15

Click here to load reader

Router command

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Router command

คําส่ังภายใน Router

Cisco Router มีระบบปฏิบัติการที่ควบคุมการทํางานของ Router คลายกับระบบปฏิบัติการที่ใชกับเครื่องพีซีทั่วไป โดยระบบปฏิบัติการของ Router เราเรียกวา Cisco IOS ซึ่งเปนระบบปฏิบัติการที่จะทําใหทานสามารถ จัดตั้งคา Configuration รวมทั้งการบริหารจัดการ Router รวมทั้งอุปกรณเชื่อมตอกับ Router ของ Cisco ไดโดยสะดวก ซึ่งในระบบปฏิบัติการ IOS ของ Cisco นี้ มีคําสั่งที่ทํางานในโหมดตางๆ หลายโหมดดังตอไปนี้

Command Mode

Command Mode หลักภายใน Cisco IOS ไดแก • User Exec Mode • Privileged Exec Mode • Global Configuration Mode • Interface Configuration • Boot Mode

User Exec Mode User Exec Mode เปนโหมดแรกที่ทานจะตอง Enter เขาไป เม่ือRouter เริ่มทํางาน วิธีที่จะรูวา

ทานไดเขาสู User Exec Mode จาก Prompt ของ Router ไดแก Prompt ที่แสดงบนหนาจอ ไดแก ชื่อของ Router แลวตามดวยเครื่องหมาย > เชน

Routerhostname >

ตอไปนี้ เปนตารางแสดงรายการคําสั่ง ภายใต User Exec Commands

ตารางที่ 1แสดงรายการคําสั่ง ภายใต User Exec Commands คําส่ัง

access-enable เปนการสราง Access List entry ชั่วคราว clear เปนการ reset คา configure ตางๆที่ทานสรางข้ึนชั่ว

คราว connect ใชเพ่ือ เปด connection กับ terminal disable ปดหรือยกเลิกคําสั่งที่อยูใน Privileged mode disconnect ยกเลิกการเชื่อมตอใดๆกับ network enable เขาสู privileged Exec mode exit ออกจากการใช User Exec mode help ใชเพ่ือแสดงรายการ help lat เปดการเชื่อมตอกับ LAT (เครือขาย VAX) lock ใชเพ่ือ lock terminal login loginเขามาเปน user logout exit ออกจาก EXEC mrinfo ใชเพ่ือการรองขอขอมูลขาวสารเกี่ยวกับ Version และ

สถานะของ Router เพ่ือนบานจาก multicast router ตัวหนึ่ง

mstat แสดงสถิติหลังจากที่ไดตามรอยเสนทางแบบ Multicast ของ Router แลว

mtrace ใชติดตามดู เสนทาง Multicast แบบยอนกลับจาก ปลายทางยอนกลับมาที่ตนทาง

Page 2: Router command

ทางยอนกลับมาที่ตนทาง

name-connection เปนการใหชื่อกับ การเชื่อมตอของเครือขายที่กําลังดําเนินอยู

pad เปดการเชื่อมตอ X.25 ดวย X.29 PAD Ping ใชเพ่ือทดสอบการเชื่อมตอ ppp ใชเรียกการเชื่อมตอแบบ PPP resume ใชเพ่ือการ กลับเขาสูการเชื่อมตอของเครือขายอีกครั้ง rlogin เปดการเชื่อมตอ remote Login กับ Server ระยะไกล show แสดงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการทํางานของ Router ใน

ปจจุบัน slip เริ่มการใชงาน Slip (serial line protocol) systat เปนการแสดงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับ Terminal Line เชน

สถานะของระบบ telnet เปนการเปด การเชื่อมตอทาง Telnet terminal เปนการจัด Parameter ของ Terminal Line traceroute เปนการใช Traceroute เพ่ือการติดตามไปดู ระบบที่อยู

ปลายทาง tunnel เปดการเชื่อมตอแบบ Tunnel where แสดงรายการ ของ Link ที่กําลัง Active ในปจจุบัน

Privileged Exec Mode เปนโหมดที่ทําใหทานสามารถเปลี่ยนแปลง คา Configuration ในตัว Router เม่ือใดที่ทานเขาสู

โหมดนี้ไปแลว ทานจะสามารถเขาสูการทํางานของโหมดอื่น เพ่ือการเปลี่ยนคา Configuration รวมทั้งขอบขายการทํางานของ Router ไดโดยงาย

วิธีการเขาสู Privileged Exec Mode ไดแกการใชคําสั่ง enable ขณะที่ทานยังอยูใน User Exec Mode แตสวนใหญเม่ือทานกําลังจะเขาสู Privileged Exec Mode ทานมักจะไดรับการรองขอใหใสรหัสผาน หากทานสามารถใสรหัสผานไดถูกตอง ทานจะไดเห็น Prompt ใหมเกิดข้ึน นั่นแสดงวา ทานสามารถเขาสูโหมดนี้ไดแลว ทานจะไดเห็นชื่อของ Router รวมทั้งเครื่องหมายของ Prompt ที่เปนรูป # เชน

myrouter#

Privileged Mode จะทําใหทานสามารถ Access เขาไปที่โหมดตางๆ ของ Router ทั้งน้ีข้ึนอยูกับ

ชุดของระบบปฏิบัติการที่ทานใชอยู ตอไปนี้เปนคําสั่งที่ทานจะไดพบ หรือสามารถนํามาใชงานไดบน Privileged Mode นี้

ตารางที่ 2 คําสั่งที่อยูใน Privileged Mode

คําสั่ง

Access-enable เปนการสราง Access List แบบชั่วคราว Access-template สราง Access List แบบชั่วคราว Clear เปนคําสั่งที่ใชเคลียร หนาที่การทํางานตางๆออกทั้งหมด Clock จัดการระบบนาฬิกาของระบบ Configure เขาสู Configure Mode Connect เปดการเชื่อมตอ Terminal Copy เปนการคัดสําเนาคา Configuration และขอมูล

Page 3: Router command

Debug เปนการใชคําสั่ง debug Disable เปนการยกเลิก Privileged Mode Disconnect ใชเพ่ือการ Disconnect การเชื่อมตอของเครือขายที่กําลัง

ดําเนินอยูในปจจุบัน Enable ใชเพ่ือเปดการเขาสู privileged mode Erase ใชเพ่ือการลบขอมูลใน Flash หรือหนวยความจําที่เก็บ

Configuration ใน Router Exit ใชเพ่ือออกจาก EXEC mode Help คําสั่ง help Login ใชเพ่ือการ log on เขาสูระบบ Logout ใชเพ่ือการออกจาก EXEC Mrinfo ใชเพ่ือการรองขอขอมูลขาวสารจาก Multicast Router Mstat แสดงสถิติหลังจากที่ไดติดตามดูเสนทางของ Router ตางๆ Mtrace ใชเพ่ือติดตามดู เสนทางแบบยอนกลับ จากปลายทางมายัง

ตนทาง Name-connection ใชเพ่ือการตั้งชื่อ ใหกับเครือขายที่กําลังเชื่อมตออยู Ncia ใชเพ่ือการ Start และหยุดการทํางานของ NCIA Server No ใชเพ่ือ disable function การทํางานของคําสั่ง debugging Pad ใชเพ่ือเปด X.29 PAD Connection Ping ใชเพ่ือทดสอบการเชื่อมตอดวย Echo Message ppp ใชเพ่ือ Start การทํางานของ PPP reload ใชเพ่ือหยุดและ restart แบบ Cold Start (Reset ตัวเองแลว

เริ่มทํางานใหม) resume Resume การเชื่อมตอกับเครือขายที่กําลัง Active อยู rlogin ใชเพ่ือเปดการเชื่อมตอ ดวย rlogin rsh ใชเพ่ือ execute คําสั่งแบบ Remote (การใชคําสั่งทํางานบน

Host อ่ืนแบบ Remote) sdlc ใชเพ่ือการสง SDLC Test Frame send ใชเพ่ือสง Message ไปที่ tty Line อ่ืนๆ setup ใชเพ่ือ Run คําสั่งการ Setup show ใชเพ่ือแสดงขอมูลขาวสาร ที่กําลังทํางานอยูบน Router slip ใชเพ่ือ Start การทํางานของ Serial Line IP (SLIP) start-chat ใชเพ่ือ start chat สคริปบนสาย systat ใชเพ่ือแสดงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับ Terminal Line telnet ใชเพ่ือเริ่มการทํางานของ Telnet terminal ใชเพ่ือจัดตั้ง Parameter ของ Terminal Line test มีไวเพ่ือการทดสอบ ระบบภายใน รวมทั้งหนวยความจําและ

Interface traceroute เปนการใชคําสั่ง Traceroute กับอุปกรณหรือ Host ปลาย

ทาง tunnel เปนการเปดการเชื่อมตอแบบ Tunnel undebug ใชเพ่ือยกเลิก การใช Debug verify ใชเพ่ือ Verify ความถูกตองของ File ที่อยูใน Flash

Memory where ใชแสดงรายการ Connection ที่ยัง Active อยูในปจจุบัน

Page 4: Router command

which-route ใชเพ่ือคนหาดู route table และแสดงผลออกมาใหดู write ใชเพ่ือ Save คา Configuration ไปที่ Memory เครือขาย

หรือ Terminal x3 ใชเพ่ือจัดตั้ง X.3 Parameter บน PAD xremote เขาสู Xremote mode

Global Configuration Mode

ตารางที่3 คําสั่งที่อยูใน Global Configuration Mode

คําสั่ง aaa Authentication Authorization และ Accounting access-list ใชเพ่ือเพ่ิมเติมคาใน Access list alias ใชเพ่ือสราง Command Alias (ใชเพ่ือสรางคําสั่งใหมจากคํา

สั่งเดิมที่มีอยู) apollo คําสั่ง Apollo Global configuration Command appletalk คําสั่ง Global Configuration สําหรับ เครื่อง Appletalk arap Appletalk Remote Access Protocol arp เปนการตั้งคา arp ในตาราง arp async-bootp ใชเพ่ือ modify Parameter การทํางานของ Bootp autonomous-system

ใชเพ่ือกําหนดเจาะจงเลขหมาย AS วาข้ึนอยูกับใคร

banner ใชเพ่ือนิยามการทํางานของ login banner boot ใชเพ่ือ Modify Boot Parameter buffers ใชเพ่ือการปรับแตง Parameter (ขนาด) ของ System

Buffer busy-message ใชเพ่ือแสดงขอมูลขาวสารตางๆเมื่อการเชื่อมตอกับ Host ลม

เหลว cdp เปนคําสั่งยอย สําหรับการจัดตั้ง Global CDP

Configuration chat-script ใชเพ่ือกําหนดลักษณะการทํางานของ Modem Chat

Scripts clns เปนคําสั่งยอยสําหรับจัด Configured ใหกับ Global CLNS clock ใชเพ่ือจัด Configure เก่ียวกับ เวลา วัน เดือน ป config-register ใชเพ่ือจัดตั้ง Configuration Register default กําหนดให Command line มีคาเปน Default default-value ใชเพ่ือกําหนดให คา ของ Character Bit dialer-list ใชเพ่ือการสราง dialer list entry enable ใชเพ่ือ Modify enable password parameter end ออกจาก Configure Mode exit เปนการออกจาก Configure Mode help แสดง Help Menu hostname จัดตั้งชื่อ network ใหกับระบบ interface ใชเพ่ือเลือก Interface ที่ตองการจะจัด Configure ip เปนคําสั่งยอยสําหรับการจัด Configure Global IP ipx เปนคําสั่งสําหรับการจัด Configure ใหกับ Global ipx

Page 5: Router command

kerberos ใชเพ่ือการจัด Configure ใหระบบรักษาความปลอดภัย แบบ Kerberos

key key Management keymap ใชเพ่ือการตั้งคา Keymap ใหม line ใชเพ่ือการจัดตั้ง configure สําหรับ Terminal Line login-string ใชเพ่ือนิยาม login string อยางเจาะจงเฉพาะ host map-class ใชเพ่ือการจัด Configure static map class map-list ใชเพ่ือการจัด configure static map list menu ใชเพ่ือการจัดตั้ง User Interface Menu modemcap ฐานขอมูลสําหรับเก็บคาที่แสดงความสามารถของ Modem multilink การจัด Configuration ใหกับ PPP Multilink netbios การควบคุมการ access โดย NETBIOS partition ใชเพ่ือแบง partition ของอุปกรณ priority-list ใชเพ่ือการสราง priority list prompt ใชเพ่ือการตั้ง Prompt ใหกับระบบ queue-list ใชเพ่ือการสรางรายการ queue แบบ manual rlogin เปนคําสั่งที่ใช login เขาไปที่ host ระยะไกล rmon เรียกการทํางาน ของ remote monitoring ออกมาใชงาน router ใชเพ่ือ ทําใหกระบวนการ routing เริ่มทํางาน

คําสั่งในโหมดการทํางานตางๆที่กลาวมาทั้งหมดนี้ เปนเพียงสวนหนึ่งเทานั้น เน่ืองจากเนื้อที่

กระดาษจํากัด จึงขอกลาวถึงเพียงเทานี้กอน

การใช Key ตางๆ ใน Cisco IOS คําส่ังเล่ือน Cursor ถอยหลังกลับ

• Ctrl-B เลื่อน Cursor ถอยหลังกลับมา 1 ตัวอักษร • Esc-B ถอย Cursor มา 1 Word • Ctrl-A เลื่อน Cursor ไปยังจุดเริ่มตนของบรรทัด

คําส่ังเล่ือน Cursor ไปขางหนา • Ctrl-F เลื่อน Cursor ไปขางหนา 1 ตัวอักษร • Esc-F เลื่อน Cursor ไปขางหนา 1 Word • Ctrl-E เลื่อน Cursor ไปที่ปลายสุดของบรรทัด

คําส่ังลบตัวอักษร • Delete ลบตัวอักษรที่เพ่ิงจะใสเขาไป • Ctrl-D ลบตัวอักษรที่อยูกับ Cursor • Ctrl-K ลบตัวอักษรทั้งหมดจากตําแหนงของ Cursor ไปที่ปลายสุดของบรรทัด

คําส่ังที่ใชเรียกคําส่ังที่ใชไปแลวออกมา • Ctrl-P เรียกคําสั่งที่ใชมาแลวออกมาดู • Ctrl-N ใชรวมกับ Ctrl-P เปนลําดับเพ่ือเรียกคําสั่งยอนหลังออกมาดูทุกตัว

การใชคําส่ังเพื่อตรวจสอบสถานะของ Router

ตอไปนี้ เปนคําสั่งที่ทานสามารถนํามาใชเพ่ือการตรวจสอบสถานะการทํางานของ Cisco Router

Page 6: Router command

โดยที่คําสั่งเหลานี้ ยังชวยใหทานสามารถเฝาดู และตรวจสอบหาจุดเสียที่เกิดข้ึนกับ Router ดังกลาวไดอีกดวย

คําสั่งที่ใชเพ่ือแสดงสถานะของ Router มีดังน้ี

คําสั่ง คําอธิบาย

show Version เปนคําสั่งที่ใชแสดงการจัด Configuration ของระบบ Hardware เชน Version ของ Software ที่ใชใน Router ชื่อของ Configuration File อันเปนตนฉบับ รวมทั้ง Boot Images

show Processes ใชเพ่ือแสดงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับ โปรเซสที่กําลังเกิดข้ึน และยังดําเนินการอยูทั้งหมดภายใน Router

show Protocols ใชแสดง Protocol ใน Router ที่ไดรับการจัด Configured เรียบรอยแลวโดยคําสั่งนี้ จะทําการแสดง Protocol ที่ทํางานในระดับชั้น Layer 3(Network Layer) ของ OSI Model

show Memory ใชเพ่ือการแสดงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับหนวยความจําในตัว Router รวมทั้งปริมาณของหนวยความจําที่เหลือจากการใชงาน

show ip route ใชเพ่ือการแสดงขอมูลขาวสารที่อยูใน ตารางเลือกเสนทาง (Routing Table)

show flash แสดงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับ อุปกรณประเภท Flash Memory

show running-config

ใชเพ่ือการแสดงคาพารามิเตอรของ Configuration ตางๆที่กําลังทํางานกันอยูในขณะนี้

show startup-config ใชเพ่ือการแสดง File ที่ใช backup คา Configuration ตางๆ show interfaces ใชเพ่ือการแสดงสถิติของ Interface ทั้งหมดที่ไดจัดตั้ง

Configured เรียบรอยแลวบน Router

คําส่ัง show versions

Router# show version IOS (tm) 2500 Software (C2500-JS-L), Version 11.2 (6) RELEASE SOFTWARE (fcl) Copyright (c) 1986-1997 by cisco Systems, inc. Compiled Tue 06-MAY-97 16:17 by Kuong Image text base: 0x0303ED8C, data-base: 0x00001000 ROM: System Bootstrap, Version 5.2 (8a), RELEASE SOFTWARE ROM: 2500-XBOOT Bootstrap Software, Version 10.1 (1), RELEASE SOFTWARE (fcl) Router uptime is 1 week, 3 days, 32 minutes System start by reload System image file is "c2500-js-1", booted via tffp from 171.69.1.129 ----- more ----- คําอธิบายเพิ่มเติม ขอมูลขาวสารจาก show version มีความสําคัญมาก หากทานไดมีการ Upgrade Software บน

Router ของทาน หรือในกรณีที่ทานตองการจะคนหาจุดเสีย สังเกตวา คําสั่งนี้มิเพียงแตแสดงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับ Version ของ Software ที่ทานกําลังใช

งานใน Router เทานั้น แตยังแสดงสถิติถึงระยะเวลาที่ทานไดเปด router ตัวนี้ ใชงาน รวมทั้งชื่อของ image File

Page 7: Router command

คําส่ัง show startup-config

Router# show startup-config Using 1108 out of 130048 bytes ! version 11.2 ! hostname router ------ more -----

คําสั่ง show startup-config เปนคําสั่งที่ทําใหผูบริหารเครือขาย สามารถมองเห็น ขนาดของ

image และคําสั่ง Startup configuration ที่จะถูกนํามาใชในครั้งตอไปที่มีการ Start ตัว router

คําส่ัง show interfaces

คําสั่ง show interfaces เปนคําสั่งที่ใชแสดงคาพารามิเตอรที่ไดถูกจัดตั้งไวแลว รวมทั้งสถิติการทํางานของ อินเทอรเฟส แบบเวลาจริงที่เกิดข้ึนบน router ในขณะนั้น คําสั่งนี้มีประโยชนมาก ในการใชเพ่ือติดตามดูอินเทอรเฟส ชนิดเจาะจง หรือเพ่ือดูการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึน หลังจากที่ไดเปลี่ยนแปลง Configuration ของ อินเทอรเฟสไปแลว ขอมูลอันเปนสถิติที่ทานจะไดจาก router หลังจากที่เรียกคําสั่งน้ี มีดังน้ี

• สถานะของ Interface • คา maximum transmission unit ของอินเทอรเฟส (คา Maximum Transmission

Unit หรือ MTU เปนคาที่กําหนดขนาดของเฟรมหรือ แพ็กเก็ตที่ Router จะอนุญาติใหวิ่งผานไดโดยไมตองมีการทําแฟลกเมนต หรือแบงขนาดของแพ็กเก็ตออกเปนสวนๆ)

• คาไอพีแอดเดรสของอินเทอรเฟส • แสดง MAC Address ของ LAN Card • ชนิดของ Encapsulation ที่ใช • จํานวนของแพ็กเก็ตที่ไดรับมาทั้งหมด • จํานวนของแพ็กเก็ตที่เกิดความผิดพลาด ขณะที่วิ่งเขาวิ่งออกจาก Router • จํานวนของ Collision ที่ถูกตรวจพบ (หากอินเทอรเฟสที่ใชเปนระบบอีเทอรเน็ต) • คําสั่ง Show interface เปนคําสั่งที่มีประโยชนมาก ในการพิสูจนดูการทํางานของ

Router อีกทั้งสามารถตรวจสอบความผิดพลาด จากการทํางานของ Router และเครือขาย ตอไปนี้เปนหนาจอที่แสดงขาวสาร หลังจากใชคําสั่ง show interface

Router#show interfaces Serial0 is up, line protocol is up

Hardware is MK5025 Internet address is 183.8.64.129, subnet mask is 255.255.255.128 MTU 1500 bytes, BW 56 kbit, DLY 20000 usec, rely 255/255, load 9/255 Encapsulation HDLC, loopback not set, keepalive set (10 sec) Last input 0:00:00, output 0:00:01, output hang never Last clearing of "show interface" counters never Output queue 0/40, 0 drops:input queue 0/75, 0 drops Five minute input rate 1000 bits/sec, 0 packets/sec Five minute output rate 2000 bits/sec, 0 no buffer

331885 packets input, 62400237 bytes, 0 no buffer Received 230457 broadcasts, 0 runts, 0 giants 3 input errors, 3 CRC, 0 frame, 0 overrun, 0 ignored, 0 abort 403591 packets output, 66717279 byres, 0 underruns 0 output errors, 0 collisions, 8 interface resets, 0 restarts

Page 8: Router command

45 carrier transitions ที่กลาวมาทั้งหมดนี้เปนเพียงตัวอยางของการใชคําสั่งที่สําคัญสําหรับ Router Cisco ซึ่งทานที่จะ

ดูแลระบบเครือขายอาจตองพิจารณาศึกษาการใชคําสั่งตางๆ เพ่ือประโยชนการใชงาน Router สูงสุด

กระบวนการ Routing ในระบบเครือขาย

กอนที่จะไดกลาวถึงวิธีการจัดตั้ง Configuration การทํางานและการเชื่อมตอของ Router ผูเขียนใครขอกลาวถึง หลักการทํางานเบื้องตนของ Router รวมทั้งลักษณะความพยายามที่คอมพิวเตอรพ่ึงพาอาศัย Router เพ่ือการจัดหาเสนทาง และนําขอมูลขาวสารไปสูปลายทาง

การจัดเลือกเสนทาง (Routing) การจัดเลือกเสนทางเปนหัวใจหลักในการทํางานของคอมพิวเตอร และ Router บนเครือขาย การ

จัดเลือกเสนทางสามารถเกิดข้ึน ไดที่ 2 จุดๆ หนึ่งไดแก การเลือกเสนทางที่เกิดข้ึน โดยคอมพิวเตอรแตละเครื่องในเครือขาย และอีกจุดหนึ่งคือการจัดเลือกเสนทางจากตัว Router

แนนอนที่เครื่องคอมพิวเตอรบนเครือขาย และที่ Router ตางจะตองมีขอมูลขาวสารอยูในตัวที่เรียกวา ตารางเลือกเสนทาง หรือ Routing Table ซึ่งขอมูลขาวสารภายใน ตารางเลือกเสนทางของทั้งสอง จะมีเน้ือหาสาระคอนขางจะแตกตางกันออกไป

ตารางเลือกเสนทางของเครื่องคอมพิวเตอร เม่ือใดที่ทานพิมพคําวา route print หรือ netstat -r ที่หนาจอ Command prompt ดวยคําสั่งใด

คําสั่งหนึ่ง ทานจะไดพบเห็นขอมูลขาวสาร ดังรูปที่ 1 น้ี

รูปที่ 1 แสดงขอมูลขาวสารภายในตาราง routing table ของ เครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่อง

ขอมูลขาวสารที่ปรากฏใน ตารางเลือกเสนทางของ เครื่องคอมพิวเตอร มีความหมายดังนี้ • 0.0.0.0 เปนแอดเดรสของเสนทางปริยาย (default route) • แอดเดรส ของตัวเครื่องคอมพิวเตอรเอง ตัวอยางในรูปที่ 1 ไดแก 200.20.20.10 • แอดเดรสที่แสดงเครือขายนั้นๆ ในที่น้ีไดแก 200.20.20.0 • แอดเดรสที่ใชเพ่ือการ Broadcast ทั่วไป ในที่น้ีไดแก 255.255.255.255 โดยแอดเด

รสนี้จะถูกจํากัดใชเฉพาะเพื่อการ Broadcast เขาไปหาเครื่องคอมพิวเตอรใดๆบนเครือขาย เม่ือ Router ไดรับแพ็กเก็ตน้ีแลว จะไมยอมปลอยออกไปที่เครือขายอ่ืนๆ โดยเด็ดขาด

• 224.0.0.0 เปนแอดเดรสปริยาย (Default) สําหรับ Multicast (Multicast หมายถึงการสื่อสารขอมูลไปยังผูรับที่เปนกลุมเปนการเฉพาะโดยไม เจาะจงบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือทุกคน)

• 127.0.0.1 เปนแอดเดรสที่ถูกเรียกวา Loop back Address โดยที่เปนแอดเดรสสงวนที่ถูกนํามาใชเพ่ือทํา Diagnostic สําหรับคอมพิวเตอรบนเครือขาย

• คา Default Gateway ในที่น้ี คือ 200.20.20. 17 คา Default Gateway เปนไอพีแอดเดรสของตัว Router ที่เชื่อมตอโดยตรงกับเครือขาย โดยที่คอมพิวเตอรทกเครื่องภายในเครือ

Page 9: Router command

ขาย ที่มี Router เปนตัวเชื่อมตอเครือขายนี้กับเครือขายอ่ืน จะตองมีคา Default Gateway ที่ถูกจัดตั้งข้ึน เพ่ือใหคอมพิวเตอรที่อยูในเครือขาย ใชเปนที่อางอิง เพ่ือออกจากเครือขาย (ผานทาง Router) ไปสูภายนอก ดังน้ันคอมพิวเตอรทุกเครื่องในเครือขายจะตองมีคา Default Gateway อยูในตารางเลือกเสนทางทุกเครื่องเสมอ เวนเสียแตวา เครือขายของทานไมเชื่อมอยูกับใคร และไมตองมี Router จึงไมตองมี Default Gateway

• 200.20.20.255 เปนคาแอดเดรสที่เครือขายนี้ ใชเพ่ือการ Broadcast ไปยังเครือขายเดียวกัน หรือเครือขายอ่ืน ซึ่ง Router จะมองคาแอดเดรสนี้ เปน Broadcast Address ประเภทเจาะจง หมายความวา Router จะยอมให การเกิด Broadcast อันเนื่องจากแอดเดรสนี้ สามารถถูกสงผานออกไปทาง Router เพ่ือไปที่จุดหมายปลายทางที่เครือขายอ่ืน

ตารางเลือกเสนทางของ Router

ตัว Router จําเปนตองมีตารางเลือกเสนทาง เชนเดียวกัน ตารางเลือกเสนทางของ Router ไดมาจาก 2 วิธีการ ไดแก

• วิธีการที่จัดตั้งโดยผูบริหารจัดการเครือขาย • วิธีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารโดย โปรโตคอลเลือกเสนทาง Routing Table

ขอมูลขาวสารที่อยูในตาราง Routing Table ของ Router ประกอบดวย ขาวสารเกี่ยวกับ Network Address ที่แวนพอรตแตละแหงของมัน รวมทั้งขอมูลอ่ืนๆ หากทานตองการดูขอมูลภายในตารางเลือกเลือกเสนทางของ Router ทานสามารถพิมพคําสั่ง และจะมีขอมูลขาวสารปรากฏดังนี้

Router# show ip route Codes: c - connected, S - static, I - IGRP, R - RIP, M - Mobile, B - BGP D - EIGRP, EX - EIGRP external, O -OSPF, IA - OSPF inter area N1 - OSPF NSSA external type 1, N2 - OSPF NSSA external type 2 E1 - OSPF external type 1, E2 - OSPF external type 2 , E - EGP I - IS-IS , L1 -IS-IS level-1 , L2 - IS-IS level-2, * - candidate U - per-user static route, o - ODR Gateway of last resort is not set C 204.204.8.0/24 is directly connected, Serial0 C 204.204.7.0/24 is directly connected, Serial1 I 223.8.151.0/24 [ 100/8576] via 204.204.7.1, 00:00:11, Serial1 I 199.6.13.0/24 [100/10476] via 204.204.7.1, 00:00:11, Serial1 S 201.100.11.0/24 [1/0] via 204.204.8.2 C 210.93.105.0/24 is directly connected, Ethernet0

จากขอมูลในตารางเลือกเสนทาง เราสามารถแบงประเภทขอมูลออกเปนสวนๆ ดังน้ี

• วิธีการที่ใชเพ่ือการเรียนรูเก่ียวกับ เสนทาง ตัวอยาง เชน I ในตารางตัวอยางนี้ แสดงถึงการใชโปรโตคอลชื่อ IGRP เปนตน

• Network Address ปลายทาง ตัวอยาง เชน 199.6.13.0 แสดงใหเห็นวาเปน Subnetwork

• Administrative Distance แสดงใหเห็นถึงวิธีการที่คอนขางนาเชื่อถือไดในการเรียนรูเก่ียวกับเครือขายนี้ (คําวาเรียนรูในที่นี้ หมายถึง Router เรียนรูสถานะและความมีตัวตนของเครือขายนี้) คายิ่งนอยยิ่งดี คา 100 เปนคาปริยายของโปรโตคอล IGRP

• คา Routing Metric คานี้ เปนคาที่นํามาใชเพ่ือการคํานวณดูเพ่ือหาวา เสนทางใดจะมีความเหมาะสมตอการใชเดินทางมากกวา เสนทางอื่น โดยคาของ Metric ในที่นี้ อาจเปน ไดที่เปนระยะทางคา Delay ความเร็ว หรือจํานวนของ Hop เปนตน ตัวอยางการจัดตั้ง Router เพ่ือเชื่อมตอระหวางเครือขาย ดังรูปที่ 2

Page 10: Router command

รูปที่ 2 แสดงตัวอยางการจัดตั้ง Configuration ภายนอกของ Router เพ่ือเชื่อม 2 เครือขาย

จากรูปที่ 2 เปนตัวอยางแสดงการเชื่อมตอ 2 เครือขายดวย Router ที่ใช Network Address ที่ตางกัน ซึ่งลักษณะการเชื่อมตอแบบนี้ ทานจะตองใช 3 Network Address หรือทานอาจจะใช Network Address เดียว แลว แบงออกเปน หลายๆ เครือขายยอย หรือ Subnet ก็ได จะเห็นไดวา ที่คอมพิวเตอรแตละเครื่องจะตองมีคา Default Gateway เหมือนกันทุกเครื่อง ซึ่งคา Default Gateway น้ี เปนไอพีแอดเดรสของ Router ที่เชื่อมตอตรงกับเครือขาย

กระบวนการ Routing

ตอไปนี้เปนข้ันตอนแสดงกระบวนการ Routing จากรูปที่ 2 มีรายละเอียดดังนี้ สมมติวา เครื่องคอมพิวเตอร A ซึ่งมีไอพีแอดเดรส 192.168.2.3 ตองการติดตอกับเครื่อง

คอมพิวเตอร B ซึ่งมีไอพีแอดเดรส 192.168.5.7 ซึ่งอยูคนละเครือขาย แตเชื่อมตอกันโดย Router ดังน้ันกระบวนการ Routing มีดังนี้

1. คอมพิวเตอร A จะนําเอาคาไอพีแอดเดรสของเครื่องตนเองมาทําการ AND กันในทางตรรกจนได Network Address 192.168.2.0

2. คอมพิวเตอร A นําเอาคาไอพีแอดเดรสของเครื่องคอมพิวเตอร B มาทําการ AND กัน ในทางตรรกอีกครั้ง จนกระทั่งไดคา Network Address เปน 192.168.5.0 มาถึงตรงนี้เอง ที่ คอมพิวเตอร A จะทราบวา เครื่องคอมพิวเตอร B อยูคนละเครือขาย เม่ือเปนเชนนี้ คอมพิวเตอร A จะทําการตรวจสอบตารางเลือกเสนทางในตัวมันเอง เพ่ือดูวา Default Gateway มีคาไอพีแอดเดรสเปนอยางใด

3. หลังจากที่ตรวจพบคาไอพีแอดเดรสของ Default Gateway อันเปนประตูทางออกของเครือขาย แลว คอมพิวเตอร A จะใชโปรโตคอลชื่อ ARP เพ่ือติดตอขอทราบคา MAC Address ของ Default Gateway จาก Router (หากในเครื่องคอมพิวเตอร A ไมไดเก็บคา MAC Address ของ Router ไวในขณะนั้น) ซึ่ง Router จะสงกลับมาใหคอมพิวเตอร A

4. หลังจากที่ได MAC Address มาแลว คอมพิวเตอร A จะนํามันมากรอกเขาไปในชองเก็บขอมูลขาวสารเกี่ยวกับแอดเดรสของเฟรม จากนั้นก็สงออกไปจากการดแลนแลวมุงตรงไปสู Router

5. เม่ือ Router ไดรับเฟรมจาก คอมพิวเตอร A แลว มันจะตรวจสอบความถูกตองของเฟรม จากน้ัน ทําการถอดเฟรมดังกลาวออก เหลือแตแพ็กเก็ต ขบวนการนี้เราเรียกวา Decapsulation ซึ่งก็คือการถอดเฟรมออกในที่น้ี จากนั้น Router จะเอาแพ็กเก็ตมาอานคาไอพีแอดเดรสเพื่อที่จะดูวา ไอพีแอดเดรสปลายทางที่ คอมพิวเตอร A ตองกาจะติดตอดวยคือใครอยูที่ใด โดยนํามันมาเปรียบเทียบดูในตารางเลือกเสนทาง ของ Router ก็จะทราบวา มีอยูหรือไม หากมีอยูและทราบวาเสนทางที่จะสง Packet ออกไป อยู ณ ที่พอรตใด เชน Serial0 หรือ Serial1

6. เม่ือแพ็กเก็ตถูกสงออกไปแลว Router ปลายทาง ตรวจพบแพ็กเก็ตก็จะนํามันมาตรวจสอบความถูกตองของแพ็กเก็ตรวมทั้งไอพีแอดเดรส จากนั้น Router จะ ใช ARP Protocol ทําการสอบถาม MAC Address ของคอมพิวเตอร B (หาก ในตัว Router ไมไดเก็บคา MAC ของคอมพิวเตอรตางไวใน ARP Cache)

7. เม่ือ Router ไดรับ MAC Address มาจากคอมพิวเตอร B แลว ก็นํามันมาสรางเฟรม โดยเอาแพ็กเก็ตที่ไดรับมาใสเขาไปในเฟรม จากนั้นสงออกไปที่ เครือขาย เดินทางไปสูคอมพิวเตอร B อันจบสิ้นกระบวนการ Routing

Page 11: Router command

ประเภทของ Routing

Routing มีอยู 2 แบบ หลักๆ ไดแก • แบบสเตติก (Static Route) • แบบไดนามิก (Dynamic Route)

การเลือกเสนทางแบบ Static

การเลือกเสนทางแบบ Static นี้ การกําหนดเสนทางการคํานวณเสนทางทั้งหมด กระทําโดยผูบริหาจัดการเครือขาย คาที่ถูกปอนเขาไปในตารางเลือกเสนทางนี้มีคาที่ตายตัว ดังน้ันการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนใดๆ บนเครือขาย จะตองใหผูบริหารจัดการดูแล เครือขา เขามาจัดการทั้งสิ้น อยางไรก็ดีการใช วิธีการทาง Static เชนนี้ มีประโยชนเหมาะสําหรับสภาพแวดลอมดังนี้

• เหมาะสําหรับเครือขายที่มีขนาดเล็ก • เพ่ือผลแหงการรักษาความปลอดภัยขอมูล เน่ืองจากสามารถแนใจวา ขอมูลขาวสารจะ

ตองวิ่งไปบนเสนทางที่กําหนดไวให ตายตัว • ไมตองใช Software เลือกเสนทางใดๆทั้งสิ้น • ชวยประหยัดการใช แบนวิดทของเครือขายลงไดมาก เน่ืองจากไมมีปญหาการ

Broadcast หรือแลกเปลี่ยนขอมูลระหวาง Router ที่มาจากการใชโปรโตคอลเลือกเสนทาง

การจัดตั้ง Configuration สําหรับการเลือกเสนทางแบบ Static

เปนที่ทราบดีแลววา การเลือกเสนทางแบบ Static เปนลักษณะการเลือกเสนทางที่ถูกกําหนด

โดยผูจัดการเครือขาย เพ่ือกําหนดเสนทางการเดินทางของขอมูลที่ตายตัว หรือเจาะจงเสนทางปกติ Router สามารถ Forward Packet ไปขางหนา บนเสนทางที่มันรูจักเทานั้น ดังน้ันการกําหนดเสนทางเดินของแพ็กเก็ตใหกับ Router จึงควรใหความระมัดระวัง

วิธีการจัด Configure แบบ Static Route ใหกับ Router Cisco ใหใสคําสั่ง ip route ลงไปที่ Global Configuration Mode มีตัวอยางการใชคําสั่ง ดังน้ี

ip route network [ mask ] {address | interface} [distance] [permanent]

• Network เครือขาย หรือ Subnet ปลายทาง • Mask หมายถึงคา Subnet mask • Address IP Address ของ Router ใน Hop ตอไป • Interface ชื่อของ Interface ที่ใชเพ่ือเขาถึงที่หมายปลายทาง • Distance หมายถึง Administrative Distance • Permanent เปน Option ถูกใชเพ่ือกําหนด เสนทางที่ตั้งใจวาจะไมมีวันถอดถอนทิ้ง ถึงแมวา

จะปดการใชงาน Interface ก็ตาม ตัวอยางการใชงานคําสั่งเลือกเสนทางแบบ Static มีดังน้ี

Router ( config ) # ip route 172.16.1.0 255.255.255.0 172.16.2.1

Page 12: Router command

รูปที่ 3 แสดงลักษณะที่ Router A ไดรับการจัดตั้ง Configure ดวย Static Route ไปที่ 172.16.1.0

การจัด Configure Default Routers Router อาจไมสามารถทราบถึงเสนทางที่จะเดินทางไปสูเครือขายอ่ืนๆ ทั้งหมด ดังนั้นหาก

ตองการให Router ทุกตัวบนเครือขาย สามารถทราบถึงเสนทางที่จะเดินทางไปทั่วทั้งเครือขายตางๆ ทานจะตองกําหนด Default Router ข้ึนมาตัวหนึ่ง

ในการจัดตั้ง Default Router ทานจะตองใสคําสั่งตอไปนี้เม่ือ Router อยูใน Global Configuration Mode ดังนี้

Router (config) # ip default - network network number Network number ในที่น้ีเปน IP Network Number หรือ Subnet Number ที่กําหนดเปน Default

เม่ือใดที่แอดเดรสของเครือขายปลายทางไมปรากฏอยูในตารางเลือกเสนทางแลว แพ็กเก็ตจะถูก

สงไปที่ Default Network ดวยเหตุน้ี Default Network จะตองมีตัวตนอยูในตารางเลือกเสนทาง ขอดีของการใช Default Routes ไดแกที่สามารถลดขนาดของตารางเลือกเสนทางลงได

เหตุผลของการใช Default Routes คือเมื่อทานตองการเสนทางที่จะสงขอมูลออกไป แตในตารางเลือกเสนทางมีขอมูลเพียงบางสวน เก่ียวกับเครือขายปลายทาง ทั้งนี้ เน่ืองจาก Router ไมมีขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเครือขายทั้งหมด แตมันสามารถใช คา Network Number ปริยาย เพ่ือบงบอกหนทางที่เขาถึง Network Number ที่ไมรูจักได

รูปที่ 4 แสดง การใช Default Network บงบอกที่ๆ แพ็กเก็ตจะถูกสงเมื่อ Router ไมทราบทางที่จะเขาถึงปลายทาง

จากรูปที่ 4 แสดงการใชคําสั่ง ip default-network 192.168.17.0 และกําหนด ให

192.168.17.0 เปนเสนทางสําหรับปลายทางที่แพ็กเก็ตจะเดินทางไป โดยที่ปลายทางดังกลาวไมปรากฏอยูในตารางเลือกเสนทาง

Page 13: Router command

และเพ่ือปองกันการอัพเดตที่อาจเกิดข้ึนโดยภายนอกบริษัท X อาจติดตั้ง Firewall ไวที่ Router A ก็ได และเพ่ือ ใหเครือขายตางๆของ บริษัท X สามารถแชรหรือแบงการใชงาน Router ระหวางกัน ก็สามารถนํามาจับกลุมในลักษณะที่เรียกวา Autonomous System Number

การจับกลุมเขาเปนระบบ Autonomous Autonomous เปนชุดของ Router และเครือขายที่อยูภายใตการบริหารจัดการจากที่เดียวกัน

โดยที่ Autonomous นี้ อาจมี Router ตัวเดียว ที่เชื่อมตอโดยตรงกับระบบเครือขายแลน และเชื่อมตอยังระหวางเครือขาย หรือบางครั้ง Autonomous ถูกเรียกเนื่องจากเปนเครือขายองคกรที่ เชื่อมตอเขากับเครือขายแลนหลายเครือขายเขากับ Backbone ขององคกร การที่จะเปนระบบ Autonomous นั้น Router ทุกตัวจะตองมีลักษณะ ดังน้ี

• มีการเชื่อมตอระหวางกัน • ทํางานบน โปรโตคอลเลือกเสนทาง (Routing Protocol) ที่เหมือนกันทั้งหมด • ถูกกําหนดใหมีเลขหมาย Autonomous ที่เหมือนกัน

เลขหมาย Autonomous นี้ สามารถขอไดจากหนวยงาน NIC ประจําภูมิภาค เลขระบบ Autonomous มีขนาด 16 บิต เปนคาที่ระบุวา ขอมูลเสนทางที่แลกเปลี่ยน ระหวางเครือขาย มาจากที่ใดบาง

การเลือกใชงาน Dynamic Routing

การเลือกเสนทางแบบ Dynamic นี้ เปนการใช ซอฟตแวรที่ติดตั้งมากับ Router เพ่ือทําหนาที่แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารที่เก่ียวกับการเลือกเสนทางระหวาง Router โดยที่เราเรียกวา โปรโตคอลเลือกเสนทาง (Routing Protocol) ขอดีของการใช Routing Protocol ไดแก การที่ Router สามารถใช Routing Protocol นี้เพ่ือการสรางตารางเลือกเสนทางจากสภาวะของเครือขายในขณะนั้น ประโยชนของการใช Routing Protocol มีดังน้ี

• เหมาะสําหรับเครือขายขนาดใหญ • Router สามารถจัดการ หากมีการเปลี่ยนแปลงของเครือขายเกิดข้ึน ไดเอง • Router สามารถเลือกเสนทางเดินของเครือขายที่ดีที่สุดไปยังปลายทาง • เม่ือใดที่เสนทางบนเครือขาย เกิดสะดุด ติดขัด หรือถูกตัดขาด Router สามารถหา

เสนอ่ืนมาทดแทนกันได รูปแบบการเชื่อมตอ ของ Router ภายใตการใชงาน Routing Protocol นี้ มักจะเปนไปในรูปแบบ

ของ • ก่ึง Mesh (Partial Mesh) • แบบ Mesh ชนิดเต็มข้ัน หรือ Fully Mesh • แบบ Loop

ประเภทของโปรโตคอลเลือกเสนทางแบบ Dynamic โปรโตคอลเลือกเสนทางแบบ Dynamic มีอยู หลายรูปแบบ ดังน้ี

• Interior Gateway Routing Protocol • Exterior Gateway Routing Protocol • Distance Vector Routing Protocol • Link State Routing Protocol

เน่ืองจาก จุดประสงคของการเขียนบทความนี้ ก็เพ่ือใหทานผูอานมีแนวคิดในการจัดตั้งเครือขายและอุปกรณ Router เพ่ือเชื่อมตอกันระหวางเครือขาย และเนื่องจากขอบขายของหลักวิชาการดานนี้ คอนขางกวาง จึงขอตีกรอบใหแคบลง โดยจะขอกลาวถึงรายละเอียดเพียงบางสวนในการจัดตั้ง Router ที่ทานสามารถนําไปใชได

รูจักกับ Distance Vector Routing Protocol Distance Vector เปนโปรโตคอลเลือกเสนทางที่ Router ใชเพ่ือการสรางตาราง Routing และ

จัดการนําแพ็กเก็ตสงออกไปยังเสนทางที่กําหนด โดย อาศัยขอมูลเก่ียวกับระยะทาง เชน Hop เปนตัวกําหนดวา เสนทางใดเปนเสนทางที่ดีที่สุด ที่จะนําแพ็กเก็ตสงออกไปที่ปลายทาง โดยถือวา ระยะทางที่ใกลที่สุด เปนเสนทางที่ดีที่สุด และแอดเดรส ของเครือขายปลายทางเปน Vector

Distance Vector บางครั้งจะถูกเรียกวา "Bellman-Ford Algorithm" ซึ่งโปรโตคอลนี้ จะทําให Router แตละตัวที่อยูบนเครือขายจะตองเรียนรูลักษณะของ Network Topology โดยการแลกเปลี่ยน

Page 14: Router command

Routing Information ของตัวมันเอง กับ Router ที่เชื่อมตอกันเปนเพ่ือนบาน โดยตัว Router เองจะตองทําการจัดสรางตารางการเลือกเสนทางขึ้นมา โดยเอาขอมูลขาวสารที่ไดรับจากเครือขายที่เชื่อมตอกับมันโดยตรง (ขอมูลน้ีครอบคลุมไปถึงระยะทางระหวาง Router ที่เชื่อมตอกัน)

หลักการทํางานไดแกการที่ Router จะสงชุด สําเนาที่เปน Routing Information ชนิดเต็มข้ันของมันไปยัง Router ตัวอ่ืนๆ ที่เชื่อมตออยูกับมันโดยตรง

ดวยการแลกเปลี่ยน Routing Information กับ Router ตัวอ่ืนๆ ที่เชื่อมตอกับมันโดยตรงนี้เอง ทําให Router แตละตัว จะรูจักซึ่งกันและกัน หรือรูเขารูเรา กระบวนการแลกเปลี่ยนนี้จะดําเนินตอไปเปนหวงๆของเวลาที่แนนอน

Distance Vector Algorithm คอนขางเปนแบบที่เรียบงาย อีกทั้งออกแบบเครือขายไดงายเชนกัน ปญหาหลักของของ Distance Vector Algorithm ไดแก การคํานวณเสนทาง จะซับซอนข้ึน เม่ือขนาดของเครือขายโตขึ้น

ตัวอยางของโปรโตคอลที่ทํางานภายใต Distance Vector Algorithm ไดแก อารไอพี (RIP) หรือ Routing Information Protocol

Link State Routing Link State Routing ถูกเรียกวา "Shortest Path First (SPF)" Algorithm ดวย Link State

Routing นี้ Router แตละตัวจะทําการ Broadcast ขอมูลขาวสารออกมายัง Router ที่เชื่อมตอกับมันโดยตรงแบบเปนระยะๆ ขอมูลขาวสารนี้ยังครอบคลุมไปถึงสถานะของการเชื่อมตอระหวางกัน

ดวยวิธีการของ Link State นี้ Router แตละตัวจะทําการสรางผังที่สมบูรณของเครือขายข้ึน จากขอมูลที่มันไดรับจาก Router อ่ืนๆทั้งหมด จากนั้นจะนํามาทําการคํานวณเสนทางจากผังนี้โดยใช Algorithm ที่เรียกวา Dijkstra Shortest Path Algorithm

Router จะเฝาตรวจสอบดูสถานะของการเชื่อมตออยางตอเนื่อง โดยการแลกเปลี่ยนระหวางแพ็กเก็ตกับ Router เพ่ือนบาน แตหาก Router ไมตอบสนองตอความพยายามที่จะติดตอดวย หลายๆครั้ง การเชื่อมตอก็จะถือวาตัดขาดลง แตถาหากสถานะของ Router หรือการเชื่อมตอเกิดการเปลี่ยนแปลง ขอมูลขาวสารนี้จะถูก Broadcast ไปยัง Router ทั้งหมดที่อยูในเครือขาย

การจัดตั้ง Configure ใหกับวิธี การจัดเลือกเสนทางแบบ Dynamic ในการจัดตั้งคาสําหรับการเลือกเสนทาง (Routing) แบบ Dynamic จะมี 2 คําสั่งสําหรับการใช

งาน ไดแก คําสั่ง Router และ Network โดยคําสั่ง Router เปนคําสั่งที่ทําใหเริ่มตนการเกิดกระบวนการเลือกเสนทางขึ้น รูปแบบของคําสั่งมีดังน้ี

Router (config)#router protocol [keyword]

ตอไปนี้เปนคําอธิบายรายละเอียดของรูปแบบคําสั่ง

• Protocol เปนโปรโตคอลเลือกเสนทางแบบใดแบบหนึ่ง ระหวาง RIP IGRP OSPF หรือ Enhanced IGRP

• Keyword ตัวอยาง เชน เลขหมายของ Autonomous ซึ่งจะถูกนํามาใชกับโปรโตคอลที่ตองการระบบ Autonomous ไดแก โปรโตคอล IGRP คําสั่ง Network ก็เปนคําสั่งที่มีความจําเปนตอการใชงานเชนกัน เน่ืองจากมันสามารถกําหนดวา

Interface ใดที่จะเกี่ยวของกับการรับหรือสง Packet เพ่ือการ Update ตารางเลือกเสนทาง ขณะเกิดกระบวนการเลือกเสนทางขึ้น คําสั่ง Network จะเปนคําสั่งที่ทําให โปรโตคอลเลือกเสนทางเริ่มตนทํางานบน Interface ตางๆ ของ Router อีกทั้งยังทําให Router สามารถโฆษณาประชาสัมพันธเครือขายที่ตนดูแลอยู ไดอีกดวย รูปแบบของคําสั่งมีดังน้ี

Router (config-router)#network network- number

Network-number ในที่นี้หมายถึง เครือขายที่เชื่อมตอกันโดยตรง และ Network Number จะ

ตองอยูในมาตรฐานเลขหมายของ INTERNIC การจัดตั้ง Configuration ใหกับโปรโตคอลเลือกเสนทาง RIP โปรโตคอลการเลือกเสนทางที่เรียกวา RIP นี้ เดิมทีไดรับกําหนดเปนมาตรฐานโดย RFC 1058

มีกุญแจหลักที่สําคัญในการทํางาน ดังน้ี

Page 15: Router command

• เปนโปรโตคอลประเภท Distance Vector • มีการนับจํานวนของ Hop เปนมาตรวัดเพ่ือที่จะเลือกเสนทาง • จํานวนของ Hop ที่ RIP สามารถมองเห็นและเขาถึงไดคือไมเกิน 15 Hop • การ Update Routing จะกระทํากันในทุกๆ 30 วินาที ดวยวิธีการ Broadcasting • RIP สามารถทํางานในลักษณะของ Load Balancing ในกรณีที่วิ่งบนเสนทางหลาย

เสนทางพรอมกันได

หมายเหตุ Load balancing จะทําให Router สามารถใชเสนทางที่ถูกคํานวณออกมาแลววามีคาเทากัน เพ่ือการเขาถึงเครือขายปลายทาง สําหรับ Router ของ Cisco น้ัน Load Balancing สําหรับ RIP จะถูก Enable โดยการกําหนดจํานวนของเสนทางสูงสุด ที่เปนแบบขนาน ในตารางเลือกเสนทาง หากมีการกําหนดคาสูงสุดของเสนทางเปน 1 แลว Load Balancing จะถูก Disable ไมสามารถทํางานได ทั้งนี้เน่ืองจาก RIP ไดกําหนดคา ปริยายของเสนทางแบบขนานถึง 4 เสนทาง และ Load Balancing ปกติจะถูก Enable โดยอัตโนมัติ

รูปที่ 5 แสดงการทํางานของ RIP ในการใชจํานวนของ Hop เพ่ือเปนมาตรวัดเสนทาง

จากรูปที่ 5 จะเห็นวา แพ็กเก็ตจากคอมพิวเตอร A จะสงแพ็กเก็ตไปที่คอมพิวเตอร B จะเลือกเสนทางที่มีจํานวน Hop นอยที่สุด ในการนําขอมูลขาวสารไปที่ปลายทาง โดยที่ภายใตโปรโตคอลการเลือกเสนทางแบบ RIP จะถือเอาจํานวน Hop ที่นอยที่สุดเปนหลัก ในการตัดสินใจเลือกเสนทาง