117
การสังเคราะห์ด้วยแสง ครูนุชนารถ เมืองกรุง

Photosyntasis oui

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Photosyntasis oui

การสังเคราะห์ด้วยแสง ครูนุชนารถ เมืองกรุง

Page 2: Photosyntasis oui

การสังเคราะห์ด้วยแสง

1. การค้นคว้าที่เก่ียวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

2. กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

3. โฟโตเรสไพเรชัน

4. กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C4

5. กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ CO2 ของพืชซีเอเอ็ม (CAM)

6. ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง

7. การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง

Page 3: Photosyntasis oui

1. แวน เฮลมองต ์(Jean Baptiste Van Helmont) การค้นคว้าที่เก่ียวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

Page 4: Photosyntasis oui

การทดลองของ ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์ พ.ศ. 2191

*** น้้าหนักที่เพิ่มขึ้นของต้นหลิวมาจากน้้าเท่านั้น

Page 5: Photosyntasis oui

2. โจเซฟ พริสต์ลีย์ (Joseph Priestley)

การทดลองที่ 1

อากาศที่หนูหายใจออกมาและอากาศที่ท้าให้เทียนไขดับ เรียกว่า อากาศเสีย

Page 6: Photosyntasis oui

พริสต์ลีย์จึงเป็นผู้ที่พบว่า พืชสีเขียวสามารถเปลี่ยนอากาศที่ไร้ค่า หรืออากาศเสีย ให้เป็นอากาศดีได้ แต่เขายังไม่ทราบว่าเป็นเพราะอะไร

การทดลองที่ 2

Page 7: Photosyntasis oui

3. แจน อินเก็น ฮูซ (JAN INGEN HOUSZ)

อากาศเสียจะเปลี่ยนเป็นอากาศดีก็ต่อเมื่อพืชได้รับแสงสว่างเท่านั้น

Page 8: Photosyntasis oui

- ค้นพบว่าแก๊สที่เกิดจากการลกุไหม้ และแก๊สที่เกิดจากการหายใจของสัตว์เป็นแก๊ส CO2 - แก๊สที่ช่วยในการลุกไหม้และแก๊สที่ใช้ในการหายใจของสัตว์ คือ แก๊ส O2

4. ฌอง ซีนบีีเยร์ (Jean Senebier)

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด ์ พืชสีเขียว แสงสว่าง

สารอินทรีย์ + แก๊สออกซิเจน

ทดลองพบว่า พืชสีเขียวจะสร้างอากาศดี O2 ก็ต่อเมื่อมีอากาศเสียCO2

Page 9: Photosyntasis oui

อีก 17 ปีต่อมา 5. อินเก็น ฮูซ พบว่านอกจากพืชเก็บ CO2 ไว้ในรูปของสารอินทรีย์

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด ์ พืชสีเขียว แสงสว่าง

สารอินทรีย์ + แก๊สออกซิเจน

Page 10: Photosyntasis oui

6. นิโคลาส ธีโอดอร์ เดอ โซซูร์ (Nicolas Theodore de Saussure)

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์+ น้้า สารอินทรีย์ + แก๊สออกซิเจน

พืชสีเขียว

แสงสว่าง

พบว่า น้้าหนักของพืชที่เพิ่มขึ้นมาจาก CO2

พืชได้รับ 100 g น้้าหนักพืชเพิ่ม 150 g

Page 11: Photosyntasis oui

พบว่า สารอินทรีย์ คือ คาร์โบไฮเดรต นั่นเอง

7. จูเลียส ซาซ (Julius sachs)

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์+ น้้า คาร์โบไฮเดรต + แก๊สออกซิเจน

พืชสีเขียว

แสงสว่าง

Page 12: Photosyntasis oui

CO2 + H2O C6H12O6 + O2

แสงสว่าง

ต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้เรียกกระบวนการสร้างอาหารของพืชที่อาศัยแสงว่า กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง(Photosynthesis)

Page 13: Photosyntasis oui

8. เองเกลมัน (T.W.Engelmann)

Page 14: Photosyntasis oui

สรุปว่า

แสงสีน้้าเงิน และแสงสีแดงเป็นแสงที่ สไปโรไจราใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงมากที่สุดเพราะเป็นบริเวณนั้น ๆ มีแก็สออกซิเจนมากจึงมีแบคทีเรียมาก ออกซิเจน ?

Page 15: Photosyntasis oui

สเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้าและแสงสว่างที่สามารถมองเหน็ได้

Page 16: Photosyntasis oui

Sunlight minus absorbed wavelengths or colors equals the apparent color of an object.

The feathers of male cardinals are loaded with carotenoid pigments. These pigments absorb some wavelengths of light and reflect others.

Page 17: Photosyntasis oui

Why are plants green?

Transmitted light

Page 18: Photosyntasis oui

Light Reflected

light

Absorbed light

Transmitted light

Chloroplast

แสงสีที่มองเห็นคือสทีี่ไม่ดูดกลืน THE COLOR OF LIGHT SEEN IS THE COLOR NOT ABSORBED

Page 19: Photosyntasis oui

คาร์บอนไดออกไซด ์

ไฮโดรเจนซัลไฟด์

แบคทีเรียที่ สามารถ สังเคราะห ์ด้วยแสงได ้

คาร์โบไฮเดรต

น้้า

ซัลเฟอร ์

9. แวนนีล (Van Niel)

Page 20: Photosyntasis oui

สมมุติฐานของ แวน นีล

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรียน่าจะคล้ายคลึงกับพืช นั่นคือ มีขั้นตอนที่โมเลกุลของน้้าจะแยกสลายให้ออกซิเจนอิสระ ซึ่ง O2 ที่เกิดขึ้นมาจาก H2O ไม่ได้มาจาก CO2

CO2 +2H2O CH2O+O2+H2O

พืชสีเขียว แสงสว่าง

CO2 +2H2S CH2O+2S+H2O

พืชแบคทีเรีย แสงสว่าง

Page 21: Photosyntasis oui

เมื่อน าขวดทั้งสองไปตั้งรับแสง ทั้งสองขวดจะมี o2ออกมา แต่เมื่อน า o2

ไปตรวจสอบปรากฏว่าม ีo2 จากขวดแรกเท่านั้นที่เป็น 18O ส่วน o2

จากขวดที่สองเป็น o2 ธรรมดา จึงสรุปได้ว่า แก๊สออกซิเจนอิสระที่ได้จากการ สังเคราะห์ด้วยแสงเป็นออกซิเจนที่ได้จากน้้า

10. แซม รูแบน และมาร์ติน คาเมน

Page 22: Photosyntasis oui

(Samuel Ruben and Martin Kamen) แซมวล รูเบนและมาร์ติน คาเมน

Page 23: Photosyntasis oui

11. โรบิน ฮิลล์ (Robin Hill)

4Fe+3 + 4H2O Fe+2 +4H++O2+2H2O

เฟอริก เฟอรัส (Hill reaction

Page 24: Photosyntasis oui

เกลือเฟอริกFe+3เปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัส Fe+2 ได้เพราะรับอิเล็กตรอนเพิ่มมา 1 ตัว อิเล็กตรอนนั้นได้มาจากแตกตัวของน้้า ถ้าไม่มีตัวรับอิเล็กตรอน น้้าจะแตกให้แก็สออกซิเจนไม่ได้ ตัวรับไฮโดรเจน คือ Nicotinamide Adenine Dinucleotide Phosphate NADP+ เมื่อได้รับไฮโดรเจนแล้วกลายเป็น NADPH+ H+

สรุปว่า

สรุปได้ว่าเมื่อคลอโรพลาสต์ได้รับพลังงานจากแสง แล้วมีตัวรับอิเล็กตรอนอยู่ด้วยน้้าก็จะแตกตัวให้ออกซเิจนโดยไม่จ้าเป็นต้องมีคาร์บอนไดออกไซด์ เรียกว่า Hill’reaction หรือ photolysis

Page 25: Photosyntasis oui

12. การทดลองของแดเนียล อาร์นอน

Page 26: Photosyntasis oui

การสังเคราะห์น้้าตาลของคลอโรพลาสต์จากผักโขมเมื่อเติม CO2 ATP และ NADPH

12. การทดลองของแดเนียล อาร์นอน

CO2 + ATP + NADPH + H+ -----------> C6H12O6 + ADP + Pi + NADP+ สรุปสมการ การสังเคราะห์ด้วยแสง คือ

Page 27: Photosyntasis oui

จากการศึกษาของอารน์อน ท าให้นักวิทยาศาสตร์เกิดแนวคิดว่าขั้นตอนของการสังเคราะห์ด้วยแสงอาจแยกออกเป็น 2 ขั้นตอนใหญ่ๆ คือ

1. ปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง (light reaction) เป็นกระบวนการที่จ าเป็นต้องใช้แสงโดยตรงเพ่ือท าให้โมเลกุลของน้ าถูกแยกสลาย ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ได้คือ แก๊สออกซิเจน ATP และ NADPH+H+

2. ปฏิกิริยาที่ไม่ต้องใช้แสง หรือ ปฏิกิริยาตรึง CO2 (dark reaction หรือ CO2 fixation หรือ Calvin cycle ) เป็นกระบวนการที่ไม่จ าเป็นต้องใช้แสงโดยตรงและเป็นกระบวนการที่เกิดหลังปฏิกิริยาที่ต้อง ใช้แสงเพราะจะต้องรับ ATP และ NADPH+H+ จากปฏิกิริยาที่ใช้แสง และคาร์บอนไดออกไซด์ แม้ไม่ได้รับแสงก็เกิดน้ าตาลได ้

Page 28: Photosyntasis oui

โครงสร้างที่ใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง

Page 29: Photosyntasis oui

Epidermis

Mesophyll

Vascular bundle

Page 30: Photosyntasis oui
Page 31: Photosyntasis oui

Stroma lamella

Page 32: Photosyntasis oui
Page 33: Photosyntasis oui

โครงสร้างของคลอโรพลาสต์

มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น รูปร่างกลมรี ยาว ประมาณ 5 ไมโครเมตร กว้าง 2 ไมโครเมตร หนา 1-2 ไมโครเมตร ภายในมีสโตรมาซึ่งมีเอนไซม์ส้าหรับตรึง CO2

มีเยื่อไทลาคอยด์ซ้อนทับไปมาเป็นแนวตั้ง เรียกว่า กรานุม มีสโตรมาลาเมลลา มีลูเมนซึ่งเป็นของเหลวอยู่ภายในไทลาคอยด์

Page 34: Photosyntasis oui

สารสีในปฏิกิริยาแสง

การดูดกลืนแสงของคลอโรฟิลล์

Page 35: Photosyntasis oui

อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชในช่วงความยาวคลื่นต่าง ๆ

Page 36: Photosyntasis oui

ชนิดของส่ิงมีชีวิต

คลอโรฟิลล ์a b c d

แคโรทีนอยด ์ ไฟโคบิลิน แบคทีรีโอคลอโรฟิลล ์a b c d

กรีนแบคทีเรีย - - - - + - + - + หรือ + ไซยาโนแบคทีเรีย + - - - + + สาหร่ายสีแดง + - - + + + สาหร่ายสีน ้ าตาล + - + - + - สาหร่ายสีเขียว + + - - + -

มอส + + - - + - เฟิน + + - - + -

พืชมีดอก + + - - + -

ตารางแสดงรงควัตถุที่ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ในสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ

หมายเหตุ + หมายถึง มี - หมายถึง ไม่มี

Page 37: Photosyntasis oui

ใบไม้ที่มีสารสีชนิดต่าง ๆ

Page 38: Photosyntasis oui

สารสีที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ 1. คลอโรฟิลด์ - มี 2 ชนิด คือ คลอโรฟิลลเ์อและคลอโรฟิลล์บี - พบในพืชและสาหร่ายสีเขยีว 2. แคโรทีนอยด์เป็นสารประกอบประเภทลิพิด ประกอบด้วยสาร 2 ชนิด คือ - แคโรทีนเป็นสารสแีดงหรอืสีส้ม - แซนโทฟิลล์เป็นสารสีเหลืองหรือน้า้ตาล - แคโรทีนอยด์มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้ 3. ไฟโคบิลิน - มีในสาหร่ายสีแดงและไซยาโนแบคทเีรีย - ประกอบด้วยไฟโคอีรีทริน ดูดแสงสีเหลืองและเขียว และไฟโคไซยานินดูดแสงสีเหลอืงและส้ม

Page 39: Photosyntasis oui

หน้าที่ของสารส ี

o กลุ่มสารสีฝังตัวอยู่ในกลุ่มของโปรตีนบนเยื่อไทลาคอยด์ o สารสีท้าหน้าที่รับพลังงานแสงแล้วส่งต่อไปตามล้าดับจนในที่สุดให้คลอโรฟิลล์เอโมเลกุลพิเศษ ที่เป็นศูนย์กลางปฏิกิริยาของระบบแสง(reaction center )อีกต่อหนึ่ง o กลุ่มสารสีที่ท้าหน้าที่รับและส่งพลังงานแสงเหล่านี้ เรียกว่า แอนเทนนา ( antenna )

การส่งต่อพลังงานแสงจากโมเลกุลของสารสีต่าง ๆ ไปยังคลอโรฟิลล์ เอ โมเลกุลพิเศษ ได้อย่างไร

Page 40: Photosyntasis oui
Page 41: Photosyntasis oui
Page 42: Photosyntasis oui
Page 43: Photosyntasis oui

o โมเลกุลของสารสีดูดพลังงานแสง ท้าให้อิเล็กตรอนที่อยู่ในสภาพปกติ ถูกกระตุ้นให้อยู่ในสภาพเร่งเร้า o อิเล็กตรอนจะถ่ายทอดพลังงาน เร่งเร้าจากโมเลกุลของสารสีหนึ่ง ไปยังโมเลกุลของสารสีอื่น o โมเลกุลของคลอโรฟิลล์ เอ ก็จะรับพลังงานที่ถ่ายทอด มาจากโมเลกุลของสารสีด้วย o NADP+ มารับอิเล็กตรอนที่หลุด จากคลอโรฟิลล์ เอ กลายเป็น NADPH

การส่งต่อพลังงานแสงจากโมเลกุลของสารสีไปยังคลอโรฟิลล์ เอ

Page 44: Photosyntasis oui

o ประกอบด้วย โปรตีน ตัวรับอิเล็กตรอน ตัวถ่ายทอดอิเล็กตรอน และแอนเทนนา o ระบบแสง I หรือ PSI เป็นระบบแสงที่มีคลอโรฟิลล์ เอ ซ่ึงเป็นศูนย์กลาง ปฏิกิริยารับพลังงานแสงได้ดีที่สุดที่ความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร เรียกว่า P700

o ระบบแสง II หรือ PSII มีคลอโรฟิลล์ เอ เป็นศูนย์กลางปฏิกิริยารับพลังงานแสง ได้ดีที่ความยาวคลื่น 680 นาโนเมตร เรียกระบบแสงนี้ว่า P680

ระบบแสง (Photosystem : PS)

Page 45: Photosyntasis oui

ปฏิกิริยาแสง

ปฏิกิริยาแสง เป็นกระบวนการเปลี่ยนพลังงานแสง ให้เป็นพลังงานเคมีที่พืชสามารถน้าไปใช้ได้ในรูป ATP และ NADPH กระบวนการดังกล่าวเกิดขึ้นที่เยื่อไทลาคอยด์ พืชมีการเปลี่ยนพลังงานแสงมาเป็นพลังงานเคมีในโมเลกุลของ ATP และ NADPH ได้อย่างไร

Page 46: Photosyntasis oui

โครงสร้างบนเยื่อไทลาคอยด์

Page 47: Photosyntasis oui

สารสีในแอนเทนนามีการถ่ายทอดพลังงานจากสารสีโมเลกุลหนึ่ง ไปยังโมเลกุลหนึ่งจนถึงโมเลกุลของคลอโรฟิลล์ เอ พลังงานที่ถ่ายทอดมากระตุ้นให้อิเล็กตรอนของคลอโรฟิลล์ เอ มีพลังงานสูงขึ้นและถ่ายทอดอิเล็กตรอนไปยังตัวรับอิเล็กตรอน เป็นการเปลี่ยนพลังงานแสงให้มาอยู่ในรูปพลังงานเคมี

การถ่ายทอดอิเล็กตรอน

Page 48: Photosyntasis oui

การถ่ายทอดอิเล็กตรอน

การถ่ายทอดอิเล็กตรอนเกิดได้ 2 ลักษณะ คือ 1. การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร

( non – cyclic electron transfer ) 2. การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักร

(cyclic electron transfer )

Page 49: Photosyntasis oui

Non-cyclic e- transfer

Fd = Ferridoxin

Pc = Plastocyanin

Pq = Plastoquinone

photolysis

Page 50: Photosyntasis oui

NON-CYCLIC ELECTRON TRANSFER: ได้ ATP, NADPH

Page 51: Photosyntasis oui

Cyclic e- transfer: ได้ ATP

Fd = Ferridoxin

Pc = Plastocyanin

Pq = Plastoquinone

Page 52: Photosyntasis oui
Page 53: Photosyntasis oui

Non-cyclic e- transfer

Page 54: Photosyntasis oui

สรุปการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักร

Page 55: Photosyntasis oui
Page 56: Photosyntasis oui

เปรียบเทียบการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักรและแบบไม่เป็นวัฏจักร

(cyclic electron transfer ) (non-cyclic electron transfer )

1. e- ที่หลุดออกจากคลอโรฟิลล์ของ PSI จะกลับสู่ท่ีเดิม

1. e- จะไม่กลับมาที่เดิม แต่จะมี e-

จาก PSII มาแทนที ่

2. มีการสร้าง ATP 1 แห่ง 2. มีการสร้าง ATP 2 แห่ง

3. ไม่มีการสร้าง NADPH + H+ 3. มีการสร้าง NADPH + H+

4. ไม่มี O2 เกิดขึ้น 4. มี O2 เกิดขึ้น

5. ใชร้งควัตถุระบบ 1 เท่านั้น 5. ใชร้งควัตถุระบบ 1 และ 2

6. ไม่มีกระบวนการ Photolysis 6. มีกระบวนการ Photolysis

7. ผลรวมได ้ATP 7. . ผลรวมได้ATP , NADPH + H+ , O2

Page 57: Photosyntasis oui

ปฏิกิริยาการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 fixation หรือ Dark reaction หรือ Calvin cycle)

การทดลองของเมลวิน คัลวิน (Melvin Calvin) และแอนดรู เอ เบนสัน

คลอเรลลา

เติม CO2 ในรูปของ H14CO3-

ลิ้นควบคุมการปิดเปิด แสง

เทอร์โมมิเตอร์

ภาชนะเก็บคลอเรลลาเป็นระยะ ภายในบรรจุเมทานอลที่ร้อน เพื่อน้าคลอเรลลาทันท ี

สารละลาย NaHCO3

Page 58: Photosyntasis oui

เมื่อเวลาผ่านไป

- 1 นาที ตรวจสารประกอบแล้วพบ 14C ใน สารประกอบหลายชนิดรวมทั้งน้้าตาลกลูโคส (สาร C 3,C5,C6) เช่น

(สาร C 3 = PGA ,C5 = RuBP,C6 = กลูโคส) - แต่เมื่อให้การสังเคราะห์แสงในระยะเวลาสั้นลง

ประมาณ 2 วินาที ตรวจพบ 14C อยู่ในสสาร

ประกอบที่มีคาร์บอน 3 อะตอม (PGA)

Page 59: Photosyntasis oui

คัลวินและคณะคิดว่า

สารประกอบ C 2 + CO2 = จะได้สาร C3 (PGA)

แต่จากการทดลองไม่พบสารประกอบ C2 อยู่เลย แต่

พบว่ามีสารประกอบ C5 เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ถึงแม้

การสังเคราะห์แสงจะเกิดขึ้นเป็นเวลานาน

C C O O C

Page 60: Photosyntasis oui

ดังนั้นนักวิทยาศาสตร์จึงได้ตั้งสมมติฐานขึ้นว่า

สาร C 5 คงจะรวมกับ CO2 ได้สารประกอบชนิด

ใหม่ เป็นสาร C6 เพราะ RuBP(สาร C5 รวมกับ

สาร C 1 (CO2 ) แต่สารนี้ไม่อยู่ตัวจะสลายต่อให้

สารประกอบ C3 คือ PGA 2 โมเลกุล

ดังที่จะได้ศึกษาวัฏจักรของคัลวิน

Page 61: Photosyntasis oui

The step of Calvin cycle

1. Carbon fixation

2. Reduction

3. Regeneration

Page 62: Photosyntasis oui
Page 63: Photosyntasis oui

วัฏจักรคัลวิน

Page 64: Photosyntasis oui

วัฏจักรคัลวิน

Page 65: Photosyntasis oui
Page 66: Photosyntasis oui

ข้อสังเกตของวัฏจักรคัลวิน

1. โดยปกติวัฏจักรคัลวินจะต้องเกิด 2 รอบจึงจะได้ PGAL 2 โมเลกุล

ซึ่งเพียงพอต่อการสร้างกลูโคส (6C)1 โมเลกุล

2. ในพืชทั่วๆไป สารชนิดแรกที่คงตัวที่ได้จากการตรึง CO2 คือ PGA

ซึ่งมี 3C จึงเรียกการตรึง CO2 แบบนี้ว่า C3-pathway และเรียกว่าพืช

C-3 ซึ่งก็คือพืชใบเลี้ยงคู่และใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วๆ ไป

(ข้าวสาลี,ถั่วเหลือง)

Page 67: Photosyntasis oui

สรุปกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงในคลอโรพลาสต์

Page 68: Photosyntasis oui
Page 69: Photosyntasis oui
Page 70: Photosyntasis oui

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ ่คือ 1. กระบวนการเปลี่ยนพลังงานแสงให้เป็นพลังงานเคมี โดยการสร้าง ATP และ NADPH ด้วยปฏิกิริยาแสง 2. การน้า ATP และ NADPH ไปใช้ในปฏิกิริยาการตรึง CO2 เพื่อสร้างสารประกอบคาร์โบไฮเดรต

Page 71: Photosyntasis oui

• คือ กระบวนการที่พืชมีการตรึงออกซิเจนและคายคารบ์อนไดออกไซด ์ ในขณะที่พชืได้รับแสง • กระบวนการโฟโตเรสไพเรชนั ต่างจากการหายใจหรือการสลายสารอาหาร เพราะโฟโตเรสไพเรชันเกิดขึน้เฉพาะเซลล์ที่มีคลอโรพลาสต์เท่านั้น • การตรึง CO2 และการตรึง O2 ด้าเนินไปพร้อมๆ กันในอัตราส่วน 3 ต่อ 1 • โฟโตเรสไพเรชันชว่ยป้องกันความเสยีหายแก่ระบบการสงัเคราะห์ด้วยแสง เช่น กรณีที่พืชได้รับแสงมากแต่มีปริมาณ CO2 น้อย

Photorespiration

Page 72: Photosyntasis oui

Photorespiration การตรึง CO2 ของ RuBP ต้องใช้เอนไซม์ Rubisco ซึ่งอยู่ใน สโตรมาของคลอโรพลาสต์ เอนไซม์นี้นอกจากกระตุ้นให้ RuBP ตรึง CO2 แล้วยังตรึง O2 ได้ด้วย เมื่อพืช ตรึง O2 ด้วย RuBP ซึ่ง RuBP จะถูกสลายเป็นสารประกอบคาร์บอน 2 อะตอม เพราะฉะนั้นการจะสรา้ง RuBP จึงเสีย CO2 ไปบางส่วน การตรึง O2 และคาย CO2 ในเวลาที่พชืได้รับแสง จึงเรียกว่า โพโตเรสไพเรชัน (Photorespiration)

Page 73: Photosyntasis oui

Photorespiration

2 (PGA)

1 (PGA)

Calvin

Photo

Page 74: Photosyntasis oui

- พืชตรึง CO2 ได้สารประกอบตัวชนิดแรกคือ PGA สาร C3

จึงเรียกพืชที่มีกระบวนการเช่นนี้ว่า พืช C3

- พืชที่สามารถตรึง CO2 ได้สารประกอบตัวชนิดแรกคือ OAA สาร C4 จึงเรียกพืชที่มีกระบวนการเช่นนี้ว่า พืช C4

Page 75: Photosyntasis oui

พบ C4 ส่วนใหญ่พืชที่มีดอก และใบเลี้ยงเดี่ยว

เช่น ข้าวโพด, อ้อย,ข้าวฟ่าง, บาร์เลย์,บานไม่รู้โรย,

หญ้าแพรก,หญ้าแห้วหม,ูผักโขมจีน

ไม่พบ C4 ในพวกเมล็ดเปลือย: สนสองใบ สามใบ

แป๊ะก๊วย มอส ลิเวอร์เวิร์ต ฮอนเวิร์ต

และสาหร่ายทุกชนิด

Page 76: Photosyntasis oui

โครงสร้างของใบที่จ้าเป็นต่อการตรึงคาร์บอนไดออกไซด ์

Page 77: Photosyntasis oui
Page 78: Photosyntasis oui

โครงสร้างของใบในพืช C3

• พบคลอโรพลาสตม์ากในเซลล์มีโซฟิลล์ • พืช C3 มีปริมาณร้อยละ 85 ของพืชทุกชนิด • ส่วนใหญ่มีถิ่นก าเนิดในเขตอบอุ่น

Page 79: Photosyntasis oui

โครงสร้างของใบในพืช C4

• พบคลอโรพลาสต์ในเซลล์บนัเดิลชีท • มีถิ่นก้าเนิดในเขตร้อนหรือกึ่งร้อน • มีประมาณ 1,500 สปีชีส์ • ตัวอย่าง ข้าวโพด ข้าวฟ่าง อ้อย หญ้าแพรก หญ้าแห้งหมู ผักโขมจีน และบานไม่รู้โรย

Page 80: Photosyntasis oui
Page 81: Photosyntasis oui
Page 82: Photosyntasis oui

C4 plant leaf

Page 83: Photosyntasis oui

Oxaloacetic acid

พลาสโมเดสมาตา

พลาสโมเดสมาตา ปล่อย CO2 ให ้

วัฏจักรคาร์บอนของพืช C4

Page 84: Photosyntasis oui
Page 85: Photosyntasis oui

- มีการตรึง CO2 2 ครั้ง

1. mesophyll 2. bundle sheath cell - เกิด OAA ตัวแรกของ ปฏิกิริยา - โดยใช้เอนไซม์ PEP carboxylase

Page 86: Photosyntasis oui

C4 plant

Page 87: Photosyntasis oui

ข้อเปรียบเทียบ พืช C3 พืช C4 1. ต าแหน่งของแพลิเซดเซลล์ มักเรียงแถวเดียวอยู่ใต้ชั้นเอพิ

เดอร์มิสด้านบนของใบ อยู่ล้อมรอบมัดท่อล าเลียง

2. บันเดิลชีท อาจมีหรือไม่มี มี 3. คลอโรพลาสต์ในบันเดิลชีทเซลล์ ไม่มี มี 4. จ านวนครั้งของการตรึง CO2 1 ครั้ง 2 ครั้ง 5. สารที่ใช้ตรึง CO2 RuBP PEP (ครั้งแรก), RuBP

(ครั้งที่ 2) 6. ต าแหน่งที่มีการตรึง CO2 มีโซฟิลล์เซลล ์ มีโซฟิลลเ์ซลล์(ครั้งแรก)

บันเดิลชีทเซลล(์ครั้งที่สอง)

7. สารโมเลกุลแรกที่ได้จากการตรึง CO2 PGA (สาร 3 C) OAA (สาร 4 C)

ข้อแตกต่างระหว่าง พืช C3 และ พืช C4

Page 88: Photosyntasis oui

ข้อเปรียบเทียบ พืช C3 พืช C4 8. เอนไซม์ที่ใช้ตรึง CO2 RuBP Carboxylase oxygenase

(Rubiso) PEP carboxylase (ครั้งแรก)

Rubisco (ครั้งที่สอง) 9. การเกิดโฟโตเรชัน เกิด เกิดน้อยมาก 10. ชนิดของพืช พืชใบเลี้ยงคู่และ

พืชใบเลี้ยงเดี่ยวทั่วไป พืชใบเลี้ยงเดี่ยวในเขตร้อน เช่นข้าวโพด ข้าวฟ่าง อ้อย หญ้าแพรกและพืชใบเลี้ยงคู่บางชนิด เช่น ผักโขมจีน บานไม่รู้โรย

11. ใช้น้ าในการตรึง CO2 ใช้น้ ามากต่อการตรึง CO2 1 โมเลกุล

ใช้น้ าน้อยต่อการตรึง CO2 1 โมเลกุล

12. ประสิทธิภาพการใช้น้ า ต่ า สูง

Page 89: Photosyntasis oui

CAM plant CAM:Crussulacean Acid Metabolism plants พบในพืชที่อยู่ที่แห้งแล้งมาก จึงต้องปิดปากใบ การ ตรึง CO2 จึงเกิด โดยพืช CAM จะสูญเสียน้้า 50 – 100 กรัม ต่อการตรึง CO2 หนึ่งกรัม ในขณะที่พืช C4 และ C3 จะเสียน้้ามากถึง 250 – 300 กรัม และ 400 – 500 กรัม ตามล้าดับ -ในเวลากลางคืน ได้กรด 4C (OAA) เก็บไว้ใน vacuole ในเซลล์มีโซฟิลล์ - กลางวันเข้าสู่ calvin cycle - เกิดในเซลล์เดียวกัน

Page 90: Photosyntasis oui

CAM (Crussulaceae Acid Metabolism)

พืชอวบน้้า: สัปปะรด,ว่านหางจระเข,้ กระบองเพชร, กล้วยไม้,ศรนารายณ์, กุหลาบหิน

Page 91: Photosyntasis oui

CAM plant ปัจจุบันไม่เฉพาะพืชตระกูล Crassulaceae

Page 92: Photosyntasis oui

เขา้ทางปากใบ ไปยงัมีโซฟิลล ์

สะสม

ล าเลียง

เม่ือมีแสงยบัย ั้งเอนไซม ์ท่ีกระตุน้การท างานของ PEP

Page 93: Photosyntasis oui
Page 94: Photosyntasis oui
Page 95: Photosyntasis oui
Page 96: Photosyntasis oui

ลกัษณะ พืช C3 พืช C4 พืช CAM กายวภิาคของใบพชื บนัเดลิชทีไมม่ ี

คลอโรพลาสต ์บนัเดลิชทีม ีคลอโรพลาสตห์นาแน่น

มแีวควิโอลขนาดใหญ่

เอนไซมท์ีใ่ชใ้นการตรงึ CO2 (Carboxylation)

รบูสิโกอยา่งเดยีว (C3 Pathway)

ใช ้PEP คารบ์อกซ ิ เลส (C4 Pathway)ก่อนแลว้จงึใชร้บูสิโก C3 Pathway ทหีลงั

ใช ้PEP คารบ์อกซเีลส(C4 Pathway)ตอนกลางคนื ใชร้บูสิโก(C3 Pathway)ตอนกลางวนั

ปรมิาณน ้าเป็นกรมัทีใ่ชใ้นการตรงึ CO2

คดิเป็นน ้าหนกัแหง้ 1 กรมั

450-950 250-350 50-55

ตอ้งการแรธ่าตุ Na ไมต่อ้งการ ตอ้งการ อาจตอ้งการ อุณหภมูเิหมาะสมในการสงัเคราะห์ดว้ยแสง

15-25 30-47 ประมาณ 35

ตารางเปรียบเทียบการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C3 พืช C4 และพืช CAM

Page 97: Photosyntasis oui

เปรียบเทียบการตรึง CO2 ทั้ง 3 แบบ

Page 98: Photosyntasis oui

กระบวนการตรึง CO2 ของพืช CAM

เวลากลางคืนปากใบของพืช CAM จะเปิดแก๊ส CO2 จะเข้าทางปากใบ สาร PEP จะตรึง CO2 เปลี่ยนเป็นสาร OAA และสารนี ้ จะเปลี่ยนเป็นกรดมาลิกไปเก็บไว้ที่แวคิวโอล เมื่อถึงเวลากลางวันปากใบปิด กรดมาลิกย้ายจากแวคิวโอล ไปที่คลอโรพลาสต์และพืชจะปลอ่ย CO2 จากกรดมาลิก ที่สะสมไว้และเข้าสู่วัฏจักรเคลวินตามปกต ิ

Page 99: Photosyntasis oui

ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง

1. ความเข้มของแสง 2. คาร์บอนไดออกไซด ์3. อุณหภูม ิ4. อายุใบ 5. ปริมาณน้้าที่พืชได้รับ 6. ธาตุอาหาร

Page 100: Photosyntasis oui

1. ความเข้มของแสง

Page 101: Photosyntasis oui

อิทธิพลของความเขม้ของแสงต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื 3 ชนิด

Page 102: Photosyntasis oui

Light compensation point

คือ จุดที่ความเข้มของแสงที่ท้าให้อัตราการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ จากการหายใจเท่ากับอัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์จากการสังเคราะห์ด้วยแสง

Page 103: Photosyntasis oui

จุดอิ่มตัวของแสง Light saturation point

หมายถึง ความเข้มข้นของแสงณ จุดที่อัตราการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิจะไม่เพิ่มขึ้น

Page 104: Photosyntasis oui

2. คาร์บอนไดออกไซด์

อัตราการตรึง CO2 ของพืช 3 ชนิด

Page 105: Photosyntasis oui

คาร์บอนไดออกไซด์คอมเพนเซชันพอยท์ ( CO2 compensation point )

หมายถึง จุดท่ีมีระดับของ CO2 ที่ท าให้อัตราการตรึง CO2 ด้วยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเท่ากับอัตราการปล่อย CO2 จากกระบวนการหายใจ พืชส่วนใหญ่จะมีจุดอิ่มตัวของแสงในช่วงแสงประมาณ 300-1000 µmol ของโฟตอน m-2 s-1

Page 106: Photosyntasis oui

จุดอิ่มตัวของคาร์บอนไดออกไซด์

ความเข้มข้นของ CO2 ณ จุดที่อัตรา การตรึง CO2 สุทธิจะไม่เพิ่มขึ้น แม้ว่าจะเพิ่ม ความเข้มข้นของ CO2 มากข้ึนเท่าใดก็ตาม

Page 107: Photosyntasis oui

3. อุณหภูมิ

Page 108: Photosyntasis oui

• จากกราฟนี้จะเห็นได้ว่า อุณหภูมิมีความส าคัญต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงคือ เมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะเพิ่มตามไปด้วย แต่เมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นประมาณ 27 องศาเซลเซียส อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดลง

• เมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 27 องศาเซลเซียส อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงจะลดลง เนื่องจากที่อุณหภูมิระดับนี้ท าให้โปรตีนเปลี่ยนสภาพในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงต้องใช้เอนไซม์หลายตัว เอมไซม์แต่ละตัวล้วนมีโปรตีนเป็นองค์ประกอบ ดังนั้นเมื่อโปรตีนเปลี่ยนสภาพ เอนไซม์จึงท างานไม่ได้ ดังนั้น กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงจึงไม่เกิดหรือเกิดขึ้นในอัตราที่ลดลงมากกว่าปกติ นอกจากนี้เมื่ออุณหภูมิสูง ท าให้โฟโตเรสไพเรชันเพิ่มขึ้น การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์จึงลดลง

Page 109: Photosyntasis oui

ผลของอุณหภูมิต่อการสังเคราะห์ด้วยแสง

1. เมื่ออุณหภูมิสูงอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงลดลงเนื่องจากอัตราการหายใจและอัตราโฟโตเรสไพเรชันเพิ่มขึ้น การตรึง CO2 จึงลดลง 2. เมื่ออุณหภูมิสูงหรือต่ ากว่าอุณหภูมิที่เหมาะสม ทีผลให้ความสามารถของการท างานของเยื่อเลือกผ่านของเยื่อหุ้มออร์แกเนลล์ต่างๆ สูญเสียไป ท าให้อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงลดลง 3. เมื่ออุณหภูมิสูงท าให้เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเสียสภาพไป

3. อุณหภูมิ

Page 110: Photosyntasis oui

1. ใบพืชที่อ่อนหรือเกินไป มีความสามารถในการสังเคราะห์ด้วยแสงต่ ากว่าใบพืชที่เจริญเติบโตเต็มที ่ 2. ใบอ่อนเกินไปการพัฒนาของคลอโรพลาสต ์ยังไม่เจริญเต็มที ่ 3. ใบแก่เกินไปจะมีการสลายของกรานุมและคลอโรฟิลล ์

4. อายุใบ

Page 111: Photosyntasis oui

5. ปริมาณของน้้าที่พืชได้รับ

1. Mg และ N เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ การขาดธาตุเหล่านี้ท าให้ใบพืชเหลืองซีด เรียกว่า คลอโรซิส (Chlorosis) เพราะขาดคลอโรฟิลล ์

Page 112: Photosyntasis oui

6. ธาตุอาหาร

1. Mg และ N เป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ การขาดธาตุเหล่านี้ท าให้ใบพืชเหลืองซีด เรียกว่า คลอโรซิส (Chlorosis) เพราะขาดคลอโรฟิลล ์

2. ธาตุ Fe ใช้สร้างคลอโรฟิลล์ และเป็นองค์ประกอบของไซโทโครม ซึ่งเป็นตัวถ่ายทอดอิเล็กตรอน

3. ธาตุ Mn และ Cl จ าเป็นต่อการแตกตัวของน้ าในปฏิกิริยาสังเคราะห์ด้วยแสง

Page 113: Photosyntasis oui

การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง

1.การปรับโครงสร้างของใบเพื่อรับแสง 2.การควบคุมการรับแสงของใบพืช 3.การปรับตัวของพืชให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของแสง 4.การจัดเรียงใบของพืชและการแข่งขันเพื่อรับแสงของพืชในบริเวณเดียวกัน

Page 114: Photosyntasis oui

การปรับโครงสร้างของใบเพื่อรับแสง

1.พืชในป่าเขตร้อนมีชั้นเอพิเดอร์มิส ท้าหน้าที่คล้ายเลนส์รวมแสง ท้าให้แสงส่องไปถึงคลอโรพลสต ์ 2.รอยต่อระหว่างอากาศและน้้าที่เคลือบผนังเซลล์ช่วยสะท้อนไปได้หลายทิศทางและเพิ่มโอกาสที่แสงจะถูกดูดซับโดยสารสีในเซลล์มากขึ้น 3.กรณีมีแสงมากใบพืชจะมีโครงสร้างพิเศษ เช่น มีขนและชั้นคิวทิเคิลที่ผิวใบเพื่อช่วยในการสะท้อนแสงและลดการดูดซับแสงของใบ

Page 115: Photosyntasis oui

การควบคุมการรับแสงของพืช

1.โดยการเคลื่อนที่ของคลอโรพลาสต์ในเซลล์และการเคลื่อนไหวของใบพืช

2.พืชหลายชนิดสามารถปรับต้าแหน่งของแผ่นใบเพื่อลดการรับแสงอาทิตย์โดยตรงท้าให้การรับแสงและความร้อนลดลง

Page 116: Photosyntasis oui

การปรับตัวของพืชให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของแสง

Page 117: Photosyntasis oui

การจัดเรียงใบของพืชและการแข่งขันเพือ่รับแสงของพืชในบริเวณเดียวกัน