31
การจัดการความรูชุดที่๑ เรื่อง การปกปนเขตแดนยังไมแลวเสร็จ”? แผนที่ฝรั่งเศสทําแตฝายเดียว”! เสนเขตแดนตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕”? ไทยไมควรขึ้นทะเบียนรวมโดย ..วัลยวิภา จรูญโรจน นายประกาสิทธิแกวมงคล สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๑

Preah Vihear

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Knowledge about Preah Vihear, 2008

Citation preview

Page 1: Preah Vihear

การจัดการความรูชุดที่๑

เรื่อง

“การปกปนเขตแดนยังไมแลวเสร็จ”? “แผนที่ฝรั่งเศสทําแตฝายเดียว”!

“เสนเขตแดนตามมตคิณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕”?

“ไทยไมควรขึ้นทะเบียนรวม”

โดย

ม.ล.วัลยวิภา จรูญโรจน นายประกาสิทธ์ิ แกวมงคล

สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๑

Page 2: Preah Vihear

“การปกปนเขตแดนยังไมแลวเสร็จ”? “แผนที่ฝร่ังเศสทําแตฝายเดียว” !

“เสนเขตแดนตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕”?

โดย ม.ล.วัลยวิภา จรูญโรจน นายประกาสทิธิ์ แกวมงคล

สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พื้นฐานความเขาใจเรื่องการคัดคานการข้ึนทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา

มี ๓ ประเด็นสําคัญที่เปนพ้ืนฐานของความเขาใจเรื่องการคัดคานการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา

ทีมนักวิชาการเคยมีประสบการณศึกษาเรื่อง ปญหาเขตแดนไทย-ลาวมากอนแลวเม่ือ เดือนกันยายน พ.ศ.๒๕๔๙ – เดือนกุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๕๑ บริเวณปญหา ๓ บริเวณ ณ ที่น่ัน เปนเรื่องของการประทวงและความขัดแยงระหวางประชาชนกับรัฐ การแกปญหานั้นนักวิชาการใหความสําคัญตอมิติเรื่องวัฒนธรรม และการมีสวนรวมของประชาชน

แตกรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชานั้น ประเด็นปญหาคือ ราชอาณาจักรไทยและราชอาณาจักรกัมพูชาตางถือแผนที่คนละฉบับ ดังนั้น มิติการทําความเขาใจและการหาทางออกจึงเปนมิติของเรื่องเขตแดนเปนหลักนํามิติ อ่ืนๆ ไมวาจะเปนวัฒนธรรม ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และเศรษฐกิจ ฯลฯ

ประเด็นสําคัญ ๓ ประเด็นดังกลาว มีดังตอไปน้ี ประเด็นที่๑. ความหมายที่แตกตางกันระหวางคําวา “การปกปนเขตแดน”และ “การสํารวจและจัดทําหลักเขตแดน”

การปกปนเขตแดนของประเทศไทย ในรัชสมัยรัชกาลที่ ๕ ประเทศไทยไดมีการปกปนแนวเขตแดนไวอยางแนชัดกับประเทศเพื่อนบานทั้งสี่ดานรวมกับประเทศชาติมหาอํานาจ ไดแก ดานไทย-ลาว และไทย-กัมพูชา ทํากับประเทศฝรั่งเศส สวนดานไทย-พมา และไทย-มาเลเซีย ทํากับประเทศอังกฤษ ซ่ึงการดําเนินการในขณะนั้นทั้งสองฝายไดจัดทําหลักฐานแสดงแนวเขตไวดวย อาทิเชน สนธิสัญญา อนุสัญญา แผนที่ปกปน และหลักเขตแดน เพ่ือใชในการอางสิทธิ์ดินแดน ทั้งน้ี หลักฐานดังกลาวยังคงมีผลบังคับใชมาจนถึงปจจุบันและสืบสิทธิ์มายังประเทศเพื่อนบานภายหลังไดรับเอกราช สรุปไดวา แนวเขตแดนระหวางประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานไดกําหนดไวแนชัดตั้งแตในอดีตและไมสามารถเปลี่ยนแปลงแนวเขตแดนไปจากที่ตกลงกันไวได การสํารวจและปกปนเขตแดนระหวางประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานนับตั้งแตในอดีตมาจนถึงปจจุบันแบงออกเปน ๒ ยุค ไดแก

Page 3: Preah Vihear

ยุคแรก เปนการสํารวจและปกปนเขตแดนรวมกับประเทศมหาอํานาจ เรียกวา “การสํารวจและปกปนเขตแดน” (Delimitation) ยุคปจจุบัน เปนการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนรวมกับประเทศเพื่อนบานโดยตรง เรียกวา “การสํารวจและจัดทําหลักเขตแดน” (Demarcation)

การกลาวอางวา “การปกปนเขตแดนยังไมแลวเสร็จ” อางถึงขาราชการกระทรวงการตางประเทศ นายเชิดชู รักตะบุตร ผูเปนพยาน ไดใหถอยคําตอศาลปกครองวา “...การปกปนเขตแดนระหวางประเทศไทยและประเทศกัมพูชา มีคณะกรรมาธิการรวมชายแดนไทย-กัมพูชาที่จัดตั้งขึ้นตามบันทึกความเขาใจระหวางประเทศไทยกับประเทศฝรั่งเศส ปค.ศ.๑๙๐๔ และปค.ศ.๑๙๐๗ รวมความยาวพื้นที่ชายแดนประเทศไทยทีต่ดิตอประเทศกัมพูชา ๗๙๘ กิโลเมตร ที่ยังเจรจาปกปนเขตแดน ยังไมสําเร็จ ซ่ึงรวมทั้งเขตแดนบริเวณเขาพระวิหารดวย จึงเชื่อวายังไมมีการปกปนเขตแดนระหวางประเทศไทยและประเทศกัมพูชาในบริเวณเขตแดนปราสาทพระวิหาร โดยคณะกรรมาธิการรวมชายแดนไทย-กัมพูชา ซ่ึงเปนที่ยอมรับของประเทศทั้งสองแตประการใด...” (อางคําสั่งศาลปกครองกลาง คําสั่งกําหนดมาตรการหรือวิธีการคุมครองเพื่อบรรเทาทุกขชั่วคราวกอนการพิพากษา,คดีหมายเลขดําที่ ๙๘๔/๒๕๕๑ วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๑ หนา ๑๕) และยังไดกลาวไวในสมุดปกขาว กระทรวงการตางประเทศ กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก หนา ๒๒ กลาววา “...ขณะน้ียังอยูระหวางการรอปกปน เขตแดนระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของของประเทศทั้งสองภายใตกรอบคณะกรรมการเขตแดนรวม” ผลเสียจากการอางวาการปกปนเขตแดนยังไมแลวเสร็จ

• สิ่งสําคัญที่สุดคือ การอางวา”การปกปนเขตแดน(Delimitation)ยังไมแลวเสร็จ”น้ัน นํ้าหนักในการอางสิทธิเหนือดินแดนยอมนอยกวาการอางสิทธิเหนือดินแดนที่อยูในขั้นตอนของ”การสํารวจและจัดทําหลักเขตแดน” และทําลายความชอบธรรมในการอางอธิปไตยของชาติเหนือดินแดนตลอดแนวชายแดนไทย-กัมพูชา ณ บริเวณที่อาง

• ทําใหอางความชอบธรรมในการเปลี่ยนแปลงเสนเขตแดนของประเทศ หรือจัดการปญหาเรื่องเขตแดนที่ไมมีความโปรงใสอยางกรณีน้ี

• จะเปนการจงใจหรือไมก็ตาม การอางดังกลาวนี้เปนการเอ้ือประโยชนใหกัมพูชาอางสิทธิเหนือดินแดนไทย

ขอเท็จจริง

• การปกปนเขตแดนระหวางประเทศไทยและประเทศกัมพูชานั้น กระทําเสร็จสิ้นโดยสมบูรณแลวตามสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๙๐๔ (ร.ศ.๑๒๒)ซ่ึงเปนหนังสือสนธิสัญญาใหญ แมตอมาภายหลังจะมีการทําสนธิสัญญาปกปนเขตแดนระหวางสยาม-ฝรั่งเศสบริเวณกัมพูชาอีกครั้งในป ค.ศ.๑๙๐๗ โดยเริ่มจากชองเสม็ดไปสิ้นสุดที่ชองเกล(หางจากเขาพระวิหารมาทางทิศตะวันตกประมาณ ๙๐ กิโลเมตร) ดังนั้นเขตแดนอันเปนผลจากสนธิสัญญาปกปนเขตแดนทั้ง ๒ ฉบับ จึงมาบรรจบกันที่ชองเกลน้ี และไมไดมีผลยกเลิกแนวเขตแดนบริเวณเขาพระวิหาร(สนธิสัญญา ๑๙๐๔) ซ่ึงยังคงยึดถือตามสันปนน้ําแตประการใด จึง

Page 4: Preah Vihear

สรุปวาการปกปนเขตแดนระหวางประเทศไทยและประเทศกัมพูชานั้นไดเสร็จสิ้นโดยสมบูรณแลวโดยไมมีขอสงสัยใดๆ นับจนถึงปจจุบันเปนเวลาถึง ๑๐๔ ป(ค.ศ.๒๐๐๘)

• ประเทศกัมพูชาเปนอดีตประเทศในอารักขา(อาณานิคมอินโดจีน)ของฝรั่งเศส ดังน้ันเม่ือไดรับเอกราชแลวยอมเปนผูสืบสิทธิตางๆตอจากฝรั่งเศส สนธิสัญญาหรือพันธะกรณีใดๆที่ฝรั่งเศสไดทําไวกับประเทศไทย(สยาม)ไมวาจะเปนสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๙๐๔ และสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๙๐๗ยอมมีผลผูกพันกัมพูชาดวย ดังนั้นกัมพูชาจะปฏิเสธการยอมรับผลของการปกปนฯที่เกิดขึ้นและเสร็จสิ้นมาแลวน้ันไมได

• ดังนั้นยอมยืนยันไดอยางแนนอนวา ไมมีพ้ืนที่ทับซอนระหวางไทยกับกัมพูชา เพราะไดมีการปกปนกันเอาไวชัดเจนแลวตามสนธิสัญญา แมวากัมพูชาจะอางแผนที่คนละฉบับกับไทย แตแผนที่ที่กัมพูชาใชน้ันไมถูกตองตรงตามสนธิสัญญา จึงไมสามารถใชเปนหลักฐานอางอิงเหนือสนธิสัญญาได

• Joint Boundary Committee;JBC หรือคณะกรรมาธิการชายแดนรวมไทย-กัมพูชาเปนคณะทํางานที่ตั้งขึ้นตามบันทึกความเขาใจของรัฐบาลทั้งสองฝาย(Memorandum of Understanding;MOU) เม่ือวันที่ ๑๔ มิ.ย.พ.ศ.๒๕๔๓ ใหทําการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดน(Demarcation)ทางบกตลอดแนว ตามที่ไดมีการเจรจาปกปนกันไวแลวตามสนธิสัญญาและอนุสัญญา ค.ศ.๑๙๐๔ (พ.ศ.๒๔๔๗) ไมใชทําหนาที่ปกปนเขตแดนตามที่บุคคลตางๆกลาวอาง เพราะไดเสร็จสิ้นไปแลวตามคําอธิบายขางตน

• เจาหนาที่กองเขตแดน กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศและเจาหนาที่กรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด ยอมเปนผูที่รูเรื่องน้ีตลอดจนเทคนิคขั้นตอนตางๆดีที่สุด แตก็ยังพยายามพูดขอมูลอันเปนเท็จทําใหเกิดความเขาใจผิดและเกิดความสับสนอยูตลอดเวลา

ประเด็นที่๒. การรับรองแผนที่ของกัมพูชาเปน “แผนที่คณะกรรมการปกปนสยามฝรั่งเศส”

ประเด็นสําคัญของการอางคําวา”แผนที่คณะกรรมการปกปนสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๙๐๔” คือ การบิดเบือนขอเท็จจริงและเปนการรับรองแผนที่ของกัมพูชา

ตามที่กระทรวงการตางประเทศของไทยไดใชคําวา”แผนที่คณะกรรมการปกปนสยาม-ฝรั่งเศส”เรียกแผนที่ซ่ึงกัมพูชาใชยึดถือเปนเสนเขตแดนระหวางประเทศไทยและประเทศกัมพูชา ดังปรากฏในเอกสารแนบหมายเลข ๒ ในหนังสือกระทรวงการตางประเทศ หมายเลข กต.๐๘๐๓/๔๕๓ สงไปยังราชเลขาธิการ เรื่อง ผลการดําเนินการและการเจรจาของกระทรวงการตางประเทศกรณีกัมพูชาขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก ลงวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๑ และกลาวอีกหลายครั้งในสมุดปกขาวของกระทรวงการตางประเทศ เรื่อง กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก เปนการกลาวในลักษณะยอมรับสถานภาพของแผนที่ของกัมพูชาวาเปนแผนที่ของคณะกรรมการปกปนรวมสยาม-ฝรั่งเศส ทําขึ้นรวมกันตามสนธิสัญญา ค.ศ.๑๙๐๔ และกัมพูชาเปนผูใชแผนที่ฉบับน้ีในปจจุบัน ในขณะเดียวกันทําใหแผนที่ L๗๐๑๗ ซ่ึงประเทศไทยใชยึดถือน้ันมีสถานะดอยกวาแผนที่ของกัมพูชา

Page 5: Preah Vihear

ขอเท็จจริง

• แผนที่ของกัมพูชา มาตราสวน ๑/๒๐๐,๐๐๐ ดังกลาวเปนแผนที่ซ่ึงฝรั่งเศสจัดทําขึ้นฝายเดียวโดยไมไดรับการรับรองจากคณะกรรมการผสมสยาม-ฝรั่งเศส ตามสนธิสัญญา ค.ศ.๑๙๐๔ แตประการใด เน่ืองจากคณะกรรมการผสมชุดดังกลาวไดยุบเลิกไปในเดือนมีนาคม ๑๙๐๗ กอนที่จะมีการจัดทําแผนที่ฉบับดังกลาวขึ้นมาเปนเวลาถึง ๑ ป สวนแผนที่ฉบับน้ี(๑ /๒๐๐ ,๐๐๐) ไดถูกพิมพขึ้นที่กรุงปารีส ในระหวางฤดูรอนป ค .ศ .๑๙๐๘ ดังน้ันคณะกรรมการผสมที่ตั้งขึ้นตามสนธิสัญญา ๑๙๐๔ จึงไมมีโอกาสไดเห็นแผนที่ฉบับดังกลาวเลย ดังน้ันยอมเปนไปไมไดที่จะกลาววาแผนที่ฉบับน้ี(๑/๒๐๐,๐๐๐)เปนแผนที่ของคณะกรรมการปกปนสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๙๐๔

• แผนที่ ๑/๒๐๐,๐๐๐ ฉบับดังกลาวนั้น กัมพูชาเคยใชเปนเอกสารแนบทายคําฟอง(แผนที่ผนวก๑) ในคดีปราสาทพระวิหาร ตอศาลยุติธรรมระหวางประเทศ(The International Court of Justice)หรือศาลโลก ตั้งแตป พ.ศ.๒๕๐๒-๒๕๐๕ ดังปรากฏวา ในคําขอทั้ง ๕ ขอที่กัมพูชาขอใหศาลชี้ขาดนั้น ศาลไดตัดสินใหกัมพูชาชนะเพียง ๓ ขอ(ขอ๓,๔,๕) คือ (ขอ๓)กัมพูชามีอธิปไตยเหนือพ้ืนที่ที่ตัวปราสาทตั้งอยู (ขอ๔)ขอใหไทยถอนกองกําลังทหาร ตํารวจหรือยามออกจากออกจากบริเวณใกลเคียง (ขอ๕)ขอใหไทยคืนวัตถุโบราณที่หายไปจากปราสาทหลัง ค.ศ.๑๙๕๔ โดยไมไดระบุรายการวามีอะไรบาง(คําพิพากษาหนา๓๕/๓๗) สวนขอ๑ และขอ๒ น้ันศาลมิไดชี้ขาดวา แผนที่ ๑/๒๐๐,๐๐๐ น้ันเปนแผนที่ที่ทําขึ้นโดยไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการผสมทั้งสองฝาย หรือมีสถานภาพตามกฎหมายที่ถูกตอง และขอ๒ ศาลไมไดชี้ขาดวา เสนเขตแดนที่ปรากฏในแผนที่ ๑/๒๐๐,๐๐๐ ของกัมพูชาเปนเสนเขตแดนที่ถูกตองระหวางไทยกับกัมพูชา

• ผูพิพากษา ๓ ทาน ไดใหความเห็นตอแผนที่ ๑/๒๐๐,๐๐๐ ของกัมพูชาไวอยางชัดเจนวา ๑) แผนที่ผนวก๑ น้ันผิดพลาดไมถูกตองในบริเวณปราสาทพระวิหาร ๒) เสนเขตแดนที่ปรากฏในแผนที่ผนวก๑ น้ันคลาดเคลื่อน และ ๓) เสนสันปนนํ้าตามสนธิสัญญา ค.ศ.๑๙๐๔ อยูที่ขอบหนาผาในบริเวณปราสาทคือเสนเขตแดนปนปราสาททั้งหมดใหอยูในเขตไทย (อาง คําพิพากษาศาลโลก คดีปราสาทพระวิหาร /ความเห็นแยงของ Sir Percy Spender, Wellington Koo, Moreno Quintana และยังมีคําพิพากษา(เอกเทศ)ของ Sir Gerald Fitzmaurice)

ดังน้ันจึงสรุปไดวาแผนที่๑/๒๐๐,๐๐๐ ของกัมพูชา ไมใชแผนที่ของคณะกรรมการปกปนรวมสยาม-ฝรั่งเศสตามสนธิสัญญา ค.ศ.๑๙๐๔ เปนเสนเขตแดนที่ขัดแยงกับสนธิสัญญาค.ศ.๑๙๐๔ และเปนเสนเขตแดนที่ไมทราบวาใครเปนผูลากไวโดยปราศจากอํานาจ จึงเปนแผนที่โคมลอยที่เชื่อถือไมได (ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช คดีเขาพระวิหาร ๒๕๐๕ : โรงพิมพสํานักทําเนียบนายกรัฐมนตรี สี่แยกซังฮ้ี ถนนสามเสน พระนคร หนา ๔๗/๔๘)

Page 6: Preah Vihear

ประเด็นที่๓. การเขาใจผิดเรื่อง“เสนเขตแดนตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕” จากการที่กระทรวงการตางประเทศของไทยและกรมแผนที่ทหารและหนวยราชการตางๆ

ของไทยไดเกิดความเขาใจผิดวา เสนแสดงเขตที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเม่ือวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๐๕ ใหกั้นแนวปราสาทพระวิหาร ซ่ึงเปนการปฏิบัติตามคําตัดสินของศาลโลกที่ระบุวาไทยตองถอนกองกําลังออกจากบริเวณปราสาทพระวิหารนั้นเปนเสนเขตแดน หรือความเขาใจผิดวามติครม.๒๕๐๕ น้ันเปนการเปลี่ยนเสนเขตแดนของไทย ดังปรากฏขอความตอไปน้ีในสมุดปกขาวของกระทรวงการตางประเทศวา “...คณะรัฐมนตรีในขณะนั้น ไดมีมติใหคืนตัวปราสาทและพื้นที่โดยรอบปราสาทไปตามที่ศาลโลกตัดสิน และไดมีการกําหนดขอบเขตเสนเขตแดนไทยบริเวณนี้ตามที่ไทยยึดถือใหม ซ่ึงยังคงยึดถือตามสันปนน้ําเปนหลัก เพียงแตไดกันเอาเขตตัวปราสาทพระวิหารออกคืนไปใหกัมพูชา เสนเขตแดนตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕ น้ี ยังเปนเสนเขตแดนที่หนวยราชการตางๆของไทยยึดถือมาจนถึงปจจุบันนี้...” (อาง สมุดปกขาวกระทรวงการตางประเทศ มิถุนายน ๒๕๕๑ กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก หนา ก บทสรุปผูบริหาร)

และตามที่กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ ไดทําเอกสารกลาวหาวา รัฐบาลไทยโดย ฯพณฯ ถนัด คอมันตร รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ (เม่ือพ.ศ.๒๕๐๕) ไดมีหนังสือแจงเลขาธิการสหประชาชาติ และ ”....โดยไดสงแผนที่แสดงพื้นที่ตั้งของปราสาทพระวิหาร ซ่ึงสอดคลองกับที่มติคณะรัฐมนตรี พ.ศ.๒๕๐๕ (เอกสารแนบ๓) และขอใหเลขาธิการสหประชาชาติแจงใหสมาชิกสหประชาชาติทราบวาไทยปฏิบัติตามคําพิพากษาโดยสละอธิปไตย (relinquished her sovereignty) เหนือพ้ืนที่ซ่ึงเปนที่ตั้งปราสาทพระวิหารตามแผนที่ดังกลาว...” ( อาง กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กต. เอกสารชี้แจง เร่ือง ภูมิหลังและคําชี้แจงเกี่ยวกับการสนับสนุนการขึ้นทะเบียนมรดกโลกปราสาทพระวิหาร ลง วันที่ ๒๗ มิ.ย. ๕๑ เวลา ๒๒.๐๐ น.) ขอเท็จจริง

• ตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๐๕ และหนังสือสั่งการลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๐๕ ใหกระทรวงมหาดไทยไปจัดทําแนว ทําปายและกั้นรั้วลวดหนามรอบปราสาทพระวิหารนั้น เปนการกั้นแนวเจตนาเพื่อเปนการแสดงแนวปฏิบัติการ(Operational Line)ของเจาหนาที่ฝายไทย และเปนการปฏิบัติตามคําตัดสินของศาลโลกที่ระบุวาไทยตองถอนกองกําลังออกจากบริเวณปราสาทพระวิหาร ไมใชเปนการกําหนดเสนเขตแดน(Border Line) ใหม (อาง มติครม.วันที่ ๑๐ ก.ค.๒๕๐๕ และหนังสือสั่งการของเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ มท.๘๑๗๖/๒๕๐๕ ถึงรมว.มหาดไทย เรื่อง การปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาลโลกในคดีปราสาทพระวิหาร ลงวันที่ ๑๑ ก.ค.๒๕๐๕)

ดังน้ันมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕ จึงไมใชการเปลี่ยนเสนเขตแดนของไทย เสนเขตแดนของไทยที่เขาพระวิหารยังอยูที่สันปนน้ําเหมือนเม่ือกอนที่ศาลโลกตัดสินทุกประการ

• แผนที่แสดงการกั้นแนวเขตตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕ ที่ปรากฏอยูในสมุดปกขาว(เอกสารแนบ๓) ของกระทรวงการตางประเทศนั้น (รูปภาพที่๑) แสดงการลากเสนตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕ ครอบคลุมบันไดทางขึ้นทั้งหมดใหเปนของกัมพูชา ซ่ึงคลาดเคลื่อนไปจากหลักฐานอื่นๆที่ปรากฏ เชน หนังสือกระทรวงมหาดไทย ในขอเสนอทางเลือกที่๒ ที่เสนอวา “...กําหนดพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผาครอบปราสาทพระวิหาร มีแนวเขตจากปกขวาของ

Page 7: Preah Vihear

ตัวปราสาทพระวิหารตั้งแตชองบันไดหัก (ชองบันไดหักอยูในบริเวณปราสาทพระวิหาร) ลากเสนตรงผานชิดบันไดนาค ตรงไปจนถึงปราสาทพระวิหาร แลวลากเสนตรงขนานกับตัวปราสาทพระวิหารไปสุดที่หนาผาชันดานหลังปราสาทพระวิหาร จะเปนเนื้อที่บริเวณปราสาทพระวิหารประมาณ ๑/๔ ตารางกิโลเมตร...” (อาง หนังสือกระทรวงมหาดไทย เลขที่๑๑๔๖๗/๒๕๐๕ เร่ือง การปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาลโลกในคดีปราสาทพระวิหาร ลงวันที่ ๖ ก.ค.๒๕๐๕)

และขอความดังกลาวปรากฏอยูในสมุดปกขาวของกระทรวงการตางประเทศดวยเชนกนัในหนาที่๒ วา”…มติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๐๕ รัฐบาลไทยไดคืนตัวปราสาทพระวิหารใหแกกัมพูชา โดยกําหนดขอบเขตพื้นที่ที่คืนใหแกฝายกัมพูชาทางทิศเหนือที่ระยะ ๒๐ เมตร จากบันไดนาคไปทางตะวันออกจนถึงชองบันไดหัก และทางทิศตะวันตกที่ระยะ ๑๐๐ เมตรจากแกนของตัวปราสาทไปทางทิศใตจนจรดขอบหนาผา...”

• การที่กระทรวงการตางประเทศกลาววาแนวดังกลาวเปนเสนเขตแดนจะเทากับเปนการยกพ้ืนที่รอบตัวปราสาทซึ่งนอกเหนือจากคําตัดสินของศาลโลกใหเปนของกัมพูชาโดยปริยาย การนําเอาแผนที่ที่ผิดมาใชอางดังน้ีจะโดยจงใจหรือไมก็ตาม จะทําใหเกิดผลเสียหายตามมาอยางนอย ๓ ประการคือ ประการที่๑ ยกพื้นที่รอบตัวปราสาทนอกเหนือจากคําตัดสินของศาลโลกใหกัมพูชา ประการที่๒ ยกบันไดทางขึ้นปราสาทตั้งแตขั้นที่ ๑-๑๖๒ ซ่ึงเคยเปนของไทยใหกับกัมพูชา ประการที่๓ ละทิ้งการสงวนสิทธิของไทยเหนือปราสาทพระวิหารและพ้ืนที่โดยรอบปราสาท

• คณะรัฐมนตรีเม่ือ พ.ศ.๒๕๐๕ ไมไดยกบันไดทางขึ้นปราสาทใหกัมพูชา และไดทําประตูเหล็กกั้นบันไดทางขึ้น(รูปภาพที่๒) ซ่ึงไทยครอบครองบันไดทางขึ้นหลักตั้งแตขั้นที่๑-๑๖๒ มาตั้งแตพ.ศ.๒๕๐๕ แมกัมพูชาจะอางวาการกั้นรั้วลวดหนามรอบตัวปราสาทและประตูเหล็กนี้ไทยเปนผูจัดทําขึ้นเพียงฝายเดียวก็ตาม แตกัมพูชาก็ยอมรับและปฏิบัติตามมาเปนเวลาหลายสิบป(พ.ศ.๒๕๐๕-๒๕๔๒) เปนการยืนยันวาประเทศไทยเปนผูครอบครองทางขึ้นหลักของปราสาทพระวิหารมากอนที่กัมพูชาจะนําเอาไปขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก

• ศาสตราจารย ดร.สมปอง สุจริตกุล อดีตเจาหนาที่กระทรวงการตางประเทศ ผูปฏิบัติหนาที่โดยตรงในขณะนั้น เปนผูรางหนังสือแจงเลขาธิการสหประชาชาติฉบับดังกลาวใหแก ฯพณฯ ดร.ถนัด คอมันตร ดวยตนเอง ยืนยันวา หนังสือฉบับดังกลาว(ซ่ึงรางเอง)ไมมีการแนบแผนที่แสดงที่ตั้งตัวปราสาทพระวิหารตามที่กระทรวงการตางประเทศกลาวอางแตอยางใด และในหนังสือฉบับดังกลาวก็ไมปรากฏวามีการแนบ(attach)เอกสารใดๆตรงตามที่ ศ.ดร.สมปอง สุจริตกุล ยืนยันทุกประการ (อาง Ministry of Foreign Affairs NOTE TO U.N. ACTING SECRETARY-GENERAL No.(0601)22239/2505 July 6,B.E.2505(1962))

Page 8: Preah Vihear

ภาพที่๑ แผนที่ ๑/๒๐๐,๐๐๐ ของกัมพูชา

Page 9: Preah Vihear

ภาพที่๒ อางวาเปนเสนเขตแดนตามมติครม.๒๕๐๕

Page 10: Preah Vihear

ภาพที่๓ ประตูเหล็กและรั้วลวดหนามตามมติครม.๒๕๐๕

ภาพที่๔ แผนที่แนบทายแถลงการณรวม รวมเอาบันไดของไทยไปดวยทั้งหมด

Page 11: Preah Vihear

เอกสารแสดงการกําหนดบริเวณปราสาทพระวิหาร ตามมติคณะรัฐมนตรี พ.ศ.๒๕๐๕ (หนา๑)

Page 12: Preah Vihear

เอกสารแสดงการกําหนดบริเวณปราสาทพระวิหาร ตามมติคณะรัฐมนตรี พ.ศ.๒๕๐๕ (หนา๒)

Page 13: Preah Vihear

เอกสารแสดงการกําหนดบริเวณปราสาทพระวิหาร ตามมติคณะรัฐมนตรี พ.ศ.๒๕๐๕ (หนา๓)

Page 14: Preah Vihear

แผนที่น้ีมีพิรุธ ๒ ประการ ๑) ศ.ดร.สมปอง สุจริตกุล ยืนยันวาหนังสือ ดร.ถนัด คอมันตร ไมมีการแนบแผนที่ใดๆทั้งสิ้น

(ดูเน้ือหาในหนา๖ ของเลม) ๒) เปนแผนที่ซึง่ระบแุนวปฏิบัติการตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕ (ไมตรงกับรายละเอียดในแบบที่๒)

Page 15: Preah Vihear

ไทยไมควรขึ้นทะเบียนรวม

เอกสารสําคัญที่ใชเปนหลักฐาน (นอกเหนือจากการสนับสนุนอยางแข็งขันและการรับรองอยางไมรักษาผลประโยชนของประเทศชาติ แลว) มี

1. รางขอมติ 32COM 8B.102 (หรือ Draft Decision 32COM) 2. Statement by Mr.Pongpol , Chairman of NWHCT at the 32nd Session of the

WHC. July 7 , 2008 3. Joint Communiqué. June 18 , 2008 4. สมุดปกขาวของกระทรวงการตางประเทศ เร่ือง กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร

เปนมรดกโลก ในชวงที่กัมพูชาขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกนั้น รัฐบาลไทยแสดง

ทาทีสนับสนุนอยางแข็งขัน รวมทั้งใหการรับรองเสมือนไมรักษาผลประโยชนของประเทศชาติ อาจรวบรวมใหเห็นไดดังน้ี

การสนับสนุนอยางแข็งขัน และการรับรองอยางไมรักษาผลประโยชนของประเทศชาติ

• อางวา การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา ไมเสียดินแดน และไมกระทบอธิปไตยเหนือดินแดนของไทย

• อางวา กัมพูชามีสถานภาพการถือครองตัวปราสาทมาตั้งแตป พ.ศ.2505 ที่ไทยมอบการถือครองใหตามคําพิพากษาของศาลโลก โดยไมบงชี้ หรืออาจจะเรียกไดวา ปฏิเสธการสงวนสิทธิของไทย

• อางวา การปกปนเขตแดนยังไมแลวเสร็จ ซ่ึงเปนเท็จ (มีเอกสารแนบ)

• อางวา แผนที่ของกัมพูชาเปนแผนที่คณะกรรมการปกปนสยาม-ฝรั่งเศส ซ่ึงเปนเท็จ (มีเอกสารแนบ)

• การบิดเบือนไปถือเอาเสนปฏิบัติการ (Operation Guide Lines) เปนเสนเขตแดนตามมติครม. 2505 ซ่ึงเปนเท็จ (มีเอกสารแนบ)

• เบี่ยงเบนขอเท็จจริง รวมถึงหลีกเลี่ยงที่จะบอกถึงเรื่องพ้ืนที่กันชน (Buffer Zone) และแผนจัดการพื้นที่รอบปราสาท ซ่ึงเปนเรื่องที่คณะกรรมการมรดกโลกกําหนดไวตามขอบัญญัติ

ปรากฏการณหลังมติขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก เราจะเห็นทาทีของนายปองพล อดิเรกสาร (ประธาน NWHCT) เสนอตอสังคม ใหไทยขึ้นทะเบียนรวมองคประกอบตางๆของปราสาทพระวิหารในฝงไทย

Statement ของนายปองพล อดิเรกสาร ตอ WHC เม่ือวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2551(ค.ศ.2008) มีสาระสําคัญที่หนา 3 ของเอกสาร ที่วา

Page 16: Preah Vihear

“ The inscribtion of Preah Vihear should be further retended with the cooperation of Thailand and should be developed into a model case of transboundary nomination, and even a mixed cultural and natural nomination…”

และยอหนาสุดทายวา “ We are thankful that the committee has agreed that would be desirable in the future to possible inscribtion to capture criteria (iii) and (iv). To do this I strongly believe, the cultural and natural landscapes on the northern part of the Temple which lie in the Thai territory……”

ศ.ดร.อดุล วิเชียรเจริญ อดีตประธาน NWHCT เม่ือใหสัมภาษณขอคิดเห็นของทานตอทีมนักวิชาการ ไดเตือนเร่ืองการขึ้นทะเบียนแบบ mixed cultural and natural nomination ทั้งๆที่เอกสาร Draft Decision 32 COM ยังไมออกเผยแพร รวมทั้งเตือนเรื่อง ICC ดวยวาเปนประวัติการณ ไมเคยมีที่ไหน แมที่น้ันจะมีปญหาอยางมาก เชน กรณีกรุงโรม-นครวาติกัน ,Statement ของนายปองพล อดิเรกสาร ตองเทียบกับรางขอมติ (Draft Decision) และสาระในแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา (Joint Communiqué) จึงจะเห็นความจงใจของ “ผูกระทํา” รวมถึงหายนะที่จะเกิดขึ้นตอประเทศไทย ขยายความใน Joint Communiqué (แถลงการณรวมไทย-กัมพูชา)

• แถลงการณรวมขอที่๑ ในสวนของพื้นที่น้ันกลาววา “...ผังของการขึ้นทะเบียนครั้งนี้ถูกแสดงโดยหมายเลข๑ ในแผนที่ซ่ึงเตรียมโดยเจาหนาที่ผูมีอํานาจของกัมพูชาที่แนบมาดวยนี้ และหมายเลข๒ ซ่ึงเปนพ้ืนที่กันชน(Buffer Zone)ทางดานทิศตะวันออกและทิศใตของตัวปราสาท…” ในสวนของหมายเลข๑จะเห็นวาแทจริงแลวกัมพูชาไมมีสิทธินอกเหนือจากตัวปราสาทเลย(โปรดดูคําอธิบายของนักวิชาการเรื่อง การเขาใจผิดเรื่องเสนเขตแดนตามมติครม.๒๕๐๕) การยอมใหกัมพูชานําพื้นที่รอบตัวปราสาทไปขึ้นทะเบียนเพียงฝายเดียวจึงเทากับเปนการยินยอมยกดินแดนใหกัมพูชา

• แถลงการณรวมขอที่๒ กลาวไวราวกับกัมพูชาเปนเจาของพื้นที่วา “ดวยเจตนารมณแหงมิตรไมตรี และการประนีประนอม ราชอาณาจักรกัมพูชายอมรับวาการยื่นเสนอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกในขั้นนี้จะยังไมรวมพ้ืนที่กันชนทางดานทิศเหนือและทิศตะวันตกของตัวปราสาท” หมายความวาในขั้นตอไปจะตองผนวกรวมพื้นที่กันชนทางดานทิศเหนือและทิศตะวันตกรวมเขาไปดวย โดยพื้นที่ดังกลาวเปนดินแดนไทย เทากับวาไทยจะตองยกพื้นที่อันเปนของไทยรวมเขาไปกับมรดกโลกของกัมพูชาดวย แตในแผนที่ฉบับน้ีกลับไมปรากฏเสนเขตแดนของไทย ยอมแสดงใหเห็นเจตนาอยางชัดแจงวากัมพูชาถือเอาพื้นที่บริเวณเขาพระวิหารทั้งหมดอยูในเขตแดนของกัมพูชา

• แถลงการณรวมขอที่๓ กลาววา “แผนที่ที่กลาวถึงในยอหนาที่๑ กอนหนานี้จะใชแทนแผนที่ทั้งหมดตลอดจนรูปภาพอางอิงตางๆที่แสดงใหเห็นเขตคุมครอง(Core Zone) และการกําหนดเขตอื่นๆ(other zonage)ในบริเวณปราสาทพระวิหาร” ขอน้ีเปนปญหา

Page 17: Preah Vihear

มาก เพราะพื้นที่หมายเลข๓ ยังไมมีการระบุเขตที่ชัดเจนและจะเกิดปญหาการรุกล้ําเขตแดนไทยซึ่งเปนบริเวณอุทยานแหงชาติเขาพระวิหาร

• แถลงการณรวมขอที่๔ กลาววา “ในระหวางที่ยังไมมีผลของการปฏิบัติงานของคณะกรรมาธิการเขตแดนรวม(JBC) พ้ืนที่รอบปราสาทดานทิศเหนือและทิศตะวันตกที่กลาวถึงในหมายเลข๓ ตามแผนที่ขางบนนั้น พ้ืนที่น้ีจะมีการจัดทําแผนบริหารจัดการรวมกันโดยเจาหนาที่ผูมีอํานาจของกัมพูชาและไทย อยางสอดคลองกับมาตรฐานการอนุรักษในระดับสากล เพ่ือธํารงรักษาคุณคาอันเปนสากลของตัวปราสาท ทั้งนี้จะรวมเอาแผนบริหารจัดการพื้นที่น้ีเขาไวในแผนบริหารจัดการขั้นสุดทายสําหรับตัวปราสาทและพ้ืนที่โดยรอบ ซ่ึงจะถูกบรรจุเขาไวในศูนยมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก สมัยที่๓๔ ในวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๐๑๐” ในขอน้ีจะเห็นวาการบริหารจัดการพ้ืนที่รวมจะจัดทําขึ้นโดยกัมพูชาและไทย แตผลจากการขึ้นทะเบียนมรดกโลกเมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ที่ผานมานั้น ปรากฏวาจะมีหนวยงานของ ๗ ประเทศเขามารวมทําแผนบริหารจัดการพื้นที่โดยประเทศไทยจะเปนเพียงหนึ่งในนั้น ซ่ึงจะเปนผลเสียและจะเปนปญหายุงยากสําหรับไทยตามมาอีกมากมาย เชน อธิปไตยเหนือดินแดนเขาพระวิหาร สิทธิสภาพนอกอาณาเขต การสํารวจและจัดทําหลักเขตแดน ปญหาสิ่งแวดลอม การบังคับใชกฎหมายอุทยานของไทย ฯลฯ

• แถลงการณ ร วมข อที่ ๕ กล าวว า “การสํ า รวจและจัดทํ าหลัก เขตแดนของคณะกรรมาธิการรวม(JBC)จะไมละเมิดตอสิทธิของทั้งสองประเทศ ตอการขึ้นทะเบียนมรดกโลกของกัมพูชานั้น ที่จะเปนปญหาจากแถลงการณรวมขอน้ีคือ หากมีการสํารวจและจัดทําหลักเขตแดนมาถึงบริเวณปราสาทพระวิหารนี้ กัมพูชาสามารถจะอางไดวาพ้ืนที่เขาพระวิหารทั้งหมดเปนดินแดนของกัมพูชา เพราะกัมพูชามีขอไดเปรียบดังน้ี

๑) กัมพูชามีทาทีที่ชัดเจนและยืนยันมาตลอดวาเขาพระวิหารอยูในเขตแดนของกัมพูชา ตามแผนที่ ๑/๒๐๐,๐๐๐ โดยไมมีพ้ืนที่ทับซอนกับไทยแตอยางใด

๒) กัมพูชาใชประโยชนในพ้ืนที่เขาพระวิหารมากกวาไทยโดยมีหลักฐานยืนยัน เชน การตั้งชุมชนบานเรือนรานคาบริเวณทางขึ้นตัวปราสาท การตั้งชุมชนและวัดทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตัวปราสาท การตัดถนนจากบานโกมุยขึ้นมาที่ตัวปราสาทพระวิหาร

๓) ไทยไดรับรองแผนที่แนบทายแถลงการณรวมซ่ึงกัมพูชาทําขึ้นโดยไมไดคัดคาน ในกรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร

๔) ทางการไทยยอมรับรองวาแผนที่ ๑/๒๐๐,๐๐๐ ของกัมพูชาเปนแผนที่คณะกรรมการปกปนสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๙๐๔ (อธิบายแลวในเรื่อง การใชคําวาแผนที่คณะกรรมการปกปนฯ)

๕) ทางการไทยยอมให ๗ ประเทศเขามาบริหารจัดการพื้นที่ ทั้งๆที่ไทยเคยยืนยันมาตลอดวาพื้นที่ดังกลาวเปนของไทย เทากับไทยละทิ้งอธิปไตยเหนือเขาพระวิหาร

Page 18: Preah Vihear

๖) ไทยยอมละสิทธิโดยการยอมรับวา”การปกปนเขตแดนยังไมแลวเสร็จ” หมายความวา คณะกรรมาธิการเขตแดนรวมจะไมสามารถจัดทําหลักเขตแดนตามสันปนน้ําได แตอาจจะตองยึดตามแผนที่ของกัมพูชาซึ่งถูกรับรองโดยเจาหนาที่กระทรวงการตางประเทศของไทยวาเปนแผนที่ของคณะกรรมการปกปนรวมสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๙๐๔

ขยายความในรางขอมติ (Draft Decision) รางมติขอสําคัญๆ กับขอที่มีนัยเกี่ยวของกับการขึ้นทะเบียนรวมของไทย มีดังน้ี

• รางมติขอ 8 รับรองแลวเรื่องการข้ึนทะเบียนรวม การที่ฝายไทยแสดงความปรารถนาขอขึ้นทะเบียนรวม ซํ้าแลวซํ้าอีกนั้น มีการรับรองแลวในรางของมติการประชุมที่ควิเบค แคนาดา (รางมติขอ 8) จะเห็นวา มีการคนควาทางโบราณคดี ทั้งที่ ดําเนินการเสร็จแลว1 และที่กําลังดําเนินการอยู ซ่ึงจะสงใหคณะกรรมการมรดกโลกพิจารณาในลักษณะการขึ้นทะเบียนขามพรมแดน (รางมติขอ 10) ดวยเหตุผลวา ประชาชนในพื้นที่โดยรอบไดใหคุณคาปราสาทพระวิหารมาชานาน และเปนการเสนอองคประกอบ เพ่ือสะทอนใหเห็นความสมบูรณและภูมิทัศนของมรดกโลก ดังน้ัน การขอขึ้นทะเบียนมรดกโลกเพิ่มเติมโดยฝายไทยซึ่งเปนผูใหความรวมมือกัมพูชาอยู จะเขาเกณฑขอที่ 3 และ 4 ซ่ึงไดรับการรับรองแลว โดยมีคําตัดสินของคณะกรรมการมรดกโลกที่แคนาดา (รางมติขอ 11) การใหคํารับรองจากการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 32 ที่เมืองควิเบคนี้ จึงเรียกรองเพ่ิมเติมใหรัฐบาลผูใหความรวมมือ และหุนสวนระหวางประเทศอีกไมเกิน 7 ประเทศ เขาตรวจสอบและดําเนินการใหสอดคลองกับมาตรฐานการอนุรักษสากล (รางมติขอ 14)

• นอกจากนี้ ในรางมติขอ ๑๔ ของคณะกรรมการมรดกโลกยังระบุวา ใหรัฐภาคีกัมพูชา โดยความรวมมือกับยูเนสโก ใหจัดการประชุม

คณะกรรมการชาติที่เปนผูคอยดูแลความปลอดภัย และการพัฒนาทรัพยสินไมชากวาเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๒ โดยเชิญใหรัฐบาลไทยเขารวม รวมทั้งชาติหุนสวนระหวางประเทศที่เหมาะสมไมเกิน ๗ ชาติ เพื่อตรวจสอบนโยบายทั่วไป

1

ดูรายงานขอมูลแหลงโบราณคดีและโบราณสถาน บริเวณเขาพระวิหาร อําเภอกันทรลักษณ จังหวัดศรีสะเกษ โดยกองโบราณคดี สํานักศิลปากรที่ 11 อุบลราชธานี กรมศิลปากร ซ่ึงในคํานําระบุวา สืบเน่ืองมาจากการประชุม WHC สมัยที่ 31 มีมติใหทั้งสองประเทศรวมมือกันดําเนินการขอขึ้นทะเบียนมรดกโลกอีกครั้ง ใน พ.ศ. 2551 ซ่ึงจากการประชุม ของคณะทํางานศึกษาขอมูลเชิงวิชาการ เพื่อแกไขรายงานเรื่องปราสาทพระวิหาร ของ ICOMOS เม่ือวันที่ 21 ธันวาคม 2550 ณ หองประชุมกรมศิลปากร เพื่อใหเห็นหลกัฐานทางโบราณคดีวา ภาพรวมของเขาพระวิหารในอดีตเปนศูนยกลางความเชื่อและศรัทธา มิใช

เปนปราสาทที่ตั้งอยูอยางโดดเดี่ยว สําหรับชนชั้นปกครองและนักบวชมาประกอบพิธีกรรมและสักการะเทพเจาเทานั้น (สอด คลองกับมติขอ 15 อนึ่ง นอกจากรายงานขอมูลในทางโบราณคดีและโบราณสถานของกรมศิลปากรแลว ยังจะมีรายงานทางภูมิทัศน ซึ่งกําลังดําเนินการอยูโดยกรมอุทยาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งไดวาจางมหาวิทยาลัยมหิดล ทําแผนแมบทพื้นที่พัฒนารวม อยูขณะนี้ - (วัลยวิภา ชี้)

Page 19: Preah Vihear

เก่ียวกับการคุมครองความปลอดภัยของทรัพยสินที่มีคุณคาโดดเดนเปนสากล ใหสอดคลองกับมาตรฐานการอนุรักษของสากลดวย (“ Requests the State Party of Cambodia, in collaboration with UNESCO, to convene an international coordinating committee for the safeguarding and development of the property no later than February 2009, inviting the participation of the government of Thailand and not more than seven other appropriate international partners, to examine general policy matters relating to the safeguarding of the outstanding universal of the property in conformity with international conservation standards.”)

• ศาสตราจารย ดร.อดุล วิเชียรเจริญ อดีตประธานคณะกรรมการมรดกโลกฝายไทย กอนหนานายปองพล อดิเรกสาร ไดตั้งขอสังเกตกลไกนี้ดวยวา ที่ผานมาไมเคยมีมรดกโลกแหงใด ใชกลไกนี้ เพราะจะทําใหชาติอ่ืน ๆ ที่รวมเขามาอีก ๖ ชาติ เขาแทรกแซงปกปองกัมพูชา และกดดันไทยในการใชอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนที่ตองตกเปนพ้ืนที่กันชน โดยที่กัมพูชาเปนผูกําหนดมาตรการทางกฎหมายและทางบริหารจัดการไวในแผนบริหารจัดการพื้นที่ของทรัพยสินที่ขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกแหงน้ี

นอกจากนี้ การที่ที่ประชุมไมมีการพูดถึงเรื่องน้ี แตพอถึงเวลานี้กลับมีมติ แสดงวา ฝายไทยไมมีการทวงติง ทั้ง ๆ ที่กระทบถึงสิทธิประโยชนของประเทศอยางชัดเจน2 ดวยเรื่องพ้ืนที่กันชน และแผนบริหารจัดการพื้นที่น้ียังไมคิดวิตกกังวลวา จะมีวาระซอนเรนอยูอีก เพราะที่เห็นในเวลานี้ ก็ยังเปนเพียงรางของมติหรือ Draft Decision ซ่ึงยังไมใชมติตัวจริงที่จะใหเห็นวาเปนอยางไรไดอีก

• ใหกัมพูชาสงแผนที่แสดงรายละเอียดเพ่ิมเติมของทรัพยสินที่ขอขึ้นทะเบียน และแผนที่กําหนดขอบเขตของพื้นที่กันชน ที่ระบุใน RGPP (รางมติขอ ๑๕ (a))

• เอกสารคําขอขึ้นทะเบียนลาสุดที่แสดงถึงความแตกตางจากเดิมอันสะทอนใหเห็นความครบถวนสมบูรณของทรัพยสิน (รางมติขอ15) ความหมายของขอน้ีเปนอยางไรนั้นโปรดนึกถึงการเสนอขึ้นทะเบียนองคประกอบของปราสาทพระวิหารฝงไทย ในลักษณะการขึ้นทะเบียนขามพรมแดน ที่ ICOMOS ไทย และ นายปองพล อดิเรกสาร ประธานคณะกรรมการมรดกโลกฝายไทย พยายามเสนอ และมีนายพิษณุ สุวรรณชฏ รองอธิบดีกรมเอเชียตะวันออก กระทรวงการตางประเทศ เปนตัวหลักในการดําเนินการ)

• สุดทาย กัมพูชาจะตองสงเพ่ิมเติมแผนบริหารจัดการที่สมบูรณ ใชคําวา “Full Management Plan” สําหรับการขึ้นทะเบียนมรดกโลก รวมทั้งแผนที่ที่ทําเปนยกสุดทาย ( a finalized map) ซ่ึงตอนแรกไดสงแผนที่แสดงขอบเขตของตัวปราสาทที่ขอ

2

เมื่อดูขอเท็จจริงจาก Draft Decision ขอ 5 อาจพิจารณาไดวาเปนวิธีการตลบหลังคําส่ังศาลปกครอง ของคณะกรรมการมรดกโลก ดวยความรวมมอืของฝายไทย –(วัลยวภิา ชี้)

Page 20: Preah Vihear

ขึ้นทะเบียนแตยังไมกําหนด”พ้ืนที่ทับซอน” ขั้นตอมาคือกําหนดพื้นที่อนุรักษในพ้ืนที่ทับซอน และสุดทายสงแผนที่ใหมซ่ึงแสดงขอบเขตพื้นที่ตางๆ พิกัดอางอิงทางภูมิศาสตร แทนแผนที่เดิมทั้งหมด จึงเปนขอสังเกตวา สอดคลองกับการวางแผนรวมกันใหมีการเสนอรวมเขาไปอีกกับปราสาทพระวิหารที่ไดรับการขึ้นทะเบียนมรดกโลกแลว ถือวาเปนการประเคนใหกัมพูชาอยางสมบูรณ

ความสมบูรณจะมีผลเม่ือทําใหเสร็จทันภายในเดือนกุมภาพันธ 2010 และจะมีมติจากการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 34

แถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ทําใหคนไทยช็อคกันมาแลว แตการนําเอาผลของแถลงการณรวมฉบับน้ันมาประกบกับรางมติ (Draft Decision) ของ WHC ยิ่งทําใหเกิดความเสียหายอยางยิ่งตอประเทศชาติ คํานวณเฉพาะพื้นที่ไดคราวๆ ดังน้ี

1. ยกพื้นที่บริเวณพื้นที่รอบปราสาทใหกัมพูชา 2. ยกพื้นที่บริเวณเขาพระวิหาร ใหอยูในเขตแดนของกัมพูชาภายใตเหตุผล เพ่ือ

ความสมบูรณและความงดงามทางวัฒนธรรม-อารยธรรม (ตามรางมติขอ 8,14,15 และ 16)

3. ยกพื้นที่บริเวณอุทยานแหงชาติเขาพระวิหารใหกัมพูชาดวยเหตุผลดานภูมิทัศน จะมากหรือนอยอยูที่แผนพัฒนารวม อันอาจจะครอบคลุมบางสวนในพ้ืนที่ 2 จังหวัด คือ ศรีษะเกษ และอุบลราชธานี(บานน้ํายืน)

4. พ้ืนที่ของไทย 4.6 ตารางกิโลเมตร ที่รัฐบาลไทยไมยอมยืนยันในอาณาเขตของตนตามแผนที่เสนเขตแดนของตน แตกลับไปรับรองยืนยันในแผนที่ของกัมพูชา แมจะรูและอางอยูเสมอวาถือแผนที่กันคนละฉบับ และเรียกพื้นที่น้ีวา “พ้ืนที่ทับซอน” มีรัฐบาลเทานั้นที่ไดแสดงเจตนายินยอมใหพ้ืนที่อยูในการบริหารจัดการของ ICC ภายใตแผนแมบทมรดกโลกของกัมพูชา

ทั้งหมดนี้ ยังไมไดคิดรวมถึงอธิปไตยของชาติ อธิปไตยของพลเมือง ความเปนธรรม และประโยชนหลากหลายมิติ รวมถึงมิติทางวัฒนธรรม สัญชาติ และชาติพันธุ ที่ตองถูกผลกระทบโดยตรง

ชีวิต หรือตําแหนงของบุคคลที่ไมปรารถนาดี ไมมีคาพอจะทดแทนความสูญเสียอันยิ่งใหญครั้งน้ีได

Page 21: Preah Vihear

ความเสียหายรุนแรงยังไมจบสิ้น สมุดปกขาวของกระทรวงการตางประเทศ เรื่องกรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก ซ่ึงกลายเปนเอกสารหายากแลวในเวลานี้ ยิ่งทําใหเห็นความจริงที่เปนเรื่องความเสียหายอยางรุนแรงวายังมีไมจบสิ้น คงมีใครเอาที่ดิน ๔.๖ ตารางกิโลเมตร (ประมาณ ๒,๙๐๐ ไร) ไปขายใหกัมพูชาตั้งแตเดือนเมษายน ๒๕๔๙ ! กัมพูชาประกาศกฤษฎีกากําหนดพื้นที่อนุรักษปราสาทพระวิหารตั้งแตเดือนเมษายน ๒๕๔๙ และพ้ืนที่พัฒนา ๔.๖ ตารางกิโลเมตร “ทับซอนอยูกับดินแดนไทย” และนาสังเกตวาในปน้ี (๒๕๔๙) กัมพูชาก็ไดขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกอีกครั้งหนึ่งและไดรับการเสนอวาจะใหเขาที่ประชุมสมัยที่ ๓๑ ณ เมืองไครสตเชิรช ประเทศนิวซีแลนด (อยาลืมวาเม่ือเดือนมกราคม ๒๕๔๘ กัมพูชายื่นเอกสารขอขึ้นทะเบียนไว แตศูนยมรดกโลกไดขอใหกัมพูชาเสนอเอกสารประกอบการยื่นขอขึ้นทะเบียนใหม โดยเฉพาะแผนที่ที่เกี่ยวของกับพ้ืนที่กันชน ซ่ึงกัมพูชากําหนดพื้นที่ครอบคลุมทั้งของกัมพูชาและไทย คณะทํางานของศูนยมรดกโลกแนะนําวาหากกัมพูชาจะรวมมือกับไทยในเรื่องน้ี โดยขอใหไทยกําหนดพื้นที่กันชนในเขตของไทย ก็จะทําใหการยื่นขอขึ้นทะเบียนของกัมพูชามีนํ้าหนักมากขึ้น กัมพูชาจึงยื่นเอกสารอีกครั้งหน่ึงเม่ือวันที่ ๓๐ ม.ค. ๒๕๔๙) และพ้ืนที่น้ีถูกนําไปกําหนดเขตในแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ขอ ๒ และขอ ๔ ซ่ึงเปนพ้ืนที่อนุรักษและพ้ืนที่กันชน (ดูในสมุดปกขาวของกระทรวงการตางประเทศ หนา๔๒ และ ๖) อันเปนผลผูกพันและยกเลิกตอ WHC ไมไดในขณะนี้ หรือแมแตขอยกเลิกตอกัมพูชา ความพยายามเลี่ยงบาลีของหนวยงานที่มีบทบาทโดยตรง ๒ หนวยงาน คือ กระทรวงการตางประเทศ กับกรมแผนที่ทหาร ที่เลี่ยงไปใชคําวา “พ้ืนที่ทับซอน” และ “เสนเขตแดนตามมติ ครม. ๒๕๐๕” หรือที่พยายามอธิบายวา “เสนเขตแดนที่ตางกัน” น้ัน ความตางกันจึงไมใชจากแผนที่คนละฉบับหรือแผนที่ที่ตางกันเหมือนกอนป ๒๕๔๙ หากแตเปนตางกันเพราะการยอมรับเสนเขตแดนใหมของกัมพูชา ตามแผนที่ที่ฝรั่งเศสทําแตฝายเดียว บวกกับเขตพื้นที่อนุรักษปราสาทพระวิหารและพื้นที่พัฒนาตามประกาศกฤษฎีกา เดือนเมษายน ๒๕๔๙ ของกัมพูชา

Page 22: Preah Vihear

แลวจะจัดการอยางไรตอเร่ืองที่เกิดขึ้นนี้ หากมีการขึ้นทะเบียนรวมของไทย ตอบไดวา ผลผูกพันน้ันก็จะยิ่งหนักหนาตอไป การบริหารจัดการพื้นที่อนุรักษจะมีปญหามาก เพราะกัมพูชาจะถือวา

๑) ดินแดนเปนของตน ๒) โครงการเปนของตน และกําหนดโดยตน และ ๓) กรรมการดูแลมาตรฐานเปนนานาชาติที่กัมพูชาเชื้อเชิญมา การที่ไทยเขา

ไปรวมดวยอีก ๑ ชาติจะตองรูตัววาไมใชชาติเจาของดินแดน หรือเจาอธิปไตยแตอยางใด

การขอขึ้นทะเบียนรวมของไทยที่ WHC กลาววาขอซํ้าแลวซํ้าอีกนั้น จึงเปนการกลบเกลื่อนใหแนบเนียนเพราะคิดวาจะไมมีใครรูเ ร่ืองการยอมยกดินแดน ๔.๖ ตารงกิโลเมตร ใหกัมพูชาไป แลวทําใหกัมพูชายืนยันไดวาการขึ้นทะเบียนของตนจะไมมีผลกระทบตอเขตแดน (สมุดปกขาวของกระทรวงการตางประเทศ หนา๑๑ ) นักการเมืองและขาราชการไทยถึงออกมาโตอยูตลอดเวลาวาไมเสียดินแดน พูดได

(เปนแผนที่และคําอธิบายของกระทรวงการตางประเทศ ในสมุดปกขาว หนา ๘ )

Page 23: Preah Vihear

เพราะวาไดรับรองดินแดน ๔.๖ ตารางกิโลเมตร วาเปนของกัมพูชาตามประกาศกฤษฎีกาเขตพื้นที่อนุรักษปราสาทพระวิหารของกัมพูชาไปเรียบรอยแลว แผนที่ใหมของกัมพูชา จึงเปนแผนที่ที่ปรับเปลี่ยนตามประกาศกฤษฎีกา เดือนเมษายน ๒๕๔๙ การที่ฝายไทยไปยอมรับแผนที่ใหมของกัมพูชายอมมีผลใหมีการเปลี่ยนแปลงอาณาเขต ซ่ึงตามกฎหมายรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และกฎหมายระหวางประเทศคือสนธิสัญญา ไมอาจเปลี่ยนแปลงไดโดยงาย เพราะฉะนั้นคําวา “การปกปนเขตแดนยังไมแลวเสร็จ” จึงถูกนํามาใชดวยวัตถุประสงคเพ่ือใหเกิดความชอบธรรม กันความผิด ในการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตในครั้งนี้ ความคิดที่แยบยลมากกวานี้ที่จะแปลงความผิดใหเปนภาระผูกพันที่เกิดขึ้นกับเรื่องการขึ้นทะเบียนมรดกโลก คือ การดําเนินการใหฝายไทย “ขึ้นทะเบียนรวม”

การขึ้นทะเบียนรวมดวยเง่ือนไขนี้แมจะอางเหตุผลความงดงามแหงวัฒนธรรมก็ไมใชทางออกที่ดีสําหรับประเทศไทย เพราะการที่ประเทศไทยนําเอาโบราณสถานของไทยและดินแดนของประเทศไทยไปขึ้นทะเบียนรวมกับกัมพูชานั้นประเทศไทยจะตกอยูในสภาพ หรือภาระผูกพัน ดังน้ี

๑) กัมพูชาจะเปนผูบริหารจัดการหลัก และสามารถบริหารในสวนที่เปนโบราณสถานของไทยและพื้นที่ของไทย (๔.๖ ตารางกิโลเมตร หรือ ๒,๙๐๐ ไร) ซ่ึงจะถูกรวมเขาไปกับพ้ืนที่อนุรักษและพ้ืนที่กันชน ซ่ึงถูกอางวาเปนของกัมพูชาทั้งหมด

๒) ประเทศไทยไมมีสิทธิบริหารจัดการพื้นที่และโบราณสถานของไทยเองโดยลําพัง แตไทยจะเปนเพียงหน่ึงในเจ็ดประเทศ(ICC) ที่จะเขามาจัดการมรดกอันเปนของไทย โดยอางความเปนมาตรฐานสากล

ผูมีสวนสรางปญหาทั้งหลาย พยายามผลักดันเรื่องน้ีดวยการดําเนินการอยางเรงรีบใหทันภายในเวลาที่กําหนด กลาวคือไมเกินเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๓

ในสังคมสมัยใหมและการเมืองแบบใหม ไมใชการเมืองเผด็จการเสียงขางมาก เรื่องเชนน้ีจะถูกตรวจสอบ ไมชาก็เร็วก็จะรูวาพื้นที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตรนั้น แมจะเปนที่รกชัฏหางไกล แตก็เปนอาณาเขตของราชอาณาจักรไทย

หมูบานในพื้นที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตร มี ๕ หมูบานคือ หมูบานภูมิซรอล หมูที่๒ ต.เสาธงชัย หมูบานภูมิซรอล๒ หมูที่๑๒ ต.เสาธงชัย หมูบานภูมิซรอลใหม หมูที่๑๓ ต.เสาธงชัย หมูบานชําเมง็ หมูที่๓ ต.เสาธงชัย และบานโนนเจริญ หมูที่๑๐ ต.เสาธงชัย ชาวบานอาศัยอยูตามชายขอบทางทิศเหนือ แถบริมถนน พ้ืนที่สวนใหญเปนปาเขา มีที่ตั้งของที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาพระวิหาร และศูนยบริการนักทองเที่ยว

Page 24: Preah Vihear

หากพื้นที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตรนี้ เปนพ้ืนที่กันชนและตองอยูในการบริหารจัดการมรดกโลกจากการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารของกัมพูชาแลว ปญหาที่ตามติดตอมา คือ เรื่องสิทธิชุมชน สิทธิมนุษยชน สัญชาติ ฯลฯ ทั้งหมดรวมอยูในกรอบความคิดเรื่องเขตแดนที่หมายถึงประโยชนและความเปนธรรม เปนงานที่ทีมวิชาการนี้เคยไดสัมผัสและตระหนักมาแลวจากกรณีเขตแดนไทยลาว

แผนที่แสดงเขตชุมชนอําเภอกันทรลักษ

Page 25: Preah Vihear

ทางแกไขเยียวยา

• ผูที่ทําความเสียหาย หรือมีสวนทําความเสียหาย ๑) หยุดสรางปญหา ที่จะกอใหเกิดภาระผูกพันตอไป ๒) บอกความจริง เพ่ือชวยกันหาทางแกไขและเยียวยาในวิถีทางที่ถูกตองตรง

ประเด็น

• ผูมีหนาที่แกปญหา ๑) พิจารณาวาใครสมควรจะเปนผูบอกเลิกหนังสือสัญญากับกัมพูชาโดยเร็ว

ที่สุด ดวยเหตุผลใด อางอิงขอกฎหมายใด ๒) แถลงความจริงตอประชาชน ๓) สํารวจตรวจสอบความผิดพลาดทํานองนี้ ในกรณีอ่ืนๆ ๔) ชําระขอมูล และจัดการความรูเพ่ือการเรียนรูและความถูกตอง อันจะเปน

บทเรียนตอไปในอนาคต อน่ึง แนวทางยกเลิกแถลงการณรวม(Joint Communiqué) ตอ WHC ทําไมได

แลวตามรางมติขอ ๕ (Draft Decision) เพราะถกู suspensed สวนการเสนอขอเปลี่ยนแปลงมติของ WHC น้ัน ตองขึ้นอยูกับกําหนดเวลา ป

หนา (๒๕๕๒) แมจะเปนการชาเกินการณ และไมทันตอการดําเนินการของกัมพูชาบางเรื่อง เชน ICC แตก็ควรคิดจะทํา พรอมกันนั้นการไมใหความรวมมือกับกัมพูชา เชน การไมสงแผนพัฒนารวม การอางพระราชกฤษฎีกาอุทยานแหงชาติเขาพระวิหารเพื่อปดชองเร่ืองการใชประโยชนที่ดินก็สามารถกระทําได และที่สําคัญคือการไมขึ้นทะเบียนรวม ก็จะทําใหการขึ้นทะเบียนมรดกโลกของกัมพูชาไมสมบูรณตามระเบียบของ WHC ซ่ึงมีความเปนไปไดที่จะถูกถอนหากทําไมทันตามกําหนดเวลา (ภายในกุมภาพันธ ๒๕๕๓)

การประณาม WHC และ ยูเนสโก ก็เปนวิธีที่ใชไดสําหรับกรณีน้ี และมีขอมูลพรอม

วิธีสุดทาย คือ การซื้อเวลาดวยการทวงคืนปราสาทพระวิหาร

Page 26: Preah Vihear

เอกสารแนบ

Page 27: Preah Vihear
Page 28: Preah Vihear
Page 29: Preah Vihear

ขอมูลเพิ่มเตมิในบทความการจัดการความรูชุดที๑่ เร่ือง “ไทยไมควรขึ้นทะเบียนรวม” โดย ม.ล.วัลยวิภา จรูญโรจน

และนายประกาสิทธิ์ แกวมงคล

ขอมูลน้ีใชในการสนับสนุนวาไทยตองยึดถือและยืนยนัแผนที่และเสนเขตแดนของไทยตามสันปนน้ํา

รัฐธรรมนูญของกัมพูชาฉบับ 21 กันยายน พ.ศ. 2536 บทที่ 1 ขอ 2 บัญญัติวา บูรณ

ภาพแหงดินแดนของกัมพูชาจะถูกละเมิดมิไดภายในแนวเขตแดนที่กําหนดไวในแผนที่มาตราสวน 1:100,000 ที่จัดทําขึ้นในชวงป ค.ศ.1933-1953 และเปนที่ยอมรับจากนานาประเทศ ในป ค.ศ.1963 – 1969 กระทรวงการตางประเทศ รวมกับ กรมแผนที่ทหาร ไดศึกษาแผนที่ดังกลาว พบวา แผนที่ไดรับการจัดทําโดย Service Geographique de I’ Indochine ซ่ึงคงจะใชแผนที่ซ่ึงอางวาเปนของคณะกรรมการปกปนทั้งสองชุดเปนพ้ืนฐาน จากการเปรียบเทียบพบวามีเขตแดนหลายชวงที่เหมือนกัน เชน ที่แหลมสารพัดพิษ และปราสาทพระวิหาร แตมีเขตแดนหลายชวงที่ตางกัน เชนที่คลองลึก หลักเขตที่ 41, 44, 45 จ.สระแกว เปนตน ในแงกฎหมายระหวางประเทศ รัฐธรรมนูญกัมพูชาเปนการประกาศฝายเดียว ไมมีผลผูกพันไทย แตหากไทยไมแสดงทาทีอาจทําใหไทยเสียเปรียบตามหลักกฏหมายปดปาก ไทยจึงตั้งขอสงวนโดย รมว .กต .ไทย ทําหนังสือถึงสมเด็จกรนขุนสิ ริวุฒิ รอง นรม.และรมว .ตางประเทศ กัมพูชา เม่ือ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2537 และสงสําเนาใหเลขาธิการสหประชาชาติดวย

Constitution of Cambodia

CHAPTER 1

Sovereignty

Article 2-

The territorial integrity of the Kingdom of Cambodia shall absolutely not be violated within its borders as defined in the 1/100,000 scale map made between the years 1933-1953 and internationally recognized between the years 1963-1969

Page 30: Preah Vihear
Page 31: Preah Vihear