลือมาเติมอีกทําใหความเค็มของน้ําเพิ่มขึ้น

คาความเค็มเฉลี่ยตลอดการเลี้ยงทั้ง 4 บอมีคาเทากับ 2.66±0.35 พีพีที ซ่ึงเพียงพอในการเลี้ยงกุงขาวเนื่องจากเปนกุงที่ปรับตัวในการเลี้ยงในความเค็มต่ําไดดี (Smith and Lawrence,1990) จากการศึกษา Samocha et al. (2002) พบวากุงขาวแวนนาไมสามารถเลี้ยงที่ความเค็มตั้งแตระดับความเค็ม 1-40 พีพีที

3.2 คาการนําไฟฟาคาการนําไฟฟาในน้ําแตละบอมีคาผันแปรอยูระหวาง 3.72-5.79 mmhos/cmโดยมีคา

เฉลี่ยแตละบอเทากับ 5.03±0.44 5.14±0.44 5.03±0.45 และ 4.62±0.64 mmhos/cm ตามลําดับ คาการนําไฟฟาในน้ําในชวงสัปดาหที่ 1-4 จะมีคาการนําไฟฟาสูงกวาสัปดาหอ่ืนๆ (ภาพที่ 16) เนื่องจากกอนการเลี้ยงมีการปรับความเค็มนอกคอกใหมีความเค็มสูง ซ่ึงพบคาการนําไฟฟาในน้ํามีคาสูงสุดในสัปดาหที่ 3 โดยมีคาระหวาง 5.59-5.75 mmhos/cm ซ่ึงจะเห็นไดวาคาการนําไฟฟามีความสัมพันธกับความเค็ม โดยพบวาคาการนําไฟฟาของน้ําขึ้นกับอิออนตางๆ ของ Ca 2+, Mg 2+, Na+,K+, Fe2+ และ Fe3+ (ลวไมย, 2545) ซ่ึงสอดคลองกับ ประวิทย และ พิภพ (2539) ซ่ึงกลาววาคาการนําไฟฟามีความสัมพันธที่คอนขางสูงกับปริมาณธาตุตางๆ ซ่ึงเปนองคประกอบหลักในน้ําทะเล

คาการนําไฟฟาจากบอเล้ียงทั้ง 4 บอคาการนําไฟฟาในน้ําเฉลี่ยมีคาเทากับ 4.95±0.53mmhos/cm บางครั้งการวัดความเค็มของน้ําและอิออนสามารถวัดคาการนําไฟฟาแทน ซ่ึงคาการนําไฟฟาจะสูงกวาคาความเค็ม (Boyd, 2002)

3.3 อุณหภูมิอุณหภูมิของน้ําชวงเชามีคาผันแปรอยูระหวาง 23.0-29.5 องศาเซลเซียส และมีคา

เฉลี่ยแตละบอเทากับ 26.38±1.88 26.53±1.91 26.5±1.88 และ 26.41±2.01 องศาเซลเซียสตาม

Page 32: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

134

ลําดับ ในขณะที่ชวงบายมีคาผันแปรอยูระหวาง 25.0-31.5 องศาเซลเซียส และมีคาเฉลี่ยแตละบอเทากับ 28.53±1.80 28.62±1.75 28.71±1.86 และ 28.47±1.70 องศาเซลเซียส ตามลําดับ การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในแตละบอมีความคลายคลึงกันในชวงการเลี้ยง (ภาพที่ 17) เนื่องจากบอทดลองอยูในพื้นที่เดียวกัน และในขณะที่ทําการศึกษาเปนชวงฤดูหนาว

อุณหภูมิของน้ํามีการเปลี่ยนแปลงตามอิทธิพลของอากาศ โดยอุณหภูมิน้ําจะต่ําในชวงเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคมซึ่งเปนชวงฤดูหนาว อุณหภูมิของน้ําจะลดลงตามอุณหภูมิของอากาศ (ผุสดี, 2540) ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของสุกัญญา (2534) ไดรายงานวา อุณหภูมิจะแปรผันตามอุณหภูมิของอากาศหรือฤดูกาล ทั้งนี้ขึ้นกับเวลาและสภาพภูมิอากาศในขณะนั้น

จากบอเล้ียงทั้ง 4 บอพบวาถาใชคาเฉลี่ยรวมของอุณหภูมิตลอดระยะเวลาในการเลี้ยงมีคาเทากับ 27.36±1.84 องศาเซลเซียส ซ่ึงถือวามีระดับอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเลี้ยงกุงขาว ที่ระดับ 27-30 องศาเซลเซียส (สุรศักดิ์, 2546 ; Wyban et al., 1995) แตถาดูในรายละเอียดของแตละชวงเวลาพบวาคาเฉลี่ยของอุณหภูมิในชวงเชาและบายมีคาเทากับ 26.46±1.88 และ 28.58±1.74องศาเซลเซียส ตามลําดับ จะเห็นไดวาอุณหภูมิของน้ําตั้งแตวันที่ 65-109 จะอยูในชวง 23-26 องศาเซลเซียสเทานั้น ซ่ึงต่ํากวาระดับที่เหมาะสมตลอดวันเปนเวลานานถึง 44 วัน ทําใหมีผลตอการเจริญเติบโตของกุงขาวมาก เนื่องจากในชวงเวลาดังกลาวกุงจะกินอาหารไดนอยมาก

3.3 พีเอช (pH)พีเอชของน้ําชวงเชามีคาผันแปรอยูระหวาง 7.3-8.3 และมีคาเฉลี่ยแตละบอเทากับ

7.76±0.34 7.68±0.32 7.85±0.37 และ 7.86±0.37 ตามลําดับ ในขณะที่ชวงบายมีคาผันแปรอยูระหวาง 7.6-8.8 และมีคาเฉลี่ยแตละบอเทากับ 8.32±0.30 8.25±0.24 8.48±0.13 และ 8.39±0.18ตามลําดับ การเปลี่ยนแปลงของคาพีเอชในแตละบอมีความคลายคลึงกันในชวงการเลี้ยง (ภาพที่18) จะเห็นไดวาคาพีเอชในชวงบายมีคาสูง เนื่องจากการสังเคราะหแสงของแพลงกตอนพืชและพืชน้ําใชคารบอนไดออกไซด เพื่อสังเคราะหแสงในตอนกลางวัน ทําใหคาพีเอชสูงขึ้นและคอยๆ ลดลงในตอนกลางคืน เนื่องจากคารบอนไดออกไซดถูกปลอยกลับคืนออกมาจากการหายใจของสิ่งมีชีวิตในน้ํา (Boyd, 1982) โดยเฉพาะในชวงสัปดาหที่ 12 จนสิ้นสุดการเลี้ยงพบวาพีเอชในชวงเชามีคาต่ํามาก เนื่องจากปริมาณแพลงกตอนในชวงทายของการเลี้ยงมีปริมาณแพลงกตอนเพิ่มขึ้น ทําใหแพลงกตอนพืชและพืชน้ํามีการปลอยคารบอนไดออกไซดในตอนกลางคืนเปนจํานวนมาก ทําใหคาพีเอชลดต่ําลงในตอนกลางคืนจนถึงชวงเชามืด ทําใหชวงความแตกตางของพีเอชเชาและบายมีชวงที่กวางขึ้น

Page 33: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

135

เมื่อนําคาเฉลี่ยของพีเอชทั้ง 4 บอตลอดระยะเวลาในการเลี้ยงมีคาเทากับ 7.79±0.23และ 8.37±0.15 ในชวงเชาและบายตามลําดับ ซ่ึงถือวามีระดับพีเอชที่เหมาะสมในกุงขาว มีคาเทากับ 7-9 (Brock and Main, 1994)

3.4 ปริมาณออกซิเจนละลายน้ํา (DO)ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําชวงเชามีคาผันแปรอยูระหวาง 5.0-7.5 มิลลิกรัมตอลิตร

และมีคาเฉลี่ยแตละบอเทากับ 6.06±0.58 6.03±0.62 6.21±0.66 และ 6.24 ±0.64 มิลลิกรัมตอลิตรตามลําดับ ในขณะที่ชวงบายมีคาผันแปรอยูระหวาง 6.5-12.0 มิลลิกรัมตอลิตรและมีคาเฉลี่ยแตละบอเทากับ 9.44±1.20 8.97±1.64 9.24±1.00 และ 9.62±1.15 มิลลิกรัมตอลิตรตามลําดับ การเปลี่ยนแปลงปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําในแตละบอมีความคลายกันคือปริมาณออกซิเจนจะคอยๆ เพิ่มขึ้นจนถึงสัปดาหที่ 4 และพบวามีคาสูงสุดในสัปดาหที่ 6 โดยมีคาระหวาง 7.0-7.5มิลลิกรัมตอลิตรและ 8.5-12.0 มิลลิกรัมตอลิตรของชวงเชาและบายตามลําดับ จะเห็นไดวาปริมาณออกซิเจนละลายน้ํามีคาสูงสุดในชวงบาย เนื่องจากในระหวางกลางวันที่มีแสงแดด ปริมาณออกซิเจนเกิดขึ้นจากกระบวนการสังเคราะหแสงของแพลงกตอนพืช ทําใหออกซิเจนสูงขึ้นและในทางตรงกันขามการหายใจของสิ่งมีชีวิตทําใหปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําลดลงในตอนกลางคืน (ภาพที่ 19)

ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําในบอเล้ียงกุงขาวทั้ง 4 บอตลอดระยะเวลาในการศึกษาครั้งนี้มีคาเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําในชวงเชาและบายมีคาเทากับ 6.13±0.62และ 9.32±1.27 มิลลิกรัมตอลิตรตามลําดับ และอยูในระดับที่เหมาะสมสําหรับการเลี้ยงกุงขาวซึ่งไมควรต่ํากวา 3 มิลลิกรัมตอลิตร (Partrick, 1977 ; Arrigon et al. 1994 ; Brock and Main, 1994)หรือมีคาเทากับ 5 มิลลิกรัมตอลิตร(สุรศักดิ์, 2546) แสดงใหเห็นวาจํานวนเครื่องใหอากาศและตําแหนงในการวางเครื่องใหอากาศเหมาะสม รวมถึงอัตรารอดและผลผลิตไมมากคืออยูในชวง500-1,000 กิโลกรัมตอไร เทานั้น นอกจากนั้นการเลี้ยงในชวงที่อากาศหนาว อุณหภูมิต่ําทําใหการละลายของออกซิเจนสูงกวาน้ําที่มีอุณหภูมิสูง

3.5 ปริมาณแอมโมเนียรวม (TAN)ปริมาณแอมโมเนียรวมแตละบอมีคาผันแปรอยูระหวาง 0.02-1.5 มิลลิกรัมตอลิตร

โดยมีคาเฉลี่ยแตละบอเทากับ 0.35±0.41 0.32±0.31 0.17±0.10 และ 0.35± 0.49 มิลลิกรัมตอลิตรตามลําดับ จากบอเล้ียงทั้ง 4 บอจะเห็นไดวาปริมาณแอมโมเนียรวมของบอเล้ียงที่ 3 มีคาต่ํากวาบอเล้ียงอื่นๆ เนื่องจากปริมาณอาหารที่ใชตลอดระยะการเลี้ยงมีคานอยที่สุดคือ 4,173.23 กิโลกรัม ใน

Page 34: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

136

ขณะที่บอเล้ียงที่ 1,2 และ 4 มีคาเทากับ 4,751.85 4,989.37 และ 4,869.70 กิโลกรัมตามลําดับ ซ่ึงสงผลใหปริมาณแอมโมเนียรวมของบอเล้ียงที่ 3 มีคาต่ําสุด โดยมีปริมาณแอมโมเนียรวมสูงสุดในสัปดาหที่ 16 มีคาระหวาง 0.2-1.5 มิลลิกรัมตอลิตร แสดงใหเห็นวาในระยะแรกของการเลี้ยงอาหารที่ใชในการเลี้ยงกุงยังมีไมมากนักเนื่องจากความตองการอาหารของกุงยังมีนอย ตอมาเมื่อกุงมีขนาดใหญขึ้นความตองการของอาหารก็มีมากขึ้นตามลําดับรวมถึงสิ่งที่กุงขับถายออกมาก็มีมากขึ้น จึงทําใหปริมาณแอมโมเนียรวมสูงในสัปดาหหลังๆ ของการเลี้ยง (ภาพที่ 20)

Brock and Main (1994) กลาววาปริมาณแอมโมเนียรวมที่ปลอดภัยตอกุงขาวมีคาไมมากกวา 1 มิลลิกรัมตอลิตร จะเห็นไดวาปริมาณแอมโมเนียรวมของบอเล้ียงทั้ง 4 บอมีคาที่เหมาะสมและมีคาต่ํากวาระดับที่ปลอดภัยมาก ยกเวนเพียงบางชวงเวลาที่ปริมาณแอมโมเนียรวมของบอเล้ียงที่ 2 และ 4 สูงกวาระดับที่ปลอดภัยเล็กนอย การเปลี่ยนถายน้ํา การควบคุมปริมาณการใหอาหารที่เหมาะสมไมใหมีอาหารเหลือ และมีเครื่องใหอากาศพอเพียงสามารถลดปญหาการสะสมของปริมาณแอมโมเนียได เนื่องจากความเปนพิษของแอมโมเนียจะเพิ่มขึ้น เมื่อพีเอชของน้ําสูง แตในการศึกษาครั้งนี้คาพีเอชไมสูงมากจนถึงระดับที่เปนอันตรายตอกุงได

3.6 ไนไตรทปริมาณไนไตรทที่ละลายในน้ําแตละบอมีความผันแปรอยูระหวาง 0-1.2 มิลลิกรัมตอ

ลิตร โดยมีคาเฉลี่ยแตละบอเทากับ 0.07±0.45 0.07± 0.41 0.07±0.41 และ 0.19±0.32 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ ปริมาณไนไตรทในแตละบอมีความคลายกันจนถึงสัปดาหที่ 5 (ภาพที่ 21) โดยพบวาปริมาณไนไตรทในบอเล้ียงที่ 4 มีคาสูงสุดในสัปดาหที่ 10 โดยมีคาเทากับ 1.2 มิลลิกรัมตอลิตรซ่ึงเกินระดับมาตรฐานคือ 0.10 มิลลิกรัมตอลิตร (Brock and Main, 1994) ซ่ึงอาจมีสาเหตุมาจากปริมาณอาหารเหลือมากทําใหปริมาณแอมโมเนียมากขึ้น ในขณะที่แบคทีเรียที่เปลี่ยนแอมโมเนียเปนไนไตรททํางานไดไมเต็มที่ เนื่องจากอุณหภูมิของน้ําเริ่มต่ําลง และในบอเล้ียงที่ 4 เปนบอที่มีอัตรารอดสูงสุด รวมทั้งมีการใหอาหารมากกวาในบอเล้ียงอ่ืนๆ แตหลังจากถายน้ําเพิ่มขึ้นและลดปริมาณการใหอาหารลง รวมทั้งการเปดเครื่องใหอากาศเต็มที่ พบวาปริมาณไนไตรทมีคาลดลงตามปกติบอเล้ียงกุงมีการสะสมของสารอินทรียมากขึ้น ทําใหปริมาณไนไตรทจากกระบวนการยอยสลายสารอินทรียมีมากขึ้นตามไปดวย นอกจากนี้ในชวงหลังจาก 1 เดือนของการเลี้ยงกุงเปนตนไป การใหอาหารและการกินอาหารของกุงจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว (พุทธ และคณะ, 2533)การใหอาหารมากเกินไปตั้งแตเร่ิมเลี้ยง ก็อาจจะทําใหคุณภาพน้ําโดยเฉพาะแอมโมเนียเพิ่มปริมาณสูง (Wasjbrot et al., 1989) ซ่ึงสอดคลองกับพุทธ (2537) ที่กลาววาความหนาแนนที่ปลอยกุงลงเล้ียงมีสวนสําคัญที่จะทําใหคุณภาพน้ําในบอเล้ียงต่ําลง โดยเฉพาะตัวแปรแอมโมเนียรวม ไน

Page 35: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

137

ไตรท บีโอดี และความโปรงใส เนื่องจากความหนาแนนจะเปนตัวกําหนดเบื้องตนของปริมาณอาหารที่ใหกุงกินและของเสียที่ขับถายออกมา (Wickins, 1985) นอกจากนี้ความเขมขนของไนไตรทในน้ําจะทําใหความเปนพิษของแอมโมเนียเพิ่มขึ้น (Marken and Downing, 1957) แสดงใหเห็นวาไนไตรทมีความสัมพันธกับแอมโมเนีย

ในการศึกษาครั้งนี้ไมมีการใหอาหารสด แตใชอาหารเม็ดสําเร็จรูปเพียงอยางเดียวตลอดการเลี้ยง แตชวงที่อุณหภูมิต่ําควรปรับปริมาณการใหอาหารใหพอดี ทําไดยากโอกาสเหลือจึงมีความเปนไปไดมาก

3.6 ความเปนดางรวม (Total alkalinity)ปริมาณความเปนดางรวมมีคาความผันแปรอยูระหวาง 82-198 มิลลิกรัมตอลิตรโดยมี

คาเฉลี่ยแตละบอเทากับ 149.65±25.08 135.82±21.19 133.94±21.27 และ 144.00±21.70 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ คาความเปนดางรวมในแตละบอคลายกัน (ภาพที่ 22) ซ่ึงคอยๆ เพิ่มขึ้นจนถึงสัปดาหที่ 5 เนื่องจากเมื่อทําการเลี้ยงกุงไประยะหนึ่ง ปริมาณของเสียในบอเพิ่มมากขึ้น กระบวนการยอยสารอินทรียโดยแบคทีเรียมีการปลอยคารบอนไดออกไซดและแพลงกตอนพืชปลดปลอยคารบอนไดออกไซดจากกระบวนการหายใจออกมามากตาม ปริมาณแพลงกตอนที่เพิ่มขึ้นเมื่ออาหารในบอเพิ่มมากขึ้น ทําใหปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดสูงขึ้นในชวงเวลากลางคืน และทําใหคาความเปนดางของน้ําในบอเล้ียงสูงขึ้น (ไมตรี และจารุวรรณ, 2528) หลังจากสัปดาหที่ 5ความเปนดางรวมของบอเล้ียงทั้ง 4 บอมีการแกวงตัวเล็กนอยจนสิ้นสุดการเลี้ยงตามปริมาณการถายน้ําเปนระยะๆ

ความเปนดางรวมตลอดระยะเวลาในการเลี้ยงกุงขาวแปซิฟกทั้ง 4 บออยูในระดับที่เหมาะสม สอดคลองกับ Brock and Main (1994) กลาววาความเปนดางที่เหมาะสมในกุงขาวมีคาระหวาง 50-150 มิลลิกรัมตอลิตร และ สุรศักดิ์ (2546) ควรมีคาระหวาง 120-180 มิลลิกรัมตอลิตร

3.7 ความกระดางรวม (Total hardness)คาความกระดางรวมแตละบอมีคาผันแปรอยูระหวาง 554-1,282 มิลลิกรัมตอลิตรโดย

มีคาเฉลี่ยแตละบอเทากับ 765.53±147.53 791.76±118.12 724.18±102.47 และ 683.65±71.84มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ คาความกระดางรวมของน้ําคอยๆ ลดลงใน 3 สัปดาหแรก (ภาพที่ 23)เนื่องจากกุงขาวมีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วมากในระยะแรก จึงมีการดึงเอาแคลเซียมในน้ําไปสรางเปลือกสําหรับการเจริญเติบโต ความกระดางจึงลดลงมาก เมื่อมีการเติมแรธาตุผสม 40

Page 36: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

138

กิโลกรัมตอไรลงไป จึงทําใหความกระดางรวมในบอเล้ียงเพิ่มขึ้น แตในระหวางการเลี้ยงปริมาณความกระดางรวมมีการแกวงตัวบางตามการเปลี่ยนถายน้ําและการเติมแรธาตุผสม

3.10 ปริมาณของแข็งแขวนลอยรวม (TSS)ปริมาณของแข็งแขวนลอยรวมมีคาผันแปรอยูระหวาง 16-266 มิลลิกรัมตอลิตร โดยมี

คาเฉลี่ยแตละบอเทากับ 85.24±38.90 138.24±58.32 93.82±28.25 และ 133.88±86.14 มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ ปริมาณของแข็งแขวนลอยรวมในระยะแรกมีเพียงเล็กนอย แตเมื่อเล้ียงไประยะหนึ่งปริมาณของแข็งแขวนลอยจะคอยๆ เพิ่มขึ้นและมีคาสูงสุดในสัปดาหที่ 8 (ภาพที่ 24) ซ่ึงสารเหลานี้ประกอบดวยอนุภาคดินและสารอินทรีย และถูกพัดพาตามกระแสน้ํา (Boyd, 1989) จากเครื่องใหอากาศที่มีความแรงมากพอ ทําใหตะกอนดินขอบบอและพื้นบอเพิ่มขึ้นมา เมื่อระยะเวลาการเลี้ยงผานไปก็จะมีการสะสมของตะกอนมากขึ้น จึงทําใหปริมาณของแข็งแขวนลอยสูงขึ้นThomforde and Boyd (1991) พบวาในบอที่มีการเติมอากาศอยางตอเนื่องจะมีความเขมขนของสารแขวนลอยสูงกวาบอที่มีการเติมอากาศครั้งคราว

ปริมาณของแข็งแขวนลอยรวมเฉลี่ยตลอดการเลี้ยงมีคาเทากับ 112.79±60.81มิลลิกรัมตอลิตร ไมมีผลตอการเจริญเติบโต และทําใหกุงขาวเกิดปญหาใดๆ เลย สังเกตไดจากในระหวางการเลี้ยงไมพบอาการผิดปกติ หรือแสดงความเครียดจากตะกอนแขวนลอยในน้ําในระดับที่กลาวมานี้

3.11 คลอโรฟลล เอ ปริมาณคลอโรฟลล เอ มีคาผันแปรอยูระหวาง 8.2-552.2 มิลลิกรัมตอลิตร โดยมีคา

เฉลี่ยแตละบอเทากับ 239.66±138.31 201.81±135.27 207.19±130.62 และ 191.96±117.91มิลลิกรัมตอลิตร ตามลําดับ ปริมาณคลอโรฟลล เอในแตละบอมีความคลายกันจนถึงสัปดาหที่ 3(ภาพที่ 25) เนื่องจากในชวงแรกของการเลี้ยงปริมาณแพลงกตอนและคุณภาพน้ํายังมีความแตกตางกันไมมากนัก รวมถึงความอุดมสมบูรณของธาตุอาหาร โดยท่ีปริมาณคลอโรฟลล เอมีคาสูงสุดในสัปดาหที่ 15 ซ่ึงมีคาระหวาง 323.55-552.2 มิลลิกรัมตอลิตร เนื่องจากปริมาณแพลงกตอนรวมในสัปดาหที่ 15 มีคาสูงกวาในสัปดาหอ่ืน รวมถึงปริมาณธาตุอาหารที่ไดรับเพิ่มขึ้น ทําใหปริมาณคลอโรฟลล เอ สูงขึ้นตามไปดวย แสดงใหเห็นวาปริมาณแพลงกตอนมีความสัมพันธกับปริมาณคลอโรฟลล เอ

Page 37: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

139

จากบอเล้ียงทั้ง 4 บอพบวาปริมาณคลอโรฟลล เอ มีคาเฉลี่ยเทากับ 210.16±129.06มิลลิกรัมตอลิตร นอกจากนี้การวัดปริมาณคลอโรฟลล เอ สามารถใชบงบอกถึงมวลชีวภาพของแพลงกตอนพืชในแหลงน้ําอยางคราวๆ (ลัดดา, 2530)

Page 38: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

140

ภาพที่ 15 การเปลี่ยนแปลงความเค็มตลอดการเลี้ยง

ภาพที่ 16 การเปลี่ยนแปลงคาการนําไฟฟาตลอดการเลี้ยง

ความเค็ม

1.02.03.04.0

1 3 5 7 9 11 13 15 17สัปดาห

ppt

P.1 P.2 P.3 P.4

คาการนําไฟฟา

23456

1 3 5 7 9 11 13 15 17สัปดาห

dS/m

P.1 P.2 P.3 P.4

Page 39: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

141

ภาพที่ 17 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตลอดการเลี้ยง

ภาพที่ 18 การเปลี่ยนแปลงพีเอชตลอดการเลี้ยง

อุณหภูมิ

20.00

25.00

30.00

35.00

1 3 5 7 9 11 13 15 17สัปดาห

องศาเซ

ลเซียส

P.1 เชา P.1 บ าย P.2 เช า P.2 บ ายP.3 เชา P.3 บ าย P.4 เช า P.4 บ าย

พี เอช

7.007.508.008.509.00

1 3 5 7 9 11 13 15 17สัปดาห

P.1 เชา P.1 บ าย P.2 เช า P.2 บ ายP.3 บ าย P.3 บ าย P.4 เช า P.4 บ าย

Page 40: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

142

ภาพที่ 19 การเปลี่ยนแปลงปริมาณออกซิเจนละลายน้ําตลอดการเลี้ยง

ภาพที่ 20 การเปลี่ยนแปลงปริมาณแอมโมเนียรวมตลอดการเลี้ยง

ปริมาณออกซิ เจน ท่ีละลายน้ํ า

0.00

5.00

10.00

15.00

1 3 5 7 9 11 13 15 17สัปดาห

mg/l

P .1 เชา P.1 บ าย P.2 เชา P.2 บ ายP.3 เชา P.3 บ าย P.4 เชา P.4 บ าย

ปริมาณแอมโมเนียรวม

00.5

11.5

2

1 3 5 7 9 11 13 15 17สัปดาห

mg/l

P .1 P.2 P.3 P.4

Page 41: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

143

ภาพที่ 21 การเปลี่ยนแปลงไนไตรทตลอดการเลี้ยง

ภาพที่ 22 การเปลี่ยนแปลงคาความเปนดางรวมตลอดการเลี้ยง

ไนไตรท

0

0.5

1

1.5

1 3 5 7 9 11 13 15 17สัปดาห

mg/l

P.1 P.2 P.3 P.4

ความเปนดางรวม

050

100150200250

1 3 5 7 9 11 13 15 17สัปดาห

mg/l

P.1 P.2 P.3 P.4

Page 42: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

144

ภาพที่ 23 การเปลี่ยนแปลงคาความกระดางรวมตลอดการเลี้ยง

ภาพที่ 24 การเปลี่ยนแปลงปริมาณของแข็งแขวนลอยรวมในน้ําตลอดการเลี้ยง

ปริมาณของแข็งแขวนลอยรวมในน้ํา

0

100

200

300

1 3 5 7 9 11 13 15 17สัปดาห

mg/l

P.1 P.2 P.3 P.4

ความกระดางรวม

0

500

1000

1500

1 3 5 7 9 11 13 15 17สัปดาห

mg/l

P.1 P.2 P.3 P.4

Page 43: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

145

ภาพที่ 25 การเปลี่ยนแปลงคลอโรฟลล เอ ตลอดการเลี้ยง

คลอโรฟลล เอ

0

200

400

600

1 3 5 7 9 11 13 15 17สัปดาห

mg/m

3

P .1 P.2 P.3 P.4

Page 44: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

146

3.12 ปริมาณอิออนในน้ําการวิเคราะหปริมาณอิออนในน้ําตลอดการเลี้ยง ไดแก โซเดียม (Na+) แมกนีเซียม

(Mg2+) โพแทสเซียม (K+) แคลเซียม (Ca2+) คลอไรด (Cl-) และซัลเฟต (SO4 2-) ปริมาณอิออนสูง

สุด-ต่ําสุดตลอดการเลี้ยงแสดงไวในตารางที่ 7 และการเปลี่ยนแปลงอิออนตลอดการเลี้ยงแสดงในภาพที่ 26-31

ตารางที่ 7 ปริมาณอิออนต่ําสุด-สูงสุดตลอดการเลี้ยง

บอ Na + Ca2+ Mg2+ K+ SO4 2- Cl -

1 694-888 77-180 73-103 17.3-26 257-431 1120-1450.22 781-917 93.5-193 72.5-100 18.3-25.8 288-566 1122.5-1601.63 714-850 88.4-170 83.6-109 20-25.7 235-451 1180-1442.54 640-913 67.6-174 69.2-112 16.5-26.4 222-443 942.6-1540

ปริมาณอิออนที่สําคัญๆ ในการศึกษาครั้งนี้ อยูในระดับที่เหมาะสมสําหรับการเลี้ยงกุงขาวในความเค็มต่ํา เนื่องจากปริมาณอิออนตางๆ ที่มีผลตอการเจริญเติบโตหรือการตายในกุงขาวที่ประเทศเอกวาดอรที่มีปญหากุงตายอยางมาก เมื่อนําน้ํามาวิเคราะหพบวา K+ มีคาต่ํากวา 10มิลลิกรัมตอลิตร แตหลังจากที่เติมปุยที่มีสวนประกอบของโพแทสเซียม (KCl, K2SO4) ใหไดความเขมขนของ K+ เทากับ 50 มิลลิกรัมตอลิตร พบวาอัตรารอดของกุงสูงขึ้น นอกจากนี้ Boyd (2002)พบวาปริมาณความเขมขนของไอออนที่สําคัญเมื่อเร่ิมปลอยลูกกุงที่ความเค็ม 5 พีพีที ไมควรต่ํากวานี้คือ แคลเซียม 58 มิลลิกรัมตอลิตร แมกนีเซียม 196 มิลลิกรัมตอลิตร โพแทสเซียม 54 มิลลิกรัมตอลิตร โซเดียม 1,522 มิลลิกรัมตอลิตร ซัลเฟต 392 มิลลิกรัมตอลิตร และคลอไรด 2,755 มิลลิกรัมตอลิตร ซ่ึงจากการศึกษานี้พบวาปริมาณไอออนเมื่อเร่ิมปลอยกุงมีปริมาณมากเกินพอตอการเจริญเติบโตของกุงขาว ซ่ึงจากการวิเคราะหปริมาณอิออนพบวา สวนใหญบางชวงมีคาต่ํากวาระดับที่เหมาะสมตอการเลี้ยงกุงดวยน้ําความเค็มต่ําซึ่งอาจจะเปนสาเหตุอีกอันหนึ่งที่ทําใหกุงโตชาดวย

McGraw and Scarpa (2002) ศึกษาอัตราสวนความเขมขนของอิออนตออัตรารอดกุงขาวระยะ PL 18 ในน้ําจืดความเค็มต่ํากวา 1 พีพีที ที่อุณหภูมิ 26 องศาเซลเซียส ภายในเวลา 48 ช่ัวโมงโดยระหวางการทดลองไมมีการใหอาหาร และมีการเติมคลอไรด (Cl-) ในน้ํากลั่น น้ําที่ใชทดลองมีอัตราสวนของ monovalent (Na+, K+) และdivalent (Mg2+, Ca2+) หลายระดับ พบวาอัตราสวนของmonovalent มากกวา divalent (70%:30%) มีอัตรารอดสูงสุด (73%) ถาไมมีสวนของ Na+, K+ พบ

Page 45: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

147

กุงตาย 100 เปอรเซ็นต แตถาในน้ําไมมี Mg2+, Ca2+ เลย โดยใหน้ํามีเฉพาะ Na+, K+ กุงมีอัตรารอด37 เปอรเซ็นต ดังนั้นในบอเล้ียงกุงในพื้นที่น้ําจืดควรใหความสําคัญทั้ง monovalent และ divalentรวมถึงมีการจัดการคุณภาพน้ําตางๆ ใหมีความเหมาะสม

Page 46: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

148

ภาพที่ 26 การเปลี่ยนแปลงปริมาณ Na+ ตลอดการเลี้ยง

ภาพที่ 27 การเปลี่ยนแปลงปริมาณ Ca2+ ตลอดการเลี้ยง

0500

10001500

0 2 4 7 9 12 15 17สัปดาห

Na+ (m

g/)l

P.1 P.2 P.3 P.4

0100200300

0 2 4 7 9 12 15 17สัปดาห

Ca2+

(mg/l

)

P.1 P.2 P.3 P.4

Page 47: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

149

ภาพที่ 28 การเปลี่ยนแปลงปริมาณ K+ ตลอดการเลี้ยง

ภาพที่ 29 การเปลี่ยนแปลงปริมาณ Mg2+ ตลอดการเลี้ยง

0102030

0 2 4 7 9 12 15 17สัปดาห

K+ (mg/l

)

P.1 P.2 P.3 P.4

0

50

100

150

0 2 4 7 9 12 15 17สัปดาห

Mg2+

(mg/l

)

P.1 P.2 P.3 P.4

Page 48: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

150

ภาพที่ 30 การเปลี่ยนแปลงปริมาณ Cl- ตลอดการเลี้ยง

ภาพที่ 31 การเปลี่ยนแปลงปริมาณ SO42- ตลอดการเลี้ยง

0500

100015002000

0 2 4 7 9 12 15 17สัปดาห

Cl- (mg/l

)

P .1 P.2 P.3 P.4

0200400600

0 2 4 7 9 12 15 17สัปดาห

SO42- (m

g/l)

P.1 P.2 P.3 P.4

Page 49: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

151

4. การศึกษาองคประกอบของอาหารในกระเพาะอาหารและลําไสของกุงขาว

จากการศึกษาพบวาชนิดแพลงกตอนที่พบในกระเพาะอาหารและลําไส ซ่ึงประกอบดวยแพลงกตอนพืช 3 ดิวิชัน 36 สกุล ไดแก ดิวิชัน Cyanophyta 7 สกุล ดิวิชันChlorophyta 19 สกุลดิวิชัน Chromophyta 10 สกุล และแพลงกตอนสัตว 2 ไฟลัม 3 สกุล ไดแก ไฟลัม Protozoa 1 สกุลและไฟลัม Rotifera 2 สกุล

ชนิดของแพลงกตอนที่พบทั้งในกระเพาะอาหารและในลําไสของกุงขาวสวนใหญ ไดแกMerismopedia, Oscillatoria, Phormidium, และ Scenedesmus

จากการศึกษาพบวาชนิดแพลงกตอนที่พบทั้งในกระเพาะอาหารและลําไส พบวาไมมีความแตกตางกัน แสดงใหเห็นวากุงขาวไมไดจําเพาะเจาะจงที่จะกินแพลงกตอนชนิดใดชนิดหนึ่ง แตเปนการกินแพลงกตอนที่มีอยูในน้ําทั้งหมดขึ้นกับวาแพลงกตอนนั้นมีมากหรือนอยในบอเล้ียง ซ่ึงพบวาแพลงกตอนที่พบสวนใหญในกระเพาะอาหารและลําไส ไดแก Merismopedia, Oscillatoria,Phormidium, และ Scenedesmus นั้นเปนแพลงกตอนชนิดที่พบมากตลอดการเลี้ยง และเปนแพลงกตอนชนิดที่พบทั้งบริเวณผิวน้ําและพื้นทองน้ํา ซ่ึงมีความสัมพันธกับชนิดของแพลงกตอนที่พบมากในน้ําตลอดการเลี้ยง ไดแก Cyclotella, Nitzschia , Merismopedia, Oscillatoria,Phormidium, Dictyospherium และ Scenedesmus

แพลงกตอนในกระเพาะอาหารและลําไสกุงขาวแวนนาไมนั้นพบวามีทั้งแพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตว ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของผสุดี (2529) พบ Cyclotella sp.,Phaeodactylum sp., Dunaliella sp., Gymnodinium splendens , Chaetoceros calcitrans,Tetraselmis sp., Isochrysis galbana, Rhizosolenia sp., Exuviella sp. และ Chlorella sp. จากการศึกษาชนิดและปริมาณอาหารภายในกระเพาะกุงทะเลที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ เชน กุงแชบวย กุงกุลาดํา กุงกุลาลาย และกุงตะกาด พบวากุงกินทั้งแพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตวเปนอาหาร(คณิต, 2515)

กุงขาวมีการกินแพลงกตอนตลอดชวงชีวิต ไมใชเฉพาะในวัยออนเทานั้นแตสามารถกินไดตลอดชวงชีวิต Wassenberg and Hill (1987) กลาววาพฤติกรรมการกินของกุงขาวนั้นสามารถกินไดทั้งพืช สัตว และซากของสิ่งมีชีวิตที่อยูบริเวณกลางน้ํา นอกจากนี้ยังสามารถกินไดทั้งสิ่งมีชีวิตที่อยูบริเวณผิวหนาดินและซากของสิ่งมีชีวิตเหลานั้นอีกดวย ดังนั้นถามีการจัดการคุณภาพน้ําใหดี เพื่อใหมีอาหารธรรมชาติเพียงพอแลวก็จะทําใหชวยลดตนทุนดานอาหารลง

Page 50: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

152

เอกสารอางอิง

คณิต ไชยาคํา. 2515. การศึกษาชนิดและปริมาณอาหารที่พบภายในกระเพาะอาหารกุงทะเลที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจบางชนิด, น. 39-44. ใน การสัมมนาครั้งท่ี 3. การวิจัยคุณภาพน้ําและคุณ-ภาพทรัพยากรมีชีวิตในนานน้ําไทย. 26-28 มีนาคม 2527. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, กรุงเทพฯ.

ประวิทย โตวัฒนะ และ พิภพ ปราบณรงค. 2539. การสะสมตัวและการเคลื่อนที่ของไอออนจากน้ําทะเลที่ใชเล้ียงกุงในหนาดินตัดที่มีผลกระทบตอสภาพแวดลอมและทรัพยากรดินในอําเภอระโนด จังหวัดสงขลา. วารสารสงขลานครินทร. 18(1) : 113-127.

ผุสดี ศรีพยัตต. 2529. การเพาะเลี้ยงแพลงกตอนพืชเพื่อใชเปนอาหารลูกสัตวน้ํา. เอกสารเผยแพรฉบับที่ 29. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 290 น.

ผุสดี เทียนถาวร. 2540. ความสัมพันธระหวางแพลงกตอนพืชกับคุณภาพน้ําบางประการในแมน้ําแมกลอง. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

พุทธ สองแสงจินดา. 2537. สหสัมพันธเชิงเสนของตัวแปรคุณภาพน้ํากับขอมูลการเลี้ยงกุงกุลาดําแบบพัฒนาในเขตอําเภอระโนด จังหวัดสงขลา. เอกสารวิชาการฉบับที่ 10/2534. สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง. 11 น.

พุทธ สองแสงจินดา, ยงยุทธ ปรีดาลัมพะบุตร, ศุภโยค สุวรรณมณี และ วิชาญ ชูสุวรรณ. 2533.ขอสังเกตเกี่ยวกับคุณสมบัติดินบางประการในบอเล้ียงกุงกุลาดําแบบพัฒนา. เอกสารวิชาการฉบับที่ 10/2533. สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง. 15 น.

ไมตรี ดวงสวัสดิ์ และ จารุวรรณ สมศิริ. 2528. คุณสมบัติของนํ้าและวิธีการวิเคราะหสําหรับการ วิจัยทางการประมง. สถาบันประมงน้ําจืด, กรมประมง, กรุงเทพฯ. 115 น.

ลวไมย สาวะรก. 2545. การศึกษาการใชแรธาตุผสมในการเลี้ยงกุงกุลาดํา. วิทยานิพนธปริญญาโท,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

Page 51: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

153

ลัดดา วงศรัตน. 2530. แพลงกตอน. คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 289 น.

. 2541. แพลงกตอนสัตว. คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 787 น.

. 2542. แพลงกตอนพืช. คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 851 น.

สุกัญญา ธีรกรณีเลิศ. 2534. คุณภาพน้ําบางประการตามชั้นคุณภาพลุมน้ํา บริเวณลุมแมน้ํากลอง.วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สุรศักดิ์ ดิลกเกียรติ. 2546. กุงไทย กาวใหม. กรุงเทพฯ. 394 หนา.

APHA , AWWA and AWCA. 1992. Standard Methods for the Examination Water andWastewater. 19 th. ed., American Public Health Association, Washington. D.C. 1,391 p.

Arrignon, J.V.C., J.V. Huner, P.J. Laurent, J.M. Griessinger, D. Lacroix, P. Gonduin and M.Autrand. 1994. Warm-Water Crustaceans. The Macmillan press Ltd. London andBasingstoke. 114 p.

Boyd, C.E. 1982. Water Quality Management for Fish Pond Culture. Elsevier Sci. Publ.Co., Amsterdum, Netherlands. 318 p.

. 1989. Water Quality Management and Aeration in Shrimp Farming Series 2. Fisheries and Allied Aquaculture Department, Auburn, Auburn University, Albama. 77 p.

. 2002. Dissolved salt in water for inland low-salinity shrimp culture. Glob Aquac.Advocate. 5 : 40-50.

Brock, J.A. and K. Main. 1994. A Guide to the Common Problems and Diseases of CulturedPenaeus vannamei. Publ. By the Oceanic Institute, Makapu point, Honolulu, HI, USA.241 p.

Page 52: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

154

FAO. 1994. Aquaculture Production 1986-1992. FAO Fisheries Circular 815 (Rev. 6). FAO, Rome. 216 p.

Limsuwan, C. 1999. Shrimp culture in Thailand toward year 2000. AAHRI Newsletter. 8(1) : 5-8.

Markens, J.C. and K.M. Downing. 1957. The effect of tension of dissloved oxygen an the toxicityof un-ionized ammonia to several species of fish. Ann. Appl. Biol. 45: 521.

McGraw, W.J. and J. Scarpa. 2002. Determining ion concentration for Litopenaeus vannameiculture in freshwater. Global Aquaculture Advocate. 5 : 36-38.

Partrick. 1977. Ecology of freshwater diatoms-diatom communities, p. 284-332. In D. Werner(ed.). The Biology of Diatoms. University of California Press, Berkeley.

Rosenberry, R. 1993. World Shrimp Farming 1993. Aquaculture Digest, December 1993. 52 p.

Samocha, T.M, L. Hamper, C.R. Emberson, A.D. Davis, D. McIntosh , A.L. Lawrence and P.Van Wyk. 2002. Review of some recent developments in sustainable shrimp farmingpractices in Texas, Arizona and Florida. J. Appl. Aquac. 12(1) :1-30.

Smith, L.L. and A.L. Lawrence. 1990. Feasibility of penaeid shrimp culture in inland saline groundwater-fed ponds. Tex. J. Sci. 42(1) : 3-12.

Thomforde, H. and C.E. Boyd. 1991. Effects of aeration on water quality and channel catfishproduction. Bamidgeh. 43 : 3-36.

Page 53: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

155

Wajsbrot, N., M.D. Krom, A. Gasith and T. Samocha. 1989. Ammonia excretion of green tigerprawn Penaeus semisulcatus as a possible limit on the biomass density in shrimp ponds.Isr. J. Aquacult (Bamidgeh). 41 : 159-164.

Wassenberg, T.J. and B.J. Hill. 1987. Natural diet of the tiger prawns Penaeus esculentus and P.semisulcatus. Aus. J. Mar. Fresh. Res. 38 : 169-182.

Wickins, J.F. 1984. The effect of reduced pH on carapace calcium, strontium and magnesiumand biostain levels in rapidly growing prawns (Penaeus monodon Fabricius).Aquaculture. 41 : 49-60.

Wickins, J.F. 1985. Ammonia production and oxidation during the culture of marine prawns andlobsters in laboratory recirculation systems. Aquac. Eng. 4 : 155-174.

Wyban, J., W.A. Walsh and D.M. Godin. 1995. Temperature effects on growth, feeding rateand feed conversion of the Pacific white shrimp (Penaeus vannamei). Aquaculture

138 :267-279.

Page 54: Litopenaeus vannamei Boone, 1931)

156

ภาคผนวก