10
“กศน. เพื่อนเรียนรู้ สู่ชุมชนพอเพียง” m กลุ่มเลี้ยงสุกรวิธีเกษตรธรรมชาติ(หมูหลุม) บ้านผาขวาง หมู่ 4 ตำบลผาขวาง อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน 19 คน จำหน่ายยกคอก 5 ตัว เมือเดือนพฤษภาคม 2550 อยู่ระหว่างการติดตามผลการทำบัญชีรับจ่าย (สมาชิกอยู่ไม่ครบเนื่องจากเป็นฤดูเพาะปลูก) m กลุ่มเพาะเห็ด บ้านผาขวาง หมู่ 4 ตำบลผาขวาง อำเภอ เมืองน่าน จังหวัดน่าน 16 คน เห็ดเริ่มออกดอก/ยังอยู่ระยะเริ่มต้น

m กลุ่มเลี้ยงสุกรวิธีเกษตรธรรมชาติ(หมูหลุม)บ้านผาขวาง หมู่ ...ebook.nfe.go.th/nfe_ebook//data_ebook/7/1_21_30.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: m กลุ่มเลี้ยงสุกรวิธีเกษตรธรรมชาติ(หมูหลุม)บ้านผาขวาง หมู่ ...ebook.nfe.go.th/nfe_ebook//data_ebook/7/1_21_30.pdf ·

��“กศน. เพื่อนเรียนรู้ สู่ชุมชนพอเพียง”

m กลุ่มเลี้ยงสุกรวิธีเกษตรธรรมชาติ(หมูหลุม) บ้านผาขวาง

หมู่ 4 ตำบลผาขวาง อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน 19 คน จำหน่ายยกคอก

5ตัว เมือเดือนพฤษภาคม2550อยู่ระหว่างการติดตามผลการทำบัญชีรับจ่าย

(สมาชิกอยู่ ไม่ครบเนื่องจากเป็นฤดูเพาะปลูก)

m กลุ่มเพาะเห็ดบ้านผาขวางหมู่ 4ตำบลผาขวางอำเภอ

เมืองน่านจังหวัดน่าน16คนเห็ดเริ่มออกดอก/ยังอยู่ระยะเริ่มต้น

Page 2: m กลุ่มเลี้ยงสุกรวิธีเกษตรธรรมชาติ(หมูหลุม)บ้านผาขวาง หมู่ ...ebook.nfe.go.th/nfe_ebook//data_ebook/7/1_21_30.pdf ·

�� “กศน. เพื่อนเรียนรู้ สู่ชุมชนพอเพียง”

m การอบรมหลักสูตร “การบริการอาหารและเครื่องดื่มและ

หลักเศรษฐกิจพอเพียงในวิถีชีวิต”3รุ่นรวม135คนอบรมไปเมื่อวันที่14-18

พฤษภาคม2550ยังไม่ได้ติดตามผล

m กลุ่มช่างไม้เครื่องเรือนจากโครงไม้จริงบ้านม่วงใหม่หมู่6

ตำบลนาปัง กิ่งอำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน 17 คน อบรมไปเมื่อวันที่ 14-25

พฤษภาคม2550ยังไม่ได้ติดตามผล

Page 3: m กลุ่มเลี้ยงสุกรวิธีเกษตรธรรมชาติ(หมูหลุม)บ้านผาขวาง หมู่ ...ebook.nfe.go.th/nfe_ebook//data_ebook/7/1_21_30.pdf ·

��“กศน. เพื่อนเรียนรู้ สู่ชุมชนพอเพียง”

m เกิดการอบรมหลักสูตร “ศิลปะการประดิษฐ์ดอกไม้จาก

ดินไทย” สำหรับกลุ่มเป้าหมายผู้สนใจและผู้ว่างงานทั่วไป 27 คน อบรมไป

เมื่อวันที่12-16มีนาคม2550ยังไม่ได้ติดตามผล

, ปัจจัยแห่งความสำเร็จ สรุปเป็นองค์ความรู้ได้ดังนี ้ <ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอเมืองน่าน ยึดกระบวนการ

ทำงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) เป็นหลักซึ่งได้แก่P-Planร่วมกันวางแผน

D-Doร่วมกันลงมือทำตามแผน -Check ร่วมกันตรวจสอบและA-Action

ร่วมกันปรับปรุงแก้ไข คือการร่วมวางแผน การร่วมลงมือปฏิบัติ ร่วมกันตรวจ

สอบ และร่วมกันปรับปรุงแก้ ไข วัฒนธรรมการทำงานตามวงจรคุณภาพดัง

กล่าวทำให้งานสำเร็จลุล่วงด้วยดี

< ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอเมืองน่าน ได้นำผล

การวิจัยเรื่องกระบวนการเรียนรู้เพื่อความเข้มแข็งของชุมชนมาใช้ในการจัด

กระบวนการเรียนรู้ในพื้นที่โดยให้ความสำคัญต่อ9ปัจจัยคือ

l เคารพในความรู้และประสบการณ์ของคนในชุมชน

l การแสวงหาภาวะผู้นำที่เข้มแข็งมาร่วมคิดร่วมทำ

l การมุ่งเน้นคุณธรรมและภูมิปัญญาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

l การสื่อสารที่ดีมีประสิทธิภาพและต่อเนื่องทุกรูปแบบ

l การสร้างแรงจูงใจด้วยการศึกษาดูงานและผลตอบแทนที่เป็น

รายได้/ลดรายจ่าย

Page 4: m กลุ่มเลี้ยงสุกรวิธีเกษตรธรรมชาติ(หมูหลุม)บ้านผาขวาง หมู่ ...ebook.nfe.go.th/nfe_ebook//data_ebook/7/1_21_30.pdf ·

�� “กศน. เพื่อนเรียนรู้ สู่ชุมชนพอเพียง”

l เน้นการจัดการที่ดี ในรูปคณะกรรมการ/ความซื่อสัตย์/โปร่งใส

ตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน

l ประสานองค์กรเครือข่ายเพื่อขอความร่วมมือสนับสนุน ทั้งภาค

รัฐ /เอกชน/องค์กรท้องถิ่น/ภูมิปัญญา/สถานประกอบการ/สื่อมวลชนทุก

แขนง

l สร้างโอกาสการเรียนรู้ตลอดเวลาทุกระยะที่สามารถกระทำได้

l ใช้ต้นทุนทางสังคมให้เป็นประโยชน์ เช่นทรัพยากรธรรมชาติ

วัฒนธรรมประเพณีประสบการณ์อาชีพฯลฯ

Page 5: m กลุ่มเลี้ยงสุกรวิธีเกษตรธรรมชาติ(หมูหลุม)บ้านผาขวาง หมู่ ...ebook.nfe.go.th/nfe_ebook//data_ebook/7/1_21_30.pdf ·

กลุ่มห้าขุนศึก หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง บ้านตลิ่งชัน

3

��“กศน. เพื่อนเรียนรู้ สู่ชุมชนพอเพียง”

Page 6: m กลุ่มเลี้ยงสุกรวิธีเกษตรธรรมชาติ(หมูหลุม)บ้านผาขวาง หมู่ ...ebook.nfe.go.th/nfe_ebook//data_ebook/7/1_21_30.pdf ·

j j

, ประวัติความเป็นมาของชุมชน บ้านตลิ่งชัน เดิมชื่อ บ้านเก่า ชาวบ้านมีอยู่ 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 เป็น

ชาวบ้านที่อาศัยอยู่เดิมสมัยสร้างเมืองเพชรบูรณ์ กลุ่มที่ 2 คือชาวบ้านที่อพยพ

มาจากนครราชสีมา (โคราช) หรือทางฝั่งลาวสมัยกรุงรัตนโกสินทร์สาเหตุที่

มีชื่อว่าบ้านเก่า เพราะชาวบ้านในหมู่บ้านได้แยกย้ายไปตั้งหมู่บ้านใหม่ตาม

หัวไร่ปลายนาและเพิ่มจำนวนมากขึ้นจนถึงปัจจุบัน โดยมีคลองห้วยซันไหลผ่าน

กลางหมู่บ้าน และต่อมาได้ตั้งชื่อหมู่บ้านใหม่ว่า “บ้านตลิ่งชัน” ปัจจุบันบ้าน

ตลิ่งชัน ตำบลชอนไพร อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ มีประชากร

อาศัยอยู่จำนวน939คนมีจำนวนครัวเรือน225ครัวเรือนส่วนใหญ่ประกอบ

อาชีพรับจ้าง จำนวน 130 ครัวเรือน รองลงมาเกษตรกรรม จำนวน 81

ครัวเรือน โดยมีพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ ข้าว ข้าวโพด พืชผัก (มะเขือยาว)

หอมแดงและกระเทียม

หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

บ้านตลิ่งชัน

�� “กศน. เพื่อนเรียนรู้ สู่ชุมชนพอเพียง”

Page 7: m กลุ่มเลี้ยงสุกรวิธีเกษตรธรรมชาติ(หมูหลุม)บ้านผาขวาง หมู่ ...ebook.nfe.go.th/nfe_ebook//data_ebook/7/1_21_30.pdf ·

, ความเป็นมาของโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง สืบเนื่องจากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ ได้

ประสานงานกับผู้นำชุมชน จัดเวทีประชาคม ในการระดมความคิดเกี่ยวกับปัญหา

ในชุมชน ความต้องการแก้ปัญหาและพัฒนาอาชีพ และวิธีแก้ปัญหาชุมชน

โดยได้รับการตอบรับจากชุมชนเป็นอย่างดี จนกระทั่งศูนย์บริการการศึกษา

นอกโรงเรียนสามารถกำหนดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน

และแปลงไปสู่การปฏิบัติภายใต้โครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงบ้านตลิ่งชัน

, การคัดเลือกชุมชน จากสภาพบริบทเบื้องต้นของ

ชุมชนพบว่า ชุมชนมีความเหมาะสมที่

จะเข้าร่วมโครงการ เนื่องจากสาเหตุ

ต่างๆดังนี้

< ประวัติของการประกอบ

อาชีพในชุมชน บ้านตลิ่งชัน ตำบลชอน

ไพรมีพื้นที่ทำการเกษตรประมาณ1,179 ไร่ จากจำนวนประชากร 939คนมี

จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 225 ครัวเรือน มีครัวเรือนที่ทำการเกษตรจำนวน 81

ครัวเรือนค้าขาย6ครัวเรือนรับจ้าง130ครัวเรือนและอื่นๆอีก8ครัวเรือน

< ลักษณะการผลิตมีการผลิตข้าวเพื่อบริโภคในครัวเรือนและจำหน่าย

เป็นรายได้และมีการปลูกหอมแดงเป็นอาชีพหลักรองจากข้าวและจะขายผลผลิต

ให้กับพ่อค้าคนกลาง ซึ่งการปลูกหอมแดงจะต้องลงทุนในการใช้ปุ๋ยเคมีและ

ยาฆ่าแมลงเป็นจำนวนมากและบางปีสินค้าก็ล้นตลาดราคาก็ตกต่ำลงไปด้วย

จากปัญหาดังกล่าว ทางศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ

เมืองเพชรบูรณ์จึงได้ลงไปจัดเวทีประชาคมและนำข้อมูลมาวิเคราะห์ในด้านจุด

อ่อนจุดแข็งของชุมชนเพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการจัดทำโครงการต่างๆดังนี้

��“กศน. เพื่อนเรียนรู้ สู่ชุมชนพอเพียง”

Page 8: m กลุ่มเลี้ยงสุกรวิธีเกษตรธรรมชาติ(หมูหลุม)บ้านผาขวาง หมู่ ...ebook.nfe.go.th/nfe_ebook//data_ebook/7/1_21_30.pdf ·

จุดแข็ง จดุอ่อน

1. มีพื้นที่ในการเพาะปลูกที่เอื้ออำนวย2.เกษตรกรมีประสบการณ์ในการ เพาะปลูก3.มีตลาดรองรับ4.มีแหล่งสินเชื่อสนับสนุนในการ ดำเนินการผลิต5.ปลุกแล้วขายได้เลย6.คนในชุมชนมีการรวมกลุ่ม การทำกิจกรรมดี7.ผู้นำเข้มแข็ง8.ประชาชนเปิดใจรับความรู้ใหม่ๆ9.มีภูมิปัญญาผู้รู้ในท้องถิ่น , การเตรียมชุมชน ตามที่รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมความพอมีพอกินพอใช้ในครัวเรือน รวมทั้งประชาชนในพื้นที่มีปัญหาต่างๆ มากมายผู้นำชุมชนจึงมีการปรึกษาหารือเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาโดยมีศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาแนะนำ โดยเริ่มจากการทำประชาคมในพื้นที่เพื่อให้ทราบถึงปัญหาต่างๆ ของประชาชนในพื้นที่ โดยการจัดทำเวทีประชาคมซึ่งจะมีวิทยากรกระบวนการของศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนในพื้นที่ ดำเนินการโดยให้แต่ละคุ้มแสดงความคิดเห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน โดยเขียนออกมาเป็นข้อๆ และนำเสนอต่อทุกคนที่ร่วมประชาคม เมื่อชุมชนมองปัญหาออกมาแล้ว วิทยากรกระบวนการนำมาสรุปประมวลเป็นปัญหาออกมานำเสนอกับสมาชิกที่เข้าร่วมการประชาคม ร่วม

พิจารณาและนำมาสรุปเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา

1.ดินเสื่อมคุณภาพขาดการบำรุง2.การเกษตรอาศัยน้ำฝนเป็นหลัก3.ปลูกไปนานๆทำให้เกิดโรคและ แมลงระบาด4.ต้นทุนทางการผลิตต่อไร่สูง5.ราคาผลผลิตตกต่ำ6.การขายผลผลิตต้องผ่าน พ่อค้าคนกลาง7.การรวมกลุ่มทำกิจกรรมไม่ถาวร8.ระดับความสนใจในกิจกรรมสั้น

�� “กศน. เพื่อนเรียนรู้ สู่ชุมชนพอเพียง”

Page 9: m กลุ่มเลี้ยงสุกรวิธีเกษตรธรรมชาติ(หมูหลุม)บ้านผาขวาง หมู่ ...ebook.nfe.go.th/nfe_ebook//data_ebook/7/1_21_30.pdf ·

สรุปสภาพปัญหาที่ ได้จากการทำประชาคมแบ่งเป็น4ด้านดังนี้

<ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม

l ปัญหาขาดที่ดินทำกิน

l ปัญหาน้ำท่วม

l ปัญหาแหล่งน้ำไม่พอจ่ายในหน้าแล้ง

l ปัญหาขาดที่ระบายน้ำเสีย

l ปัญหาขาดที่กำจัดขยะมูลฝอย

l ปัญหาอากาศเป็นพิษ

l ปัญหายาเสพติด

l ปัญหาการเล่นการพนันอบายมุขต่างๆ

<ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ

l ต้นทุนทางการเกษตรสูง

l ขาดตลาดรองรับผลผลิต

l ขาดไฟฟ้าทางการกเกษตร(ไฟฟ้าเข้าไม่ถึงที่)

l ขาดอาชีพเสริมไม่มีความรู้ในการประกอบอาชีพเสริมรายได้

<ปัญหาสังคม

lประชาชนไม่มีความรู้ในการดุแลสุขภาพเบื้องต้น

lปัญหาเกี่ยวกับผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง

lขาดสถานที่ออกกำลังกาย

สรุปแนวทางแก้ ไขปัญหา

< ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม

l ให้รัฐบาลช่วยจัดที่ดินทำกินให้กับคนที่ ไม่มีที่ดินทำกิน

l ทำฝายป้องกันน้ำท่วม

��“กศน. เพื่อนเรียนรู้ สู่ชุมชนพอเพียง”

Page 10: m กลุ่มเลี้ยงสุกรวิธีเกษตรธรรมชาติ(หมูหลุม)บ้านผาขวาง หมู่ ...ebook.nfe.go.th/nfe_ebook//data_ebook/7/1_21_30.pdf ·

l ร่วมกันสร้างฝายแม้วเพื่อเก็บกั้นน้ำไว้ใช้ในช่วงหน้าแล้ง

l จัดทำโครงการของบทำบ่อน้ำทิ้ง

l จัดทำโครงการของบทำที่กำจัดขยะมูลฝอย

l จัดอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับยาเสพติด และจัดให้มี

การแข่งกีฬาต้านยาเสพติดขึ้นเป็นประจำ

l ส่งเสริมให้ประชาชนในหมู่บ้านเข้าวัดในทุกวันพระ

< ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ

l มีการอบรมให้ความรู้เรื่องการผลิต

l ทำโครงการของบประมาณสนับสนุนจากทางองค์การบริหาร

ส่วนตำบลเพื่อขอไฟฟ้าเข้าเส้นทางที่ยังขาด

l จัดหาวิทยากรจากหน่วยงานภาครัฐมาให้ความรู้ในการประกอบ

อาชีพเสริมรายได้

< ปัญหาสังคม

l จัดโครงการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเบื้องต้น

lจัดกิจกรรมให้กับผู้สูงอายุในชุมชน

l จัดหางบประมาณเพื่อจัดทำสถานที่สำหรับให้ประชาชน

ออกกำลังกายและมีการจัดกีฬาขึ้นในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

โดยโครงการทั้งหมดทางคณะกรรมการได้ร่วมกันกำหนดภารกิจ

หลักในการดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปในหลักยึดปฏิบัติดังนี้

l พัฒนาคนในชุมชนเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได้

l คนในชุมชน มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข มีคุณธรรม

มีความเอื้ออาทร มีภูมิคุ้มกัน อยู่ในสังคมที่เข้มแข็งปลอดจากยาเสพติด และ

มีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่างๆทุกขั้นตอน

l ส่งเสริมการทำอาชีพเกษตรกรรมให้เป็นไปตามแนวทางทฤษฏี

ใหม่และการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง

�0 “กศน. เพื่อนเรียนรู้ สู่ชุมชนพอเพียง”