83
INTRODUCTION TO... PLC CHAPTER 1

Plc Basic Cp1l

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Plc Basic Cp1l

INTRODUCTION TO... PLC

CHAPTER 1

Page 2: Plc Basic Cp1l

อดีต ในโรงงานอุตสาหกรรมใช้แรงงานคนในกระบวนการผลิตทั้งหมด ท าให้ผลผลิตที่ได้มีจ านวนน้อยไม่พอเพียงกับความต้องการของผู้บริโภค จึงมีผู้คิดค้นวิธีการผลิตในรูปแบบใหม่ที่ใช้เครื่องเข้ามาแทนแรงงานคนมากขึ้น ซึ่งเป็นการพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมในยุคต่อมา

ในอดีต

Page 3: Plc Basic Cp1l

ยุคต่อมา เมื่อมีการใช้งานเครื่องจักรมากขึ้น จึงมีการคิดค้น การควบคุมการท างานของเครื่องจักรให้ท างานเป็นขั้นตอนจึงมีความจ าเป็น ยุคแรกมีการคิดค้นวงจรรีเลย์ ขึ้นมาเพื่อควบคุมการท างานของเครื่องจักรให้

ท างานอัตโนมัติ แต่การใช้วงจรก็มีปัญหาหลายอย่าง

ต่อมา

Page 4: Plc Basic Cp1l

ข้อเสียของการใช้งานวงจรรีเลย์

- การเปล่ียนแปลงเงื่อนไขของการควบคุมท าได้ยาก เนื่องจากต้องเปล่ียนการเดินสายไฟใหม่

- การเดินสายยุ่งยากเมื่อใช้รีเลย์เป็นจ านวนมาก

- ขณะใช้งานเกิดการเสื่อมสภาพของหน้าสัมผัส หรือ มีการอาร์คท าให้เกิดประกายไฟขึ้น

Page 5: Plc Basic Cp1l

ปัจจุบัน มีการใช้อุปกรณ์ควบคุมแบบใหม่ขึ้นมาแทนการควบคุมด้วยวงจรรีเลย์ เราเรียกอุปกรณ์ควบคุมชนิดนี้ว่า P L C หรอื P C

ปัจจุบัน

Automatic warehouse

Page 6: Plc Basic Cp1l

ข้อดีของ PLC

-นอกจากการควบคุมที่เป็นแบบลอจิกแล้ว PLC ยังสามารถ ใช้ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ และฟังก์ชันอื่นๆได้อีกมากมาย

-ราคาถูกเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้รีเลย์จ านวนมากในการสร้าง แผงวงจรควบคุม

-สามารถแก้ไขข้อผิดพลาดของวงจรควบคุมแบบรีเลย์

Page 7: Plc Basic Cp1l

PLC คืออะไร?

PLC (Programmable Logic Control)อุปกรณ์ควบคุมทางลอจกิที่สามารถโปรแกรมได้

PC (Programmable Control) อุปกรณ์ควบคมุที่สามารถโปรแกรมได้

หรือ

Page 8: Plc Basic Cp1l

PLC แบ่งเป็นกี่ประเภท?

2) แบ่งตามขนาดอินพุตเอาต์พุต

1) แบ่งตามลักษณะภายนอก

PLC สามารถจ าแนกออกได้เป็น 2 ประเภท

Page 9: Plc Basic Cp1l

1.1 BLOCK TYPE (SHOE BOX) PLC

1.2 RACK TYPE PLC

1.3 SOFT PLC

1) แบ่งตามลักษณะภายนอก

การแบ่งประเภทของ PLC ตามลักษณะภายนอกนั้น PLC แต่ละยี่ห้ออาจแบ่งไม่เหมือนกัน แต่โดยทั่วไปแลว้สามารถแบ่งประเภทของ PLC ได้ดังนี้

Page 10: Plc Basic Cp1l

OMRON

Page 11: Plc Basic Cp1l

1.1 BLOCK TYPE (SHOES BOX)

ลักษณะของ PLC แบบ Block Type คือส่วนประกอบต่างๆของ PLC ไม่ว่าจะเป็น CPU หน่วยความจ า ภาคอินพุต เอาต์พุตจะรวมอยู่ในบล็อกเดียว

ข้อดี

มีขนาดเล็ก

สามารถติดตั้งได้ง่าย

สามารถใช้งานแทนวงจรรีเลย์ได้

มีฟังก์ชันพิเศษ เช่นฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ และฟังก์ชันอื่น

ข้อเสีย

สามารถเพิ่มอินพุต/เอาต์พุตได้น้อย

เมื่ออินพุต/เอาต์พุตจุดใดจุดหนึ่งเสีย ต้องยก PLC ทั้งชุดออกจากกระบวนการผลิตท าให้เสียเวลาในการผลิต

Page 12: Plc Basic Cp1l

1. 2 RACK TYPE PLC

1. 2 .1 Connector 1. 2.2 Backplane

ลกัษณะของ PLC แบบ Rack Type จะม ี CPU หนว่ยความจ า อนิพตุ/เอาต์พุตแหล่งจ่ายไฟแยกกัน เป็นส่วนๆ เมื่อต้องการใช้งานอุปกรณ์ใดจึงจะ

น ามาประกอบกันอีกครั้งหนึ่ง

Page 13: Plc Basic Cp1l

ข้อดี

สามารถเพิ่มจ านวนอินพตุ/เอาต์พตุและยูนิตพิเศษได้มาก

เมื่ออินพุต/เอาต์พตุจุดใดจุดหนึ่งเสีย ไม่จ าเป็นต้องยก PLC ทั้งชุดไปซ่อม สามารถน ายูนิตที่เสียไปซ่อมได้เลย ท าให้ไมต่้องหยุดกระบวนการการผลิตท้ังหมด

ข้อเสียราคาสูงกว่าแบบ Block Type PLC เพราะสามารถเพิ่ม I/O ได้

มากกว่า และมีคุณสมบตัิพิเศษมากกว่าเช่น การต่อระบบ Network

1. 2 RACK TYPE PLC (ต่อ)

Page 14: Plc Basic Cp1l

เป็น PLC ที่ใช ้Software เข้ามาท างานเป็น PLC โดยจะใช้คอมพิวเตอร์ PC(Personal Computer) ร่วมกับการด์ที่ใช้ท าหน้าที่

เป็นอินพุต/เอาต์พตุแบบพิเศษ ใชง้านทางด้านนี้โดยเฉพาะ

1. 3 SOFT PLC

Input Output

Personal Computer

Page 15: Plc Basic Cp1l

IEC 1131 Standard

•Sequential Function Chart(SFC)

•Structured Text (ST)

•Function Block Diagram (FBD)

•Instruction List (IL)

•Ladder Diagram (LD)

- -

Page 16: Plc Basic Cp1l

Standard Languages

1. Sequential Function Chart(SFC)

2. Structure Text (ST)

Page 17: Plc Basic Cp1l

3. Function Block Diagram (FBD)

Standard Languages(ต่อ)

4. Instruction List (IL)

Page 18: Plc Basic Cp1l

5. Ladder Diagram (LD)

Standard Languages(ต่อ)

Page 19: Plc Basic Cp1l

ส่วนประกอบหลักของ PLC

Page 20: Plc Basic Cp1l

ส่วนประกอบหลักของ PLC สามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆได้คล้ายกับคอมพิวเตอร์ ดังนี้

1. ภาคอินพุต (Input Section)2. ตัวประมวลผล (CPU)3. หน่วยความจ า (Memory)

4. ภาคเอาต์พุต (Output Section) 5. แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply)

ส่วนประกอบหลักของ PLC

Page 21: Plc Basic Cp1l

ENCODER LEVEL SW.

PHOTOELECTRIC SENSOR

PUSH BUTTON SW.

PROXIMITY SENSOR.

1. อุปกรณ์อินพุต (Input Unit)

(Input Devices)

Page 22: Plc Basic Cp1l

อุปกรณ์อินพุต(ต่อ)

การต่ออุปกรณ์อินพุต เข้ากับภาคอินพตุของPLC

1. อินพุตชนิดRelay

2. อินพุตท่ีเป็นเซนเซอร์ชนิด NPN

3. อินพุตที่เป็นเซนเซอร์ชนิด PNP

Page 23: Plc Basic Cp1l

COM

InternalCircuits

OutputLED

Optocoupler

โครงสร้างของภาคอินพตุ การต่ออุปกรณ์อินพุตกับ PLC

PLC

อุปกรณ์อินพุต(ต่อ)

Relay

Input Voltage = 24 VDC +10%/-15%

Page 24: Plc Basic Cp1l

การต่ออุปกรณ์อินพุตเข้ากับ PLC

CP1L5 mA /12 mA

Sensor

IN 00

COM (+)

Sensor power Supply

Output

+

0 V

Page 25: Plc Basic Cp1l

การต่ออุปกรณ์อินพุตเข้ากับ PLC

CP1L

5 mA /12 mA IN 00

COM (-)

Sensor power SupplyOutput

+

0 V

Page 26: Plc Basic Cp1l

อินพุตที่เป็นเซนเซอร์ชนดิ NPN

SENSOR POWERSUPPLY

+

IN

COM +

OUTPUT

-

อินพุตที่เป็นเซนเซอร์ชนดิ PNP

SENSOR POWERSUPPLY

+

IN

COM -

OUTPUT

-

Page 27: Plc Basic Cp1l

ท าหน้าที่ค านวณและควบคุม ซึง่เปรียบเสมือนสมองของ PLC ภายในประกอบด้วยวงจรลอจิกหลายชนิดและมี

ไมโครโปรเซสเซอร์เบส (Micro Processor Based)ใช้แทนอุปกรณ์จ าพวกรีเลย์ เคาน์เตอร์/ไทม์เมอร์ และซีเควนเซอร์

เพื่อให้ผู้ใช้สามารถออกแบบวงจรโดยใช้ Relay Ladder Diagram ได้ CPU จะยอมรับข้อมูลจากอุปกรณ์อินพุตต่างๆ จากนั้นจะท าการประมวลผลและเก็บข้อมลูโดยใชโ้ปรแกรมจากหน่วยความจ าหลังจากนั้นจะส่งข้อมูลท่ีเหมาะสมและถูกต้องออกไปยังอุปกรณ์

เอาต์พุต

2. ตัวประมวลผลกลาง(CPU UNIT)

Page 28: Plc Basic Cp1l

ท าหน้าที่เก็บรักษาโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้ในการท างาน โดยขนาดของหน่วยความจ าจะถูกแบ่งออกเป็นบิตข้อมูล(Data Bit) ภายในหน่วยความจ า 1 บิต ก็จะมีค่าสภาวะทางลอจิก 0 หรือ 1 แตกต่างกันแล้วแต่ค าสั่ง ซึ่ง PLC ประกอบด้วยหน่วยความจ าสองชนิดคือ ROM และ RAM

RAM(Random Access Memory) สามารถท าการเขียนหรืออ่านข้อมูลได้ เหมาะกับการเขียนโปรแกรม ROM(Read Only Memory) ท าหน้าที่เก็บโปรแกรมส าหรับใช้ในการปฏิบัติงานของ PLC เหมาะกับงานที่ไม่ต้องการเปลี่ยนแปลงโปรแกรม

3. หน่วยความจ า (MEMORY UNIT)

Page 29: Plc Basic Cp1l

การเก็บส ารองโปรแกรม(Backup)

1.Capacitor Backup

2.Battery Backup

20

Ambient temperature(0C)

Back

up ti

me (d

ays)

804025

10

7

1

5 Years ( Within 5 Min. for Change )

Page 30: Plc Basic Cp1l

ท าหน้าที่รับข้อมูลจากตัวประมวลผลแล้วส่งต่อข้อมูลไปควบคุมอุปกรณ์ภายนอกหรืออุปกรณ์เอาตพ์ุต เช่น ควบคุมหลอดไฟ มอเตอร์ และวาล์ว เป็นต้น

4. อุปกรณ์เอาต์พุต (OUTPUT UNIT)

อุปกรณ์เอาต์พุต

Output Devices

Magnatic Contacter

Servo Motor

Page 31: Plc Basic Cp1l

อุปกรณ์เอาต์พุต(ต่อ)

Page 32: Plc Basic Cp1l

โครงสร้างของภาคเอาต์พุต

Page 33: Plc Basic Cp1l

โครงสร้างของภาคเอาต์พุต

Page 34: Plc Basic Cp1l

ท าหน้าที่จ่ายพลังงานและรักษาระดับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงให้กับ CPU Unit หน่วยความจ าและหน่วยอินพุต/ เอาต์พุต *AC 100-240 V*DC 24 V

5. แหล่งจ่ายไฟ (POWER SUPPLY UNIT)

Page 35: Plc Basic Cp1l

CHAPTER 2

INTRODUCTION TO...

CP1L/CP1H

Page 36: Plc Basic Cp1l
Page 37: Plc Basic Cp1l

ส่วนประกอบของ PLC ร ุ่น CP1L CPU UNIT

Page 38: Plc Basic Cp1l

ฟังก์ชันเด่น

Page 39: Plc Basic Cp1l

ฟังก์ชันเด่น

Page 40: Plc Basic Cp1l

ฟังก์ชันเด่น

Page 41: Plc Basic Cp1l

ฟังก์ชันเด่น

Page 42: Plc Basic Cp1l

ฟังก์ชันเด่น

Page 43: Plc Basic Cp1l

ฟังก์ชันเด่น

Page 44: Plc Basic Cp1l

ฟังก์ชันเด่น

Page 45: Plc Basic Cp1l

ฟังก์ชันเด่น

Page 46: Plc Basic Cp1l

ฟังก์ชันเด่น

Page 47: Plc Basic Cp1l
Page 48: Plc Basic Cp1l
Page 49: Plc Basic Cp1l
Page 50: Plc Basic Cp1l

INDICATORS

Page 51: Plc Basic Cp1l

OPTION BOARDS

Page 52: Plc Basic Cp1l

EXPANSION UNIT

Page 53: Plc Basic Cp1l

EXPANSION UNIT

Page 54: Plc Basic Cp1l

EXPANSION UNIT

Page 55: Plc Basic Cp1l

CHAPTER 3

อุปกรณ์การเขียนโปรแกรมและ ระบบสื่อสารของ PLC

Page 56: Plc Basic Cp1l

อุปกรณ์ส าหรับการโปรแกรม

ถ้าต้องการให้ PLC ท างานไปตามขั้นตอนต้องมีการสั่งการให้ PLC ท างาน การสั่งให้ PLC ท างานก็คือการเขียนโปรแกรมควบคุม PLC นั่นเอง การเขียนโปรแกรมควบคุม PLC นั้น ท าได้ 2 วธิีดังนี้คือ

1. Hand Held Programmer

2. Software

Page 57: Plc Basic Cp1l

1.ใช้ Hand Held Programmer (OMRON จะเรียกว่า Programming Console)

Page 58: Plc Basic Cp1l

2. ใช้ SOFTWARE

Page 59: Plc Basic Cp1l

CHAPTER 4

การก าหนดเบอร์รีเลย์ในพื้นที่หน่วยความจ า

โครงสรา้งของขอ้มูลและ

Page 60: Plc Basic Cp1l

Memory Areaการเก็บข้อมูลในระบบดิจิตอล

ข้อมูล 1 กล่องจะเก็บข้อมูลในเลขฐานสอง ( 0 หรือ 1 ) เรียกว่า 1 บิต ( 1Bit)

น าข้อมูล 4 กล่องมาเรียงกัน เรียกว่า 1 ดิจิต( 1 Digit)03

น าข้อมูล 16 กล่องมาเรียงกันเรียกว่า 1 เวิร์ด ( 1 Word or 1 Channel )015

Page 61: Plc Basic Cp1l

บิตที่12 11 910 8 7 5 6 4 3 1 2 015 1314

ฐาน 2 0 1 1 1 0 0 0 1 0 0 1 1 0 0 1 0

ดิจิตท่ี0123

ฐาน 1664C2

2E46

โครงสร้างของข้อมูล

Page 62: Plc Basic Cp1l

การก าหนดเบอรร์ีเลย์ในพื้นที่หน่วยความจ า

Bit

Example

000.00

000.07

เวิร์ดที ่0 บิตที่ 0

เวิร์ดที ่0 บิตที ่7

Word or channel

Page 63: Plc Basic Cp1l

พื้นที่หน่วยความจ าของ PLC

Page 64: Plc Basic Cp1l

พื้นที่หน่วยความจ าของ PLC

Page 65: Plc Basic Cp1l

CH 0

015

000.00000.15

Input CH 0

000.11

CIO AREA (Input,Output & Work Area)

Page 66: Plc Basic Cp1l

CIO AREA (Input,Output & Work Area)

Page 67: Plc Basic Cp1l

Input /Output Wiring

INPUT Wiring OUTPUT Wiring

Page 68: Plc Basic Cp1l

Input Area CH 000+

01 0 001 0 001 0 0

Page 69: Plc Basic Cp1l

HR AREA (Holding Relay)

เป็นบิตที่ใช้เก็บข้อมูลและสถานะ ON/OFF ก่อนที่ไฟจะดับExample

0100001000

00000

END

HR00.00HR00.00

00000

END

00001

01000HR00.00

ต้องการคงสถานะของเอาต์พุต 01000 ก่อนไฟดับ

Page 70: Plc Basic Cp1l

AR AREA (Auxiliary Relay)

เป็นบิตพิเศษมีหน้าที่เฉพาะเช่นใช้เป็น Flags หรือ Control Bit

Example

AR 17 บิตที่ 00-07 เก็บค่าของเวลาเป็นนาที

AR 17 บิตที่ 08-15 เก็บค่าของเวลาเป็นชั่วโมง

12 11 910 8 7 5 6 4 3 1 2 015 1314 AR 17

00070815

5380Move digit

(เวลาแปดนาฟิกาสามสิบห้านาท)ี

Page 71: Plc Basic Cp1l

LR AREA (Link Relay)

Page 72: Plc Basic Cp1l

DM AREA (Data Memory)

ต้องใช้ทีละเวิร์ดไม่สามารถใช้ทีละบิต

Read/Write

Error Log

Read-Only

PC Set up

ใช้เก็บข้อมูล

ใช้เก็บ Error

ใช้อ่านเพียงอย่างเดียว

ใช้เก็บพารามิเตอร์ต่างๆเพื่อควบคุมการท างานของ PLC

Page 73: Plc Basic Cp1l

CHAPTER 5

การเขียนค าสั่งให้กับ PLC

Page 74: Plc Basic Cp1l

SR T S TR

S1

S2

K1

K1

วงจรควบคุม

S1

S2

K

= K

Page 75: Plc Basic Cp1l

S1

S2

S TR

K

comcom

00000

00001

10000

00000 00001

10000

10000

Page 76: Plc Basic Cp1l

หลักการเขียนแลดเดอร์ไดอะแกรมและค าสั่งพื้นฐาน

00000 00001

10000

10000

S1

S2

K1

K1

วงจรควบคุมLadder Diagram

LD 00000

OR 10000

AND NOT 00001

OUT 10000

Page 77: Plc Basic Cp1l

หลักการเขียนแลดเดอร์ไดอะแกรมและค าสั่งพื้นฐาน1.หลักการเขียน Ladder Diagram จะเริ่มจากแกนในแนวตั้งทางด้านซ้ายมือ

2. LD เป็นค าสั่งแรกที่ใช้ในการเขียน Ladder Diagram

000.00LD 00000

3. OUT เป็นค าสั่ง OUT จะแทนด้วยสัญลักษณ์รูปวงกลมหรือวงรีมีความหมาย ในลักษณะของOUTPUT

010.00000.00

LD 00000

OUT 01000

Page 78: Plc Basic Cp1l

4. AND

หลักการเขียนแลดเดอร์ไดอะแกรมและค าสั่งพื้นฐานA B

จากวงจรจะเห็นว่าหลอดไฟจะติดก็ต่อเมื่อเรากดสวิทช์ A และ B ถ้ากดสวิทช์ A หรือ B สวิทช์ใดสวิทช์หนึ่งหลอดจะไม่ติด

010.00000.00 000.01

LD 00000

OUT 01000

AND 00001

Page 79: Plc Basic Cp1l

หลักการเขียนแลดเดอร์ไดอะแกรมและค าสั่งพื้นฐาน

จากวงจรจะเห็นว่า ไม่ว่าเราจะกดสวิทช์ A หรือ B หรือแม้แต่จะกด A และ Bทั้งคู่หลอดไฟก็จะติด

010.00000.00

000.01

LD 00000

OUT 01000 OR 00001

4. ORA

B

Page 80: Plc Basic Cp1l

หลักการเขียนแลดเดอร์ไดอะแกรมและค าสั่งพื้นฐาน4. AND LD

010.00000.00

000.01

000.02

000.00

000.01

000.02010.00

LD 00000OR 00001AND 00002OUT 01000

LD 00000OR 00001

LD 00002OR 00003

000.03

AND LD

Page 81: Plc Basic Cp1l

หลักการเขียนแลดเดอร์ไดอะแกรมและค าสั่งพื้นฐาน5. OR LD

010.00000.00

000.02

000.01 LD 00000AND 00001OR 00002OUT 01000

010.00000.00

000.02

000.01

000.03

LD 00000AND 00001

LD 00002AND 00003

AND LD

Page 82: Plc Basic Cp1l

Question???

2.ถ้าต้องการให้มอเตอร์ท างานเมื่อวันที่ 27 ม.ค. ตอน 12:00 นาฬิกา

จะต้องเขียนโปรแกรมอย่างไร

1.ต้องการตั้งเวลา 24 ชั่วโมง เมื่อครบเวลาที่ก าหนดจะท าให้

มอเตอร์ท างาน จะต้องเขียนโปรแกรม ให้กับ PLC อย่างไร

Page 83: Plc Basic Cp1l

CLOCK