14

Report 2551

  • View
    234

  • Download
    1

Embed Size (px)

DESCRIPTION

AEPD Annual Report 2551

Citation preview

คํานํา จากวสิยัทศันของผูบรหิารกรมสงเสรมิการเกษตรทีไ่ดเห็นความสําคญัของการพัฒนาการเกษตรอยางเปนระบบและ

ทนัสมัย จึงไดกอตั้งกองสงเสริมวิศวกรรมเกษตรขึ้นเม่ือวนัที่ 8 สิงหาคม 2550 เพ่ือเปนการรองรับสภาวะแวดลอมและสังคมการเกษตรทีเ่ปลีย่นแปลงไป เน่ืองจากทัว่โลกมีการพัฒนาเทคโนโลยทีางวศิวกรรมเขามาใชในการเกษตร เพ่ือบรรเทาภาระหนกัของเกษตรกร ประกอบกบัเกษตรกรตองการความสะดวกสบาย ความรวดเรว็ และความทนัสมัยในการประกอบอาชพี รวมถงึจํานวนเกษตรกรทีล่ดนอยลงและมีอายใุนชวงสงูวยั อีกทัง้ผูบรโิภคตองการผลผลติเกษตรทีมี่คณุภาพ สมํ่าเสมอและไววางใจได โดยมีการกําหนดมาตรฐานเชงิคณุภาพและปรมิาณทีช่ดัเจนขึน้

นอกจากน้ีหนวยงานทางดานวศิวกรรมเกษตรทีมี่อยูในประเทศไทยทกุแหงมีหนาทีห่ลกัในการวจัิย พัฒนา ซ่ึงเปนงานในเชงิ micro จึงมีเพียงกรมสงเสรมิการเกษตรทีดํ่าเนินงานในลกัษณะการสงเสรมิประยกุต ถายทอด และบรกิาร ซ่ึงเปนงานในเชงิ macro ทีร่วบรวมเทคโนโลยกีารวจัิยพัฒนาของทกุสถาบนั ทัง้ในและตางประเทศ ทัง้ภาครัฐและเอกชน มาประยุกตและถายทอดแกเกษตรกร ทั้งน้ี กรมสงเสริมการเกษตรไดเริม่งานการสงเสริมวิศวกรรมเกษตรในรปูแบบของงานสงเสริมการใชเคร่ืองจักรกลการเกษตรมาตัง้แตป พ.ศ. 2522 และพฒันาขอบขายของงานเพิม่ขึน้ตามความเจรญิของเทคโนโลยวีศิวกรรมเกษตรมาจนปจจุบนั กองสงเสรมิวศิวกรรมเกษตรมอํีานาจหนาทีท่ีส่ําคญั คอื

1. พัฒนาและสงเสรมิงานดานวศิวกรรมทีเ่ก่ียวของกับการเกษตร 2. จัดทํากลยุทธแผนงาน/โครงการการสงเสรมิงานดานวศิวกรรมเกษตรของประเทศ 3. บรกิารวชิาการสนับสนุนงานสงเสรมิการเกษตร โดยการคํานวณ ออกแบบ เปนทีป่รึกษาและวทิยากรดานวศิวกรรม

การจัดการทีดิ่น วศิวกรรมเครือ่งจักรกลการเกษตร วศิวกรรมการแปรรปูสนิคาเกษตรและลอจสิตกิส และวศิวกรรมโครงสรางพ้ืนฐานการเกษตร ภายใตพระราชบญัญัตวิชิาชพีวศิวกรรม นโยบาย กฎหมาย ขอบงัคบั มาตรการ และพันธะสญัญาระหวางองคกร

4. ดําเนินการตรวจสอบ กลัน่กรอง สรางระบบปฏิบตักิารและควบคมุงานทีเ่ก่ียวของกับระบบงานทางเทคนคิและวศิวกรรมใดๆ เพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการสนิทรพัยทีอ่ยูในอํานาจหนาทีแ่ละความรบัผดิชอบของกรมสงเสรมิการเกษตร

5. ควบคมุ กํากับ ตดิตาม นิเทศ ประเมินผล และรายงานผลงานดานการสงเสรมิวศิวกรรมเกษตร 6. เปนศนูยกลางในการบรหิารจัดการและประสานการดําเนินงานดานการสงเสรมิวศิวกรรมของกรมสงเสรมิการเกษตร

มีอัตรากําลงัทัง้ในสวนกลางและสวนภูมิภาค รวม 136 คน ประกอบดวย ขาราชการ จํานวน 49 คน ลกูจางประจํา 34 คน และพนักงานราชการ จํานวน 53 คน

ในป 2551 กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตร มีงบประมาณในการดําเนินงานทั้งสิ้น 2,541,169 บาท ประกอบดวยงบประมาณกรมสงเสรมิการเกษตร 1,411,099 บาท กระทรวงเกษตรและสหกรณ 310,070 บาท กรมควบคมุมลพิษ 820,000 บาท

รายงานผลการดําเนินงานของกองสงเสรมิวศิวกรรมเกษตรประจําป 2551 น้ี เปนผลการดําเนินงานเฉพาะในสวนทีเ่ปนกิจกรรมหลกัของกองสงเสริมวศิวกรรมเกษตรเทาน้ัน มิไดรวมถงึภารกจิทีใ่หการสนับสนุนหนวยงานตางๆ ทัง้ภายในและภายนอกกรม ซ่ึงมีเปนจํานวนมาก ทัง้น้ี ผลงานทัง้ปวงเกดิจากความรวมมือรวมใจและทุมเทกําลงักายและกําลงัใจของบคุคลากรทกุตําแหนงของกองสงเสรมิวศิวกรรมเกษตร

นางดาเรศร กติตโิยภาส ผูอํานวยการกองสงเสรมิวิศวกรรมเกษตร

กรมสงเสรมิการเกษตร

กรมสงเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ และกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดรวมกันดําเนินการนํารองสาธิตการจัดการเศษวัสดุเหลือใชจากภาคการเกษตรเพื่อลดปญหาการเผาในพ้ืนที่การเกษตรที่เปนการสนับสนุนการดําเนินงานตามแผนแมบทแหงชาติวาดวยการควบคุมการเผาในที่โลง ตั้งแต ป 2547 เปนตนมา โดยมีกลยุทธหลักในการเผยแพรความรูความเขาใจในสภาพปญหาท่ีเกิดจากการเผา แนวทางการปองกันและแกไขปญหา และการจัดการเศษวัสดุเหลือใชจากภาคการเกษตร เพ่ือสรางใหเกิดการปรับเปลี่ยนทัศนคติและจิตสํานึกของเกษตรกรใหตระหนักถึงผลเสียจากการเผา และมีความรูความเขาใจในการใชเทคโนโลยีการเกษตรทดแทนการเผา ผลการดําเนินงาน

ในป 2551 ไดดําเนินงานการพัฒนาเกษตรกร รวม 4,805 ราย ดังน้ี 1. สรางและพัฒนาเครือขายเกษตรกรปลอดการเผา เพ่ือเปนกลุม

นํารองในการปรับเปลี่ยนวิธีการทําการเกษตรแบบปลอดการเผา จํานวน 535 เครือขาย เกษตรกร 3,696 ราย ครอบคลุมพ้ืนที่ 243,795 ไร ในพ้ืนที่ 29 จังหวัดที่มีความเสี่ยงตอการเผาสูง ประกอบดวย

สรางเครือขายความรวมมือในการใชเทคโนโลยีการเกษตรเพ่ือลดปริมาณการเผาในที่โลงในลักษณะเครือขายเกษตรกรปลอดการเผาเพิ่ม ในพ้ืนที่ 18 จังหวัด รวม 135 เครือขาย ครอบคลุมพ้ืนที่ 51,476 ไร โดยถายทอดความรูแกเกษตรกร รวม 3,003 ราย พรอมการสรางวิทยากรดานการเกษตรปลอดการเผาประจําเครือขาย รวม 278 ราย

พัฒนาเครือขายเกษตรกรปลอดการเผาที่มีอยูเดิม จํานวน 400 เครือขาย ครอบคลุมพ้ืนที่ 192,068 ไร ใน 12 จังหวัด อบรมเพื่อสรางวิทยากรดานการเกษตรปลอดการเผาประจําเครือขาย 415 ราย และจัดใหมีการรณรงคกระตุนจิตสํานึกและใหสัตยาบันการหยุดการเผาในไรนา

• เผยแพรองคความรูการควบคุมการเผาในพ้ืนทีเ่กษตรกรรม และเสริมสรางศักยภาพเครือขายเกษตรกรปลอดการเผา ใหมีความรูความเขาใจในเรือ่งการใชเคร่ืองจักรกลการเกษตรปลอดการ เผาในการ เตรี ยม พ้ืนที่เพาะปลกูไดอยางมีประสทิธภิาพ

• สงเสริมใหมีศูนยเคร่ืองจักรกลการเกษตรปลอดการเผา ที่มีการบริหาร จัดการโดยกลุ มเกษตรกร สําหรับการใหบริการเคร่ืองจักรกลการเกษตรไถกลบตอซังทดแทนการเผา

• ดําเนินมาตรการควบคุมการเผาในที่ โล ง ในพื้นที่ การ เกษตรเปาหมายใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรม จํานวน 135 เครือขาย 51,476 ไร

วัตถุประสงคและเปาหมาย ความเปนมา

โครงการนํารองการใชมาตรการควบคุมการเผาในท่ีโลงในพื้นท่ีเกษตรกรรม

2. ทดสอบจัดตั้งศนูยเคร่ืองจักรกลการเกษตรปลอดการเผา เพ่ือนํารองสาธิตการใชเทคโนโลยีการเกษตรทดแทนการเผาที่มีวิสาหกิจชุมชนเปนผูบริหารจัดการการใหบริการไถกลบตอซังฟางขาวแกสมาชิกในชุมชน โดยจัดการฝกอบรมทกัษะทางเทคนคิและการบรหิารจัดการการใหบริการเคร่ืองจักรกลการเกษตรแกคณะกรรมการบรหิารงานและสมาชกิ 100 ราย จัดสาธิตและถายทอดความรูดานเทคนิคการไถกลบตอซังฟางขาวทดแทนการเผาแกเกษตรกร 1,009 ราย ดําเนินการจํานวน 3 แหง ณ จังหวดัแมฮองสอน ขอนแกน และรอยเอ็ด มีพ้ืนที่บรกิารรวม 3,026 ไร

3. สรางและพัฒนาเคร่ืองตัดสับและเกล่ียกระจายฟางขาวรวมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพ่ือสนับสนุนความตองการตามแผนงานมาตรการควบคุมการเผาในพื้นที่การเกษตรระดับจังหวัด

4. จัดทําสือ่วชิาการเผยแพร ประกอบดวยเอกสารวชิาการ 5,000 เลม แผนพับวิชาการ จํานวน 1 เรื่อง 15,000 แผน และวดีีทศันเร่ืองเทคโนโลยกีารไถกลบทดแทนการเผา 1,500 แผน

5. ศึกษาสํารวจขอมูลในพื้นที่ดําเนินงานโครงการ ในดานความรู ความเขาใจ ในการใชเทคโนโลยีการเกษตรทดแทนการเผา และทัศนคติของเกษตรกรที่เขารวมโครงการ รวม 1,079 ตัวอยาง พบวา เกษตรกร รอยละ 99 มีความรู ความเขาใจดานผลกระทบจากการเผาและการใชเทคโนโลยีการเกษตรทดแทนการเผา และเกษตรกร รอยละ 100 ไดมีการรวมตัวจัดตั้งเครือขายเกษตรกรปลอดการเผา โดยมีการใหสัตยาบันเพ่ือหยุดการเผาในไรนา มีการจัดทําขอตกลงชุมชนเพ่ือสนับสนุนนโยบายการควบคุมการเผาในพื้นที่เกษตรกรรม โดยเกษตรกรรอยละ 87.09 ไดมีการจัดทําและใชนํ้าหมักชีวภาพเพ่ือเรงการยอยสลายของเศษวัสดุการเกษตร และเกษตรกรรอยละ 86.69 ไดทําการไถกลบเศษซากพืชทดแทนการเผา อยางไรก็ตาม เกษตรกร รอยละ 100 เกิดการยอมรับในนโยบายการควบคุมการเผาในพ้ืนที่เกษตรกรรม โดยเกษตรกร รอยละ 86.61 มีความตองการใหภาครัฐสนับสนุนใหชุมชนมีการบริการเคร่ืองจักรกลการเกษตรทดแทนการเผา และรอยละ 73.91 ตองการใหใชมาตรการทางสังคมที่ชุมชนกําหนดเปนแนวทางในการดําเนินการควบคุมการเผาในพื้นที่การเกษตร

โครงการบริการรถเก่ียวนวดขาวสูเกษตรกร

กรมสงเสริมการเกษตรดําเนินโครงการบริการรถเกี่ยวนวดขาวสูเกษตรกรมาตั้งแตป 2540 โดยในครั้งนั้นมีเปาหมายเฉพาะในเขตทุงกุลารองไห ตอมาจึงขยายวงกวางขึ้นทั่วประเทศ เน่ืองดวยเปนประโยชนตอทุกฝาย โครงการน้ีเกิดขึ้นเนื่องจากรถเกี่ยวนวดขาวสวนใหญกระจุกตัวอยูในภาคกลางและภาคตะวันตก สวนผลผลิตขาวคุณภาพดีอยูในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งขาวนาปทั่วประเทศที่ตองเก็บเก่ียวในชวงเวลาใกลเคียงกัน กอใหเกิดปญหาการสูญเสียผลผลิตจากการรวงหลนและแหงกรอบอันเนื่องจากการเก็บเก่ียวไมทัน ประกอบกับรถเก่ียวนวดขาวโดยทั่วไปมีความกวางเกินกวาที่กฎหมายกําหนดเปนเหตุใหถูกตรวจจับจึงไมสามารถขนยายไปใหบริการแกเกษตรกรในภูมิภาคตางๆไดอยางเพียงพอและทั่วถึง รวมทั้ง รถเก่ียวนวดขาวที่ไปใหบริการไมสามารถทํางานไดอยางเต็มความสามารถเนื่องดวยไมมีหนวยงานกลางเชื่อมโยงขอมูลความตองการระหวางผูใหบริการและผูตองการรับบริการ ผลการดําเนินงาน

การดําเนินงานที่สําคัญ คือ สํารวจความตองการรับบริการรถเก่ียวนวดขาวเพ่ือจัดเตรียมขอมูลแหลงเก็บเก่ียวผานศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจําตําบลและศูนยขาวชุมชนทั่วประเทศ รวบรวมผูประกอบการรถเกี่ยวนวดขาวจากผูประกอบการจากแหลงตางๆเขารวมโครงการ ประสานความรวมมือในการผอนผันการตรวจจับของสํานักงานตํารวจแหงชาติ ถายทอดความรูทางเทคนิคของเครื่องเก่ียวนวดขาวแกผูประกอบการ เร่ืองการลดความสูญเสียจากการใชเคร่ืองเก่ียวนวดขาวในระบบการเก็บเก่ียว และเรื่องการเลือกใชสารหลอลื่น รวมถึงการวิเคราะหผลการใหบริการ

ผลการดําเนินงานสรุปไดวามีผูประกอบการนํารถเกี่ยวนวดขาวเขารวมใหบริการแกเกษตรกร จํานวน 882 ราย 1,742 คัน ครอบคลุมพ้ืนที่ใหบริการแกเกษตรกร 1,406,272 ไร โดยพบวา

1. ผูประกอบการรับจางเก่ียวนวดขาวเขารวมโครงการ จากภาคเหนือ 133 ราย ภาคกลาง 287 ราย ภาคตะวันตก 432 ราย ภาคตะวันออก 29 ราย และภาคใต 1 ราย

• เพ่ือใหเกษตรกรสามารถเกบ็เก่ียวขาวไดในระยะเวลาทีเ่หมาะสม ลดการสญูเสยีเนือ่งจากการเก็บเก่ียว

• เ พ่ือส ง เสริมและผลัก ดันใหผูประกอบการรถเกี่ยวนวดขาวนํารถเกีย่วนวดขาวเขาไปรบัจางเ ก่ี ยวนวดในพื้ นที่ ปลู กข า วคุณภาพดีที่ยังไดรับบริการไมทัว่ถงึและเพยีงพอ

• เพ่ือถายทอดความรูทางวิชาการและทางเทคนคิแกผูประกอบการรถเก่ียวนวดขาว

• มีเปาหมายใหผูประกอบการนํารถเ ก่ียวนวดขาว 1,500 คัน ใหบริการแกเกษตรกร 750,000 ไร

วัตถุประสงคและเปาหมาย ความเปนมา

2. รถเก่ียวนวดขาวเขารวมโครงการจากภาคเหนือ 269 คัน ภาคกลาง 555 คัน ภาคตะวันตก 845 คัน ภาคตะวันออก 70 คัน ภาคใต 3 คัน และรถเทลเลอร เ พ่ือการขนยาย 892 คัน คิดเปนมูลคาการลงทุนของผูประกอบการรวมประมาณ 3,000 ลานบาท

3. มีผูประกอบการรายงานผลการปฏิบัติงานมายังกรมสงเสริมก า ร เ ก ษ ต ร 6 2 5 ร า ย คิ ด เ ป น 7 0 .8 6 % พบ ว า ไ ป ปฏิ บั ติ ง า น ใ น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากที่สุดจํานวน 59.06% รองลงมาคือภาคเหนือ 12.84% ภาคตะวันตก 10.72% ภาคกลาง 8.35% ภาคตะวันออก 7.7% และภาคใต 1.33% พ้ืนที่ใหบริการสูงสุด คือ สุรินทร รอยเอ็ด บุรีรัมย ศรีสะเกษ นครราชสีมา นครสวรรค เพชรบูรณ ยโสธร มหาสารคาม นครนายก และพิจิตร ตามลําดับ

5. ประเมินพ้ืนที่ใหบริการระหวางวันที่ 15 ตุลาคม 2550 ถึง 28 กุมภาพันธ 2551 จากรถเก่ียวนวดขาว 1,742 คัน ผูประกอบการ 882 ราย รวม 1,406,272 ไร เฉลี่ย 807 ไร/คัน หรือ 1,595 ไร/ราย

6. อั ต ร าค า บ ริ ก า ร รั บ จ า ง เ ฉลี่ ย 4 8 5 บาท /ไ ร โ ดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีคาบริการสูงที่สุดคือ 528 บาท/ไร ภาคใต 500 บาท/ไร ภาคเหนือ 488 บาท/ไร ภาคตะวันตก 455 บาท/ไร ภาคกลาง 450 บาท/ไร และภาคตะวันออก 441 บาท/ไร

7. ผูประกอบการไดใชประโยชนจากเอกสารผอนผันการตรวจจับ จํานวนรอยละ 92.48 โดยไดรับความรวมมือจากหนวยงานที่เก่ียวของในระดับดีมากรอยละ 25.09 ในระดับปานกลางรอยละ 52.60 ในระดับนอยรอยละ 14.19 และไมไดรับความรวมมือรอยละ 8.13

ผลกระทบจากการดําเนินงานประเมินไดวามีผลทําใหลดตนทุนการเก็บเก่ียวของเกษตรกรเมื่อเทียบกับการใชแรงงานคนคิดเปนมูลคา 140 ลานบาท* ลดการสูญเสียจากการรวงหลนไดเปนมูลคาประมาณ 192 ลานบาท*

ผลผลิตขาวมีคุณภาพขาวเพ่ิมขึ้น คิดเปนมูลคาประมาณ 635 ลานบาท*

* วินิต ชินสุวรรณ และคณะ, 2542 * วินิต ชินสุวรรณ และคณะ, 2542 ราคาขาวเปลือก ณ 1 สิงหาคม 2551 กิโลกรัมละ 14.4 บาท * วินิต ชินสุวรรณ และคณะ, 2542 ราคาขาวสารเจา ณ 1 สิงหาคม 2551 กิโลกรัมละ 32 บาท

โครงการสงเสริมและพัฒนาการผลิตไมประดับแหง จังหวัดแมฮองสอน เปนการบูรณาการการดําเนินงานรวมกับกองพัฒนาการเกษตรพื้นที่เฉพาะ สํานักงานเกษตรจังหวัดแมฮองสอน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และโครงการหลวง เน่ืองจากสภาพภูมิประเทศและอากาศของจังหวัดแมฮองสอนมีความเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของไมดอกไมประดับที่แปลกแตกตางจากทองถิน่อ่ืน แตตลาดในรปูผลผลติสดมขีอจํากัดหลายประการทั้งในเรื่องระยะเวลา การเก็บรกัษา และการขนสง ทําใหตนทนุการผลติสงู แตในปจจุบันผลิตภัณฑไมประดับแหงเปนผลิตภัณฑที่กําลังไดรับความสนใจจากตลาดทั้งในประเทศและตางประเทศ กองสงเสริมวิศวกรรมเกษตรจึงไดโดยนําเทคโนโลยีการแปรรูปไมประดับแหงมาใชในการเพ่ิมมูลคาผลผลิตไมดอกไมประดับ ทําใหเกิดการสรางงาน กระจายรายไดสูเกษตรกรในทองถิน่ และพัฒนาเปนอาชพีทีย่ัง่ยนืไดตอไป

1. ออกแบบระบบและตดิตัง้เคร่ืองจักรอุปกรณศูนยแปรรูปเฟรนและไมประดับแหง เพ่ือพัฒนาระบบการแปรรูปไมประดับแหง และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ทั้งดานปริมาณและคุณภาพ ตลอดจนควบคุมมลภาวะที่เกิดจากกระบวนผลิต ดําเนินการ ณ ตําบลทาโปงแดง อําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน ประกอบดวย

เครื่องตมความดันต่ํา ใชในการตมนํ้าใหไดอุณหภูมิ 60-70oC เพ่ือไปหลอเลี้ยงระบบ ฟอกขาว ยอมสี และลดความชื้น

ระบบการยอมสี ระบบการยอมสีวัตถุดิบประเภทชอดอกที่ควบคุมปริมาณการใชสีและอุณหภูมิการยอมที่เหมาะสมทําใหคุณภาพการยอมสีสมํ่าเสมอ และลดปริมาณน้ําเสียที่เกิดจากระบบการยอม

ระบบฟอกขาว ระบบฟอกขาวที่ปองกันอันตรายจากการสูดดมและสัมผัสสารเคมีที่ใชในการฟอกขาวของผูปฏิบัติงานโดยใชระบบปดและการดูดระบายไอกรดสูบรรยากาศภายนอกอาคาร

• เพ่ือเพ่ิมมูลคาผลผลิตเกษตรโดยการแปรรูปเปนของใชและอุปกรณประดับตกแตง

• เพ่ือสรางงานและรายไดใหแกชมุชนในทองถิน่

• ดํ า เ นินการ ณ กลุมแมบ านเกษตรกรทาโปงแดง อําเภอเมือง จังหวดัแมฮองสอน

วัตถุประสงคและเปาหมาย ความเปนมา

โครงการสงเสริมและพัฒนาการผลติไมประดับแหง

ผลการดําเนินงาน

เครื่องพนสีหัวบุหงา ใชยอมสีวัตถุดิบประเภทกลีบดอกหรือใบ ทําใหคุณภาพการยอมสีสมํ่าเสมอ ลดปริมาณการใชสีและไมมีนํ้าเสียจากระบบ

หองลดความชื้น เพ่ือลดความชื้นวัตถุดิบหลังการพนหรือยอมสีจนถึงระดับความชื้นที่เหมาะสมกับการนําไปประดิษฐหรือเก็บรักษา อุณหภูมิการทํางานในชวง 40 ถึง 50 oC โดย การแลกเปลี่ยนความรอนจากหมอตมความดันต่ําที่ไหลผานทอทองแดง

หองเย็น ควบคุมอุณหภูมิเพ่ือใชในการเก็บรักษาและปองกันการเขาทําลายของแมลงศัตรูพืชในวัตถุดิบโดยอุณหภูมิใชงานที่เหมาะสมคือ 10 oC

บอบําบัดนํ้าเสีย เพ่ือบําบัดนํ้าเสียที่เกิดจากกระบวนการฟอกขาวและยอมสี โดยการ

พักนํ้าเสีย ตกตะกอนสารเคมีดวยเครื่องผสมอากาศแบบกวนผสม กรองดวยทรายหยาบและทรายละเอียด พักนํ้ากอนปลอยออกจากระบบ ตากตะกอนลอกไปฝงกลบ

2. เตรยีมความพรอมใหกลุมแมบานเกษตรกร โดยจัดอบรมและฝกทักษะดานการพัฒนาผลิตภัณฑไมประดับแหงใหกับสมาชิกกลุมแมบาน และเจาหนาทีท่ีรั่บผดิชอบ ณ มูลนิธโิครงการหลวง มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร

3. ฝกอบรมเนนหนักดานการใชและบริหารจัดการระบบเคร่ืองจักรในการผลติใหกับผูรับผดิชอบการควบคมุเคร่ืองจักรของกลุมแมบานเกษตรกร

4. จัดทําชุดนิทรรศการการถายทอดทางวิชาการและวิธีปฏิบัต ิ และจัดทําแผนพับเพ่ือการประชาสมัพันธผลติภัณฑของกลุมแมบานเกษตรกร

แผนการดําเนินงานในระยะเวลาตอไป สํานักงานเกษตรจังหวัดแมฮองสอนจะสนบัสนุนเพ่ือพัฒนากลุมแมบานเกษตรกรใหดําเนินงานในรปูแบบวิสาหกิจ และกองสงเสริมวิศวกรรมเกษตรจะทําหนาที่ใหคําปรึกษาดานเทคนิคของระบบเครือ่งจักรอุปกรณในกระบวนการผลติ

โรงเรือนอนุบาลและผลิตพันธุพืชของศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร (พันธุพืชเพาะเลี้ยง) กรมสงเสริมการเกษตร ประกอบดวย โรงเรือนอนุบาลจํานวน 70 หลัง มูลคา 370 ลานบาท และอุปกรณประจําโรงเรือนตางๆ จํานวนมูลคา 1,190 ลานบาท การบํารุงรักษาจะตองกระทําใหถูกตองและตามระยะเวลาที่กําหนด จึงจะไมเกิดความเสียหายแกอุปกรณ ในขณะเดียวกันอุปกรณจํานวนมากควบคุมโดยระบบอัตโนมัติ ที่ตองมีการตรวจสอบปรับแกเคร่ืองวัดและระบบคอมพิวเตอรอยางสมํ่าเสมอ เพ่ือใหระบบทํางานไดอยางสมบูรณไมเกิดความเสียหายตอพืชที่อยูภายในโรงเรือนอันเปนเปาหมายหลักในการผลิตของศูนยฯ แตปจจุบันไมสามารถดําเนินการไดอยางเต็มประสิทธิภาพ เน่ืองจากมีขอจํากัดคือ (1) โรงเรือนอนุบาลและอุปกรณประจําโรงเรือนตางๆ เปนอุปกรณทางวิศวกรรมที่ใชเทคโนโลยีเฉพาะทาง (2) โรงเรือนอนุบาลตางๆ อยูในสภาพพรอมใชงานเพียงบางสวน อุปกรณและระบบควบคุมหลายสวน ชํารุดเสียหาย หรือใชงานไมถูกตอง รวมทั้งไมมีระบบประมวลผลการใช การตรวจสอบ การซอมแซมและบํารุงรักษาที่ชัดเจน (3) อุปกรณบางชนิดเสื่อมสภาพใชงานไมได ทําใหประสิทธิภาพโรงเรือนต่ําลง (4) โรงเรือนและระบบตางๆ ขาดการดูแลบํารุงรักษาอยางตอเน่ือง บางแหงเจาหนาที่ผูรับผิดชอบไมไดผานการอบรมความรูอยางถูกตองตามหลักการ

• ประเมินสภาพโรงเรือนอนุบาลและผลิตพันธุพืชศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร (พันธุ พืชเพาะเลี้ยง) จํานวน 5 แหง

• สํารวจสภาพอุปกรณโรงเรือนอนุบาลและผลิตพันธุพืช เพ่ือใชเ ป น ข อ มู ล ในก า ร ว า ง แผนดําเนินการใชงานโรงเรือนที่มีอยูอยางเต็มประสิทธิภาพ

• ประเมินลักษณะความเสียหายของอุปกรณระบบตางๆ ทีส่ําคญัในโรงเรอืน

• ประมาณการคาใชจายในการซอมแซมบํารุงรักษาอุปกรณประจําโรงเรือนเฉพาะระบบท่ีจําเปน

วัตถุประสงคและเปาหมาย ความเปนมา

การสาํรวจประเมินสภาพอุปกรณโรงเรือนอนุบาลและผลิตพันธุพชื

สํารวจประเมินสภาพอุปกรณโรงเรือนอนุบาลและผลิตพันธุพืชจํานวน 5 ศูนย คือ จังหวัดอุดรธานี จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดชลบุรี สรุปผลและจัดทํารายงานเรียบรอยแลว พรอมทั้งดําเนินการตรวจสอบแกไขขอขัดของเบื้องตน ทําการเชื่อมโยงขอมูล ตั้งคามาตรฐานการควบคุมระบบโรงเรือน บันทึกสภาพอุปกรณสถานีตรวจอากาศและอุปกรณตางๆ ในโรงเรือน เก็บตัวอยางนํ้ามาวิเคราะหสภาพนํ้าที่ทําใหเกิดปญหาแกระบบ และสรุปรายละเอียดผลการสํารวจประเมินในประเด็น ดังน้ี

(1) ประเมินลักษณะสภาพความเสียหายของอุปกรณระบบตางๆ ที่สําคัญในโรงเรือนจําแนกตามระบบไดแก ระบบควบคุมสภาพนํ้าและอากาศ ระบบลดอุณหภูมิและควบคุมความชื้น โดยแผนระเหยน้ํา ระบบลดอุณหภูมิและเพิ่มความชื้นโดยการพนหมอก ระบบมานพรางแสง

(2) ประเมินผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําและจัดทําขอเสนอรูปแบบปรับปรุงคุณภาพน้ําที่ใชในโรงเรือนที่ทําใหมีผลกระทบตอระบบแผนระเหยน้ําและระบบพนหมอก

(3) ประเมินคาการใชพลังงานไฟฟาสําหรับการใชงานอุปกรณในโรงเรือนในสภาพการจัดการและบํารุงรักษาท่ีถูกตองเม่ือใชงานอยางเหมาะสมเต็มกําลังการผลิตทุกโรงเรือน พบวาควรอยูในอัตรา 42,000 บาท ตอเดือน

(4) ประมาณการคาใชจายในการซอมแซม บํา รุงรักษาเคร่ืองมือและอุปกรณโรงเรือนเฉพาะระบบที่จําเปน

(5) จัดทําแบบบันทึกการใชงานอุปกรณโรงเรือน (6) จัดทําตารางแนะนําการบํารุงรักษาอุปกรณโรงเรือน (7) จัดทําแบบบันทึกรายการบํารุงรักษาอุปกรณโรงเรือน

ผลการดําเนินงาน

กรมสงเสริมการเกษตรไดมอบหมายใหกองสงเสริมวศิวกรรมเกษตรดําเนินการจัดทําโครงการพฒันาการเขตกรรมภายใตโครงการจัดระบบพิเศษเฉพาะพ้ืนที่มันสําปะหลัง เพ่ือเปนการนํารองการพัฒนาการเตรียมดินที่ดีแกเกษตรกรผูปลูกมันสําปะหลัง โดยการจัดทําแปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรมในพื้นที่การเพาะปลูกมันสําปะหลังที่สําคัญ ใน 3 ภาค รวม 4 จังหวัด ไดแก จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย จังหวัดสระแกว และจังหวัดกําแพงเพชร ผลการดําเนินงาน ดําเนินการจัดทําแปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรม ใน 4 จังหวัด ไดแก จังหวดันครราชสมีา บรีุรัมย สระแกว และกําแพงเพชร เกษตรกรรวมโครงการ 697 ราย พ้ืนทีแ่ปลงสาธติ จํานวน 4,525 ไร ดังนี ้

ป2550 ดําเนินการนํารองจัดทําแปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรมในพ้ืนที่จังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดบุรีรัมย เกษตรกรเขารวมโครงการ 59 ราย พ้ืนที่แปลงสาธิต จํานวน 500 ไร โดย

จังหวัดนครราชสีมา เกษตรกรเขารวมโครงการ 20 ราย พ้ืนที่แปลงสาธิต จํานวน 200 ไร ครอบคลุมพ้ืนที่ 2 อําเภอ ไดแก อําเภอครบุรี และอําเภอเสิงสาง

จังหวัดบุรีรัมย เกษตรกรเขารวมโครงการ 39 ราย พ้ืนที่แปลงสาธิต 300 ไร ครอบคลุมพ้ืนที่ 3 อําเภอ ไดแก อําเภอโนนสุวรรณ อําเภอปะคํา และอําเภอหนองกี่

ป2551 ดําเนินการนํารองการจัดทําแปลงสาธิตการพัฒนาการเขตกรรมในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย จังหวัดสระแกว และจังหวัดกําแพงเพชร กําแพงเพชร เกษตรกรรวมโครงการ 638 ราย พ้ืนที่แปลงสาธิต จํานวน 4,025 ไร โดย

จังหวัดนครราชสีมา เกษตรกรเขารวมโครงการ 374 ราย พ้ืนที่แปลงสาธิต จํานวน 2,012 ไร ครอบคลุมพ้ืนที่ 2 อําเภอ ไดแก อําเภอครบุรี และอําเภอเสิงสาง

• เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตมันสํ าปะหลังโดยการพัฒนาวธิกีารเตรียมดิน

• ดําเนินการจัดทําแปลงสาธติการไถระเบิดดินดานในพื้นที่ที่ มีปญหาดินดานในพื้นที่เพาะปลูกมันสําปะหลงัทีส่ําคญั 4 จังหวดั

วัตถุประสงคและเปาหมาย ความเปนมา

โครงการจัดระบบพิเศษเฉพาะพื้นที่มนัสําปะหลัง

จังหวัดบุรีรัมย เกษตรกรเขารวมโครงการ 186 ราย พ้ืนที่แปลงสาธิต จํานวน 1,203 ไร ครอบคลมุพ้ืนที ่3 อําเภอ ไดแก อําเภอโนนสวุรรณ อําเภอปะคํา และอําเภอหนองกี ่

จังหวัดสระแกว เกษตรกรเขารวมโครงการ 29 ราย พ้ืนที่แปลงสาธิต จํานวน 400 ไร ในอําเภอวังสมบูรณ

จังหวัดกําแพงเพชร เกษตรกรเขารวมโครงการ 49 ราย พ้ืนที่แปลงสาธิต จํานวน 410 ไร ในอําเภอขาณุวรลักษณบุรี

ผลที่ไดรับการดําเนินงานในป 2550 สรุปไดวาสามารถเพ่ิมผลผลิตแกเกษตรกรเม่ือเปรียบเทียบกับการเตรียมดินแบบปกติ รอยละ 25-30 และพบวาเปอรเซ็นตแปงเพ่ิมขึ้นรอยละ 1.06 สวนผลจากการดําเนินงานในป 2551 อยูระหวางการติดตาม

สํารวจขอมูลโครงสรางพ้ืนฐานศูนยปฏิบัติการของกรมสงเสริมการเกษตร จํานวน 48 ศูนย ประกอบดวย ผังบริเวณ ที่ดิน สิ่งกอสราง ระบบไฟฟา แหลงนํ้า ระบบระบายน้ํา โรงเรือนเกษตร แปลงเกษตร เคร่ืองจักรกลและระบบใหนํ้าพืช รวมถึงคาพิกัดตําแหนงบนภาพถายของดาวเทียมที่แสดงอาณาบริเวณของศูนยตางๆ เพ่ือใชเปนขอมูลสําหรับการบริหารจัดการดานสินทรัพยของกรมสงเสริมการเกษตร

การรวบรวมขอมูลคร้ังน้ี นับเปนครั้งแรกที่ไดทําการรวบรวมขอมูลโครงสรางพ้ืนฐานของศูนยปฏิบัติการไวในรูปแบบเดียวกันและอยูในแหลงขอมูลเดียวกัน โดยจัดทําไวในลักษณะของ Spatial Database ที่สามารถแสดงภาพตําแหนงที่ตั้งและขอมูลรายละเอียดไวดวยกันทําใหสะดวกตอการทําความเขาใจ และสามารถเรียกใชไดบน Webpage ssnet ของกรมสงเสริมการเกษตร

• เพ่ือใหผูบริหารรับทราบขอมูลทรัพยสินของศูนยปฏิบัติการในภาพรวม

• เพ่ือใชเปนขอมูลสําหรับการบริหารจัดการสินทรัพยของ กรมสงเสรมิการเกษตร

• เพ่ือนําเสนอขอมูลในลักษณะ Spatial Database ทีใ่หหนวยงานของกรมสงเสริมการเกษตรสามารถใชประโยชนได

• มีเปาหมายสํารวจขอมูลโครงสรางพ้ืนฐานของศูนยปฏิบัติการกรมสงเสริมการเกษตร จํานวน 48 ศนูย ทัว่ประเทศ

วัตถุประสงคและเปาหมาย ผลการดําเนินงาน

การสาํรวจขอมูลโครงสรางพื้นฐานศูนยปฏบิัติการ

การสาํรวจและวิเคราะหระบบไฟฟาประจําอาคาร

วัตถุประสงคและเปาหมาย ผลการดําเนินงาน กองสงเสรมิวศิวกรรมเกษตร มีหนาที่ในการนําระบบวิศวกรรมมาใช

ในการพัฒนาการเกษตร รวมถงึการนําระบบบรหิารจัดการทางวศิวกรรมเขามาใชบริหารจัดการ สินทรัพยของกรมสงเสริมการเกษตรใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอยางชัดเจน จึงไดดําเนินการสํารวจอุปกรณไฟฟาของอาคาร กรมสงเสริมการเกษตร ประกอบดวย ระบบไฟฟาแสงสวาง ระบบปรับอากาศ ระบบคอมพวิเตอร เคร่ืองใชไฟฟาประเภทอ่ืนๆ ระบบสบูนํ้าใช และระบบปองกันอัคคภัีย รวมทัง้ไดคํานวณวเิคราะหคาการใชพลงังานของระบบตางๆ ดังกลาว ผลการดําเนินงานสรปุไดวา

1. อาคาร 1 เคร่ืองมือและอุปกรณที่ใชพลังงานไฟฟาทุกระบบ มีอัตราการใชพลังงานไฟฟา 997,818.20 กิโลวัตต/ป โดยระบบปรับอากาศมีสัดสวนการใชพลังงานไฟฟาสูงที่สุดคือ 688,398.80 กิโลวัตต/ป หรือคิดเปน รอยละ 68.99 ของการใชพลังงานไฟฟาทั้งหมดของอาคาร 1 รองลงไปคือเครือ่งใชไฟฟาประเภทอ่ืนๆ ระบบไฟฟาแสงสวาง และระบบคอมพวิเตอรตามลําดับ

2. อาคาร 5 พบวาเคร่ืองมือและอุปกรณทีใ่ชพลงังานไฟฟาทกุระบบ มีอัตราการใชพลังงานไฟฟา 330,971.08 กิโลวัตต/ป โดยระบบปรับอากาศมีสัดสวนการใชพลังงานไฟฟาสูงที่สุดคือ 175,536.48 กิโลวัตต/ป หรือคิดเปน รอยละ 53.04 ของการใชพลังงานไฟฟาทั้งหมดของอาคาร 5 รองลงไปคือ ระบบไฟฟาแสงสวางเครือ่งใชไฟฟาประเภทอ่ืนๆ และระบบคอมพวิเตอร ตามลําดับ

3. อาคาร 6 เคร่ืองมือและอุปกรณที่ใชพลังงานไฟฟาทุกระบบ มีอัตราการใชพลงังานไฟฟา 54,846.40 กิโลวตัต/ป โดยระบบปรบัอากาศมีสดัสวนการใชพลังงานไฟฟาสูงที่สุดคือ 28,536.00 กิโลวัตต/ป หรือคิดเปนรอยละ 52.03 ของการใชพลังงานไฟฟาทัง้หมดของอาคาร 6 รองลงไปคือ ระบบไฟฟาแสงสวาง เครือ่งใชไฟฟาประเภทอ่ืนๆ และระบบคอมพวิเตอรตามลําดับ ทัง้น้ี พบวาอัตราการใชไฟฟารวมลดลงรอยละ 39.39 เม่ือเทยีบกับป 2546

• เพ่ือใชเปนขอมูลสําหรับการบรหิารจัดการดานพลงังานไฟฟาประจําอาคารของกรมสงเสริมการเกษตร

• เพ่ือใชประโยชนในการบริหารทรัพยกรดานพลังงานไฟฟาของผูบริหารทกุระดับ

• แสดงในรปูของอุปกรณไฟฟาบนผงัวศิวกรรม

• ดําเนินการในอาคารสํานักงานกรมสงเสริมการเกษตร จํานวน 3 หลงั คอื อาคาร 1, 5 และ 6

อาคาร หลังท่ี

ปริมาณการใชพลังงานไฟฟาประจําอาคาร (กิโลวัตต/ป) รวม

กิโลวัตต/ป ระบบไฟฟา

แสงสวาง ระบบ ปรับอากาศ

ระบบ

คอมพิวเตอร เคร่ืองใชไฟฟา

ประเภทอื่น

ระบบสูบ นํ้าใช

อาคาร 1 101,852.80 688,398.80 80,375.00 119,430.20 7,758.40 997,815.20

อาคาร 5 70,275.20 175,536.48 9,350.00 68,946.20 6,863.20 330,971.08

อาคาร 6 14,224.00 28,536.00 3,840.00 8,097.20 149.20 54,846.40