21
การถายภาพแบบมาโคร เสนอ อาจารยชไมพร อินทรแกว จัดทําโดย นางสาวซานีซะห ลาเตะ 54201100 นางสาวลาตีปะห ลอแมง 5420110016 นางสาวคอดีเยาะห วาโซะ 5420110022 รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา 263-205 Photographic Technology in Education ภาคเรียนที2 ปการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Macro photography

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Macro photography

การถายภาพแบบมาโคร

เสนอ

อาจารยชไมพร อินทรแกว

จัดทําโดย

นางสาวซานีซะห ลาเตะ 54201100

นางสาวลาตีปะห ลอแมง 5420110016

นางสาวคอดีเยาะห วาโซะ 5420110022

รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา 263-205 Photographic

Technology in Education

ภาคเรียนที ่2 ปการศึกษา 2555

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Page 2: Macro photography

คํานํา

กลุมของขาพเจาไดจัดทํารายงานเลมน้ีจุดประสงคเพ่ือใหผูเรียนหรือผูที่มีความสนใจในเรื่องของการ

ถายภาพมาโครไดศึกษาเกี่ยวกับเน้ือหาความรูที่เกี่ยวกับการถายภาพมาโครในเลมน้ีซึ้งจะมีขอมูลตางๆในการ

ถายภาพและอุปกรณ เครื่องมือที่จําเปนตองใช และเทคนิคตางๆ และจะมีภาพตัวอยางใหไดดูเปนตัวอยาง

ซึ้งถาเกิดกลุมของดิฉันไดใหขอมูลอะไรที่ผิดพลาดไปหรือไมมีในรายงายเลมน้ีก็ตองขออภัย ณ โอกาสน้ีดวย

จัดทําโดย

สมาชิกในกลุม

Page 3: Macro photography

Macro Photography

การถายภาพแบบมาโคร

ทุกครั้งที่มีการถายภาพแมลงหรือดอกไมชนิดที่เจาะเขาไปเห็นรายละเอียดอยางนาต่ืนตาต่ืนใจ คนดู

ภาพมักจะมีอาการหยุดเพ่ือใชเวลาพิจารณาภาพน้ันๆ เสมอ น้ันเปนเพราะมันนําเสนอมุมมองอันแตกตางจาก

สายตาปกติในชีวิตประจําวันที่ไมมีทางจะมองเห็นอะไรแบบน้ันไดเลย น่ันแหละคือเสนหและความนาสนใจ

ของภาพถายที่เราเรียกมันวา “Macro”

1.ความหมายของ Macro

ภาพ Macro คือการถายภาพวัตถุที่มีขนาดเล็กไปจนถึงเล็กจิ๋วเพ่ือเปดเผยรายละเอียดของมันผาน

กลองถายภาพ รายละเอียดเล็กๆ น้ีไมสามารถมองเห็นดวยไดสายตาปกติลวนๆ แตดวยความสามารถในดาน

กําลังขยายสูงของภาพ Macro น้ันจะชวยเปดมุมมองใหมๆ ของโลกใบเล็กใหเราไดเห็นเปนที่อัศจรรย

Macro มิใชการถายภาพเลนๆ สนุกเพียงอยางเดียว มันยังถูกนําไปใชในงานเก็บรายละเอียดของวัตถุ

สิ่งของคอนขางหลากหลายเชน เครื่องประดับ, พระเครื่อง, งานช้ินสวนอิเล็กทรอนิกส, หรือใครที่เปนแฟนซีรี่ส

CSI ของฝรั่งก็จะไดเห็นกลองที่ทําหนาที่บันทึกภาพแบบ Macro เขาไปรวมอยูในฉากเสมอๆ เพราะหนวยงาน

พิสูจนหลักฐานจําเปนตองเก็บรายละเอียดชนิดละเอียดยิบ แนนอนวารวมถึงสิ่งที่สายตาปกติอาจจะมองไมเห็น

หรือมองขามไปดวย

2.กลองที่เรามีละ สามารถเลน Macro ไดดวยไหม

กลอง Digital Compact โดยมากจะมีโหมด Macro มาใหใชงานดวย แตถาพูดถึง DSLR แลวเราจะ

พุงประเด็นไปที่ “เลนส” และอุปกรณประกอบเลนสเปนหลัก แนนอนวาอุปกรณสําหรับถายภาพ Macro

อันดับหน่ึงก็ยอมจะตองเปนเลนส Macro ที่เราจําใจตองบอกวาแพงใชไดเลย

นอกจากเลนส Macro แทๆ แลวก็ยังมีอุปกรณเสริมอยางอ่ืนที่ยังพอชวยใหกลอมแกลมไปไดบาง

เหมือนกัน แตเราตองทําความเขาใจเสียกอนวา Macro และ Close-Up น้ันอาจจะดูคลายคลึงกัน แตไมใช

อยางเดียวกันแนนอน สิ่งหน่ึงที่เหมือนกันสําหรับทั้งสองคําน้ีก็คือ มันชวยใหเราโฟกัสแบบเขาใกลวัตถุได

มากกวาปกติทั่วไป ที่ตางกันก็คือ กําลังใจการขยายวัตถุเพ่ือที่จะสงเขาสูกลองถายภาพน่ันเอง

2.1 กําลังขยายขนาดวัตถุ

กําลังในการขยายขนาดของวัตถุคือสิ่งที่ทําใหมันตางกัน แลวอะไรคือกําลังขยายขนาดของวัตถุกัน

ละ กอนอ่ืนตองทําความเขาใจเสียกอนวา เราจะใชเลขอัตราสวนในการพูดคุยเรื่องน้ีโดยการแทนคาแบบน้ี :

Page 4: Macro photography

ขนาดที่ปรากฏบนเซนเซอรรับภาพ : (ตอ) ขนาดของวัตถุจริง

ขนาดที่เราจะพูดถึงน้ีคือขนาดเปน “เทาตัว” ซึ่งเราพบเห็นไดทั่วไปในชีวิตประจําวัน เชนจํานวน

ผูสอบแขงขันมีรอยคน รับเพียง 10 คน ก็จะเปนอัตรา 10:1 – โจทยของเรายกพวกมา 6 คน ในขณะที่เรายืน

หนาซีดอยูคนเดียวก็เปนอัตราสวน 6:1 (ไมเกี่ยวกับ Macro แคยกตัวอยางทั่วไปเฉยๆ)

สําหรับอัตราสวนในการถายภาพอยางที่บอกไปขางตนน้ัน จะสามารถอธิบายไดวา เลนสหรือ

อุปกรณเสริมตัวน้ันๆ สามารถถายทอดขนาดของวัตถุจริงเขาสูเซนเซอรรับภาพไดระดับ(ขนาด)ใดในระยะ

โฟกัสใกลสุด

ถาเปน 1:1 ก็หมายความวา ขนาดของวัตถุจริงจะปรากฏบนเซนเซอรรับภาพในขนาดที่เทากัน

เลย แตถาเปน 1:2 ก็จะหมายความวาขนาดบนเซนเซอรรับภาพเปน 1 (เทา) ในขณะที่วัตถุจริงมีขนาดเปน 2

(เทา)

หากเราถายภาพเหรียญบาทซึ่งมีขนาดเสนผาศูนยกลาง 2 cm อัตราสวน 1:1 หมายความวา

เหรียญบาทก็จะมีขนาด 2 cm บนเซนเซอรรับภาพเชนกัน (ขนาดเทาจริง) หากเปน 1:2 ก็หมายความวา

เหรียญบาทจะมีขนาดเล็กกวาของจริง 1 (เทา) หรืออีกกรณีหน่ึงก็เชน 2:1 ก็จะหมายความวาขนาดที่ปรากฏ

บนเซนเซอรรับภาพจะใหญกวาของจริง 1 เทาตัว

Page 5: Macro photography

2.2 Macro & Close-Up

คนทั่วไปจะไมรูวาสองคําน้ีแตกตางกัน แตสําหรับชางภาพและคนที่บากลองเขาขั้นจะรูวาสองคํา

น้ีไมเหมือนกัน แยกแยะโดย “อัตราสวนกําลังขยาย” ที่เราพูดไปเมื่อสักครู

สําหรับ Close-Up แลวจะหมายถึง “โฟกัสไดใกล” ไมวาจะดวยอัตราสวนใดก็ตาม แตสําหรับ

มาตรฐานของ Macro แลว ตองวากันที่ 1:1 เปนตนไปเทาน้ัน

อัตราสวน 1:1 มันสําคัญยังไง ก็ตอบไดวามันเปนเรื่องของความไดเปรียบทางดานคุณภาพของ

การนําไปใชงาน ซึ่งเริ่มมาต้ังแตยุคกลองฟลมที่นําภาพถายไปใชในงานสิ่งพิมพ อัตราขยาย 1:1 ทําใหขนาด

คุณภาพของภาพที่พิมพออกมาดี ไมตองนําไปขยายซ้ําอีกครั้งซึ่งจะทําใหคุณภาพของภาพแยลง (หรือที่เรียกวา

“ภาพแตก”) หรือถาตองขยายจริงๆ อัตราสวน 1:1 ก็จะไดเปรียบกวามาก และถึงแมวาจะเปนยุคปจจุบันที่

เทคโนโลยีคอมพิวเตอรล้ําสุดๆ การขยายภาพขึ้นมาจากขนาดจริงก็ยังลดคุณภาพของภาพลงไปเชนกันอยูดี ย่ิง

ขยายมากคุณภาพก็ย่ิงตํ่าลงมาก

ดังน้ันอัตราขยายแบบ 1:1 ของ Macro แทๆ จึงไดเปรียบดวยประการฉะน้ี

Page 6: Macro photography

3.ทําความเขาใจกับการถายภาพ Macro

อยางนอยเราควรจะตองรูจักคําสามคําตอไปน้ี

3.1 MFD (Minimum Focal Distance) ระยะโฟกัสใกลสุดจากจุดโฟกัสถึงระนาบเซนเซอรภาพ

3.2 MWD (Minimum Working Distance) ระยะจากวัตถุถึงหนาเลนสของกลอง มันคือ “ระยะ

พ้ืนที่ทํางาน” ของผูถายภาพ

3.3 Magnification ซึ่งก็คือกําลังขยายที่เราคุยกันไปแลวน่ันเอง

ทั้งสามคําน้ีมีความสําคัญตอการพิจารณาการถายภาพ Macro ในแตละสถานการณเปนอยางมาก

เพราะถาเราไมเขาใจมัน ก็บอกไดวายากและเหน่ือยหนอย ทั้งวิธีการถายภาพและการเลือกใชอุปกรณซึ่งมี

เหตุผลสนับสนุนซึ่งกันและกัน

ถาจะแยกประเภทของการถายภาพ Macro ดวยลักษณะของตัวแบบ เราสามารถแยกไดงายๆ 2

แบบคือ ตัวแบบที่ไมเคลื่อนไหว+สามารถจับตองได และตัวแบบที่คอยแตจะหนีเราไปอยูเรื่อย

Page 7: Macro photography

ตัวแบบที่ไมเคลื่อนไหวและเราสามารถจับตองไดก็เชน เครื่องประดับ พระเครื่อง ช้ินสวนอะไหล

ตางๆ นาฬิกา ฯลฯ สวนตัวแบบที่คอยจะหนีเราตลอดเวลาก็คือ สิ่งมีชีวิตเชนพวกแมลง ผีเสื้อ ฯลฯ ที่เหมือน

จะไมเคยอยูน่ิง

MFD และ MWD จะเขามามีสวนในการพิจารณาตอนน้ีแหละ อุปกรณที่ใหพ้ืนที่ MFD และ

MWD แกเรามากๆ จะชวยใหเราไดเปรียบกวาในแงของตัวแบบที่คอยแตจะหนีเรา เพราะเราไมจําเปนตองเขา

ใกลใหมันต่ืนตกใจ (เพ่ือที่มันจะไดอยูน่ิงๆ) แตอาจจะทําใหเราเมื่อยเพราะตองเดินไปเดินมาในกรณีการ

ถายภาพตัวแบบที่เราสามารถจับตองได เพราะเราตองขยับจับเปลี่ยนมุมอยูเรื่อย การเดินไปเดินมาระหวาง

กลองกับตัวแบบน้ันก็ไมใชเรื่องเล็กๆ ซึ่งอยางหลังน้ีอุปกรณที่มีระยะ MFD และ MWD สั้นกวาจึงไดเปรียบกวา

ผูถายภาพน่ังอยูหลังกลองแลวเอ้ือมมือไปหยิบไปจับตัวแบบไดทันที ไมตองเดินใหเมื่อย

4.อุปกรณการถายภาพ Macro และ Close-Up

อุปกรณการถายภาพ Macro และ Close-Up มีต้ังแตราคายอมเยาไปจนถึงนาตกใจ แตแนนอนวา

ประสิทธิภาพและคุณภาพก็ยอมจะตางกันดวย

4.1 Close-Up Filter

Page 8: Macro photography

น่ีคืออุปกรณที่งายและยอมเยา มันก็คือฟลเตอรสําหรับสวมหนาเลนสโดยที่มันจะมีความหนาของ

ช้ินแกวมากกวาฟลเตอรปกติทั่วไปอยูสักหนอย ซึ่งดูเผินๆ แลวก็เหมือนกับการเอาแวนขยายมาติดที่หนาเลนส

น่ันแหละ และหนาที่ของมันก็คือทําตัวเปนแวนขยายใหกับเลนสธรรมดาน่ันเอง

Close-Up Filter มีหลายขนาดทางดานกําลังขยายใหเลือกใชต้ังแต +1 ขึ้นไป (เชนเดียวกับแวน

ขยาย) เราอาจจะสวมมันซอนกันหลายช้ันเพ่ือเพ่ิมกําลังขยายเขาไปอีก ถึงแมวามันจะขยายขนาดของวัตถุไดก็

จริง แตขอเสียของมันก็คือยิ่งขยายมากคุณภาพก็ย่ิงตํ่าลงมาก และบริเวณขอบภาพก็จะเกิดอาการ “ฟุง” (ซึ่ง

เปนธรรมดาในเลนสนูนของฟลเตอรชนิดน้ี) ย่ิงซอนทับกันหลายช้ันนอกจากคุณภาพจะตํ่าลงแลวยังลดปริมาณ

แสงที่จะเขาสูกลองอีกตางหาก

4.2 Reversing Ring : แหวนกลับเลนส

มีลักษณะเปนแหวนพรอมเกลียวเพ่ือใหเลนสสองตัวหันหนามาประกบกันได ซึ่งสวนทายเลนส

ของเลนสตัวปลายจะกลายเปนหนาเลนสแทน วิธีการน้ีจะใหกําลังขยายสูง แตก็อาจจะเสี่ยงกับอันตรายที่

อาจจะเกิดขึ้นกับทายเลนสและขั้วสัมผัสตางๆ ซึ่งควรจะถูกปดมิดชิดอยูภายในกลองโดยปกติ

อีกแบบหน่ึงก็คือเปนแหวนกลับเลนสที่ใชกลับเลนสตัวเดียวจากเมาทแปลนของตัวกลองเลย ทาย

เลนสมาอยูดานหนาเหมือนกัน (สวนหนาเลนสปกติมุดไปอยูในกลองเพ่ือเซยฮัลโหลกับเซนเซอร) ให

กําลังขยายไดเหมือนกัน แตเราจะไมสามารถใชระบบโฟกัสอัตโนมัติหรือควบคุมรูรับแสงไดเลย ดังน้ันวิธีน้ีจึง

เหมาะกับเลนสรุนเกาที่สามารถปรับทั้งสองอยางไดโดยการหมุนบนตัวเลนสโดยตรงมากกวา

Page 9: Macro photography

4.3 Extension Tube : ทอตอเลนส

มีลักษณะเหมือนกับกระบอกเลนสแตไมมีช้ินเลนสอยูภายใน มันจะทําหนาที่ในการยึดระยะโฟกัส

ออกไปจากเดิมโดยมาแทรกอยูตรงกลางระหวางกลองและเลนส ซึ่งก็จะชวยใหเขาไปโฟกัสที่วัตถุไดใกล

กวาเดิม กําลังขยายสูงขึ้นอยางเห็นไดชัด ขอดีของมันก็คือนํ้าหนักเบา ราคาไมแพง (ถาเปนรุนที่มีขั้วสัญญาณ

สื่อสารเพ่ือสงขอมูลโฟกัสและรูรับแสงราคาจะสูงขึ้นมาอีกกวาเทาตัว)

Extension Tube มี 3 ขนาดใหเลือกใชเพ่ือความเหมาะสมในการเพ่ิมกําลังขยาย หรือจะบาพลัง

ใสซอนกันหลายๆ ตัวก็ได แตขอเสียของมันก็คือจะทําใหปริมาณแสงที่เขาสูกลองสูญเสียไปมากพอสมควร

และจะไมสามารถโฟกัสที่ระยะอนันต (Infinity) ได

Page 10: Macro photography

4.4 Bellow

ลักษณะเปนทอยึดเหมือนกับกลองในสมัยโบราณ ติดต้ังอยูที่ตําแหนงระหวางกลองและเลนส

(หลักการเดียวกับ Extension Tube) สามารถยึด-หดระยะไดอยางอิสระโดยการวางบนรางเลื่อน แตอาจจะ

วุนวายในการพกพาหรือใชงานอยูสักหนอย อุปกรณตัวน้ีใหกําลังขยายคอนขางสูงแตก็ใชงานคอนขางยากและ

ไมคอยคลองตัว เราจึงไมคอยไดเห็นมันสักเทาไหรนัก และเชนกันอุปกรณตัวน้ีทําใหปริมาณแสงเขาสูกลอง

นอยลงดวย

4.5 เลนส Macro

หลายคนอาจจะสงสัยวาเลนสหลายๆ ตัวมีคําวา “Macro” อยูดวยเชนกัน และก็ตองตามมาดวย

อัตราสวนกําลังขยายดวย ก็เปนอันรูกันวา ถาไมใช 1:1 ก็ยังไมใชเลนส Macro ในระดับมาตรฐาน

เลนส Macro น้ันก็มีเรื่องระยะโฟกัสเปน mm และการควบคุมรูรับแสงเชนเดียวกับเลนสอ่ืนๆ

ทั่วไป ความพิเศษของมันก็คือความสามารถในการโฟกัสวัตถุในระยะใกลไดถึงระดับ 1:1 ซึ่งจะมากกวา

ชาวบานเขาน่ันเอง

เลนส Macro ในทองตลาดปจจุบันมีต้ังแตระยะ 35mm ไปจนถึง 200mm ใหเลือกใชงานตาม

ความเหมาะสม (และกําลังทรัพย) ในแนวคิดเดียวกับเลนสอ่ืนๆ แตกอนที่จะพูดถึงงบประมาณในการเลือกซื้อ

ก็อยาลืมเอาเรื่องของ MFD และ MWD เขามาพิจารณาดวย ยกตัวอยางเชน เลนส Macro ระยะ 60mm

ยอมจะมีราคาตํ่ากวาเลนส Macro ระยะ 180mm แตทั้งสองตัวน้ีใหในเรื่อง MFD และ MWD ที่ตางกัน เลนส

60mm ตองเขาใกลตัวแบบมากกวา ในขณะที่ 180mm ตองออกหางจากตัวแบบ (มีระยะ MFD และ MWD

มากกวา)

การเลือกอุปกรณไมมีแบบไหนที่ดีที่สุด ขึ้นอยูกับสถานการณและวิธีการถายภาพของเราเอง ถา

เลือกใชอุปกรณที่ไมเหมาะสมและก็ยังสามารถถายไดแตอาจจะหืดขึ้นคออีกสักนิด ใครที่เคยถายภาพผีเสื้อดวย

Page 11: Macro photography

เลนส Macro ระยะสั้นคงจะรูดีวามันสาหัสขนาดไหนกวาจะไดแตละภาพ เพราะขยับนิดเดียวพวกมันก็กระพือ

ปกบินหนีไปอีกแลว

4.6 ขาต้ังกลอง

การถาย Macro ความน่ิง เปนสวนสําคัญ เพราะการถายรูประยะใกลๆ การสั่นเพียงนิดเดียวจะ

สงผลตอภาพที่ไดอยางมาก

คุณสมบัติที่ตองการก็มี ขากางราบกับพ้ืนไดมากแคไหน สามารถถอดแกนขาต้ังออกเพ่ือถาย

แนวราบหรือกลับหัวขาต้ังไดไหม เพราะวาในกรณีที่เราตองการถายสิ่งที่อยูบนพ้ืน เราจะไดสามารถเขาใกล

มากขึ้น สวนหัวก็ควรจะเปนหัวบอลเพราะจะคลองตัวกวา

หลักการเลือกซื้อก็ไมยาก อันดับแรกก็เหมือนการเลือกซื้อขาต้ังทั่วไปคือดูนํ้าหนักที่รับไดของขา

ต้ัง จากน้ันก็ดูคุณสมบัติเพ่ิมเติมที่เราตองการที่ไดบอกไวในตอนแรก นอกจากน้ันก็คงเปนงบประมาณ

เพราะวาคุณภาพที่ไดก็คงเปนไปตามราคาอยางที่รูๆกัน

Page 12: Macro photography

4.7 รีโมท / สายลั่นชัตเตอร

เพราะวาความน่ิงน้ันมีความสําคัญ การที่เรากดชัตเตอรเองอาจจะทําใหเกิดอาการสั่นได ยังไงซะ

เพ่ือความแนนอน

4.8 แฟลช

เพราะการถาย Macro เราจะหรี่รูรับแสงใหแคบ ทําให Speed shutter ชาลงอาจทําใหภาพเกิด

อาการสั่นไหวหรือเบลอได แฟลชชวยใหเห็นรายละเอียดในสวนที่มืดของวัตถุ นอกจากน้ียังมีผลพลอยได เชน

การถายใหฉากหลังดํา ก็ทําใหภาพที่ไดดูนาสนใจขึ้น นอกจากน้ียังมีอุปกรณแบบอ่ืนๆ เชน ริงแฟลช สําหรับ

การใชงานที่ตางออกไป

5.เทคนิคการถายภาพแบบ Macro

5.1 การวัดแสง

เมื่อคุณใชระบบวัดแสงจากตัวกลอง ซึ่งเปนระบบวัดแสงแบบสะทอนที่ผานเลนสเขามา อาจจะดู

ไมซับซอนนัก เพราะเพียงแคกดปุมชัดเตอรลงครึ่งหน่ึงกลองก็วัดแสง คาแสงที่ปรากฏเปนการแสดงถึงคาแสงที่

หายไปจากการถายภาพในระยะใกล จากน้ันก็ชดเชยแสงตามคาการสะทอนของสี หรือชดเชยแสงไปในทิศทาง

ที่คุณตองการ

Page 13: Macro photography

แตถาหากคุณใชระบบวัดแสงแบบตกกระทบ ซึ่งใชในเครื่องวัดแสงแบบมือถือ แยกออกนอกตัว

กลอง หรือใชการคํานวณแฟลชแบบแมนวล จะตองชดเชยแสงใหกับการเสียแสงดวย เปนทฤษฎีเรื่องแสง

เน่ืองจากการถายภาพระยะใกลกําลังขยายสูง แสงจะเดินทางและสะทอนภายในกระบอกเลนส คาแสงจะ

ลดลงราว 2 สตอป เมื่อถายภาพที่กําลังขยาย 1:1 และประมาณราว 1 สตอป เมื่อถายภาพที่กําลังขาย 1:2

เมื่อถายภาพดวยกําลังขยายมากขึ้น ก็จะเสียแสงมากขึ้นตามไปดวย กลองบางรุนบางย่ีหอ แสดง

ระดับคาแสงโดยแสดงคาขนาดรูรับแสงที่ปรับลดลงไปใหโดยอัตโนมัติ

5.2 การจัดองคประกอบภาพ

งานถายภาพ Macro จัดเปนการถายภาพเฉพาะทาง มีหลักคิดที่ใชในการจัดองคประกอบภาพ

และการนําเสนอไมมากนัก ประการแรกคือ ตองการถายภาพเพ่ือแสดงใหเห็นถึงวัตถุที่มีขนาดเล็ก คมชัดและ

ขยายใหญขึ้น ดวยมุมมองแบบ Magnification Eye ดวยความแตกตางของการมองที่ผิดแผกไปจากปกติ

ความแปลกตาที่เราไมไดเห็นวัตถุ หรือภาพเหลาน้ีในระยะใกลกําลังขยายมาก ภาพจึงดูนาสนใจ

ประการที่สองคือ เราตองการถายภาพวัตถุหรือสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก เพ่ือการใชงานในดานใดดาน

หน่ึง งานที่ตองการใชการถายภาพ Macro เปนประจําคือ การถายภาพวัตถุที่มีความสําคัญ เชน การถายภาพ

เครื่องประดับ เพชร พลอย ตาง ๆ หรือแมแตอุปกรณอิเล็กทรอนิคสขนาดเล็ก ๆ งานเหลาน้ีเปนงานถายภาพ

เชิงธุรกิจที่ใชการถายภาพ Macro การถายภาพพระเครื่อง ปลาสวยงาม เปนตัวอยางงานถายภาพ Macro ที่

ใกลตัว นักถายภาพหลายทานมีรายไดจํานวนไมนอยกับการถายภาพงานเหลาน้ี

Page 14: Macro photography

อีกงานหน่ึงที่เปนตัวอยางในการใชการถายภาพ Macro คือการถายภาพในงานเชิงวิชาการดาน

วิทยาศาสตร ซึ่งมีทั้งการถายภาพดวยกลองถายภาพแบบปกติ อยางเชน การถายภาพดอกไม แมลง สิ่งมีชีวิต

ขนาดเล็ก และการถายภาพผานกลองกําลังขยายสูงมาก ๆ อยางกลองจุลทรรศน กลองสเตอริโอแบบสองตา

หรือแมแตการถายภาพดวยกลองจุลทรรศนอิเล็คตรอน ที่ใชถายภาพจุลชีพ

ในทางการแพทยก็มีการถายภาพผิวหนัง ถายภาพฟนในชองปาก ซึ่งอาจจะไกลตัวสําหรับนัก

ถายภาพทั่วไป การจัดองคประกอบภาพสําหรับงานถายภาพแบบน้ี มักเนนที่ความคมชัดของวัตถุที่ตองการ

ถายภาพ เนนความสําคัญที่รายละเอียดของรูปราง สัดสวน ลักษณะพ้ืนผิว และมองเห็นในมุมที่ตองการเปน

สําคัญ การจัดองคประกอบภาพจึงมักวางตําแหนงไวกลางภาพ เพ่ือใหไดภาพที่คมชัดและนําไปใชงานอ่ืนตอไป

ไดงาย อยางไรก็ตาม การเลือกมุมมอง การควบคุมระยะชัด การเลือกฉากหลัง จะไมเปนกฎตายตัว ขึ้นอยูกับ

นักถายภาพและจุดประสงคในการนําภาพน้ันไปใชงาน

สําหรับ การวางตําแหนงจุดเดนในภาพ ลวดลาย สีสันของซับเจกต ฉากหลัง และการควบคุม

ระยะชัดที่พอเหมาะคือ หลักงาย ๆ ในการถายภาพ Macro และความสําคัญของสิ่งที่เราถายภาพ จะเปนตัว

สงเสริมใหภาพมีคุณคามากย่ิงขึ้น

5.3 การควบคุมระยะชัด

การถายภาพ Macro น้ันมีผลของระยะชัดที่แตกตางไปจากการถายภาพทั่วไป ดวยเลนสตัว

เดียวกันซึ่งอาจจะเปน Macro หรือไมก็ได หากคุณทดลองถายภาพในระยะหางปกติโดยใชขนาดรูรับแสง

f/11-16 ระยะชัดของภาพอาจครอบคลุมไดไกลจนถึงระยะอนันต แตเมื่อคุณนําเลนสตัวเดียวกันน้ีมาถายภาพ

ในระยะใกล ถายภาพ Macro ที่กําลังขยาย 1:1 ระยะชัดของภาพเมื่อใชขนาดรูรับแสง f/11-16 ระยะชัดของ

ภาพอาจครอบคลุมเพียงระยะ 2-3 มิลลิเมตรเทาน้ัน

เพราะฉะน้ัน การควบคุมระยะชัดของการถายภาพ Macro จึงมีความสําคัญมาก การเลือกใช

ขนาดรูรับแสงใหเหมาะสม ครอบคลุมระยะชัดที่ตองการ และตองไมลืมวาขนาดของรูรับแสง นอกจากจะมีผล

ตอระยะชัดของซับเจกตแลวยังมีผลตอการควบคุมฉากหลังดวย โดยปกตินักถายภาพสวนใหญมักเลือกใช

Page 15: Macro photography

ขนาดรูรับแสงแคบ ๆ f/8 ขึ้นไป เพ่ือใหไดระยะชัดลึก แตหากเลือกใชคาขนาดรุรับแสงที่ f/4-8 กับการ

ถายภาพในสภาพแสงธรรมชาติก็ใหผลลัพธที่ดีไมนอย

สําหรับการใชงานกับกลองแบบ APS-C ซึ่งมีระยะชัดที่สูงกวากลองแบบฟูลเฟรม ถาหากใชแฟลช

ในการถายจะแตกตางไปจากน้ี ตองปรับใหรูรับแสงแคบลงกวาน้ี เพราะถาโฟกัสไปยังตําแหนงที่ตองการได

ถูกตองเขาโฟกัสแลว ภาพจะคมชัดและมีระยะตามขนาดรูรับแสงที่เลือกใช สวนการโฟกัสผิดตําแหนง แมจะ

เพียงเล็กนอย แลวคิดจะใชรูรับแสงแคบคุมระยะชัดใหไดภาพที่คมชัดน้ัน อยางไรเสีย ภาพก็ยังจะดูไมคมชัดอยู

ดี

ทั้งน้ี การโฟกัสใหเขาตําแหนงที่ตองการสําคัญมาก ระยะชัดน้ีเปนชวงคาขนาดรูรับแสง ที่ตอง

เลือกใชใหเหมาะกับกําลังขยาย ขนาดของซับเจกตและระยะหางของฉากหลังกับซับเจกต หากไมแนใจ ก็ตอง

กดปุมชัดลึกเพ่ือดูผลของระยะชัดที่แทจริงกอนกดชัดเตอรเพ่ือถายภาพ

5.4 การควบคุมฉากหลัง

การถายภาพ Macro ที่ตองการแสดงใหเห็นถึงบรรยากาศสิ่งแวดลอม ก็ตองเลือกเก็บรายละเอียด

ของฉากหลังมาดวย เลนสไวดที่มีระยะโฟกัสใกลสุดน้ัน จะมีกําลังขยายสูง ถายภาพไดกําลังขยาย 1:3-4 ก็

เหมาะกับการถายภาพแบบโคลสอัพเพ่ือเก็บฉากหลัง

เทคนิคในการถายภาพ Macro ใหฉากหลังเขมดําน้ัน มีอยูดวยกันหลายวิธี แตที่จะแนะนําคือการ

เลือกฉากหลังที่มีคาแสงแตกตางจากซับเจกตมาก ๆ ปรับมุมถายภาพดูสักครู ก็จะเห็นวามีฉากหลังบางสวนที่

ไมไดรับแสง ความเปรียบตางแสงที่สูงเกินกวากันราว 2 สตอป เมื่อถายภาพดวยคาแสงที่ตกลงบนซับเจกต ก็

จะทําใหฉากหลังเขมดําไดเอง

นอกจากน้ี การถายภาพในทิศทางแบบยอนแสง แสงเฉียงหลังหรือขาง ก็จะไดภาพฉากหลังเขม ๆ

ถาหากสภาพแสงไมเอ้ืออํานวย แลวอยากไดฉากหลังที่เขมดํา การใชฉากหลังสีดําอยางกระดาษดําดาน ผา

กํามะหย่ีแลวนําไปวางไวใหหางจากซับเจกตสักหนอย ก็เปนวิธีที่ใชกันมาแตไหนแตไร

อีกวิธีหน่ึงของการควบคุมฉากหลังใหเขมดําคือ การใชแสงแฟลชเปนแสงหลักในการถายภาพ ซับ

เจกตไดรับแสงแฟลช สวนฉากหลังที่หางออกไปก็จะเขมดําลงไปเอง

5.5 การใชแฟลชในการถายภาพ Macro

การใชแฟลชกับการถายภาพ Macro มีขอควรระวังหลายประการ ซึ่งแตกตางไปกับการใชแฟลช

ถายภาพในระยะปกติ เน่ืองจากการถายภาพ Macro เปนการถายภาพในระยะใกลมาก แฟลชที่ติดต้ังอยูบน

Hot Shoe ของกลองอาจทําใหองศาในการยิงแสงแฟลชไมครอบคลุมพ้ืนที่ถายภาพ เพราะเลนสอาจบังแสง

แฟลช ตองปรับกดมุมของแฟลช แตถาถายภาพใกลมาก ๆ ก็จะยังไมสามารถยิงแสงไดครอบคลุมอยูดี

Page 16: Macro photography

การแกไขคือ การใชสายซิงคแยกแฟลชออกนอกตัวกลอง เพ่ือเปดมุมในการยิงแสงแฟลชไดกวาง

มากขึ้น โดยที่แฟลชยังมีการทํางานในระบบ TTL เลนส Macro ทางยาวโฟกัส 50-60 mm มีระยะหาง

ระหวางซับเจกตกับหนาเลนสที่สั้นมาก เมื่อถายภาพที่กําลังขยาย 1:1 หนาเลนสเกือบชิดติดกับซับเจกต เปน

อุปสรรคในการใชแสงแฟลชอยางมาก

สวนเลนส Macro ทางยาวโฟกัส 90-105mm มีระยะหางใกลสุดโดยเฉลี่ยที่ 10-14 เซนติเมตร

ซึ่งเปนระยะหางที่เพียงพอกับที่เปดมุมใหยิงแสงแฟลชไดงายกวา เปนอีกหน่ึงเหตุผลของความนิยมในการ

เลือกใชเลนส Macro ทางยาวโฟกัส 90-105mm

อีกประเด็นหน่ึงที่สําคัญในการใชแฟลชในการถายภาพก็คือ แฟลชยิงแสงโอเวอร เน่ืองจากระยะ

การทํางานที่ใกลมาก ทําใหแฟลชที่มีระบบการทํางานแบบ TTL มักยิงแฟลชผิดพลาดโอเวอรกวาพอดี ถาใช

ขนาดรูรับแสงกวาง กําลังไฟที่ถูกยิงออกไป ระบบการคํานวณจะปดการรับแสงแฟลชไมทัน การแกไขคือ ตอง

ใชขนาดรูรับแสงแคบ ๆ f/11 ขึ้นไป

นอกจากน้ี การใชการแบงกําลังไฟแฟลชแบบแมนวลก็ไดผลดีเชนกัน ปรับกําลังไฟใหเหมาะสม

กับขนาดรูรับแสง และตองไมลืมวาจะเสียแสงไปกับการถายภาพดวยกําลังขยายสูงดวย

5.6 เทคนิคการสรางสรรคภาพ Macro

ภาพ Macro เปนการถายภาพที่เปดโอกาสใหนักถายภาพไดคิดทดลองเทคนิคการถายภาพตาง ๆ

ไดดี โดยเฉพาะกับแสงแฟลช เพราะพ้ืนที่แคบควบคุมแสงไดงาย การใชแฟลชแยกออกนอกตัวกลอง และเพ่ิม

แฟลชมากกวา 1 ตัว ก็จะยิ่งไดภาพที่ใสเคลียร ไมมีเงาได

นอกจากแฟลชที่ใชจัดแสงมากกวา 1 ตัวแลว การจัดแสงดวยไฟตอเน่ือง อยางไฟฉายขนาดเล็กที่

มีกําลังไฟใหความสวางสูง และมีสีขาวก็เปนอีกทางเลือกหน่ึงที่ใชงานไดดี หรือใชกระจกเงาสะทอนแสงเขาไป

ในบริเวณที่ตองการ หรือจะลงทุนกับแฟลชแบบ Ring Flash หรือแฟลชที่ออกแบบสําหรับการถายภาพ

Macro โดยเฉพาะ ซึ่งมีราคาไมถูกเลย เพ่ิมเงินอีกนิดซื้อแฟลชสองตัวใชดีกวา

ในการถายภาพดอกไมใหบรรยากาศดูชุมฉ่ํา ก็อาจใชสเปรยขนาดเล็กที่ฉีดละอองนํ้าไดละเอียด

เพ่ิมความชุมฉ่ํา หรือเพ่ิมขนาด Texture ของเสนใยแมงมุมขนออนบนดอกไมไดดี

เทคนิคในการถายภาพวัตถุ สินคาขนาดเล็ก หรือพระเครื่องก็เปนหน่ึงในการถายภาพ Macro

เชนกัน ใชแผนกระจกใส หรืออะคริลิคก็ได วางพาดใหสูงจากพ้ืนราว 0.5-1 เมตร เอาฉากหลังสีที่ตองการ

อยางผากํามะหย่ีหรือกระดาษวางไวดานลาง ระยะหางขางตนจะทําใหฉากหลังไมมีรายละเอียด มีแตสี วาง

วัตถุที่ตองการถายลงบนกระจก อาจใชแสงธรรมชาติ แฟลชหรือหลอดไฟเปนแหลงกําเนิดแสงก็ได ระวังการ

สะทอนของแสงกระจก และปรับคาสมดุลแสงสีขาวใหถูกตอง ต้ังกลองในมุมที่ต้ังฉากกับกระจก จัด

องคประกอบภาพอยูบนฉากหลังแลวถายภาพ เปนเทคนิคงาย ๆ ที่ไดผลดีกับการถายภาพพระเครื่อง

Page 17: Macro photography

6. เทคนิคการถายภาพดอกไม

การถายภาพดอกไมแบบใกลใหสวยงาม หรือที่เรียกกันวา การถายภาพ Macro มีสิ่งที่จะตองเรียนรู

และเขาใจ คือ เรื่องของอุปกรณ ถายภาพ เรื่องของการต้ังคาตางๆ ของกลองถายภาพ เรื่องของการวัดแสง

เรื่องของการเลือกฉากหลัง บทความการถายภาพดอกไมแบบใกลๆ

การถายภาพดอกไมแบบใกลๆ ที่นิยมกันสวนใหญจะเปนการถายใหเห็นเกสรของดอก หรือใหเห็น

ลายเสนของกลีบดอกของดอกไม ซึ่งสิ่งที่จะเปนตัวกําหนดวาจะถายภาพใหไดรายละเอียดขนาดไหนน้ันก็

ขึ้นอยูกับประสิทธิภาพเรื่องกําลังขยายของเลนส หากเปนเรื่องของกลองดิจิตอล ก็คือ กําลังในการ Zoom

น่ันเอง โดยกลองดิจิตอลจะมีการการต้ังคา Mode Macro Mode เพ่ือถายภาพใกล โดยกลองแตละรุน แตละ

ย่ีหอจะมีระยะใกลสุดในการถายภาพวัตถุแตกตางกันจะตองเปดอานเอาเองในคูมือ โดยเขาจะกําหนดไวเปนคา

close up range เชน บางรุน ใกลสุด 43 mm บางรุน 2 น้ิว ซึ่งระยะน้ีน่ีเองที่เปนตัวกําหนดการถายใกลวา

จะไดขนาดขยายใหญขนาดไหน (เนนวาใหอานคูมือ) สวนคนที่ใชกลอง DSLR ที่เปลี่ยนเลนสไดก็ใหไปดูที่เลนส

ซึ่งจะมีระบุระยะใกลสุดเขียนไวที่กระบอกเลนสอยูตรงขามกับเครื่องหมาย infinite

เมื่อเขาใจเรื่องของอุปกรณเบ้ืองตนแลว ในการถายภาพดอกไมแบบใกล บางครั้งดอกไมมีลมมา

กระทบจะไหวเอนไปตามลม การถายภาพอาจจะไดภาพที่ไมชัด เราอาจจะตองหาขาต้ังกลอง หรือแผนบังลม

มาบังที่ดอกไม แตก็ตองระมัดระวังเรื่องของการบังแสงดวย ตองไมทําใหแสงผิดเพ้ียนไปจากที่เราตองการ

นอกจากน้ันแลวการถายภาพดอกไมใหดูสดช่ืนอาจจะตองหานํ้ามาราดที่ดอกไมใหมีหยดนํ้าเกาะอยูตามดอกไม

ก็จะทําใหไดภาพที่ดูดี เปนธรรมชาติ อีกแบบหน่ึง

เริ่มตนการถายภาพดอกไมไมตองไปไหนไกลก็หาดอกไมหนาบานหลังบานของเราน่ันเอง ฝกการ

ถายภาพจากบานกอนออกไปลุยถายภาพตาม สวนสาธารณะ รวมทั้งตามสถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติตางๆ

เชน อุทยานแหงชาติภูกระดึง หรือที่อ่ืนๆ

การวัดแสงในการถายภาพดอกไม ควรจะวัดแสงที่กลีบดอกและหามุมที่ฉากหลังของดอกไมเขม ดวย

ความเปรียบตางของแสงระหวางกลีบดอก และฉากหลังจะชวยให ไดภาพที่ดอกสวยงามโดดเดน ในขณะที่ฉาก

หลังมืดขึ้น อีกหลาย Stop หมายถึงมืดกวา ดอก

การจัดองคประกอบภาพก็เปนปจจัยอีกอันหน่ึงในการทําใหไดภาพที่สวยงาม เชน การใหมีเสนนํา

สายตาจากเกสร หรืออาจจะหาจุดเดน ของดอก แลววางในตําแหนงที่เหมาะสมก็จะไดภาพดอกไมที่สวยงาม

ครบองคประกอบ

อุปกรณที่ขอแนะนําในการถายภาพดอกไมก็คือ เลนส Macro และ ฟลเตอร ถายภาพใกล (Close

Up filter) เพ่ือนํามาสวมเขาไปที่หนากระบอกเลนส กลองดิจิตอลรุนเล็กหลายๆ รุนอุปกรณเสริมอาจจะ

เรียกวา Convertor ทําหนาที่ขยายภาพใกลใหใหญขึ้น ใชในการถายภาพใกลไดดวย ราคาไมแพงมาก สวน

Page 18: Macro photography

ทานที่ใชกลองที่ถอดเลนสได DSLR จะมีความสามารถในการถายภาพ Macro ไดดีกวา เน่ืองจากสามารถหา

ซื้อเลนส Macro มาใชไดโดยตรง

จากภาพประกอบ ภาพแรกดอกไมสีสมถูกวางตําแหนงใหแสดงแดดสองโดยตรง เมื่อเราวัดแสงที่

ดอกไม หมายถึงเล็งกลองไปที่ดอกไมโดยตรง ฉากหลัง ซึ่งแสดงไมถูกสงไปถึง ก็จะทําใหดอกไมชัดเจนโดดเดน

ออกมาจากฉากหลัง การปรับ Focus ก็ใหเลือก Focus ที่เกสรของดอกแลวใหจุดที่เสนเกสร และกลีบดอกพุง

ออกมาจากมุมบนขวาก็จะไดภาพถายดอกไมแบบในภาพดูสวยงาม เดนชัด สวนภาพดานขวาเปนการจัดให

กลีบดอกแนนๆ เต็มภาพเปนแฉกกระจายออกจากจุดตรงกลางก็ไดภาพที่ใหความสวยงามอีกแบบหน่ึง

7.เทคนิคในการถายภาพสัตวเลี้ยง

7.1 ใชความเร็วชัตเตอรสูงๆ

เพ่ือหยุดการเคลื่อนไหวที่อาจจะเกิดขึ้นเน่ืองจากสัตวขยับตัว สวนวาจะสูงแคไหน ตองลอง

ถายภาพดู หากสัตวเคลื่อนไหวตัวแลว ภาพยังชัดอยูแสดงวาความเร็วพอ หากไมพอก็ลองเพ่ิมขนาดรูรับแสงให

ใหญขึ้น (เลขนอย) หากยังไมพอก็เพ่ิม ISO แตตองระวังเรื่องนอยส

7.2 ใชขนาดรูรับแสงกวางๆ

เพ่ือแยกตัวสัตวออกจากฉากหลัง เพ่ือเนนจุดสนใจอยูที่สัตวเลี้ยงของคุณอยางเดียว และจะได

ความเร็วชัตเตอรที่สูงขึ้นตามขอ 1 อีกดวย

7.3 ถายภาพจากระดับสายตาของสัตว

เพ่ือใหมีมุมมองที่นาสนใจมากขึ้น เพราะสัตวเลี้ยงสวนใหญจะตัวเล็กๆ มุมมองที่เรามองเห็นแบบ

ปรกติ ก็คือกมลงมอง ดังน้ันเมื่อคุณถายภาพสัตวเลี้ยงจากมุมมองปรกติ ภาพของคุณก็จะเปนภาพแบบ

ธรรมดา ไมนาสนใจ เพราะเปนมุมมองที่เราเห็นกันอยูทั่วๆไปอยูแลว

7.4 ซูมเขาหาตัวสัตว

เพ่ือใหจุดสนใจของสัตวเลี้ยงของคุณมีพ้ืนที่ในภาพมากที่สุด จะไดไมมีอะไรมาแยงความเดนไป

และจะทําใหไดมุมมองที่แตกตางจากปรกติ เพราะอยางที่เกริ่นไปแลววาสัตวเลี้ยงน้ันสวนใหญจะตัวเล็ก เราจะ

Page 19: Macro photography

มองเห็นแบบเล็กๆเปนสวนใหญ เพราะฉะน้ันเมื่อเห็นภาพสัตวเลี้ยงแบบชัดๆใหญๆ ภาพจึงนาสนใจขึ้น หาก

เปนสัตวเลี้ยงที่เช่ืองและไมต่ืนกลอง อาจจะใชเลนสสั้นๆได แตหากสัตวต่ืนกลอง อาจจะตองใชเลนสซูมแลว

แอบถายจากที่ไกลๆแทน

7.5 โฟกัสที่ตาของสัตวเลี้ยง

เหมือนกับการถายภาพบุคคล เพราะตาคือ “หนาตางของดวงใจ” หากคุณอยากรูใจสัตวเลี้ยงของ

คุณ ก็ตองมองใหลึกซึ้งเขาไปในดวงตาครับ

7.6 ถายรัวหลายๆชอต

ในกรณีที่สัตวเลี้ยงไมยอมอยูน่ิง เราอาจจะตองถายภาพรัว แลวคอยมาเลือกภาพที่นารักๆเอา

7.7 หลีกเลี่ยงการใชแฟลช

เพราะจะทําใหสัตวตกใจ อาจจะถึงขวัญเสีย พาลกลัวกลองไปเลย และแสงแฟลชน้ันอาจจะเปน

อันตรายกับตาของสัตวเลี้ยงของคุณได

8.เทคนิคการถายแมลงบนิ

การถายภาพแมลงใหนาสนใจ นอกเหนือจากการถายภาพแมลงเกาะน่ิงๆอยาง ผีเสื้อกําลังดูดกิน

นํ้าหวาน ยังสามารถถายแมลงที่กําลังบินอยูในอากาศ ดวยทาทางที่ออนชอยสวยงาม บันทึกลงบนภาพถาย

ของเรา ปญหาที่มักพบบอย คือ ภาพฉากหลังชัด แตแมลงกลับเบลอ หรือโฟกัสผิดที่ผิดทาง

8.1 แมนนวลโฟกัส M

อยางที่บอกกันไปแลว วาแมลงไมสามารถสั่งใหเคลื่อนไหวไดอยางใจเราได ดังน้ัน เราตองดักรอ

ดวยการแมนนวลโฟกัส ในจุดที่คาดวาแมลงจะบินผาน

ใชออโตโฟกัส โฟกัสผิดที่ เพราะความเร็วของแมลงสูง

Page 20: Macro photography

8.2 วัดแสงรอ

เมื่อไดจุดที่คาดวาแมลงจะบินผานแลวใหเราคาดคะเนแสง แลววัดแสงรอ เพราะการถายภาพ

แนวน้ีตองอาศัยความรวดเร็วขั้นเทพ จะมามัวปรับแสง เมื่อแมลงบินผานก็ไมทันการณ หรือจะต้ังโหมด

อัตโนมัติ กดล็อกคาแสงแลวถายก็ได

8.3 สปดชัตเตอรสูง

เพ่ือหยุดแมลงใหน่ิง (1/500 ขึ้นไป) และปจจัยที่ทําใหสปดชัตเตอรสูงได น่ันคือแสงตองเพียงพอ

การดันความไวแสงใหสูง จะชวยใหถายภาพใหหยุดน่ิงงายขึ้น

8.4 รูนิสัยของแมลง

สังเกตพฤติกรรมและรอเวลาใหแมลงชะลอความเร็ว การถายแมลงที่กําลังบินอยางปรกติอยูใน

อากาศ เปนสิ่งที่แทบจะเปนไปไมได แตดวยพฤติกรรมของแมลงแตละชนิด ยอมมีการชะลอความเร็ว เชน

ผีเสื้อและผึ้ง จะชะลอเมื่อกําลัง จะตอมดอกไม หรือแมลงปอ ที่จะมีจังหวะชะลอ เมื่อเวลาบิน และจะกลับมา

เกาะที่เดิมเสมอ ดังน้ันจึงควรสังเกตพฤติกรรม ของแมลงแตละชนิด ที่เราตองการจะถายดวย

Page 21: Macro photography

บรรณานุกรม

ANiiNooN. ม.ป.ป. เทคนิคการถายภาพมาโคร. (ออนไลน). แหลงที่มา :

https://sites.google.com/site/aniinoonblog58/thekhnikh-kar-thay-phaph-makhor. 16 ธันวาคม

2555

Nikon. ม.ป.ป. เคล็ดลับในการถายภาพสถานการณตาง .ๆ (ออนไลน). แหลงที่มา : http://dslr.nikon-

asia.com/amateur3/th/macro. 16 ธันวาคม 2555