36
FREE COPY RHYTHM RHYTHM MAGAZINE MAGAZINE live as your life Volume 1 Issue 1 November 2011 www.RhythmMagazine.net THAILAND INTERNATIONAL WIND ENSEMBLE COMPETITION 2011 การประกวดวงดุริยางคเครื่องลม ที่มีมายาวนานกวา 10 NONTRI ORCHESTRA WIND วงออเคสตรา วินด วงที9 ของโลก ASK EXPERT เมื่อเสียงหัวใจเตนเปนเสียง เพอรคัสชั่น

RHYTHM MAGAZINE Issue 1

Embed Size (px)

DESCRIPTION

TIWEC 2011

Citation preview

Page 1: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

FREE COPY

RHYTHMRHYTHMMAGAZINEMAGAZINE

live as your life

Volume 1 Issue 1 November 2011

www.RhythmMagazine.net

THAILAND INTERNATIONALWIND ENSEMBLE COMPETITION 2011การประกวดวงดุริยางคเคร่ืองลมที่มีมายาวนานกวา 10 ป

NONTRI ORCHESTRA WINDวงออเคสตรา วินด วงที่ 9 ของโลก

ASK EXPERTเมื่อเสียงหัวใจเตนเปนเสียง

…เพอรคัสชั่น

Page 2: RHYTHM MAGAZINE Issue 1
Page 3: RHYTHM MAGAZINE Issue 1
Page 4: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

ถามีคนถามคุณวาเลนดนตรีแลวไดอะไร? ก็คงมีเหตุผลรอยแปดพันเกาใหนึกตอบกันไปทั่ว สนุกดี เห็นเพื่อนเลนก็อยากเลนเปน ดูแลวเทห หรือวา ไมมีอะไรทํา !! เทาที่จําความไดผมเร่ิมเลนดนตรีก็ตอนประถม นึกไปแลวก็ไมรู วาเหตุผลจริงๆ ของเราคืออะไรกันแน ชางมันเถอะครับมันก็นานมามาก จากวันนั้นถึงวันนี้ผมคดิวา ความรูทีต่ดิตวัเรามา มนันาจะพอเปนประโยชนอะไรใหกบัผูอืน่ไดบางหรอืไม? นาจะสําคัญที่สุด ณ วินาทีนี้

พวกเราและทีมงานเขาใจตรงกันวา การทําหนังสือใหผูคนไดอานและไดเก็บไวเปนของตนเปนส่ิงที่ดีที่สุด ตามหลักคิดของ เซอร ฟรานซิส เบคอน นักปรัชญาเมธีชาวอังกฤษ คือ Reading Maketh a full man “การอานทําคนใหเปนคนโดยสมบูรณ” หนงัสอืทีท่าํเราเลือกทําเปนนติยสารแจกฟรีรายเดือนครับ เน้ือหาโดยรวมจะเกี่ยวกับดนตรีประเภทวงดุริยางค วงโยธวาฑิต วงซิมโฟนิคแบนด วงออเคสตรา และแนวดนตรีแปลกใหมรวมสมัยตาง ๆ โดยยึดแนวทางเน้ือหา 3 ดาน Educate (ความรู) Entertain (บันเทิง) และ Inspire (กําลังใจ) เนื้อหาทั้งหมดจะถูกจัดวางและกล่ันกรองออกมาใหดทีีส่ดุเทาทีค่วามเปนนกัดนตรีแบบพวกเราจะทําได เราต้ังใจทาํ 100 % ในสิง่ทีเ่รารู ถาใหรู 100 % แลวคอยทํา คงไมทนัหรอือาจไมไดทาํแนนอน

ทายนี้ขอขอบพระคุณผู ใหญทุกทานที่กรุณาชี้แนะและใหคําปรึกษาอันมีคา เพื่อน พี่ นอง ทุกคนที่ใหแนวคิดและขอคิดเห็นอยางเปนประโยชนครับ ... Please start the show !!!

EDITOR’S RHYTHM

บรรณาธิการอํานวยการวสวัตติ์ วะดี

Photo: Wasawat Wadee@ Parkstad Limburg Stadium, Kerkrade, Netherlands, 20094 RHYTHM

Page 5: RHYTHM MAGAZINE Issue 1
Page 6: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

ContentS

RHYTHM TEAM

Editor’s Rhythm ......................... 4 Calendar ................................. 8Event News ............................10Band Visit ...............................14Nontri Orchestra Wind

Did you know? ........................18เสนทางสู DCI ?

Cover Story ............................20TIWEC 2011

ที่ปรึกษา ภราดามีศกัดิ ์วองประชานุกลู ดร.ชัยพฤกษ เมฆรา อ.สุรพล ธัญญวิบูลย อ.นิพัทธ กาญจนะหุต บรรณาธิการอํานวยการ วสวัตติ์ วะดีบรรณาธิการบริหาร ธวัชชัย ใจมุขกองบรรณาธิการ จตุรภัทร อัสดรชัยกุลผูชวยบรรณาธิการ เกษม ดวงสนGraphic Design ประมาณ จรูญวาณิชยที่ปรึกษากฎหมาย ชนญั บุญพุทธารักษา

พิมพที่ บรษิทั ครองชางพริน้ต้ิง จาํกดั

บริษัท ริธมิคส จํากัดเลขที่ 159/71 หมู 1 หมูบานอนุสารวิลลาต.ปาแดด อ.เมือง จ.เชียงใหม 50100โทร.053-273600 โทรสาร.053-273601E-mail: [email protected]://www.facebook.com/rhythmmag

Music Technology ....................24Metronome & forScore

Ask Expert ..............................26เมื่อเสียงหัวใจเตนเปนเสียงเพอรคัสชั่น

New Wave .............................28พรพล สิงหฬ

Art & Acting ...........................30Thailand Drumline & Color Guard Contest

Sectional ................................32Leading instructors

Page 7: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

MarcatoSaxophone Pro Shop

สําหรับผูที่รักแซกโซโฟนเรามีแซกโซโฟนใหทานเลือกมากมายตั้งแตระดับนักเรียนถึงระดับมืออาชีพพรอมทั้งอุปกรณและการรับประกัน

เชิญทดลองYanagisawa Saxophone A-992

นวัตกรรมตัวเครื่องบรอนซพรอมการตอบสนองท่ีชัดเจน

ดวยชวงกวางของไดนามิคที่ใหเสียงอันอบอุนและไพเราะ

Marcato Music Co.,Ltd. บริษัท มารคาโต มิวสิค จํากัด 3 ซอยรามคําแหง 12 หัวหมาก บางกะป กรุงเทพฯ 10240โทร. 02-7173976-77, 086-7990077 แฟกซ 02-7173975 www.marcato.co.th Email: [email protected]

ตัวแทนจําหนาย Yamaha, kenneth, Yanagisawa, Hoffner String, Meyer Mouthpiece, Jody Jazz Mouthpiece,Otto Link Mouthpiece, Claude Lakey Mouthpiece, Best Brass, Sibelius Software, Bam Case

Page 8: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

CALENDAR

The 7th Season of TPO opens with grand flourish, in a concert celebrating 80 years of diplomatic relations between Switzerland and Thailand, as Swiss principal guest conductor Claude Villaret and cellist Pi-Chin

เทศกาลดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา

Asia on stage 1 – 18th พบกับการแสดง 17 รายการ ทั้ง Con-

cert, Theatre, Dance, Performance และ Workshop and Forum ติดตอสอบถามและสํารองท่ีนัง่ไดที ่อ.นพพล 081-8050531 อ.มานพ 083-7021602 หรือติดตามรายละเอียดไดที่ Facebook Fan-page “MUPA COMPANY OF THE ARTS”

ขาวดีสําหรับสาวก X Japan วงร็อกระดับตํานานของญ่ีปุน พวกเขากลับมารวมตัวกันและออกทัวรคอนเสิรต 2011 World Tour ครั้งนี้ถือเปนครั้งแรกที่สาวก X Japan เมืองไทยจะไดสัมผัสกับการแสดงที่ยิ่งใหญ กับ Oishi Chakulza Presents X Japan 2011 World Tour in Bangkok ในวันอังคารที่ 8 พฤศจิกายนนี้ ที่อิมแพ็ค อารีนา เมืองทองธานี บัตรราคา 1,000 / 2,000 / 3,000 / 4,500 และ 6,000 บาท ซื้อบัตรไดที่ไทยทิคเก็ตเมเจอรทุกสาขา ขอมูลเพ่ิมเติม โทร. 0 2262 3838 หรือ www.thaiticketmajor.com

การประกวดวงดุริยางคเคร่ืองเปานานาชาติ แหงประเทศไทย 2554 ครั้งที่ 13 ชิงถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ และเงินรางวัล กวา 2 ลานบาท โดยมีการประกวดท้ังหมด 3 รุน ไดแกระดับทัว่ไป ระดบัสถานศกึษา และระดบัวงเครือ่งเปาขนาดเลก็ เชญิสมัผสักบัวงดรุยิางคชัน้นําของเมอืงไทยและตางประเทศไดที่ หอแสดงดนตรีวิทยาลัยดุริยางศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา)

สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ 02 800 2525-34 ตอ 153,154 www.music.mahidol.ac.th

เวลา 9.00 -17.00 น.

Thailand International Wind Ensemble Competition : 2011 23 – 27 th

X Japan 2011World Tour in Bangkok

8 NOVEMBERIMPACT ARENA

MUANH THONG THANI

Opening Night @ Jubilee Concert : 4th – 5th November 2011

Chien join together to for the world premiere of Swiss composer Fabian Müller’s “Sirimadi” for Cello and Orchestra. The program also features Brahms’ Symphony No. 1.Time : 4 November 2011 / 7.00 p.m. / (Music Auditorium, College of Music, Mahidol University)

5 November 2011 / 4.00 p.m. / (Music Auditorium, College of Music, Mahidol University)

Symphony of Sorrowful Songs : 18th – 19th November 2011

NOVEMBER 2011

TPO visits Warsaw in this concert featuring returning guest conductor Dariusz Mikulski conducting the music of Polish composer Henryk Mikolaj Górecki. Soprano soloist Iwona Handzlik will be featured on several of Górecki’s well-known arias.

Time : 18 November 2011 / 7.00 p.m. / (Music Auditorium, College of Music, Mahidol University)

19 November 2011 / 4.00 p.m. / (Music Auditorium, College of Music, Mahidol University)

Office: Tel: 02-800-2525-34 Ext. 148, 151 Fax: 02-800-2530 For tickets and reservations please call: 02-800-2525 Ext. 153, 154

RHYTHM8

Page 9: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

SUN TECH MUSIC INSTRUMENTSSUN TECH MUSIC INSTRUMENTS

“YOUR SOURCE FOR EVERYTHING”

www.suntechinstruments.com Tel.08-6977-7288

CONCERT, MARCHING, PERCUSSION AND GUARDAND ALL BAND SUPPLIES!

“วางแผนอยางรอบคอบ คุมครองอยางครอบคลุม”เกราะคุมครองความมั่นคงของครอบครัวเกราะคุมครองความมั่นคงของครอบครัว

“เกราะปองกันความเสียหาย ตอสุขภาพและเงินออม” เกราะคุมครองอนาคตบุตรหลาน เกราะคุมครองอนาคตบุตรหลาน มั่นคงดวยกองทุนการศึกษา มั่นคงดวยกองทุนการศึกษา

“เกราะคุ มครองชีวิตหลงัเกษียณม่ันคงดวยกองทุนเกษียณอายุ”

สอบถามผลิตภัณฑ 084-3654527 085-5498533สมัครตัวแทน 084-6159115

Page 10: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

EVENT NEWS

จบลงไปแลวกับกิจกรรม RSU Jazz Education Festival 2010 ซึ่งมี Artist นักประพันธเพลงระดับโลก เจาของรางวัลแกรมม่ี อวอรด Ms. Maria Schneider มารวมงานในครั้งนี้ บรรยากาศภายในงานน้ันเตม็ไปดวยผูคนทีส่นใจมากมาย ทีร่อรบัชม รบัฟงผลงานของนกัประพนัธเพลงระดับโลก ซึ่งควบคุมวงโดย Ms. Maria Schneider เจาของรางวัลแกรมมี่ อวอรด จากผลงาน Concert in the Gardner ในป 2004 และ Best Instrument Composition ในป 2007 นอกจากนี้เธอยังไดรับการโหวตจากสมาพันธนักขาวดนตรีแจส ในตําแหนง Jazz Album of the Year

RSU Jazz Education Festival 2010

มหกรรมคอนเสิรต 10 ป คม ชดั ลกึ

THAILAND INTERNATIONAL MARCHING BAND 2011

เม่ือตนเดือนกันยายน 2554 ที่ผานมาน้ีเอง ไดมีการจัดประกวด THAILAND INTERNATIONAL MARCHING BAND 2011 ขึ้น ณ สนามกีฬาแหงชาติ ศุภชลาศัย ซึ่งเปนรายการที่รวมเอาวงโยธวาทิตช้ันนําของเมืองไทย และตางประเทศมาแขงขันกัน อาทิวงจากประเทศมาเลยเซีย สิงคโปร ฮองกง และผลการแขงขันในแตละรุนปรากฏวาวงในประเทศไทยสามารถควาแชมปมาไดทกุประเภท Division 1 ไดแกโรงเรียนสวนลุมพินี Division 2 ไดแกโรงเรียนวรรัตนศึกษา สําหรับการประกวด Street Parade แชมปไดแกโรงเรียนบุญวัฒนา และอีกรายการที่มีความมันสไมแพกันคือการประกวด Drum Battle ซึ่งแชมปก็เปนไปตามท่ีคาดหมายคือวง Bangkok Society Drumline

“มหกรรมคอนเสิรต 10 ป คม ชัด ลึก” ณ หองเชียงใหมฮอลล เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหมแอร พอร ต ชาวเชียงใหมตางใหความสนใจพร อมระ เบิดความมันส อย างเต็มที่ งานนี้ท าน ผู ว าราชการจั ง ห วั ด เชี ย ง ใหม หมอมหลวงปนัดดา ดิศกุล ใหเกียรติมารวมงานในคร้ังนี้ดวย สําหรับงานนี้ศิลปนที่มีชื่อเสียงของเมืองไทยไวอยางมากมาย อาทิเชน ฟรายเดย แสตมป อทีีซี ปาลมมี่ และบอดี้สแลม จนทําใหบัตรที่แจกใหกับคนดูถึงกับไมพอกันเลยทีเดียว

RHYTHM10

Page 11: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

เพราะไดมีโอกาสพูดคุยเร่ืองคลาริเน็ทกับนักดนตรีมืออาชีพหลายทาน ทําใหไดทราบขอมูลที่ชัดเจนอยางหนึ่งคือองคประกอบของคลาริเน็ทที่ดีมีตัวแปรหลายอยางไมวาจะเปน ตัวเครื่องทําจากไมคุณภาพดี คียกดทําจากวัสดุที่มีคุณภาพ หรือแมกระทั่งปากเปาคุณภาพดีที่มีขนาดเหมาะสมกับผูเลน ในครั้งแรกท่ีเรามีโอกาสไดพบกันนี้ “ผม...มิสเตอรมาย” จึงอยากนําเรื่องราวของ “นวมดํา” ชิ้นสวนสําคัญของเครื่องดนตรีคลาริเน็ท ที่เปนท่ีนิยมในหมูนักเลนคลาริเน็ททั่วโลกมานําเสนอครับ

นวมดํา หรือ Silence Pads เกิดขึ้นและเริ่มรูจักในหมูนักดนตรีคลาริเน็ทในประเทศไทยโดย มิสเตอร Wolfgang Lohff ชางซอมเครื่องดนตรีที่มีชื่อเสียงระดับโลกชาวเดนมารก ซึ่งหลังจากที่ทานไดใหความรูและทําการซอมเคร่ืองเปล่ียนนวมชนิดน้ีใหกับนักดนตรคีลารเินท็ในประเทศไทยหลายทาน ทาํใหเกิดคาํถามวา “ทาํไมถึงตองเปนนวมดํา” “นวมดําแตกตางและดีกวานวมปกติอยางไร” มิสเตอรมาย ขอใหขอมูลเพื่อตอบขอของใจดังนี้ครับ

วัสดุที่ใชผลิตนวมจริงๆแลวมีดวยกันหลายชนิดเชน หนัง ไมกอก ผนังลําไสของวัวหรือแกะ กระเพาะหรือหนังของปลา วัสดุสังเคราะหตางๆเปนตน และนวมดําเปนหน่ึงในวัสดุสังเคราะหที่พสิจูนไดวามปีระสทิธภิาพ และตอบสนองการใชงานไดดทีีส่ดุอยางหนึ่งในทุกวันนี้ครับ

ศูนยซอมและบริการทางดานอะไหล สําหรับเคร่ืองดนตรีวงโยธวาทิตครบวงจร

ใหคําปรึกษาในการดูแลรักษา ซื้อ – ขายเครื่องดนตรีโยธวาทิต

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการทางดนตรี (Workshop & Master class)

ที่ปรึกษาและผูรวมจัดมหกรรมวงโยธวาทิตทางในและตางประเทศ ( Festival Artistic Coordinator)

ขอแตกตางขอนวมดํา (Silence Pad) กับนวมปกติ

1. นวมดํามีความเงียบมากกวาเวลากดคียและเงียบลดแรงกระแทกขณะเลน

2. นวมดาํมคีวามเสถยีรมากกวา หลงัจากปรบัจนูแลว จะมีความคงท่ีและมีการทรุดตัวของนวมนอย

3. นวมดํามีความคงทนมากกวา โดยนวมปกติจะมีอายุการใชงาน 2-3 ป แตนวมดําจะมีอายุการใชงานนาน 3-5 ป ในสภาพการใชงานปกติ

4. นวมดํามีการปดของหนานวมสนิทกวา ทําใหเครื่องตอบสนองไดดีขึ้น เปาสบายข้ึน ซึ่งนวมปกติจะมีระดับการรั่วของลมในแตละจุดมากกวา ทําใหนักดนตรีตองพยายามมากขึ้นเพื่อใหไดเสียงที่ตองการ เชน การกัด Mouthpiece มากขึ้น การดันลมมากกวาที่ควรจะเปน อาจสงผลเสียแกการควบคุม Intonation ซึ่งนวมดําชวยทานได

นี่เปนเพียงขอแนะนําเล็กๆนอยๆเทานั้น หากทานยังมีขอสงสัยเพิม่เตมิ หรอืตองการทดสอบคุณภาพของนวมดํา สามารถติดตอ มิสเตอรมาย ไดที่ มาย มิวสิค โปรดักชั่น 3331/56 ซ.แฉลมนิมติร ถ.สดุประเสริฐ แขวงบางโคล เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 Tel: 02 688 4228 Fax: 02 688 4227 E-mail: [email protected]

Page 12: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

เมื่อไมกี่อาทิตยที่ผานมากับงาน มหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาติ กรุงเทพฯ 2011 ณ หอประชุมใหญ ศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย กรุงเทพมหานคร บรรดาผูคนที่เขาชมการแสดงตางตืน่ตาตืน่ใจกบัการแสดงระดบัโลกมากมาย ทัง้โอเปรา ดนตรี บัลเลตและแดนซ อีกท้ังยังมีศิลปนจํานวนไมนอยจากหลายประเทศทั่วโลกทั้งบราซิล แคนาดา เม็กซิโก รัสเซีย และสหราชอาณาจักร ตางเดินทางขามโลกเพ่ือมาเปดการแสดงใหกบัคนไทยไดรับชม ภายในงานนี้รวมแลวมีงานแสดงทั้งสิ้นถึง 18 ชุด เลยทีเดียว

ในวันอังคารที่ 11 ตุลาคม 2554 ที่ผานมา ณ ศูนยกีฬาเทศบาลนครปฐม บรษิทั สยามดนตรียามาฮา จาํกัด รวมกับโรงเรียนดนตรสียามกลการนครปฐม และเทศบาลนครนครปฐมจัดงาน MAX Percussion Theatre Live in Nakhonpathom เปนการอบรมเชงิปฏิบัติการโดยวง แม็กซ เพอรคัสช่ัน เธียเตอร (แชมปประเทศไทย จากการประกวด Thailand Drumline Contest 2011) ไปแบบเตม็วงกวา 40 ชวีติเพือ่ชาวเพอรคสัชัน่นครปฐมและจังหวัดใกลเคยีง โดยมีนักเรียนและผูสนใจเขารวมการอบรมในคร้ังนี้มากมาย ทําใหเห็นวาปจจุบันมีคนสนใจในเร่ืองของ Percussion มากขึ้น

มหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรีนานาชาต ิกรงุเทพฯ 2011

MAX Percussion Theatre Live in Nakhonpathom

RHYTHM12

Page 13: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

ตัวแทนจําหนายเครื่องดนตรีชั้นนําสําหรับวงโยธวาทิตชุดดุริยางค ชุดนักแสดงอุปกรณประกอบการแสดง รับซอมเครื่องดนตรีโยธวาทิตรับออกแบบภาพแปรขบวน ชุดนักแสดงอุปกรณธง ปายหนาวงเปดสอนทฤษฎีดนตรีสากลระดับมัธยมศึกษาและระดับมหาวิทยาลัยคอมพิวเตอรดนตรีSibelius, Finale, Cubase, 3D Java (โปรแกรมออกแบบภาพแปรขบวน)รับเรียบเรียงเพลงสําหรับวงโยธวาทิตรับจัดอบรมสําหรับวงโยธวาทิต (Work shop)สอนศิลปะเด็ก (Kids Art)

บริษัท อัลติเมท แบนด ช็อป จํากัด 257/14 ถ.สุเทพ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200

Mobile 08-6731-7217, 08-3207-7603 Office & Fax 0-5327-6566

Email: [email protected]

Page 14: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

NontriOrchestra WindÍÍà¤ÊμÃŒÒ ÇÔ¹´ � ǧ·Õè 9 ¢Í§âÅ¡

BAND VISIT

เรามาเลนดนตรีไมใชเพราะหนาที่ แตมาดวยจิตวิญญาณ ดวยการเปนแบบอยางที่ดีใหกับเยาวชน เพื่อใหเขามีแรงบันดาลใจไดคิดในสิ่งที่ชอบ (Like) และทําในสิ่งที่ใช (Right) แคนี้ผมวา…ก็มีความสุขแลว

เร่ือง : กองบรรณาธิการ

RHYTHM14

Page 15: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

หากพดูถงึวงดรุยิางคเครือ่งลมในประเทศไทยอาจฟงดไูมคุนหหูรอืดมูไีมมากนกัเพราะดวยความไมเขาใจและไมคุนชินกับดนตรีประเภทน้ี ในวงการนักดนตรีดวยกันแลว “วงดุริยางค” คือภาพกลุมนักดนตรีที่อยูในโรงเรียนเปนสวนมาก หลายวงเปนที่รูจักกันดีในระดับประเทศ และอีกหลายวงไดสรางชื่อเสียงระดับโลกเชนกัน แตสําหรับวงดรุยิางคเคร่ืองลมในระดับอดุมศึกษาน้ันคงไมใชเร่ืองงายนักทีจ่ะกอรางสรางวงขึน้มา อกีหนึง่เรือ่งราวท่ีเปนแบบอยางที่นาภมูใิจ คอืวงดุรยิางคเคร่ืองลมก่ึงอาชีพ แหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วงออเคสตรา วินด วงที่ 9 ของโลก ภายใตชื่อ “Nontri Orchestra Wind”

Í.ÊØþŠ¸ÑÞÞÇÔºÙÅÂ� Í.ÊØþŠ¸ÑÞÞÇÔºÙÅ � »ÃÐÇÑμ Ô¡Òá‹Íμ Ñé§Ç§¹¹·ÃÕÁÕ¤ÇÒÁ໚¹ÁÒÍ‹ҧäÃ

เ มื่ อ ป 2 5 4 0 มห า วิ ท ย า ลั ยเกษตรศาสตรตองการต้ังวงดุริยางคเคร่ืองลมขึ้นเพื่อทํากิจกรรมตาง ๆ ทั้งภาคสนามและคอนเสิรตโดยรวบรวมศิษยเกา สาขาวชิาดนตรีตะวนัตกมาเลนรวมกัน ดวยระยะเวลา 2 ปจึงกอตั้งวงขึ้นไดและสามารถเลนไดอยางมีมาตรฐาน ทําใหเปนท่ีรูจักตอผูคนเปนอยางมากโดยเฉพาะนักเรียนระดับมัธยมท่ีไดเห็นการแสดงแลวจึงเกิดความสนใจที่อยากจะเอ็นทรานสเขามาเรียนตอในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเพื่อใหไดเขามารวมเลนกับวง และจากการเริ่มตนพรอมดวยการพัฒนาอยางตอเนื่องประกอบกบัปณธิานอนัแนวแนของศษิยเกา จงึเปนทีม่าของวงดุรยิางคเคร่ืองลมก่ึงอาชีพ ณ ปจจุบัน

»̃ÞËÒáÅÐÍØ»ÊÃä㹡ÒëŒÍÁ¤×ÍÍÐäÃ

สมาชิกสวนมากลวนเปนศิษยเกาที่มีอาชพีอยางม่ันคงแลวทัง้ส้ิน การกลับมาเลนรวมกันจึงเปนความตั้งใจอยางเสียสละของแตละคน ซึ่งเร่ืองน้ีเปนเรื่องสําคัญเพราะวงยังไมมีงบประมาณท่ีเพียงพอที่จะใหคาตอบแทนกับนักดนตรี รายไดที่ไดรับในแตละคร้ังจะเพียงพอแคคาใชจายในการจัดงานครั้ง ๆ หน่ึงเทานั้น แตเราก็ไมไดคิดวาเปนปญหาและอุปสรรคแตอยางใด

¢ÍÍÒ¨ÒÃÂ�½Ò¡¢ŒÍ¤Ô´ãËŒ¡Ñº¼ÙŒ·Õè¡íÒÅѧ¨ÐàÃÕÂ¹μ ‹Í´ŒÒ¹´¹μÃÕ

สิง่ทีต่องการฝากกับผูทีก่าํลงัวางแผนจะเรียนดนตรีรวมถึงผูที่กําลังเรียนอยูคือ

ผูควบคุมวง

การวางเปาหมายของตนเองในอนาคตใหชัดเจน เพราะการเรียนดนตรีคือการเรียนวิชาเฉพาะดาน ดนตรีสามารถพาตัวเราใหมอีาชพีทีด่แีละมีเกยีรตไิด เชนการประกอบอาชีพครู อาจารย โดยครูจะตองพยายามทาํตนใหเปนแบบอยางทีด่แีกศษิย สามารถดูแลใหความรู เขาได รวมทั้งเสริมสรางเทคนคิใหม ๆ ใหกบัผูคนไดศกึษาตอยอดไดเปนตน ฉะนั้นถาเราต้ังใจจริงในการเรียนรูแลว ปลายทางของการเรียนดนตรีสามารถประกอบอาชีพไดอีกมากมายเชนกัน

RHYTHM 15

Page 16: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

หลังจากเรียนจบยังใชชีวิตอยูในวงทั่วไปโดยเลนดนตรีกับรุ นนองและซอมไปกับรุ นนองเหมือนเดิม แตหลังจากระยะเวลาผานไปประมาณ 2 ป สมาชิกในวงที่เปนนิสิตปจจุบันมีจํานวนมากขึ้น ชัยวัฒนจึงมองวาศิษยเกาท่ีเรียนจบไปแลวแตยังมีใจรักในการเลนดนตรีมีจํานวนไมนอย จึงรวบรวมศิษยเกาเพ่ือกลับมาเลนใหกับวง ซึ่งถือวาแตละคนมีคุณภาพและประสิทธิภาพความเปนนักดนตรีสูงมาก แตละคนมาดวยใจ มาดวยความรัก ยอมหยุดงานหรือสลับเวลาการทํางานเพื่อจัดเวลามาซอมใหตรงกันในทุกวันเสาร ไมวาจะมาจากจังหวัดสมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา และที่อื่น ๆ โดยรอบ “ผมวาเรามาเลนดนตรีไมใชเพราะหนาที่ แตมาดวยจิตวิญญาณ ดวยการเปนแบบอยางที่ดีใหกับเยาวชน เพื่อใหเขามีแรงบันดาลใจไดคิดในสิ่งที่ชอบ (Like) และทําในสิ่งที่ใช (Right) แคนี้ผมวาก็มีความสุขแลว”

ªÑÂÇѲ¹ � ¾ÃÇѲ¹Ò¹Ø¡ÙÅ

Êؤ¹¸ÃÊ ä·ÂÂ׹ǧÉ�Êؤ¹¸ÃÊ ä·ÂÂ׹ǧÉ�“ทุกคร้ังที่มีตารางซ อมกับวงนนทรี

จะสลับเวลาและยายตารางสอนนักเรียนเสมอ เรามองวาการกลับมารวมวงเหมือนทําใหเรากลายเปนนิสิตอีกครั้ง เราเริ่มสัมผัสดนตรีครั้งแรกเพยีงแครูสกึในใจวา “เทหด”ีเลยสมคัรเขาวงโยธวาฑติของโรงเรียนและเริม่เลนดนตรมีาตลอด เราใชดนตรีสอบเขาเรียนตอโรงเรียนเตรียมอุดม เรียนไปดวยเลนดนตรีไปดวย และเราก็ใชความรู ดานดนตรีสอบเขาศึกษาตอในสาขาดนตรีตะวนัตก ภาควิชาศลิปนเิทศ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยไมเคยจายเงินคาเรยีนพเิศษเลย หลงัจากเรยีนจบเราสรางชวีติพรอมดูแลคุณพอคณุแมไดอยางมีความสุข เหลานีจ้ากความรูดานดนตรลีวน ๆ ฉะนัน้การไดกลบัมารวมวงกันของศิษยเกาจึงเปนส่ิงที่ดีมาก และในฐานะที่เปนนักดนตรีคนหนึ่งคิดวาการมีวงใหนักดนตรีไดเลนรวมกัน เปรียบเสมือนนักมวยที่มีเวทีใหชก ยิ่งชกมากก็จะเกงขึ้นมาก นักดนตรีที่มีวงที่ดีใหไดเลนก็จะเกงขึ้นอยางมากเชนกัน”

ประธานวง

ประชาสัมพันธและสมาชิกวง

R

RHYTHM16

Page 17: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

แผนการเรียนศิลป-ดนตรีโรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย เชียงใหมโรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย เชียงใหม

โรงเรียนมงฟอรตวทิยาลัย ดาํเนนิงานดานการศึกษาในสายสามัญโดยเฉพาะแผนการเรยีนวทิยาศาสตร- คณติศาสตร, แผนการเรยีนศลิป-ฝรัง่เศสและภาษาจนี นอกจากน้ันยงัมีกจิกรรมท่ีสรางช่ือเสียงใหกบัโรงเรียนเปนอยางยิง่คือ กจิกรรมวงโยธวาทติ โดยโรงเรียนไดสงเสริมกิจกรรมดานดนตรีสากล ใหกบันกัเรียนอยางตอเนื่องในลักษณะนอกเวลาเรียน และเปนสวนหนึ่งของกลุมสาระศิลปะ

แผนการเรียนศิลป- ดนตรี เริ่มข้ึนในปการศึกษา 2553 เพื่อรองรับความตองการของนักเรียน ที่ตองการเรียนวิชาดนตรีเปนวิชาหลัก และสามารถนําไปสอบเพื่อศึกษาตอในระดับมหาวิทยาลัยได ซึ่งผลงานดานวงโยธวาฑิตและดานดนตรีเปนทีป่ระจักษตอสาธารณชนอยางชัดเจนเสมอมาตลอดระยะเวลากวา 80 ป

ติดตอสอบถามรายละเอียดไดที่ ฝายวิชาการ (ศิลป-ดนตรี)โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย แผนกมัธยม(053) 245572-5 ตอ 421, 404, 406Fax. (053) 245571 www.montfort.ac.th

World Music Contest 2009, Kerkrade, Netherlands.

Page 18: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

วันนี้เราจะมาพูดถึงการเตรียมตัวในการไปสอบคัดเลือกเขารวมวง Drum Corps ทั่วสหรัฐอเมริกา จากผูที่มีประสบการณหลายๆทานที่เคยไปสัมผัสมาแลว และการเมลไปสอบถามผูฝกสอนผูควบคุมวงหลายๆวงดวยตัวผูเขียนเอง

มาเร่ิมตนกันเลยดีกวา

• ในขั้นแรกตองไปเปดวีดีโอ ศึกษาลักษณะรูปแบบที่เกี่ยวกับวงทุกวงท่ีเราใหความสนใจจะไปเขารวมแตละวงวาแตกตางกนัยงัไง มอีะไรทีเ่ราชอบไมชอบ และมอีะไรที่เหมาะหรือไมเหมาะกับเรายังไงบาง ?

• แนะนําใหศึกษาหาขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ตั้งเก่ียวกับแตละวง วาอยูที่ไหนของสหรัฐอเมริกา เพราะมีผลตอการเดินสายสอบคัดเลือก เชน ถาจะไป California วงท่ีอยูในละแวกท่ีเราสามารถเดินทางไป

Did you know ?àÊŒ¹·Ò§ÊÙ‹ DCI ʹÒÁ´¹μÃÕÃдѺâÅ¡

สอบไดก็จะมี Blue Devils, Santa Clara Vanguard, Mandarins สวนถาจะยายไปอีกโซนหน่ึง ก็จะเปน Cavaliers, Phan-tom Regiment หรือวงอ่ืนๆ อยาลืมวา สหรัฐอเมริกาไมใชประเทศเล็กๆ การท่ีจะเลือกไปสอบ Blue Devils ถาไมติดจะไปสอบ Cavaliers ตอ มันไมใชเรื่องงายแนนอน

• ติดตามขาวสารของวงผานทางเวปไซด แล วเมล ไปหาวงท่ีเราสนใจ สอบถามขอมูลรายละเอียดท่ีเราตองการจะทราบจากวงโดยตรง

• จัดแจงสมัครสอบใหเรียบรอย โหลด Audition Packet มาฝกซอมใหแนนๆ เตรียมตัวใหดี ในทางที่ดีควรติดตอหาท่ีพัก ขอคําแนะนํา จากทางวงวาเราควรเตรียมตัวยังไง เดินทางชวงไหน กินอยู

หลับนอนอยางไร หลังจากน้ันก็ติดตอขอวีซา ซื้อตั๋วเคร่ืองบิน เตรียมความพรอม แคนั้นเอง

เทาที่ไดพูดคุยกับผูฝกสอนหลายๆ วง สวนใหญแลวคอนขางไมคอยสนใจกับทักษะวาจะตองสูงมากมาย แตสิ่งท่ีจําเปนมากๆ สําหรับการไปเลนที่นั่นคือเร่ืองภาษา เราจําเปนจะตองสื่อสารใหคลองเพ่ือประโยชนตอตนเองและสวนรวมของวง เพราะมันจะสงผลตอการฝกซอมของวง

ผูที่เคยมีประสบการณหลาย ๆ คนฝากมาบอกวา ฝมือเด็กไทยไมไดเปนรองเลยแมแตนอย เพียงแตเราไมเอาจริงเอาจังในการฝกซอมเทานั้นเอง ไมเชนนั้นก็สอบติดกันแบบสบายๆอยูแลว ยังไงก็แลวแตอยาลมืวา Practice makes perfect นะคะ

เลนวงโยธวาฑิตกันมาต้ังหลายป บางคนก็อยากไปใหไกลกันแบบสุดๆไปขางหน่ึง ถาจะพูดถึงสุดยอดวงโยธวาฑิตของโลกใบน้ี มคีนจาํนวนไมนอยทีจ่ะไมรูจกั Drum Corps International หรอืทีเ่รยีกกนัติดปากวา DCI หลายคนคิดวาเปนเรื่องไกลเกินฝน แตหากมาดูกันจริงๆแลวการไป DCI ไมใชเรื่องที่ไรสาระ หรือเปนไปไมไดซะทีเดียว

R

เรื่อง: จตุรภัทร อัสดรชัยกุล

RHYTHM18

Page 19: RHYTHM MAGAZINE Issue 1
Page 20: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

TIWECThailandInternational Wind

Ensemble Competition¡ÒûÃСǴǧ´ØÃÔÂÒ§¤�à¤Ã×èͧÅÁ·ÕèÁÕÁÒÂÒǹҹ¡Ç‹Ò 10 »‚

การประกวดวงดุริยางคเครื่องเปานานาชาติแหงประเทศไทย ถือกําเนิดขึ้นครั้งแรกเมื่อป พ.ศ.2542 โดยการทองเที่ยวแหงประเทศไทยรวมกับมหาวิทยาลัยมหิดล ในการจัดการประกวดครั้งที่ 1-10 นั้นไดใชชื่อวา Asian Symphonic Band Competition (ASBC) และในครั้งที่ 11 เดือนพฤศจิกายน 2552 ไดเปลี่ยนช่ือภาษาอังกฤษจาก “International Symphonic Band Competition, (ISBC)” เปน “Thailand International Wind Ensemle Competition, (TIWEC)” เพื่อใหจดจําไดในระดับสากลมากยิ่งขึ้น ถือเปนการจัดประกวดท่ีมีมูลคารางวัลสูงที่สุดในประเทศ ดวยเงินรางวัลรวมทุกประเภทกวา 2 ลานบาท

Cover Story

RHYTHM20

Page 21: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

Cการจัดประกวดมีทั้งวงเล็ก (Small Ensemble) และวง

ใหญ (Large Ensemble) การจัดการประกวดทุกครั้งที่ผานมาน้ัน ประสบผลความสําเร็จอยางสูง ไดรบัการยอมรับจากนานาชาติและประชาชนท่ัวไป โดยมีสถาบันดนตรี ตลอดจนโรงเรียนตางๆ ทัง้ไทยและตางประเทศ ใหความสนใจสงวงดุรยิางคเคร่ืองเปาเขาประกวดเปนจํานวนมาก การที่วิทยาลัยดุริยางคศิลปจัดการประกวดวง

ดุริยางคเคร่ืองเปานานาชาติขึ้นเปนประจําทุกป นับวาเปนการเปดโอกาสใหกับวงดุริยางคเครื่องเปาของไทยไดเขารวมการประกวดที่มีมาตรฐานในระดับนานาชาติมากขึ้น ทั้งยังชวยกระตุนบรรยากาศทางดานศิลปวัฒนธรรมดนตรี และรวมถึงเปนการสงเสริมใหเยาวชนไทยไดใชเวลาวางใหเกดิประโยชน รวมทัง้จะไดมโีอกาสในการพฒันาศักยภาพของตนเองดานดนตรีในเวทีระดบันานาชาติ

ภาพ : โรงเรียนหอวัง กรุงเทพมหานคร

TTTrrrrrrriiiiiammmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm UUUUUUUUUUddddddddddddddddddddddddoooooooooooooooooommmmmmmmmmm SSSuuuuuuuuuukkkkkkkkkkkkkkkkkkkkkkkkssssssssssaaaaaaaaaa WWWWWWWWWWWWWWWWWiiiiiiiiiiiinnnnnnnnnnngggggg SSSSSSyyyymmmmmmppppphhhhhhhhhoooooonnnnnnnnnnnnyyyyyyyyyyyyyyyyyyyy OOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOOrrrrrrrrrrcccccccccchhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhhheeeeeeeeeeeeeeeeeeessssssssssstttttttttttttttttttrrrraaa

RHYTHM 21

Page 22: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

การแขงขันแบงออกเปน 3 ประเภท คือ

ระดับเอ (Class A: Wind Band) เปนการประกวดสําหรับนักดนตรี

ผูที่มีอายุไมเกิน 25 ป โดยมีจํานวนสมาชิก

30-80 คน รวมผูอํานวยเพลง

ระดับบี (Class B: Wind Ensemble)

เปนการประกวดสําหรับผู ที่มีอายุ

ไมเกิน 20 ป โดยมีจํานวนสมาชิก 25-80

คน รวมผูอาํนวยเพลง และมีการรับรองจาก

สถาบันการศึกษา

ระดับซี (Class C: Small Wind Ensemble)

เปนการประกวดสําหรับผู ที่มีอายุ

ไมเกิน 25 ป โดยมีจํานวนสมาชิก 4-10 คน

ในการตัดสินการประกวด วิทยาลัย

ดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล ไดเชิญ

คณะกรรมการผูเชี่ยวชาญทั้งในและตาง

ประเทศมาเปนผูตดัสนิและใหขอเสนอแนะ

แกวงท่ีเขารวมการประกวด เพ่ือเปดโอกาส

ใหนักดนตรีไดเกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู

และพัฒนาศักยภาพสูความเปนเลิศทาง

ดานดนตรีตอไป

ครั้งที่ 1 พ.ศ.2542 Yuhua Secondary School จากประเทศสิงคโปร

ครั้งที่ 2 พ.ศ.2543 Sarasitphithayalai School Band จากประเทศไทย

ครั้งที่ 3 พ.ศ.2544 Montfort Symphonic Band จากประเทศไทย

ครั้งที่ 4 พ.ศ.2545 The C.Y.C Band จากประเทศไตหวัน

ครั้งที่ 5 พ.ศ.2546 Attawit Commercial College Band จากประเทศไทย

ครั้งที่ 6 พ.ศ.2547 Assumption College Lampang Symphonic Band จากประเทศไทย

ครั้งที่ 7 พ.ศ.2548 Attawit Commercial College Band จากประเทศไทย

ครั้งที่ 8 พ.ศ.2549 Triamudomsuksa Wind Symphonic Orchestra จากประเทศไทย

ครั้งที่ 9 พ.ศ.2550 Re_Fa, Mi_Do จากประเทศไทย

ครั้งที่ 10 พ.ศ.2551 Suth iwararam Concert & Marching Band จากประเทศไทย

ครั้งที่ 11 พ.ศ.2552 Sarasas Ektra Symphonic Band จากประเทศไทย

ครั้งที่ 12 พ.ศ.2553 วง RTAF Wind Symphony จากกองดุริยางคทหารอากาศ ประเทศไทย

การประกวดวงดุริยางคเคร่ืองเปานานาชาติแหงประเทศไทยจัดมาแลวทั้งหมด 12 ครั้ง มีวงที่ไดรับรางวัลชนะเลิศในแตละป ดังนี้

RHYTHM22

Page 23: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

การประกวดวงดุริยางคเครื่องเปานานาชาติ เปนการจัดกิจกรรมที่ถาวร มีเกียรติ เชื่อถือได พัฒนาและสรางใหวงการดนตรีในประเทศไทยมีศักดิ์ศรี มีความเช่ือมั่น นาเช่ือถือของนานาชาติ ซึ่งเปนรากฐานสําคัญของการพัฒนาประเทศ เพื่อใหเด็กไทย (รุนใหม) เปนที่เชื่อถือของประชาคมโลก

รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข คณบดีวิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล

การประกวดวงดุริยางคเคร่ืองเปานานาชาติแหงประเทศไทยครั้งที่ 13 จะเริ่มขึ้นอีกครั้ง โดยเปดใหทุกคนสามารถเขารับชมการประกวดดงักลาวได บตัรราคา 200 และสาํหรบันักเรยีน/นกัศกึษา 100 บาท

สอบถามรายละเอียดตารางเวลาการประกวดเพิ่มเติมไดที่ 02-800-2525 ตอ 153-4 หรอื www.music.mahidol.ac.th/tiwec

RHYTHM 23

Page 24: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

สําหรับเจาแอพ “TEMPO” ตัวนี้นะครับจริงๆก็เรียกไดวาเปน metronome ไมกี่ตัวใน iOS ที่มีฟงกชั่นในการใชงานท่ีครบครันและมีมานานแลวทีเดียวครับ ผลิตขึ้นโดยบริษัท Frozen Ape ออกมาตั้งแตประมาณป 2009 ใชไดกับอุปกรณ apple ทุกตัวที่ใช iOS ครับ Feature หลักๆของมันเลยคือมีถึง 35 Time signature ที่ใหเลือกได มี Rhythmic Subdivision หรือจังหวะนับยอยนั่นเอง มีใหเลือกไดถึง 6 แบบ เลือก Tempo ไดตั้งแต 10 - 400 โดยมีคําบอกอัตราจังหวะเชนพวก Allegro,Largo บอกอยูดานบนจังหวะตัวนี้ชวยไดมากเวลาเราเจอคําพวกนี้บนโนตแลวไมรูวาจังหวะควร

สวัสดคีรบัยนิดตีอนรับเขาสูคอลลมัน App review ในวันน้ีจะขอ Review App ของ iOS (ระบบปฏิบัติการของ iPhone,iPod touch และ iPad)ที่เรียกไดวาเปนเคร่ืองมือที่มีประโยชนกับการซอม และชวยในการพัฒนาในการซอมไดอยางมีประสิทธภิาพเลยทีเดยีวมาเร่ิมกนัที ่App แรกกันดกีวาครับ เปนสิ่งที่นักดนตรีจะขาดไมไดในการซอมเลยก็คือ “Metronome” นั่นเอง

Music Technologyสนุกกับเทคโนโลยี ดนตรีงายนิดเดียว

Metronome

&& forScore

MetronomeName : TEMPO Type : MetronomeDesign for : All iOS devicePrice : 1.99$ (ประมาณ 60 บาทไทย)Developer : Frozen Ape

NAME : forScoreType : Notation ViewerPrice : 4.99$ (ประมาณ 150 บาทไทย)

Developer : MGS Development

จะเทาไหร เราก็สามารถจะหาจากในน้ีได อีกท้ังยังสามารถ Tap tempo ไดอีกดวย การ Tap Tempo คือการที่เราแตะลงไปในจังหวะที่เราไมรูวาเทาไหร แลวเจาแอพนี้สามารถที่จะบอกเราไดวา อัตราที่เรากดลงไปน้ันมันจังหวะเทาไหรนะครับ สวนดานบนสดุทีเ่ปนเม็ดกลมๆน้ัน เราสามารถท่ีจะเลือก Accent แตละจงัหวะในหน่ึงหองไดอยางอสิระเลยครับ โดยจะเลือกเปน accent,normal หรือ mute (ไมมีเสียง) ก็ไดครับเรียกไดวาเปนแอพที่มีประโยชนคุมคากับเงิน 60 บาทที่เสียไปเลยครับสิ่งที่สู metronome ราคาพันสองพันตามทองตลาดไมไดก็คงจะมีแคเรื่องความดังทีเ่บาไปหนอยเทาน้ันเองครับ จริงๆแลวแอพตัวนี้มีตัวที่เสียเงินเพิ่มขึ้นมาเปน Tempo Advance และมีตัวที่เปน version ของ iPad ที่ซับซอนขึ้นไปอีกนะครับ

ตอไปมาดูแอพตัวตอไปท่ีเรียกไดวาเปล่ียนวิธีการใชชีวิตของนักดนตรีอยางเราๆไดอยางนาเหลือเชื่อ เจาแอพตัวนี้ชื่อ “forScore” ครับมาดูกันเลยดีกวาวาหนาตาเปนยังไงกันบาง

เจ า forScore ตัวนี้ก็ เป นแอพสําหรับดูโนตนั่นเองครับ ใชไดเฉพาะบน iPad เทานั้นครับเหตุผลก็เพราะจอ iPad

มนัใหญพอทีจ่ะดโูนตไดนัน่เอง หลักการการทํางานก็คือการเก็บ file .PDF ที่เปนโนตมาอยูในตัวแอพโดยมีการเพิ่มฟงกชั่นเชนการเรียงโนตตาม Composer หรือวาการใสพวก Notation mark พวก piano,forte เคร่ืองหมาย

sharp, flat ตางๆเขาไปไดดวย คือหลักๆ การใชงานของแอพนีไ้มไดมไีวใหเราแกโนตแตมไีวใหเราเขยีนเตอืนตวัเองในสิง่ทีค่วรจาํ เหมือนกับเวลาเราเขียนดินสอลงบนโนตกระดาษจริงๆ

ขอดีแบบสุดๆของเจาตัวนี้ก็งายๆเลยครับ ลองคิดดูนะครับ เราตองพกโนต

เปนปกแบกไปซอมที่นูนที่นี่ เปนแผนๆไหนจะหายไหนจะปลิวอีก หากเรามี iPad อยูแลวการแทนท่ีโนตเปนปกดวย iPad เปนเร่ืองท่ีดีมากๆเลยครับ เพราะนอกจากเราจะพกพานอยลงแลว เราก็ยังไดความสามารถเชนการ zoom เรียงโนตเปนหมวดหมู และ การเปล่ียนหนาที่รวดเรว็เพียงแคสัมผัส อีกดวย เรียกวาสามารถเปล่ียนชีวิตไดเลยละครับ

สําหรับฉบับนี้มีเทานี้ครับ ขอใหสนุกกับการซอมดวยเทคโนโลยีครับ สวัสดีครับ

เพิ่มเติม

http://appfinder.lisisoft.com/app/metronome-tempo.html

http://www.youtube.com/watch?feature=player_embedded&v=cl_853RDkG4

สําหรับดูโนตiPad เทานั้น

มนัใหญการ.PDโดยเรียวาพว

forScore

เร่ือง : ปยทัศน เหมสถาปตย

RHYTHM24

Page 25: RHYTHM MAGAZINE Issue 1
Page 26: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

àÁ×èÍàÊÕ§ËÑÇã¨àμŒ¹à»š¹àÊÕ§à¾ÍÃ�¤ÑʪÑè¹

Í.་Ҿѹ¸ � ÍíÒ¹Ò¨¸ÃÃÁ

་Ҿѹ¸ � ÍíÒ¹Ò¨¸ÃÃÁª×èÍàÅ‹¹ : ËÁÙà¡Ô´ : 14-5-2524ÍÒÂØ : 30 »‚ÍÒªÕ¾ : Percussion Soloist

ASK EXPERT

ถาจ ะ พู ด ถึ ง นั ก เ ล นเพอร คั ส ช่ั น ระดั บ

แนวหนาสักคนในประเทศตอนน้ี คงจะมีนอยคนท่ีไมรูจัก‘เผาพันธ อํานาจธรรม’ หรือที่คนอื่นทั่วไปเรียกกันวา พี่หมู อ.หมูหรือจะอะไรก็ตามสุดแลวแตจะเรียก

ในปจจุบันนี้ อ.เผาพันธถือวาเปน

คนดนตรีที่มีฝมือ ผลงานที่โดดเดน มีผูคน

ไวเนือ้เช่ือใจใหฝากผลงานไวกบัการประพันธ

เพลงมากมายนับไมถวนกวาจะมาถึงทกุวนันี้

กวาจะมีผลงานท่ีผู คนในวงการยอมรับ

มากมายขนาดนี ้อ.เผาพนัธเคยผานอะไรมา

บาง ผลงานเปนอะไรบางและมแีนวคดิอะไร

เกี่ยวกับการประพันธเพลงเพอรคัสช่ันบาง

ถือวาเปนเรื่องที่นาสนใจอยางยิ่ง

อ.เผาพันธ เร่ิมศึกษาดนตรีโดยเปน

สมาชิกวงโยธวาทิตของโรงเรียนอุดมศึกษา

เรื่อง: กองบรรณาธิการ

RHYTHM26

Page 27: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

ã¹μ‹Ò§»ÃÐà·ÈऌÒãËŒà¡ÕÂÃμԡѺ¤íÒÇ‹Ò “¹Ñ¡´¹μÃÕÁÒ¡” μŒÍ§ÁÕ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍºμ‹Í˹ŒÒ·Õè “äÁ‹à¤ÂÁÕ¤íÒÇ‹Ò ¢íÒæ ã¹ËÁÙ‹¢Í§Á×ÍÍÒªÕ¾àÅ” «Öè§ã¹ä·Â¡çÂѧμŒÍ§ÂÍÁÃѺNjҤ¹·ÕèàÃÕ¡μÑÇàͧNjҹѡ´¹μÃÕ¡çÂѧÁÕàÅ‹¹áºº “¢íÒæªÔÇæ” ¡Ñ¹ÍÂÙ‹ ¹Õè¤×ÍÊÔ觷Õè·íÒãËŒ “¹Ñ¡´¹μÃբͧàÃÒáÅÐà¢Òμ‹Ò§¡Ñ¹”

་Ҿѹ¸ � ÍíÒ¹Ò¨¸ÃÃÁ

เมื่อตอนอยู ป.6 จนจบ ม.3 จากนั้นไป

ศึกษาตอที่โรงเรียนบดินทรเดชาจนจบ

ม.6 จึงเขาศึกษาตอจนจบ ป.ตรีที่คณะ

ครุศาสตร จุฬาฯ กับ อ.เกษม ทิพยเมธากุล

และ ป.ตรี Percussion Performance,

Mozarteum University ประเทศ Austria

กับ Prof.Dr.Peter Sadlo และกําลังศึกษา

ตอ ป.โทท่ีมหาวิทยาลัยเดียวกัน ปจจุบัน

อ.เผาพันธ เปนอาจารยพิเศษอยูที่คณะ

ครุศาสตร จุฬาฯ, คณะมนุษยศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

อีกทั้งยังมีประสบการณในการเลน

ดนตรีร วมกับวงดนตรีชั้นนําระดับโลก

ทั้งประเภท Marching และ Orchestra

มากมาย เริ่มตนตั้งแต

• Madison Scout Drum & Bugle

Corps, USA

• Junge Philharmonie Salzburg

• Mozarteum University Orchestra

• Philharmonie der Nationen,

Germany

• Pan Asia Orchestra

• Thailand Philharmonic Orchestra

• Bläser Philharmonie Salzburg

และอ่ืนๆอีกมากมาย ซึ่งในระหวาง

และหลังจากเก็บเกี่ยวประสบการณตางๆ

มากมาย เผาพันธยังมีผลงานประพันธ

เพลงมารชชิ่งเพอรคัสชั่นไปดวย (ทั้ง Pit

Percussion และ Battery)

อ.เผาพันธไดใหความเห็นวาการ

เรียบเรียงเพลงประเภท Marching Band

หรือ Drumline นั้นจริงๆแลวไมไดมีอะไร

ซบัซอนหรือลกึซกัเทาไหรนกั เหตุผลหลักกค็อื

ผูชมจะมโีอกาสไดนัง่ดโูชวนัน้ๆเพยีง 7 - 10

นาทีเศษๆ จึงตองการใหผูชมทั่วไปเขาใจ

และเขาถึงไดงาย การเริ่มตนจะเรียบเรียง

เพลงทั้งสําหรับ Pit และ Battery นั้น

สิ่งท่ีจําเปนมากๆเลยก็คือ ทฤษฎีดนตรี

(การบันทึกโนตใหอานและเขาใจงาย การ

แยกหมวดหมูตัวโนต ศัพทดนตรีตางๆ)

การเรียบเรียงเสียงประสาน (Harmony,

Chord) การแตงทํานองสอดประสาน

สําเนียงของ Rudiment ตางๆความ

เชี่ยวชาญหรือความรูจักเครื่องดนตรีที่เรา

กําลังจะเรียบเรียง ซึ่งถาใครไมมีความรูที่ดี

เพียงพอในเรื่องของตางๆที่กลาวมาขางตน

มักจะพบปญหาในเร่ืองประพันธออกมา

แลวไมมีความกลมกลืนกับเครื่องอื่นๆ

ผูเรียบเรียง Battery บางคนไมใหความ

สํ า คั ญกั บทฤษ ฎี ดนต รี ม าก นั กและ

เชื่อวาไมไดสงผลกระทบเทาไหร ในความ

เปนจริงแลวเคร่ืองท่ีไมมีระดับเสียงอยาง

กลุ ม Batteryนั้น ก็จะมีทํานองของ

ตัวเองอยู มีประโยคเพลง (Phrasing) มี

ทํานอง (Melody) มีทํานองสอดประสาน

(Counter Melody) อยางท่ีบอกไปแลว

ขางตนวาเพลงอยางที่เราๆ ใชแสดงกันอยู

ไมไดลกึซึง้หรือหลดุถงึขัน้ Contemporary

Music แตกระน้ันแลว การเรียบเรียงก็ยัง

จําเปนตองใชคุณสมบัติขางตนในการชวย

ทําใหผลงานที่ออกมาไพเราะมากขึ้นตอทั้ง

ผูเลนและผูฟง

เมื่อพูดถึงวงการ Percussion ใน

บานเราในประเภท Marching และ Indoor

Percussion อ.เผาพันธไดแสดงความ

เห็นวา มีพัฒนาการสูงขึ้นอยางตอเนื่อง

ไมวาจะเปนเรื่องทักษะหรือความรูที่มีเพิ่ม

มากขึน้จากเมือ่กอนอยางเหน็ไดชดั แตสิง่ที่

นาเปนหวงก็คือ องคความรูตางๆ ถึงเราจะ

ชวยกันพยายามกระจายใหไปทั่วประเทศ

แคไหน แตถาไมลงมือปฏิบัติ(ทักษะเครื่อง

ดนตรี) ความรูนั้นก็จะนอนอยูในหัวซึ่ง

นานๆวันไปก็ลืมหมด รวมไปถึงการไมได

สงเสริมใหมีการตอยอด ทําใหไมเกิดผล

แตที่ดูแลวจะเปนปญหาจริงๆก็คือ ถาไม

ลงประกวด ก็ไมซอม หรือไมก็ซอมแบบไม

เอาจริงเอาจัง

อ.เผาพันธ ยังฝากถึงผูที่อยากเปน

นักประพันธเพลงสําหรับ Percussion

ดวยวา ควรที่จะตองศึกษาทฤษฎีดนตรี

อยางจริงจัง รูธรรมชาติของเครื่องดนตรี

ที่เราจะเขียน รูกลุมบุคคลท่ีเราจะเขียนให

ฟงเพลงเยอะๆ (ไมแนะนําใหลอกเลียน)

เพื่อสําหรับวิเคราะหวาผูแตงตองการจะ

สื่ออะไร ทําไมถึงเขียนแบบน้ี แลวเราก็จะ

สามารถนํามาประยุกตตอไปไดในเร่ืองของ

แนวคดิ(ไมใชเอาเพลงผูอืน่มาประยกุต) เพือ่

การพัฒนาทักษะของนักประพันธบานเรา

R

RHYTHM 27

Page 28: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

รูจักพรพลเริ่มเลนดนตรีครั้งแรกตอนอยูชั้นประถมศึกษา

โรงเรียนเพ็ญพัฒนาจังหวัดลพบุรี หลังจากยายมาเรียนตอระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนวินิตศึกษาจังหวัดเดยีวกนั โดยจดุเร่ิมตนเกดิจากการไดเขาเปนสมาชกิชมรมวงโยธวาฑิตของโรงเรียน แลวไดเห็นรูปในหลวงทรงแซกโซโฟน จึงเกิดความรูสึกอยากเลนเหมือนพระองคทาน แตดวยความเปนคนตัวใหญจึงถูกเลือกใหเลนเครื่องยูโฟเนียมและมีโอกาสไดเขารวมการแขงขันในระดับประเทศดวยคร้ังหนึ่ง กอนจะไปศึกษาตอในระดับมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่วิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล และในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยเดียวกัน

NEW WAVE

¾Ã¾Å ÊÔ§ËÌเขารวมเปนสมาชกิวง The Cavaliers Drum & Bugle Corps

ป 2007 และ 2009 ปจจุบันเปนอาจารยพิเศษใหกับวงตาง ๆ ในประเทศไทย ประเทศสิงคโปร และประเทศมาเลเซีย

àÂÒǪ¹ä·Â¡ÑºÇ§´ÃÑÁ¤Íà �»ÃдѺâÅ¡

The Cavaliers Drum and Bugle Corps

เร่ือง: กองบรรณาธิการ

RHYTHM28

Page 29: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

จุดเริ่มตนและประสบการณ ตอนเรียนอยูที่มหาวิทยาลัยมหิดลมีรุ นพี่นําแผนวีซีดี

ของวง The Cavaliers Drum and Bugle Corps มาใหดูเปนชุดการแสดงป 2001 (The Four Corner) ซึ่งดูแลวมีความช่ืนชอบเปนอยางมากจึงพยายามศึกษาทําความรูจักวงน้ีใหมากข้ึน และพยายามหาหนทางเพ่ือตองการไปยืนในสนามน้ันใหได โชคดีมีรุนพ่ีที่รูจักไดใหคําแนะนําดานการสมัครและการสอบคัดเลือก จึงตัดสินใจสมัครเพ่ือขอรับวีดีโอมาศึกษาเพ่ือฝกซอม การเตรียมตัวในคร้ังนี้ตนเองเรียนรูจากส่ือท่ีไดรับและใหเวลาในการฝกซอมอยางหนัก การเดินทางเพ่ือเขารวมการสอบคัดเลือกจะตองไปถึงกอนหนึ่งสัปดาหเพื่อซอมใหญใหผูคุมสอบไดดูกอน แตดวยปญหาและอุปสรรคในการเดินทางทําใหเดินทางไปถึงกอนการสอบเพียงแค 2 วัน ผลการสอบคือสอบรอบแรกไมติด แตดวยความพยายามและต้ังใจจึงเกาะติดการสอบรอบสองอีกคร้ัง โดยขออาศัยรถบรรทุกเครื่องเพื่อเดินทางไปสอบที่เมือง Atlanta ใชเวลาอยูบนหลังรถทัง้ส้ิน 5 วนัเตม็ แลวฝนก็เปนจรงิดวยการสอบติดรอบสองจากผูเขาสอบ 200 คนเฉพาะเครื่องบาริโทนเพียงอยางเดียว

นกัดนตรทีีน่ีม่คีวามรับผิดชอบสงูมาก เขาเนนรับคนที่สามารถสอนได ไมเนนคนเกง เรามีหนาที่ซอม ซอม แลวก็ซอมอยางเดียว การเดินสายแขงกวา 30 สนามในรอบป ลวนเปนประสบการณทีม่คีามาก ใครที่ตองการจะไป DCI ตองทําการบานเยอะเพราะไมไดยากอยางท่ีคิดและท่ีสําคัญอยายอมแพกับความตั้งใจของเรา

R

RHYTHM 29

Page 30: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

Stand Still Play DivisionHorwang Drumline

หอวงัปนีไ้มสนใจรุนใหญ คงจะหวังสรางนองใหมเพือ่ปตอๆไปหนักลับมาลงในรุนเล็ก ยืนตีสบายๆ ปนี้มาเต็มสูบจัดมาแบบเต็มๆ ที่ฮือฮานาจะเปน Fast Things และ Shake Hand with The Beef 2 เพลงที่เรียกคะแนนไดเปนอยางดี ซึ่งถือวาทําไดดีในเลยทีเดียวสวนคูแขงอีก 4 ทีมปนี้ก็มาแบบไมเบา เรียกไดวาไมใหหอวังเอาถวยไปถือสบายๆไมวาจะเปน มารีวิทยา ศรีมโหสถ นนทรีวิทยา พนัสพิทยาคาร และ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการลําลูกกา รับอันดับที่ 2 ถึง 5 ไปตามลําดับ ซึ่ง 4 วงที่เหลือก็สงสัญญาณใหเห็นแลววาวงการดรัมไลนบานเราไดพัฒนาไปแบบกาวกระโดด เตอืนไวใหรูวาในปหนาถาจะหวงัมาลงถวยนี ้แลวจะเกบ็ถวยแบบสบายๆ ก็ลืมไปไดเลย

Junior Division Udom Suksa Drumline

ยังคงมาตามนัดเหมือนเดิมสําหรับ อุดมศึกษา แชมปเการุนนี้จากปที่แลวยังคงช่ืนชอบในการนําเพลงจากภาพยนตรมาใชสําหรับการแสดงเหมือนเดิมซ่ึงปที่แลวมาในการแสดงชุด ‘The Prince Of Egypt’ เรียกไดวาปนี้ตองมารักษาแชมป โดยมาในการแสดงชื่อ ‘Pirates Of The Caribbean’ และอุดมศึกษาก็ไมพลาดรับรางวัลชนะเลิศไปครองตามคาด ดวยเพลงประกอบการแสดงท่ีคอนขางคุนหูกับผูชมอยูแลวบวกกับองคประกอบอ่ืนที่ทําใหผูชมติดตามและเขาใจในการโชวไดไมยากนัก ไมวาจะเปน ฟลอรผาใบ พรอพ ซึ่งทําใหโชวนี้ออกมาสมบูรณ ผานสตรีวัดระฆังคูแขงไดไมยากนัก ไมรูวาปหนาอุดมศึกษาจะยังกลบัมาเรียกแชมป 3 สมยัตดิหรือไม ยังไงก็ตองติดตามกันตอไป

Art & Acting

Thailand Drumline aColor Guard Cont

RHYTHM30

Page 31: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

การประกวดดรัมไลนและคัลเลอรการดชิงชนะเลิศแหงประเทศไทย คือเวทีแหงการสรางสรรคจิตนาการ ผสานศาสตรและศิลปแหงดนตรีและศิลปะการแสดง สะทอนออกมาสูสายตาผูชมดวยเร่ืองราวท่ีนาสนใจ ความกลมกลืนในทุกองคประกอบนี้คือผลผลิตของเหลาเยาวชนนักดนตรีที่ตางมารวมกันดวยมิตรภาพอันมีคา “รางวัล”เปนเพียงเครื่องบงบอกระดับความสามารถ แตไมอาจแบงกั้นมิตรภาพที่ดีที่มีใหตอกันได

WINNERS

Senior Division Suranaree Drumline

หลังจากหางหายไปหลายปกบัการประกวดวงดรมัไลน ถาจะชมผลงานของสุรนารีก็ตองยอนไปป 2008 ปนี้กลับมาคงไมหวังรางวัลอะไรนอกจากชนะเลศิเทาน้ัน เรยีกไดวาคงซุมซอมกนัมาแบบไมใหมีชองวางใหหักคะแนนกันเลย Beauty and the Beast โฉมงามกับเจาชายอสูร คือโชวที่สุรนารีจัดมาใหผูชมแบบไมมีกั๊ก ชุด ฉาก พรอพ ทุกอยางมาแบบอลังการงานสราง สวนเพลงก็ไดมือฉมังโดย อ.เผาพันธ เรียบเรียงให ทุกอยางถูกถายทอดออกมาแบบสมบรูณแบบ ไมวาจะเปนการแสดง บทเพลง การแปรขบวน เรยีกไดวานัง่จบัผดิยงัเหนือ่ยเลย สดุทายแลวสรุนารกีไ็มพลาด ควาถวยพระราชทานไปครองไดสมใจ.

Open DivisionMax Percussion Satriwitthaya 2 School

ใครท่ีไดไปชมการประกวดในปนี้คงจะทราบดีวารุนน้ีการแขงขันเขมขนขนาดไหน เรียกไดวาแทบจะเปนไฮไลทของการประกวดในปนี้เลยดวยซํ้า สุดทาย Max Percussion จาก สตรีวิทยา2 แชมปเกาจากปทีแ่ลวในรุนน้ี หกัปากกาเซยีน ชอ็ควงการดรมัไลนบานเรา ดวยชัยชนะเหนือ Bangkok Society Drumline และ Citrus Family รองแชมป สาเหตุที่ทําให Max Percussion ไดรบัชยัชนะในครัง้นี ้นาจะเปนการถายทอดดนตรซีึง่เลนยากเหมอืนเดิม และทําออกมาไดดี สะอาดเรียบรอยตามสไตล แตโชวปนี้ไมไดมาแบบสบายๆเหมือนปที่แลว ทําใหผูชมหลายคนยังไมเขาใจโชวซะทีเดียว ยงัไงก็แลวแตในปหนา รุนนีน้าจะขนกันมาประกวดแบบเต็มที่เหมือนเดิม

and test

RHYTHM 31

Page 32: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

SECTIONALSW

OO

DWIN

D

BRAS

Sเมื่อฉันตองเลือก& เม่ือฉนัถูกเลอืกโดย เสริมศักดิ์ แกวกัน

เรื่องพ้ืนฐานที่ถูกลืมโดย จักรพันธ ชัยยะ

นักดนตรีสวนใหญในบานเรามักจะเร่ิมตนมาจากนักเรียนโยธวาทิต เพราะนาจะเปนดนตรทีีใ่กลตวัเรามากท่ีสุด มีเครื่องดนตรีใหเลือกเลนหลากหลาย ณ

เ ม่ื อกล าว ถึ ง เ ร่ื องพื้ น ฐ า น ท่ี สุ ด แ ส น จ ะสํ าคัญ สําหรับคนที่ เ ล นเคร่ืองBrassแลว คําตอบก็คงหนีไมพนเร่ือง “การใชลมหายใจ”แนนอน โดยสวน

วินาทีนี้อาจมีนองๆบางกลุมท่ีกําลังตัดสินใจสมัครเขาวงโยธวาทิตของโรงเรียนอยู เทาที่เคยประสบพบเจอก็จะมีอยูสองกลุมหลกัๆ คอืกลุมแรกเปนกลุมทีม่เีครือ่งดนตรีในดวงใจอยูแลวสามารถเลือกเครื่องดนตรีที่ตนเองสนใจไดเลย กลุมท่ีสอง คอือยากเลนแตยงัไมรูจะเลนเครือ่งดนตรี

มากเราจะโตมากบัคาํวา “ลม” เชน ใหใชลมเรว็ ลมชา ลมตางๆ อกีมากมาย แตในความเปนจริงแลว ลมทีว่าคอื “อากาศ” ทีอ่ยูรอบตัวของทุกๆคน ซึง่เปนปจจยัทีส่าํคัญมากของทุกสรรพส่ิง สาํหรับคนท่ีเลนเคร่ือง Brass อากาศย่ิงเปนสวนที่สําคัญ เพราะ เราหายใจนําเอาอากาศเขา และเปาลมหายใจออกเปนพลงังานท่ีคอยขับเคล่ือนใหริมฝปากของเราส่ันสะเทือนเกิดเปนเสียงขึ้นมา

เชื่อวาทุกคนที่เลนเคร่ือง Brass ตองผานการฝกซอมการใชลมหายใจมาแลวไมมากกน็อย การฝกซอมนัน้เปนการฝกเพือ่สรางกลามเน้ือภายในรางกายใหแข็งแรง ไมวาจะเปนปอด หรือกระบังลม เพื่อนําไปใชควบคุมลมในการเปาใหมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น

สิ่งที่ควรมุงเนนก็คือ เรียนรูการควบคุมลมหายใจของตัวเองใหได ทัง้หายใจเขาและออก เปาลมออกอยางสม่ําเสมอ โดยใชกลามเนื้อที่เราฝกซอมมาเปนตัวควบคุม ที่สําคัญอยาลืมวารางกายตองผอนคลาย ไมเกร็งจนปวดเม่ือยนะครับ

แบบฝกหัดที่ใชในการฝกซอมมีมากมายหลายรูปแบบ เน่ืองจากเราจาํเปนตองใชลมหายใจหลากลกัษณะกนั ดงันัน้ในการฝกซอมเราควรซอมใหครอบคลุม แตอยาลืมวาทุกครั้งที่หายใจเขาตองใหไดความรูสึกเหมือนเรากําลังหาวเวลางวงนอน นั่นคือการหายใจท่ีถูกวิธี แตอยางวงจริงๆนะครับ หนังสือประกอบการฝกซอมที่แนะนํา คือหนังสือ Breathing Gym ของคุณ Sam Pilafian และคุณ Patrick อยาลืมนะครับ ซอมทุกวัน นํามาใชใหถูกวิธี จะทําใหเราพัฒนาไดอยางรวดเร็วครับ

เกี่ยวกับผูเขียน

จักรพันธ ชัยยะ สมาชิกวง The Chiangmai Youth Philharmonic Band and Symphony Orhcestra (CPO) ตําแหนงทรัมเปต ปจจุบันเปนอาจารยประจําสอนทรัมเปตที่ วิทยาลัยดุริยศิลป มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม

ประเภทใด? กลุมนี้มักจะถูกอาจารยเปนผูเลือกเครื่องดนตรีให !!

หนึ่งในองคประกอบหลักในวงโยธวาทิตก็คือเคร่ืองดนตรีประเภท Woodwind (เคร่ืองเปาลมไม) ซึ่งไมวานองๆไดเลือกเครื่องดนตรีประเภทนี้เปนเครื่องดนตรีในดวงใจ หรืออาจารยเปนผูเลือกให ก็ถือไดวาเราไดรับภารกิจที่อยูหนึ่งใน Section สําคัญของวงเลยทเีดยีว สิง่ทีค่วรมเีปนอนัดบัแรกในการเลนเครือ่งดนตรีประเภท Woodwind ก็คือ “ความพยายามและต้ังใจ” ครับ ถาขาดส่ิงนี้ก็ยากท่ีจะพัฒนาไปยังจุดท่ีเราตองการได ฉะน้ันทักษะในการปฏิบัติเครื่องดนตรี เปนเรื่องที่ทุกคนสามารถฝกฝนกันไดแนนอน

ขอตอนรับสมาชิก Woodwind ทุกทาน ทุกโรงเรียนทั่วประเทศครับ เปนกาํลงัใจใหกบัความพยายามบวกความต้ังใจ แลวฉบับหนามาซอมดวยกันนะครับ

เกี่ยวกับผูเขียน

เสริมศักดิ์ แกวกัน ผูเลนและปฏิบัติเครื่องดนตรี Wood-wind มานานกวา 20 ป เปนผูควบคุมวง ผูอํานวยเพลงและเปนผูฝกสอนใหกบัวงดุรยิางคชัน้นาํในประเทศไทยพรอมรางวัลมากมายทั้งระดับประเทศและนานาชาติ ปจจุบันเปนอาจารยประจําแผนการเรียนศิลปดนตรี และเปนผูฝกสอนวงโยธวาทิตโรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย จงัหวัดเชียงใหม

Provide practical tips with the leading Instructors

RHYTHM32

Page 33: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

PERC

USSI

ON

GUA

RD

การเปนนกัเพอรคสัชัน่ทีด่ีโดย เกษม ทิพยเมธากุล

อบอุนรางกายโดย ประพันธศักดิ์ ปานเสียง

คํ าถามยอดนิยม? “อยากเปนนักเลน Per-cussion ที่ดีตองเตรียมตัวยังไงบาง?” เอาละ! มาเริ่มกันเลยดีกวา นักเลนเครื่อง Percussion เปนสะเหมือน

Color Guard หรือที่เม่ือไทยเราเรียกวา “นักแสดงประกอบ” ในสมยัเมือ่ประมาณ 10 - 15 ปที่แลวนั้น อาจจะเปนSectionที่ทุกคนพยายามหลีกหนีให

กบัหวัใจของวง เปนศนูยรวมของทกุๆอยางในวง เปนหลักของรูปแบบดนตรีเกือบทั้งหมด จังหวะมีความสําคัญตอโครงสรางเพลงและนอกจากนี้ยังมีบทบาทสําคัญในการเพ่ิมสสีนัของบทเพลงนัน้ๆอกีดวย การเรยีนรูทีจ่ะเปนนกั

ไกลที่สุด แตทุกวันน้ีคนสอนมีมากขึ้น รวมท้ังส่ือในรูปแบบตางๆ ทําใหการพัฒนาของ Color Guard ในประเทศไทยเปนแบบกาวกระโดดจนแทบพูดไดวา “มผีลทําใหวงแพหรอืชนะไดเลยทีเดยีว” การเตรียมความพรอมกอนซอมแบบงายๆ จึงสําคัญอยางมาก

1. ความแข็งแรงของรางกาย : เริ่มจากการว่ิงเบาๆ รักษาความเร็วและจังหวะของเทา แลวตอดวยการยืดกลามเน้ือ สวนตางๆ ทั้งรางกาย หลังจากนั้นใหออกกําลังกายแบบการเพิ่มกําลังใหกลามเน้ือ เชน Sit Up, Push Up หรือแบบฝกหัดที่ผูฝกสอนออกแบบไวให เพือ่เสริมสรามกลามเน้ือ ใหมคีวามแข็งแรง สามารถรองรับความเหน่ือยและลา ตลอดทั้งโชวได

2. การ Warm Up Basic ในอุปกรณตางๆ : หลายๆ คนอาจจะเคยเจอกับปญหาการ เจบ็ทีข่อมอื หวัไหล และคอ ซึง่เหตุผลหลักๆสวนใหญ มาจากการที่เราไม Warm Up Basic ในอุปกรณตางๆหรือบางครั้งก็ทําไมเพียงพอ อาการเจ็บปวดก็จะตามมาแนนอน เชน ถาตองการโยน Rifle 6 รอบ เราควรเร่ิมWarm ตั้งแต 1-2 รอบ และเพ่ิมขึ้นจนถึง 6 รอบ การทําอยางนี้ จะชวยลดการบาดเจ็บ และทําใหทุกคนโยน Rifle ไดดีขึ้นอีกดวย

3. หาเวลาซอมสวนตัวใหกับตัวเอง : ควรมีเวลา 30 นาที ถงึ 1ชัว่โมง ในการซอมสวนตวัในการเกบ็และซอมทาตางๆ ทีต่วัเองยงัทาํไมได ถาไมแนใจก็ใหรุนพีห่รอืเพือ่นมาซอมเปนเพือ่นและชวยกนัด ูการซอมเปนคูกม็ปีระโยชนมากเพราะจะชวยเรือ่งองศาตางๆของอุปกรณ และสามารถเช็คไดวา ตรงไหนท่ีเรายังผิดอยูบาง ที่สําคัญ เม่ือเรารูวาผิดตองรีบแกไขทันที

ผมเชื่อวาหลักในการเตรียมตัวงายๆกอนซอมแคนี้ จะทําใหทุกคนพัฒนาไปเปน Color Guard ไดไมยาก แคทุกคนตั้งใจและเอาใจใส เราก็จะเปน Color Guard ที่เกงแนนอน

เกี่ยวกับผูเขียน

ประพนัธศกัดิ ์ปานเสยีง ผูฝกสอนและออกแบบการแสดงการใชอุปกรณ Color Guard ใหกับวงดุริยางคชั้นนําของเมืองไทยท้ังในระดับประเทศและระดับนานาชาติอาทิเชน รายการการแขงขันดนตรีโลก และวงดรัมคอรปภาคพ้ืนเอเชียตะวันออกเฉียงใต

เลน Percussion ที่ดีตองใชเวลาเปนปๆ ของการปฏิบัติ และการซอมอยางหนักอยูคนเดียวและกับวงดนตรีของคุณ

คําแนะนําในการเตรียมตัว

1. การเตรียมพรอมของอุปกรณในการซอม และการแสดง ไมวาจะเปนเครื่องกําหนดจังหวะ, ไม, โนตแบบฝกหัด, โนตเพลงหรือเคร่ืองดนตรีที่จะใช ใหอยูในสภาพที่สมบูรณแบบท่ีสุด พรอมใชงานและเหมาะสมกับบทเพลงน้ันๆอยางดีที่สุด

2. การวางแผนในการซอมใหถูกตองและมีประสิทธิภาพสูงสุด

3. การเปดรับในทุกๆดานของการเรียนรู ไมวาจะเปน การด,ู การฟง, การอาน และการซอมแบบท่ีเรยีกวา “Self checking”

4. การรูจกั การตีความของเครือ่งหมายตางๆ ชือ่ของเครือ่งดนตรี รวมถึงคําศัพท การจดจําอัตราความเร็วของ Tempo ตางๆ ไดอยางแมนยาํ และทีส่าํคญัไมแพเรือ่งอืน่ๆ คอื การรูอยางแตกฉาน ในสัดสวนของโนต และสัดสวนของ RHYTHM ตางๆเปนอยางดี

5. ศึกษาการอานโนตในบรรทัด 5 เสัน เรียนรูบันไดเสียง รวมถึงคอรดตางๆ

เพียงเทานี้ก็เพียงพอที่จะเปนนักเลน Percussion ที่ดีกันไดแลวครับ

เกี่ยวกับผูเขียน

เกษม ทิพยเมธากุล คือหนึ่งในนักเพอรคัสช่ันแนวหนาของเมืองไทย เปนอาจารยพิเศษมหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และเปนกรรมการตัดสินของ WAMSB รวมทั้ง Pearl Drum Artists (Thailand) Marching Percussion

RHYTHM 33

Page 34: RHYTHM MAGAZINE Issue 1

MEMBER

CORNER

สมัครสมาชิกนิตยสาร

วิธีการชําระเงิน (ระยะเวลา 1 ป จํานวน 12 ฉบับ)

ที่อยูในการออกใบเสร็จ

ที่อยูในการจัดสง

ขอมูลผูสมัครสมาชิก

ตองการสมัครสมาชิกนิตยสาร Rhythm Magazine จํานวน 12 ฉบับ (12 เดือน)

เริ่มตั้งแตเดือน....................................... โดยยินดีเสียคาใชจายในการจัดสงเปนจํานวนเงิน 450 บาท

เหมือนที่อยูในการจัดสง

บรษิทั/หนวยงาน..................................................หมูบาน..........................................

เลขที.่...............................ซอย.............................ถนน...............................................

ตาํบล/แขวง.................................................อาํเภอ/เขต............................................

จงัหวดั.........................................................รหสัไปรษณยี.........................................

บริษัท/หนวยงาน.....................................................หมูบาน.........................................เลขที่................................ซอย............................

ถนน............................ตาํบล/แขวง...........................อาํเภอ/เขต...................................จงัหวัด.............................รหสัไปรษณีย..................

ชื่อ........................................................นามสกุล............................................ เพศ ชาย หญิง

อายุ............ป อีเมล........................................................... โทรศัพทบาน..............................................................................................

โทรศัพทที่ทํางาน.............................................โทรสาร........................................โทรศัพทมือถือ..........................................................

เช็คสั่งจายนาม บริษัท ริธมิคส จํากัด

โอนเงินเขาบัญชี ออมทรัพย ชื่อ บริษัท ริธมิคส จํากัดธนาคารกรุงเทพ สาขาสันปาขอย เลขที่บัญชี 253-4-41407-9

สงใบสมัครสมาชิกพรอมสําเนาการโอนเงินมาท่ี ฝายสมาชิก บริษัท ริธมิคส จํากัด159/71 หมู 1 หมูบานอนุสารวิลลา ตาํบลปาแดด อาํเภอเมือง จงัหวดัเชียงใหม 50100โทร. 0-5327-3600 แฟกซ.0-5327-3601E-mail:[email protected]สอบถามขอมูลเพิ่มเติม โทร.088-1380507

RHYTHMMAGAZINE

SAMPLE TEXTSAMPLE TEXT

SAMPLE TEXTSAMPLE TEXT

SAMPLE TEXT

รวมแบงปนภาพถายที่เกี่ยวกับดนตรี ภาพตนเองกับเครื่องดนตรีที่ชื่นชอบ หรือกิจกรรมทางดนตรีที่ตนเองปฏบิตั ิแลวบอกเลาความรูสกึของตนผานภาพถายสุดโปรดนั้น ผานทาง fan page ของ Rhythm Magazine บน http://www.facebook.com/rhythmmag (วงเล็บใน caption วา amazing ) รูปและขอความที่ถูกใจ อานแลวใช แบบไดใจทีมงานไปเต็ม ๆ จะไดรับการตีพิมพใน Rhythm Magazine ฉบับตอไป พรอมของรางวัลพิเศษจากทีมงานครับผม

Page 35: RHYTHM MAGAZINE Issue 1
Page 36: RHYTHM MAGAZINE Issue 1