2
พบอีกแล้ว!..สัตว์พื้นใต้น้ำชนิดใหม่ของโลก...ในทะเลสำบสงขลำ เป็นสัตว์ขนาดเล็ก ลาตัวยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร อาศัยอยู่ในตะกอนดินโคลนเหนียวในทะเลสาบสงขลา ตอนล่างใกล้ปากทะเลสาบ (ภาพที1) ในขณะนั้นที่พบในเดือนพฤศจิกายน 2552 น้ามีความเค็มประมาณ 30 ส่วนใน พัน ความลึก 70 เซนติเมตร เป็นสัตว์ใน Phylum Arthropoda Subphylum Crustacea Order Tanaidacea Family Nototanaidae เป็นสัตว์ที่ค้นพบใหม่ในระดับสกุล (genus) ได้ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ในระดับสกุลที่มาจากชื่อ ผู้เชี่ยวชาญในสาขานี้ (Dr. Graham Bird) ซึ่งได้ให้ข้อเสนอแนะที่มีประโยชน์ในการจาแนกชนิด ส่วนชื่อ ในระดับสปีซีส์ ตั้งตามสถานที่ที่พบ คือ ทะเลสาบสงขลา จึงมีชื่อเต็มว่า Birdotanais songkhlaensis (ภาพที2) ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในวารสารดังนีKakui, K. and Angsupanich, S. 2012. Birdotanais songkhlaensis, a new genus and species of Nototanaidae (Crustacea:Tanaidacea) from Thailand. The Ruffles Bulletin of Zoology 60: 421 432.

New species in Thailand

Embed Size (px)

DESCRIPTION

New species in Thailand

Citation preview

พบอีกแล้ว!..สัตว์พืน้ใต้น้ำ้ชนิดใหม่ของโลก...ในทะเลสำบสงขลำ

เป็นสัตว์ขนาดเล็ก ล าตัวยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร อาศัยอยู่ในตะกอนดินโคลนเหนียวในทะเลสาบสงขลาตอนล่างใกล้ปากทะเลสาบ (ภาพที่ 1) ในขณะนั้นที่พบในเดือนพฤศจิกายน 2552 น้ ามีความเค็มประมาณ 30 ส่วนในพัน ความลึก 70 เซนติเมตร

เป็นสัตว์ใน Phylum Arthropoda Subphylum Crustacea Order Tanaidacea Family Nototanaidae

เป็นสัตว์ที่ค้นพบใหม่ในระดับสกุล (genus) ได้ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ในระดับสกุลที่มาจากชื่อผู้เชี่ยวชาญในสาขานี้ (Dr. Graham Bird) ซึ่งได้ให้ข้อเสนอแนะที่มีประโยชน์ในการจ าแนกชนิด ส่วนชื่อในระดับสปีซีส์ ตั้งตามสถานที่ที่พบ คือ ทะเลสาบสงขลา จึงมีชื่อเตม็ว่า Birdotanais songkhlaensis (ภาพที่ 2) ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในวารสารดังนี้ Kakui, K. and Angsupanich, S. 2012. Birdotanais songkhlaensis, a new genus and species of Nototanaidae (Crustacea:Tanaidacea) from Thailand. The Ruffles Bulletin of Zoology 60: 421 – 432.

แม้เป็นสัตว์ขนาดเล็ก แต่ถ้ามีจ านวนมากๆ จะเป็นห่วงโซ่อาหารที่ส าคัญส าหรับของสัตว์น้ าระยะวัยรุ่นของปลา กุ้ง ปู หอย นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ส าคัญอีกอย่าง คือ กินซากสารอินทรีย์ต่างๆ ในตะกอนดิน จึงมีส่วนช่วยบรรเทาความเน่าเสียให้ท้องทะเลสาบสงขลาด้วย แต่ถ้าในน้ าและตะกอนดินมีสารอินทรีย์และของเสียอื่นๆสะสมอยู่มากเกินไป จะท าให้สัตว์ชนิดนี้และอีกหลายๆชนิดไม่สามารถด ารงชีพอยู่ได้เช่นกัน ถึงเวลาแลว้...ท่ีตอ้งดแูลรกัษาทะเลสาบสงขลาใหส้อาดข้ึน ถ้ายังจ ากันได้ เมื่อ 2 ปีก่อน ได้รายงานการค้นพบสัตว์พ้ืนใต้น้ าชนิดใหม่พวกกุ้งเต้น (Amphipod) 2 ชนิด (Kamaka songkhlaensis และ Kamaka appendiculata) ในทะเลสาบสงขลา ส่วนในครั้งนี้ เป็นการค้นพบสัตว์คล้ายกุ้งอีกจ าพวกหนึ่ง คือ Tanaidacean ที่ส าคัญกว่านั้น ได้ผลิตหนังสือเกี่ยวกับระบบนิเวศทะเลสาบสงขลาและพรรณสัตว์พ้ืนใต้น้ า รวม 3 เล่ม

ผลงานทั้งหมดนี้ อยูภ่ายใต้โครงการวิจัย เรื่อง การเชื่อมโยงระหว่างการศึกษาพรรณสัตว์พ้ืนใต้น้ าในทะเลสาบสงขลาและการถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชนท้องถิ่น ซึ่งได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจ าปีงบประมาณ 2551 – 53 ศาสตราจารย์ ดร.เสาวภา อังสุภานิช ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ โทรศัพท์ 074-286210

ถา้ท่านทัง้หลายไดอ้่าน เชือ่ว่าท่านจะรักและ ทึใ่นความมหัศจรรยข์องทะเลสาบสงขลา

มากขึน้ และขอใหเ้ป็นก าลงัส าคญัใน

การพฒันาทะเลสาบสงขลาใหย้ัง่ยืนตอ่ไป