57
เรียนรูเพื่อรับใชสังคม รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ฉบับที12 ของ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปการศึกษา 2555 (วันที1 มิถุนายน .. 2555 ถึงวันที31 พฤษภาคม .. 2556) เพื่อรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับมหาวิทยาลัย วันที6 มิถุนายน 2556 วัน/เดือน/ที่รายงาน

Sar2555(ฉบับแก้ไขล่าสุดวันที่12 6 56)

  • Upload
    tomhcu

  • View
    226

  • Download
    2

Embed Size (px)

DESCRIPTION

 

Citation preview

เรียนรูเพ่ือรับใชสังคม

รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ฉบับที่ 12

ของ บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยหัวเฉยีวเฉลิมพระเกียรติ

ปการศึกษา 2555 (วันท่ี 1 มิถุนายน พ.ศ. 2555 ถึงวันท่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2556)

เพ่ือรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับมหาวิทยาลัย

วันที่ 6 มิถุนายน 2556 วัน/เดือน/ป ที่รายงาน

'Jl tJ-11'Ufll'J'\J'J~ bil'UfHUil TV'HWWb€J-1(SAR) 'lJ€J-1Uru-n 1?11'V1tJ1 ~ tJ lJ'VI11 'V1tn ~tJ'\X':Jb5 tJ'J bQ~lJ'V'l'J~ bn tJ'J~,QU'U~ 12 d btJ'Ufll'J'JltJ-11'Ue-Jrlfll'Jv11bD'U-11'U1?11lJ~'Jtl-1~flrum'V'l'lJ€J-1uru-n1?11'V1tJl~tJ '\J'J~'illUfll'Jfif1'\;l 2555,(1 il~'UltJ'U 2555 - 31 'V'l~'(;mfllJ 2556) b~€J~'Ufll'J'\J'J~b:w'U~rum'V'lmtJ1'U'J~~'UlJ'VI11'V1tJl~tJ 'JltJ-11'Ufll'J'\J'J~b:W'U

l'l'Ub€J-1Qu'Ud'\J'J~fl€J'U~'JtJ 3 ~'J'U ~'J'U~ 1 'U'V11htJ'Uorr€JlJrlbd€J-1Iil'U'lJ€J-1Uru-n1?11'V1tJl~tJ ~'J'U~ 2 e-Jrlfll'Jv11bD'U-11'Uv

ue ~e-Jrlfll'J'\J'J~ bil'Ufl rum'V'l bVI tJ'Un'U bflru'l1 ua ~ ~ 1 btl 1 'VIm tJ1?11lJ~'Jtl-1~ uae ~'J'U~ 3 G1'J'\Je-Jrlfll'Jv1 1 b-W'U-11'Ubbrl~u 'U'J, ,'V11-1fll'J~(P).J'Ulflrum'V'l :W€J-1r1'\J'J~fl€J'Uflrum'V'l~-1~'U 5 €J-1A'\J'J~fl€J'U l~bbn €J-1r1'\J'J~fl€J'\:.I~ 1, 2, 7, 8, 9 :W~'Jtl-1~, ,flrum'V'l 19 ~'Jtl-1~ 'ill uurntJ'U~'Jtl-1~flrum'V'lvi''J 1 '\J 18 ~'Jtl-1~ ~'Jtl-1~flrum'V'l bQ'V'll~ 1 ~'Jtl-1~ bii'UeJ-1A'\J'J~fleJ'U, , ,~ 2 fll'Je-J~I?1Uru-n1?11?11lJbflru'l1'\J'J~ b:W'Uflrum'V'lfll'Jfifl,(;lmtJ 1 'U'lJeJ-1thWml'Uflru~m'JlJfll'JeJV1lJfifl,(;l (G1fleJ.) uae, ,bflru'l1'\J'J ~ bil 'U~ run 1'V'lm 'Jfi fl,(;lil 1 tJ'UeJfl'lJeJ-1~1,r fl-11'U~'U'JeJ-1lJ11?1'J)il'Ubbrl ~'\J'J~ bil'U~ run 1'V'lrn'J fi fl,(;l (eJ-1An 'JlJ 'VI1 'lJ'U)

(G1lJ1'1.)G1eJV1fl ~ eJ-1n'U~'UDn 'iJ'lJeJ-1lJ'VI11'V1tJl~ tJbbrl~U ru-n 1?11'V1tJ1~ tJ tV1tJ:Wll?1rnl 'J~G1-1Ab~eJ 1ob1'Ufll'J~(P).J'Ul flrum 'V'l1,x:w, ,'\J'J~~'V1ITm'V'l '\J'J~~'V1ITe-JrltV1tJ1orr'J-1'iJ'J~rum'V'l PDCA (Plan-Do-Check-Act) uae IPO (lnput-Process-Output)

'lJeJ'lJeJ'Uflrufl ru~ n 'J'JlJ fll'J'U~'VI1'JUru-n1'l1'V1 tJl~tJ brl'lJl'Ufll'J uae b~l'V1iil~Uru-n 1?11'V1tJl~tJ'V1fl'Vh'U~1Ji1,x, , ,flJllJ~'JlJ:W eJ~'JlJh b~ tJG1rl~b'Jrll eJVif1I?1'Ub~eJ~(P).J'U1Uru-n1?11'V1tJl~tJ1,x:wfl'JllJ b'iJ~runl'J'VIiil 'U'J'JrlI?11lJll?1tl'\J'J~G1-1Auae

'I v 'I ~

btll'V1lJl tJeJ~l-1l'im ~eJ-1

G1V1V11tJd'lJeJ'lJeJ'Uflruflru~m'JlJ fll'J'\J'J~ b:W'Uflrum'V'lm tJ1 'U'J~I'l'UlJ'VI11'V1tJl~tJ ~1Ji1 ,xorreJf1V1b~'Ubbrl~orrmG1'UeJ" ,el'U'iJ~btJ'U'\J'J~ ttJ'lJtJl'i eJfll'J~(P).J'U1Uru-n 1?11'V1tJ1~tJl'ieJ1'\J

PI f)~V)h~\\'

('JeJ-1f11G1l?1'Jl'iJl'JEH1G1tJ1~'U'V1{1'V1tJ1'U:UI?1),~fl,(;l m 'Jfl ru'U~uru-nl'll'V1 tJ1~ tJ

6 iltl'UltJ'U 2556,

สารบัญ

หนา

คํานํา

สวนท่ี 1 บทนํา

1. ช่ือหนวยงาน 1

2. ท่ีตั้ง 1

3. ประวัติความเปนมา 1

4. อัตลักษณ 2

5. ปรัชญา 2

6. ปณิธาน 2

7. ปณิธาน 2

8. พันธกิจ 2

9. วัตถุประสงค 2

10. ยุทธศาสตร 2

11. แผนงานบัณฑติวิทยาลยั 3

12. จํานวนและรายช่ือบุคลากร บัณฑติวิทยาลัย 4

13. คณะกรรมการบรหิารบัณฑิตวิทยาลัย 4

14. คณะกรรมการประกันคุณภาพ บัณฑิตวิทยาลัย 4

15. โครงสรางองคกรและการบรหิาร

15.1 แผนภูมิโครงสรางองคกร (Organization chart) 5

15.2 แผนภูมิการบริหาร (Administrative chart) 6

15.3 แผนภูมิการดําเนินงาน (Activity chart) 7

16. หลักสูตรท่ีเปดสอนในปการศกึษา 2555 8

17. อาคารสถานท่ี 8

18. งบประมาณประจําปการศึกษา 2555 9

19. ผลการปรับปรุงตามขอเสนอแนะของผลการประเมินป 2554 9

สวนท่ี 2 ผลการดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพเทียบกับเกณฑมาตรฐานและเปาหมาย

ตามตัวบงชี้ในแตละองคประกอบคุณภาพ

องคประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดาํเนินการ 11

องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต 14

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ 29

องคประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ 45

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคณุภาพ

สวนท่ี 3 สรุปผลการดําเนินงานและแนวทางการพัฒนาคุณภาพ 52

สวนท่ี 1 บทนํา

1. ชื่อ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลมิพระเกียรต ิ 2. ท่ีต้ัง วิทยาเขตบางพลี อาคารอํานวยการ ช้ัน 3 เลขท่ี 18/18 ถนนบางนา-ตราด กม.18 ตําบลบางโฉลง อําเภอบางพล ีจังหวัดสมุทรปราการ 10540 วิทยาเขตยสเส เลขท่ี 121 ถนนมหานาค แขวงคลองมหานาค เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร 10100 3. ประวัติความเปนมา

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติเริ่มมีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาหลักสูตรแรก คือหลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการโครงการสวัสดิการสังคม ในปการศึกษา 2535 ภายใตการกํากับดูแลของคณะสังคมสงเคราะหศาสตรและสวัสดิการสังคม ตอมาในปการศึกษา 2537 มหาวิทยาลัยไดจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัย เพ่ือดูแลรับผิดชอบงานบัณฑิตศึกษา ในปการศึกษา 2539 คณะบริหารธุรกิจไดเปดหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ปการศึกษา 2540 ไดมีการปรับปรุงโครงสรางองคกรโดยมีการโอนหนวยงานศูนยฝกอบรม โครงการ Mini M.B.A. มาอยูในความรับผิดชอบของบัณฑิตวิทยาลัย และโอนยายคณาจารยกลับไปสังกัดคณะวิชา ปการศึกษา 2543 ไดรับอนุมัติใหเปดหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาการสอนภาษาตางประเทศ (จีน อังกฤษ) ปการศึกษา 2544 ไดรับอนุมัติใหเปดหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชีพครู แตเน่ืองจากหลักสูตรดังกลาวมีผูสมัครเขาเรียนนอย จึงชะลอการเปดสอนหลักสูตรและไดปดหลักสูตรดังกลาวในเวลาตอมา ในปการศึกษา 2544 มหาวิทยาลัยไดมีการปรับโครงสรางการบริหารงานบัณฑิตวิทยาลัยใหม ใหเปนหนวยงานสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและกํากับมาตรฐานในระดับบัณฑิตศึกษา อยูภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย โดยใหคณะวิชาเขามามีสวนรวมในการบริหารงานบัณฑิตศึกษามีผลตั้งแตวันท่ี 1 เมษายน 2545 เปนตนไป เปนการเอ้ือตอการเปดสอนสหสาขาวิชา และในปการศึกษาน้ีไดมีการเปดหลักสูตรสหสาขาวิชาคือ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการระบบสุขภาพ โดยมีคณบดีคณะเภสัชศาสตรเปนประธานหลักสูตร

ในปการศึกษา 2548 คณะพยาบาลศาสตรไดเปดหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล เวชปฏิบัติชุมชน และคณะบริหารธุรกิจไดเปดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม ปการศึกษา 2550 คณะศิลปศาสตร ไดเปดหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีจีนสมัยใหมและรวมสมัย ซึ่งเปนหลักสูตรท่ีเปนความรวมมือกันกับมหาวิทยาลัยหัวเฉียว ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ปการศึกษา 2551 มีการเปดหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษาเพ่ิมข้ึนอีก 2 คณะวิชา คือ คณะเภสัชศาสตรและคณะนิเทศศาสตร คณะเภสัชศาสตรเปด 2 หลักสูตร ไดแก หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง และหลักสูตรเภสัชศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม สวนคณะนิเทศศาสตรเปดหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชา การสื่อสารสุขภาพ

ในปการศึกษา 2552 มีหลักสูตรใหมจํานวน 3 หลักสูตร ไดแก คณะนิเทศศาสตรเปดหลักสูตรนิเทศศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารสุขภาพ คณะพยาบาลศาสตรเปดหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผูใหญ และคณะศิลปศาสตรเปดหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเปนภาษาท่ีสอง

ในปการศึกษา 2554 ไดรับการอนุมัติเปดหลักสูตรใหม 4 หลักสูตร ไดแก คณะศิลปศาสตรเปดหลักสูตรศิลป ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษระดับสูงเพ่ือการสื่อสาร คณะสาธารณสุขศาสตรและสิ่งแวดลอมเปดหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย และคณะภาษาและวัฒนธรรมจีน เปด 2 หลักสูตร ไดแก หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนเพ่ือการสื่อสารเชิงธุรกิจ และหลักสูตรศิลป ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีน ในปการศึกษา 2555 คณะสังคมสงเคราะหศาสตรและสวัสดิการสังคม เปดหลักสูตรระดับปริญญาเอก คือหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานโยบายและการบริหารสวัสดิการสังคม ซึ่งเปนหลักสูตรระดับดุษฎีบัณฑิตหลักสูตรแรกของมหาวิทยาลัย

2

ปจจุบันมีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาท้ังสิ้น 15 หลักสูตร ไดรับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยและรับทราบจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาทุกหลักสูตร นอกจากน้ีสภาการพยาบาลไดใหการรับรองหลักสูตรพยาบาล ศาสตรมหาบัณฑิตท้ัง 2 หลักสูตร มีมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษารุนแรกจนถึงปจจุบันจํานวน 773 คน ในปการศึกษา 2555 มีนักศึกษาท้ังสิ้นจํานวน 350 คน มีมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาจํานวน 71 คน

4. อัตลักษณ เปนสถาบันบัณฑิตศึกษาช้ันนําทางดานจีนศึกษา 5. ปรัชญา พัฒนาความรูคูคุณธรรม 6. ปณิธาน มุงสรางนักวิชาการ วิชาชีพช้ันสูงท่ีมคีวามรูคูคณุธรรม มีคณุภาพในระดับสากล 7. วิสัยทัศน เปนสถาบันบัณฑิตศึกษาช้ันนําในระดับสากล 8. พันธกิจ 1. สงเสรมิ สนับสนุนการดาํเนินงานการจัดการเรยีนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา 2. ดูแล กํากับติดตามการจัดการศกึษาระดับบัณฑติศึกษาใหมีคณุภาพระดับสากล 3. สงเสรมิการวิจัยของอาจารยและนักศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ 4. สืบสานศลิปวัฒนธรรมไทย-จีน 5. บริหารจดัการตามหลักธรรมาภิบาล 9. วัตถุประสงค 1. พัฒนาความเขมแข็งดานบัณฑิตศึกษา เพ่ือมุงสูการเปนสถาบันบัณฑิตศึกษาช้ันนํา 2. เพ่ือสนับสนุนการวิจัยของอาจารยและนักศกึษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรต ิ 3. ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมไทย-จีน 4. พัฒนาบุคลากรใหเตม็ศักยภาพ มีความสามารถแขงขันได

5. พัฒนาระบบบริหารจัดการองคกรตามหลักธรรมาภิบาล เพ่ือมุงสูการพัฒนาท่ียั่งยืน 10. ยุทธศาสตร 1. พัฒนาหลักสูตรดานจีนศึกษาและวิทยาศาสตรสุขภาพใหมีความเขมแข็ง หลากหลาย และสอดคลอง กับการพัฒนาในประชาคมอาเซียน 2. สงเสริมและพัฒนาองคความรูและการวิจัยโดยเนนความเขมแข็งทุกสาขาวิชา 3. สืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย-จีน 4. พัฒนานักศึกษาและบุคลากรใหเปนคนดี คนเกงและมีความสุข 5. บริหารจัดการเพ่ือความพอเพียง และการพัฒนาท่ียั่งยืน

3

11. แผนงานบัณฑิตวิทยาลัย 11.1 แผนงานการผลิตบัณฑิต

งาน กิจกรรม/โครงการ 1. งานมาตรฐานการศึกษา 1. การเปด ปด ประเมินมาตรฐานการศึกษา การประเมินหลักสูตร การปรับปรุงหลักสตูร

และการจัดทําคูมือหลักสูตร 2. การควบคมุมาตรฐานวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ (การจัดทําคูมือวิทยานิพนธ

ติดตามความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ ตรวจรูปแบบการพิมพวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ การตีพิมพเผยแพรผลงาน ใหเสร็จทันเวลาท่ีกําหนด การประกวดวิทยานิพนธดีเดน การจัดทํารปูเลมบทคัดยอวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ)

3. ผลงานทางวิชาการของนักศึกษาตีพิมพเผยแพร 4. การประเมินการสอนอาจารย 5.การประกันคณุภาพ 2. งานจัดการเรียนการสอน 1. จัดทําปฏิทินการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2. จัดหองเรียน หองสอบ หองประชุม สัมมนา เตรยีมความพรอมสือ่ โสต ทัศนูปกรณ 3. รับคํารอง ติดตามรักษาสถานภาพของนักศึกษา ผอนผัน กูยมื 3. งานรับนักศึกษา 1. การประชาสมัพันธ 2. การรับสมัครนักศึกษา 3. ประสานงานการสอบคดัเลือก (การออกขอสอบ ตรวจขอสอบ สงผลสอบใหหลักสตูร) 4. งานพัฒนานักศึกษา 1. ดานวิชาการ (ปฐมนิเทศ การสบืคน การเขียนบทความทางวิชาการ) 2. ดานกิจกรรมกีฬา นันทนาการ และการสงเสริมสุขภาพ 3. ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 5. งานสําเร็จการศึกษา 1. ติดตามการแจงจบ ตรวจสอบรายช่ือผูสําเร็จการศึกษา 2. ประเมินภาวะการมีงานทําและความพึงพอใจผูใชบัณฑิต 3. สํารวจความตองการคุณสมบัตบัิณฑิตท่ีพึงประสงค

4

11.2 แผนงานสนับสนุนการวิจัยอาจารยและนักศึกษามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 1. งานจริยธรรมการวิจัย 2. คลินิกงานวิจยั (ใหคําปรึกษางานวจิัย จัดทาํฐานขอมูลการวิจัย) 12. จํานวนและรายชื่อบุคลากร บัณฑิตวิทยาลัย 1. รองศาสตราจารยอิสยา จันทรวิทยานุชิต รักษาการคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย 2. นางสาวอภิวันท สุวรรณชูโต เลขานุการบัณฑติวิทยาลยั 3. นางสาวกฤตภรณ ปยะแสงทอง เจาหนาบรหิารงานธุรการ 4. นางนิภาพร วงษเทศ เจาหนาท่ีธุรการ 5. นางสาวยุพด ี ทองใบศรี เจาหนาท่ีธุรการ 13. คณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย

1. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ประธานกรรมการ 2. คณบดีคณะสังคมสงเคราะหศาสตรและสวัสดิการสังคม กรรมการ

3. คณบดีคณะบริหารธุรกิจ กรรมการ 4. คณบดีคณะพยาบาลศาสตร กรรมการ 5. คณบดีคณะศลิปศาสตร กรรมการ 6. คณบดีคณะเภสัชศาสตร กรรมการ 7. คณบดีคณะนิเทศศาสตร กรรมการ 8. คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตรและสิ่งแวดลอม กรรมการ 9. คณบดีคณะภาษาและวัฒนธรรมจีน กรรมการ

10. เลขานุการบัณฑิตวิทยาลัย เลขานุการ 14. คณะกรรมการประกันคุณภาพ บัณฑิตวิทยาลัย 1. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ประธานกรรมการ 2. นางสาวกฤตภรณ ปยะแสงทอง กรรมการ 3. นางนิภาพร วงษเทศ กรรมการ 4. นางสาวอภิวันท สุวรรณชูโต กรรมการและเลขานุการ 5. นางสาวยุพด ี ทองใบศรี กรรมการและผูชวยเลขานุการ

5

15. โครงสรางองคกรและการบริหาร 15.1 แผนภูมิโครงสรางองคกร (Organization chart)

บัณฑิตวิทยาลัย สํานักงานเลขานุการ

6

15.2 แผนภูมิการบริหาร (Administrative chart)

อธิการบดี

รองอธิการบดี

คณะกรรมการบริหารวิชาการ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย คณะกรรมการบริหาร บัณฑิตวิทยาลัย เลขานุการและเจาหนาท่ี บัณฑิตวิทยาลัย

คณะวิชา

คณะกรรมการ บัณฑิตศึกษาประจําคณะ คณะกรรมการประจํา หลักสูตรบัณฑิตศึกษา

7

15.3 แผนภูมิการดําเนินงาน (Activity chart)

บัณฑิตวิทยาลัย แผนงานผลิตบัณฑิต แผนงานสนับสนุนการวิจัย งานมาตรฐานการศึกษา งานจัดการเรียนการสอน งานพัฒนานักศึกษา งานรับนักศึกษา งานสําเร็จการศึกษา งานจริยธรรมการวิจัย คลินิกงานวิจัย

8

16. หลักสูตรท่ีเปดสอนในปการศึกษา 2555

หลักสูตร ประธานหลักสูตร จํานวนนักศึกษา

1. หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต (บูรณาการนโยบายสวัสดิการสังคม) อาจารย ดร.ภุชงค เสนานุช 19 2. หลักสูตรบรหิารธุรกิจมหาบัณฑิต อาจารย ดร.ธิดารัตน โชคสุชาติ 36 3. หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน) อาจารย ดร.กมลทิพย ขลังธรรมเนียม 37 4. หลักสูตรการจดัการมหาบัณฑติ (การจัดการอุตสาหกรรม) ผศ. ดร. ชุติระ ระบอบ 64 5. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑติ (วรรณคดีจีนสมัยใหมและรวมสมัย) อาจารย ดร.นริศ วศินานนท 31 6. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตรเครื่องสําอาง) อาจารย ดร.ปวีณา วองตระกูล 8 7. หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีเภสัชกรรม) อาจารย ดร.สุนีย ชาญณรงค 2 8. หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การพยาบาลผูใหญ) ผศ. ดร. รัชนี นามจันทรา 23 9. หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต (การสื่อสารสุขภาพ) รศ. ปยกุล เลาวัณยศิร ิ 12 10. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสื่อสารภาษาไทยเปนภาษาท่ีสอง) อาจารย.ดร.พัชรินทร บูรณะกร 31 11. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาอังกฤษระดับสูงเพ่ือการสื่อสาร) อาจารย ดร.สมศรี จันทรสม 7 12. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาจีน) อาจารย ดร.ธเนศ อ่ิมสาํราญ 41 13. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาจีนเพ่ือการสื่อสารเชิงธุรกิจ) อาจารยไพศาล ทองสัมฤทธ์ิ 20 14. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สิ่งแวดลอมและความปลอดภัย) อาจารย ดร.เทอดพงศ ศรีสุขพันธุ 18 15. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (นโยบายและการบริหารสวัสดิการสังคม) อาจารย ดร.จตุรงค บุณยรัตนสุนทร 1 รวมท้ังสิ้น 350 17. อาคารสถานท่ี 17.1 วิทยาเขตบางพลี อาคารเรียน 1 และอาคารเรียน 2 ของมหาวิทยาลัยเปนสถานท่ีดําเนินการรวมกันของทุกคณะวิชา เปนอาคาร 4 ช้ันเช่ือมติดตอกัน พ้ืนท่ีภายในอาคารเพ่ือจัดกิจกรรมทางการศึกษาและบริการอ่ืน ๆ ประมาณ 17,000 ตารางเมตร หองเรียนทุกหองติดเครื่องปรับอากาศและโสตทัศนูปกรณท่ีทันสมัย ประกอบดวย 1. หองเรียนรวม จํานวน 98 หอง 2. หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร จํานวน 5 หอง 3. หองปฏิบัติการภาษา จํานวน 5 หอง อาคารอํานวยการมีหองเรียนปรับอากาศ 12 หอง โดยมีหองบรรจุ 60 ท่ีน่ัง จํานวน 6 หอง และหองบรรจุ 40 ท่ีน่ัง จํานวน 2 หอง มีหองใหนักศึกษาคนควาดวยตนเอง 1 หอง อาคารหอประชุมเปนสถานท่ีดําเนินการรวมกันทุกคณะวิชา พ้ืนท่ีภายในอาคารเพ่ือจัดกิจกรรมทางการศึกษาและบริการอ่ืน ๆ ประมาณ 5,653 ตารางเมตร หองเรียนทุกหองติดเครื่องปรับอากาศและโสตทัศนูปกรณท่ีทันสมัย ประกอบดวย 1. หอประชุม จํานวน 1 หอง (ขนาด 1,114 ท่ีน่ัง) 2. หองบรรยายรวม จํานวน 2 หอง 3. อาคารโภชนาการมีหองบรรยาย จํานวน 6 หอง 17.2 วิทยาเขตยศเส อาคารจํานวน 1 หลัง พ้ืนท่ีใชสอยรวม 2,279 ตารางเมตร หองเรยีนทุกหองติดเครื่องปรับอากาศและโสตทัศนูปกรณท่ีทันสมัย ประกอบดวย

1. หองเรียนขนาด 30 ท่ีน่ัง จํานวน 5 หอง 2. หองเรียนขนาด 100 ท่ีน่ีง จํานวน 3 หอง 3. หองใหนักศึกษาคนควาดวยตนเอง จํานวน 1 หอง

9

18. งบประมาณประจําปการศึกษา 2555 บัณฑิตวิทยาลัยไดรับจัดสรรงบประมาณจํานวน 2 สวน ไดแก งบประมาณประจําปการศึกษา 2555 จํานวน 141,000 บาท ไดแก หมวดคาตอบแทน จํานวน 48,000 บาท หมวดคาใชสอย จํานวน 23,000 บาท หมวดคาวัสดุ จํานวน 20,000 บาท หมวดเงินอุดหนุน จํานวน 50,000 บาท และคากิจกรรมพิเศษท่ีจัดเก็บจากนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ในปการศึกษา 2555 รอยละ 20 เปนเงินท้ังสิ้น 69,508 บาท ดังน้ี ภาคการศึกษาท่ี 1/2555 จํานวน 26,800 บาท ภาคการศึกษาท่ี 2/2555 จํานวน 24,820 บาท และ ภาคฤดูรอน/2555 จํานวน 17,888 บาท

19. ผลการปรับปรุงตามขอเสนอแนะของผลการประเมินป 2554 หัวขอ /

องคประกอบ ขอเสนอแนะของผลการประเมินป 2554 ผลการปรับปรุงปการศึกษา 2555

ผลดําเนินการระหวาง เดือนมิถุนายน 2555 –พฤษภาคม

2556 องคประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน

1. ควรมีการนําผลการประเมินแผนมาปรับปรุงการดําเนินงานในแผนปฏิบัติการปตอไป

ดําเนินการแลว ในแผนปฏิบัติงาน

วัตถุประสงค และแผนการดาํเนินการ

2. ควรมีการประเมินการบรรลุตามตัวช้ีวัดความสําเร็จของแผน กลยุทธ 5 ปและนําผลมาปรับปรุงในแผนกลยุทธใน 5 ป (2555-2559)

ดําเนินการแลว ในแผนกลยุทธ 5 ป (2555-2559)

องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต

3. ควรนําผลการประเมินหลักสูตรไปปรับปรุงการเรียนการสอนอยางจริงจังและตอเน่ือง

ดําเนินการแจงทุกหลักสตูรแลว

4. จํานวนนักศึกษาท่ีศึกษาแผน ก ยังมีไมมากตองสงเสริมและรณรงคใหนักศึกษาศึกษาแผน ก มากข้ึน

ดําเนินการแจงหลักสตูรแลว และปการศึกษา 2555 มีนักศึกษาแผน ก จํานวน 43 คน เพ่ิมข้ึนจากปการศึกษา2554 รอยละ 1.1 (ป 2554 นศ.สําเร็จ 74 ทําแผน ก 44 คน คิดเปนรอยละ 59.46 ป 2555 นศ.สําเร็จ 71 ทําแผน ก 43 คน คิดเปนรอยละ 60.56) นอกจากน้ีไดมีการปรับเง่ือนไขในการสําเรจ็การศึกษาของนักศึกษาแผน ข วาจะตองมีการตีพิมพผลงานจึงจะสาํเร็จการศึกษา

องคประกอบท่ี 3 กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

5. ควรมีการประเมินคุณภาพในการใหบริการแกนักศึกษาในแตละครั้ง เปนการใหคําปรึกษาทางวิชาการและแนะแนวการใชชีวิต การจัดบริการขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนแกนักศึกษา การรวมมือกับคณะวิชาจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาประสบการณทางวิชาการและวิชาชีพแกนักศึกษา และเมื่อประเมินแลวควรนําผลการประเมินของการใหบริการมาเปนขอมูลในการพัฒนาการจัดบริการท่ีสนองความตองการของนักศึกษา

แจงในท่ีประชุมคณะกรรมการบรหิารบัณฑิตวิทยาลัย เพ่ือใหหลักสูตรดําเนินการตอไป และตัวบงช้ีน้ี ในปการศึกษา 2555 ไดปรับใหอยูในองคประกอบท่ี 2 เพ่ือใหเหมาะสมกับภารกิจของบัณฑติวิทยาลัย

6. ควรมีการใหความรูและทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแกนักศึกษา และใหนักศึกษาใชระบบ PDCA ในการทําเปนกิจกรรมและโครงการพัฒนานักศึกษา

10

หัวขอ /

องคประกอบ ขอเสนอแนะของผลการประเมินป 2554 ผลการปรับปรุงปการศึกษา 2555

ผลดําเนินการระหวาง เดือนมิถุนายน 2555 –พฤษภาคม

2556 องคประกอบท่ี 4 การวิจัย

7. ทุนสนับสนุนการวิจัยยังไมมีมาก ควรจัดหาแหลงทุนสนับสนุนการวิจัยใหมากข้ึน

แจงในท่ีประชุมคณะกรรมการบรหิารบัณฑิตวิทยาลัย แลว เพ่ือใหหลักสูตรดําเนินการปรับปรุงตอไป

8. เวทีในการนําเสนองานวิจัยยังมีนอย ควรสรางเครือขายเพ่ือเปนเวทีในการนําเสนอผลงานวิชาการระดับชาติใหมากข้ึน

มีการรวมมือจัดประชุมวิชาการระดับชาติรวมกับ ม.คริสเตียนและ ม.เวสเทิรน

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและ การจัดการ

9. ควรดําเนินงานดานการนําผลการประเมินไปปรับปรุงระบบควบคุมครภุัณฑใหชัดเจน เพ่ือใหเกิดการพัฒนาคณุภาพอยางรวดเร็ว อาจดูแบบการควบคุมครภุัณฑจากหนวยงานท่ีดําเนินงานดานครภุัณฑไดอยางชัดเจนเพ่ือนํามาเปนตัวอยางการดําเนินงาน

ดําเนินการแลว

10. ควรมีการพัฒนาระบบสารสนเทศใหครบวงจรเพ่ือใหผูบริหารสามารถนําขอมูลไปใชในการตัดสนิในการบริหารงานได

อยูระหวางการดําเนินงาน

องคประกอบท่ี 8การเงินและงบประมาณ

11. ควรจัดทําเอกสารการใชงบประมาณ คากิจกรรมพิเศษในสวน 20% ของบัณฑิตวิทยาลยัใหชัดเจนวาไดรับจัดสรรเทาไร ใชไปเทาไรในแตละภาคการศึกษา

ดําเนินการแลว

12. ควรดําเนินงานดานการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมายใหชัดเจนมากข้ึน เพ่ือใหนําผลจากการตดิตามผลไปใชในการวางแผนและตดัสินใจในการใชงบประมาณ

ดําเนินการแลว

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการ

13. ควรเขียน SAR แสดงผลการดาํเนินงาน ใหสอดคลองกับเกณฑการประเมิน และแสดงหลักฐานใหสอดคลองกัน

ดําเนินการแลว

ประกันคุณภาพ 14. ควรพัฒนาบุคลากรใหมคีวามรูเรื่องประกันคุณภาพ และนําระบบคณุภาพ PDCA มาใชในการดําเนินงานของบัณฑิตวิทยาลัย

ดําเนินการแลว

ขอเสนอแนะอ่ืน ๆ 15. การเขียน SAR ควรนําเสนอประวัติความเปนมา และควรมีการเขียนในรูปแบบเดียวกัน

ดําเนินการแลว

16. ขาดการเขียนระบบและกลไกในแตละองคประกอบ ดําเนินการแลว รวมขอเสนอแนะจากผลประเมนินํามาปรับปรุงท้ังสิน้ 15/16 คิดเปนรอยละ 93.75

สวนท่ี 2 ผลการดําเนินการ ผลการประเมินคุณภาพเทียบกับเกณฑมาตรฐานและเปาหมาย ตามตัวบงช้ี

ในแตละองคประกอบคุณภาพ

องคประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินการ (1 ตัวบงชี้)

ตัวบงชี้ ชนิดตัวบงชี ้

เปาหมาย เกณฑประเมิน

1 2 3 4 5

1.1 กระบวนการพัฒนาแผน (สกอ.)

P มีการ

ดําเนินการ 7 ขอ

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ 2 หรือ 3

ขอ

มีการดําเนินการ 4 หรือ 5

ขอ

มีการดําเนินการ 6 หรือ 7

ขอ

มีการดําเนินการ

8 ขอ

เกณฑประเมินตัวบงชี้ท่ี 1.1 (ขอ) 1. มีการจัดทําแผนกลยุทธท่ีสอดคลองกับนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยการมีสวนรวมของบุคลากรในหนวยงาน และไดรับความเห็นชอบจากมหาวิทยาลัย โดยเปนแผนท่ีเช่ือมโยงกับปรัชญาหรือปณิธานและพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 ตลอดจนสอดคลองกับแผนพัฒนามหาวิทยาลัย 5 ป (พ.ศ. 2555 - 2559) 2. มีการถายทอดแผนกลยุทธของหนวยงานไปสูบุคลากรทุกคนภายในหนวยงาน 3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธเปนแผนปฏิบัติการประจําปตามพันธกิจของหนวยงาน 4. มีตัวบงช้ีของแผนกลยุทธ แผนปฏิบัติการประจําป และคาเปาหมายของแตละตัวบงช้ี เพ่ือวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําป 5. มีการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจําปครบตามทุกพันธกิจ 6. มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีของแผนปฏิบัติการประจําป อยางนอยปละ 2 ครั้ง และรายงานผลตอผูบริหารเพ่ือพิจารณา 7. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีของแผนกลยุทธ อยางนอยปละ 1 ครั้ง และรายงานผลตอผูบริหารและมหาวิทยาลัย เพ่ือพิจารณา 8. มีการนําผลการพิจารณา ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะของมหาวิทยาลัย ไปปรับปรุงแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําป

ระบบและกลไก บัณฑิตวิทยาลัยโดยคณะกรรมการประกันคุณภาพไดกําหนดนโยบาย เพ่ือใชเปนกรอบแนวทางในการดําเนินการ ใหบรรลุตามวัตถุประสงคและเปาหมายท่ีตั้งไว โดยครอบคลุมงานพันธกิจหลัก ไดแก 1) แผนงานผลิตบัณฑิต 2) แผนการสนับสนุนการวิจัย โดยใชระบบ PDCA (Plan-Do-Check-Act) กลาวคือ มีการวางแผนการดําเนินงานและแผนปฏิบัติการประจําปท่ีสอดคลองกับภารกิจหลัก ยุทธศาสตรและแผนพัฒนาของมหาวิทยาลัย ในแผนมีโครงการ/กิจกรรม มีการกําหนดตัวบงช้ี (KPI) ของการดําเนินงาน และกําหนดเปาหมายของแตละตัวบงช้ี (KPI) มีผูรับผิดชอบ และระยะเวลาดําเนินงาน มีการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ 2 ครั้ง คือ ครึ่งปแรก และตลอดป และนําผลการประเมินไปปรับปรุงการดําเนินงานในปการศึกษาถัดไป ผลการดําเนินการ ในปการศึกษา 2555 มีผลการดําเนินงาน 8 ขอ ตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. ดังน้ี 1. มีการจัดทําแผนกลยุทธท่ีสอดคลองกับนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยการมีสวนรวมของบุคลากรในหนวยงาน และได รับความเห็นชอบจากมหาวิทยาลัย โดยเปนแผนท่ีเชื่อมโยงกับปรัชญาหรือปณิธานและพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 ตลอดจนสอดคลองกับแผนพัฒนามหาวิทยาลัย 5 ป (พ.ศ.2555 - 2559)

12

มีการประชุมบุคลากรทุกคนเพ่ือจัดทําแผนกลยุทธ 5 ป (2555-2559) แผนปฏิบัติการประจําปการศึกษา 2555 ท่ีเ ช่ือมโยงกับปรัชญา ปณิธาน พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 และสอดคลองกับแผนพัฒนามหาวิทยาลัย 5 ป (2555 - 2559) ครอบคลุมทุกภารกิจหลัก ไดแก 1) แผนงานพัฒนาคุณภาพบัณฑิต 2) แผนงานสนับสนุนการวิจัย (เอกสาร 1.1-1 ถึง 1.1-3) รายการหลักฐานอางอิง 1.1-1 รายงานการประชุมบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย เรื่องการจัดทําแผนกลยุทธ 5 ป (2555-2559)

และแผนปฏิบัติการประจําปการศึกษา 2555 1.1-2 แผนกลยุทธ บัณฑิตวิทยาลัย 5 ป (2555-2559) 1.1-3 แผนปฏิบัติการ บัณฑิตวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555 2. มีการถายทอดแผนกลยุทธของหนวยงานไปสูบุคลากรทุกคนภายในหนวยงาน

มีการประชุมรวมกันในเรื่องวิสัยทัศน (Vision) พันธกิจ (Mission) เปาประสงค (Goal) และวัตถุประสงค (Objective) ของแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการ ประจําป 2555 มีการมอบหมายใหเจาหนาท่ีทุกคน ทําหนาท่ีรับผิดชอบ ผลักดัน ดําเนินการโครงการ/กิจกรรม ใหเปนไปตามแผนกลยุทธ 5 ป (2555-2559) และแผนปฏิบัติการ ประจําปการศึกษา 2555 ท่ีกําหนดไว (เอกสาร 1.1-4) รายการหลักฐานอางอิง 1.1-4 รายงานการประชุมบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย เรื่องการจัดทําแผนกลยุทธ 5 ป (2555-2559) และแผนปฏิบัติการประจําปการศึกษา 2555 (การมอบหมายผูรับผิดชอบ) 3. มีกระบวนการแปลงแผนกลยุทธเปนแผนปฏิบัติการประจําปตามพันธกิจของหนวยงาน

มีการจัดทําแผนท่ีกลยุทธ (Strategic map) เพ่ือแปลงแผนกลยุทธไปสูแผนปฏิบัติการตามกระบวนการของ Balance scorecard (BSC) (เอกสาร 1.1-5 ถึง 1.1-6) รายการหลักฐานอางอิง 1.1-5 แผนท่ีกลยุทธ (Strategic map) บัณฑิตวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555 1.1-6 แผนปฏิบัติการ บัณฑิตวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555 4. มีตัวบงชี้ของแผนกลยุทธ แผนปฏิบัติการประจําป และคาเปาหมายของแตละตัวบงชี้ เพ่ือวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําป

มีการประชุมเพ่ือพิจารณาจัดทําตัวบงช้ี (KPI) พรอมท้ังเปาหมาย (target) ของแตละตัวบงช้ีท่ีจะใชวัดความสําเร็จของการดําเนินงานตามแผนกลยุทธ และแผนปฏิบัติการประจําป 2555 เพ่ือใหบรรลุผลตามเปาหมายท่ีกําหนดไว (เอกสาร 1.1-7 ถึง 1.1-9) รายการหลักฐานอางอิง 1.1-7 รายงานการประชุมบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย เรื่องการจัดทําแผนกลยุทธ 5 ป (2555-2559) และแผนปฏิบัติการประจําปการศึกษา 2555 (การพิจารณาตัวบงช้ี) 1.1-8 แผนกลยุทธ บัณฑิตวิทยาลัย 5 ป (2555-2559) 1.1-9 แผนปฏิบัติการ บัณฑิตวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555 5. มีการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจําปครบตามทุกพันธกิจ

มีการจัดทําปฏิทินการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงานครบทุกพันธกิจ เพ่ือใชเปนแนวทางการดําเนินงานและสรางความเช่ือมั่นวาไดมีการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงานในเวลาท่ีเหมาะสม (เอกสาร 1.1-10) รายการหลักฐานอางอิง 1.1-10 ปฏิทินการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงานทุกพันธกิจ

13

6. มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติการประจําป อยางนอยปละ 2 คร้ัง และรายงานผลตอผูบริหารเพ่ือพิจารณา

มีการติดตามผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ทุก 6 เดือน และมีการเสนอรายงานผลการดําเนินตามตัวบงช้ีของแผนปฏิบัติการตอมหาวิทยาลัย (เอกสาร 1.1-11 และ 1.1-12) รายการหลักฐานอางอิง 1.1-11 ประเมินผลดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ 6 เดือนแรก (เดือนมิถุนายน-เดือนพฤศจิกายน 2555) 1.1-12 ประเมินผลดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจําปการศึกษา 2555 (เดือนมิถุนายน 2555-เดอืนพฤษภาคม 2556) 7. มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ของแผนกลยุทธ อยางนอยปละ 1 คร้ัง และรายงานผลตอผูบริหารและมหาวิทยาลัย เพ่ือพิจารณา

มีการประเมินผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธ ประจําป 2555 โดยการเปรียบเทียบผลของตัวบงช้ีการดําเนินงานตามแผนกลยุทธกับคาเปาหมายและนําเสนอผลการประเมินเสนอตอมหาวิทยาลัย เพ่ือรับขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ (เอกสาร 1.1-13) รายการหลักฐานอางอิง 1.1-13 ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธประจําปการศึกษา 2555 8. มีการนําผลการพิจารณา ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะของมหาวิทยาลัย ไปปรับปรุงแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําป มีการนําผลการพิจารณา ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะของอธิการบดี ไปปรับปรุงแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําปการศึกษา 2556 (เอกสารหมายเลข 1.1-14) รายการหลักฐานอางอิง 1.1-14 รายงานการประชุมบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัยเรื่อง การนําผลการประเมินแผนกลยุทธ ป 2555 มาปรับปรุง การบรรลุเปาหมาย บรรลุเปาหมาย เพราะมหาวิทยาลัยกําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน” ไวท่ีระดับ 4 ตามเกณฑประเมิน สกอ. มีการดําเนินการ 7 ขอ และคณะสามารถดําเนินการตามเกณฑประเมิน การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง มีการดําเนินการ 7 ขอ ดําเนินการ 8 ขอ 5

สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบงชี้คุณภาพ คะแนนอิงมาตรฐาน

1.1 5 ผลการประเมินตนเองเฉลี่ย 5.00

14

องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต (4 ตัวบงชี)้

ตัวบงชี้ ชนิด เปาหมาย เกณฑประเมิน

ตัวบงชี้ 1 2 3 4 5

2.1.1 มีระบบและกลไกในการ

พัฒนาหลักสตูรและบรหิาร

หลักสตูร

P มีการดําเนินการ

5 ขอ

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

เกณฑประเมินตัวบงชี้ท่ี 2.1.1 (ขอ)

1. มีระบบและกลไกในการสนับสนุนการเปดและการปรับปรุงหลักสูตร ตามแนวปฏิบัติ ท่ีกําหนดโดย

คณะกรรมการการอุดมศึกษาและดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

2. มีระบบและกลไกการปดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติท่ีกําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษาและดําเนินการ

ตามระบบท่ีกําหนด

3. มีระบบในการกํากับดูแลใหทุกหลักสูตรท่ีเปดสอนมีการดําเนินงานใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร

ระดับอุดมศึกษาและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

4. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการใหครบถวนท้ังขอ 1 ขอ 2 และ ขอ 3 ขางตน

ตลอดเวลาท่ีจัดการศึกษา และมีระบบการกํากับดูแลใหมีการประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตรอยางนอยตามกรอบเวลาท่ีกําหนด

ในเกณฑมาตรฐานหลักสูตรฯ

5. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการไดครบถวนท้ังขอ 1 ขอ 2 และขอ 3 ขางตน

ตลอดเวลาท่ีจัดการศึกษา และมีระบบการกํากับดูแลใหมีการพัฒนาหลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลการประเมินในขอ 4 กรณี

หลักสูตรท่ีดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ จะตองควบคุมกํากับใหการดําเนินงานตามตัวบงช้ี

ในขอ 3 ผานเกณฑการประเมินครบ ทุกตัวบงช้ีและทุกหลักสูตร

ระบบและกลไก บัณฑิตวิทยาลัยมีระบบและกลไกในการสนับสนุนการเปดหลักสูตร การปดหลักสูตร การประเมินหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตรและการกํากับดูแลใหทุกหลักสูตรท่ีเปดสอน มีคุณภาพไดมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับ อุดมศึกษา และตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ท่ีกําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2555 มีผลการดําเนินการ 5 ขอ ตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. คือ 1. มีระบบและกลไกในการสนับสนุนการเปดและการปรับปรุงหลักสูตร ตามแนวปฏิบัติท่ีกําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษาและดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด บัณฑิตวิทยาลัยมีระบบและกลไกการเปดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติท่ีกําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษาและของมหาวิทยาลัย ดังน้ี 1) คณะวิชาท่ีประสงคจะขอเปดดําเนินการหลักสูตรใหมใหบรรจุไวในแผนพัฒนามหาวิทยาลัย หากประสงคจะเปดดําเนินการหลักสูตรที่อยู นอกแผนพัฒนามหาวิทยาลัยใหนําเสนอกรอบปรัชญาหลักสูตร ความเปนไปได ความพรอมและศักยภาพในการเปดดําเนินการ หลักสูตรท่ีเปดสอนควรสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาประเทศ ความตองการกําลังคนของตลาดแรงงานและสังคม 2) หลักสูตรท่ีเปดสอนตองมีโครงสรางและมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด 3) คณะวิชาควรมีศักยภาพและความพรอมในการเปดดําเนินการหลักสูตร ท้ังดานคณาจารย ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน และปจจัยเก้ือหนุนอ่ืน ๆ 4) คณะวิชาท่ีจะเสนอขอเปดดําเนินการหลักสูตรจะตองแตงตั้งคณะกรรมการจัดทําหลักสูตร ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิภายนอกและภายใน และผูท่ีเก่ียวของ รางหลักสูตรเสนอผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการวิชาการคณะ 5) คณะวิชาเสนอหลักสูตรมายังบัณฑิตวิทยาลัย เพ่ือขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารวิชาการมหาวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารของสภามหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย 6) บัณฑิตวิทยาลัยนําเสนอหลักสูตรท่ีผาน

15

ความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยแลว เสนอไปยังสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อพิจารณารับทราบภายใน 30 วัน นับตั้งแตวันท่ีไดรับความเห็นชอบหรืออนุมัติ (เอกสาร 2.1.1-1) หลังจากท่ีหลักสูตรเปดดําเนินการไปแลว จะตองมีการประเมินหลักสูตร โดยจะมีการแตงตั้งคณะกรรมการประเมินหลักสูตรโดยอธิการบดีเปนผูพิจารณาคัดเลือกผูทรงคุณวุฒิภายนอกจํานวน 3 ทาน และนําเสนอรายช่ือผูทรงคุณวุฒิดังกลาวตอคณะกรรมการบริหารของสภามหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยพิจารณาใหความเห็นชอบ และเมื่อไดรับความเห็นชอบแลวจึงจัดทําประกาศมหาวิทยาลัย แตงตั้งคณะกรรมการประเมินหลักสูตรลงนามโดยนายกสภามหาวิทยาลัย คณะกรรมการประเมินหลักสูตรจะมีหนาท่ีทําการประเมินหลักสูตรและรายงานผลการประเมินหลักสูตรตอคณะกรรมการวิชาการคณะ คณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย และคณะกรรมการบริหารวิชาการมหาวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารของสภามหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยตามลําดับ (เอกสาร 2.1.1-2) กระบวนการประเมินหลักสูตรจะตองทําใหแลวเสร็จกอนท่ีนักศึกษารุนแรกจะสําเร็จการศึกษา ในปการศึกษา 2555 มีการประเมินหลักสูตรจํานวน 6 หลักสูตร ไดแก 1) หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารสุขภาพ 2) หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง 3) หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4) หลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเปนภาษาท่ีสอง 5) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีน 6) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนเพ่ือการสื่อสารเชิงธุรกิจ (เอกสาร 2.1.1-3) ระบบและกลไกการปรับปรุงหลักสูตรจะปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติท่ีกําหนดโดย สกอ. และมหาวิทยาลัย ดังน้ี 1) ทุกหลักสูตรตองมีการประเมินและปรับปรุงภายในระยะเวลา 5 ป พิจารณาถึงวิทยาการกาวหนาทางวิชาการ ความคิดเห็นจากบัณฑิตและผูใชบัณฑิต โดยใหเปนไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 2) คณะวิชาท่ีจะเสนอขอปรับปรุงหลักสูตรจะตองแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานการศึกษา ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิภายนอกและภายใน อยางนอยจํานวน 5 ทาน โดยผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการวิชาการคณะ 3) คณะวิชาเสนอหลักสูตรฉบับปรับปรุงมายังบัณฑิตวิทยาลัย เพ่ือขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารวิชาการมหาวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารของสภามหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย 4) บัณฑิตวิทยาลัยนําเสนอหลักสูตรฉบับปรับปรุงท่ีผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยไปยัง สกอ. ทราบภายใน 30 วัน นับตั้งแตวันท่ีไดรับความเห็นชอบหรืออนุมัติ (เอกสาร 2.1.1-4) ในปการศึกษา 2555 มีการปรับปรุงหลักสูตรจํานวน 4 หลักสูตร ไดแก 1) หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสวัสดิการสังคม 2) หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง 3) หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเปนภาษาท่ีสอง (เอกสาร 2.1.1-5) ในปจจุบันมีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 15 หลักสูตร ทุกหลักสูตรไดรับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย และรับทราบจาก สกอ. (เอกสาร 2.1.1-6) รายการหลักฐานอางอิง 2.1.1-1 ประกาศมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติท่ี 99/2547 เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติเก่ียวกับการเสนอขอ เปดดําเนินการหลักสูตรใหม 2.1.1-2 ข้ันตอนการพิจารณาการดําเนินการประเมินหลักสูตร 2.1.1-3 การประเมินหลักสูตรท่ีผานความเห็นชอบในปการศึกษา 2555 2.1.1-4 ข้ันตอนการพิจารณาการดําเนินการปรับปรุงหลักสูตร 2.1.1-5 หลักสูตรท่ีไดดําเนินการปรับปรุงในปการศึกษา 2555 2.1.1-6 หลักสูตรท่ีไดรับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย และรับทราบจาก สกอ.

2. มีระบบและกลไกการปดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติท่ีกําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษาและดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด บัณฑิตวิทยาลัยมีระบบและกลไกการปดหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติท่ีกําหนดโดย สกอ. และมหาวิทยาลัย ดังน้ี 1) คณะวิชาท่ีประสงคจะขอปดดําเนินการหลักสูตรใหพิจารณาประเด็นเก่ียวกับหลักสูตรไดแก 1.1) เปนหลักสูตรท่ีไมไดเปดดําเนินการหลังไดรับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยใหเปดดําเนินการได 2 ป 1.2) หลักสูตรไมสอดคลองกับความตองการของสังคม/ตลาดแรงงานของประเทศ 1.3) หลักสูตรไมสอดคลองกับนโยบายการผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัย 1.4) หลักสูตรไมไดเปนอัตลักษณของมหาวิทยาลัย หรือสงเสริมศิลปวัฒนธรรมของชาติ 1.5) ไมมีผูสมัครเขาเรียนติดตอกันเกิน 2 ป 1.6) ในชวง

16

3 ปการศึกษาท่ีผานมารับนักศึกษาไดต่ํากวารอยละ 50 ของเปาหมายในแผนรับนักศึกษา 1.7) หลักสูตรมีความซ้ําซอนกับหลักสูตรอ่ืนของมหาวิทยาลัย 1.8) ความพรอมในการดําเนินการไมสอดคลองเกณฑมาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2548 และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2552 2) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเสนอความเห็นชอบตอคณะกรรมการวิชาการคณะ 3) คณะวิชาเสนอหลักสูตรท่ีจะดําเนินการปดมายังบัณฑิตวิทยาลัย เพ่ือขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารวิชาการมหาวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารของสภามหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย 4) บัณฑิตวิทยาลัยนําเสนอหลักสูตรท่ีผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยไปยัง สกอ. ทราบภายใน 30 วัน นับตั้งแตวันท่ีสภามหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบหรืออนุมัติ ในปการศึกษา 2555 มีการปดหลักสูตรจํานวน 1 หลักสูตร ไดแก หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารสุขภาพ เน่ืองจากไมมีผูสมัครเขาเรียนติดตอกันเกิน 2 ปเพราะนักศึกษาหันมาเลือกเรียนหลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารสุขภาพแทน (เอกสาร 2.1.1-7 ถึง 2.1.1-8) รายการหลักฐานอางอิง 2.1.1-7 ประกาศมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติท่ี 085/2553 เรื่อง หลักเกณฑและแนวปฏิบัติเก่ียวกับการเสนอ ขอปดหลักสูตร 2.1.1-8 มติท่ีประชุมสภามหาวิทยาลัยในการประชุมครั้งท่ี 5/2555 เรื่องการปดหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารสุขภาพ

3. มีระบบในการกํากับดูแลใหทุกหลักสูตรท่ีเปดสอนมีการดําเนินงานใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ในปการศึกษา 2555 มีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาจํานวน 15 หลักสูตร ทุกหลักสูตรมีการดําเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ และเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 นอกจากน้ียังมี หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน และหลักสูตรพยาบาลศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผูใหญ ไดดําเนินการตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา สาขาวิชาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (เอกสาร 2.1.1-9 ถึง 2.1.1-11) รายละเอียดสรุปไดตามตารางท่ี 1 ดังน้ี

ตารางท่ี 1 การดําเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติและเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548

หัวขอ เกณฑมาตรฐานหลกัสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 การดําเนินการของ หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา

1. ปรัชญา วัตถุประสงค มุ ง เ น นการ พัฒนา นัก วิชาการ วิ ชา ชีพ ท่ีมี ค วามรูความสามารถระดับสูงในสาขาวิชาตาง ๆ

ตามเกณฑ สกอ.

2. ระบบการจัดการศึกษา ระบบทวิภาค ระบบจตุรภาค ระบบไตรภาค ระบบทวิภาค 3. การคิดหนวยกิต 1 หนวยกิต ระบบทวิภาคภาคทฤษฎีบรรยายไมนอยกวา

15 ช่ัวโมง ภาคปฏิบัติ ไมนอยกวา 30 ช่ัวโมง การฝกงานไมนอยกวา 45 ช่ัวโมงตอภาคการศึกษา

1 หนวย กิต ระบบทวิภาคภาคทฤษฎีบรรยาย ไมนอยกวา 15 ช่ัวโมง ภาคปฏิบัติไมนอยกวา 30 ช่ัวโมง การฝกงานไมนอยกวา 45 ช่ัวโมงตอภาคการศึกษา

4. จํานวนหนวยกิตรวมและระยะเวลาการศึกษาหลักสูตรปริญญา

ปริญญาโท : ไมนอยกวา 36 หนวยกิต ใชเวลาศึกษาไมเกิน 5 ปการศึกษา ปริญญาเอก : ไมนอยกวา 48 หนวยกิต ใชเวลาศึกษาไมเกิน 6 ปการศึกษา (จบ ป.โท) ปริญญาเอก : ไมนอยกวา 72 หนวยกิต ใชเวลาศึกษาไมเกิน 8 ปการศึกษา (จบ ป.ตร)ี

ตามเกณฑ สกอ.

5. โครงสรางหลักสตูร ปริญญาโท : แผน ก1 แผน ก2 และแผน ข ปริญญาเอก : แบบ 1 (1.1 และ 1.2) แบบ 2 (2.1 และ 2.2)

ตามเกณฑ สกอ.

17

หัวขอ เกณฑมาตรฐานหลกัสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 การดําเนินการของ

หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา 6. จํานวนและคณุวุฒิของอาจารย ตองมีอาจารยประจําหลักสตูร

ปริญญาโท: อาจารยประจําหลักสตูรไมนอยกวา 5 คน อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรอยางนอย 3 คน มีคุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาเอกหรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวารองศาสตราจารย ปริญญาเอก: อาจารยประจําหลักสูตรไมนอยกวา 5 คน อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรอยางนอย 3 คน มีคุณวุฒิไมต่ํากวาปริญญาเอกหรือเปนผูดํารงตําแหนงทางวิชาการไมต่ํากวาศาสตราจารย

ตามเกณฑ สกอ.

7. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา

ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือปริญญาตร ี ตามเกณฑ สกอ.

8. การลงทะเบียนเรียน ไมเกิน 15 หนวยกิต ตอภาคการศกึษา ตามเกณฑ สกอ. 9. เกณฑการวัดผลและการสําเร็จการศึกษา

เกณฑการวัดผล ใชระบบระดับคะแนน 4 เกณฑการสําเร็จการศึกษา ปริญญาโท : แผน ก 1 เสนอวิทยานิพนธและสอบปากเปลาข้ันสุดทาย และผลงานวิทยานิพนธไดรับการตีพิมพเผยแพร แผน ก 2 เรียนครบตามจํานวนหนวยกิตท่ีกําหนดไวในหลักสูตร และตองไดระดับคะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 3.00 จากระบบ 4 และเสนอวิทยานิพนธและสอบปากเปลาข้ันสุดทาย และผลงานวิทยานิพนธไดรับการตีพิมพเผยแพร แผน ข เรียนครบตามจํานวนหนวยกิตท่ีกําหนดไวในหลักสูตร และตองไดระดับคะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 3.00 จากระบบ 4 และสอบประมวลความรูขอเขียนและ/หรือปากเปลา ปริญญาเอก แบบ 1 สอบผานภาษาตางประเทศอยางนอย 1 ภาษา สอบผานการสอบวัดคุณสมบัติ เสนอวิทยานิพนธและสอบปากเปลาข้ันสุดทาย และผลงานวิทยานิพนธไดรับการตีพิมพเผยแพรในวาราสารท่ีมี peer review แบบ2 เรียนครบตามจํานวนหนวยกิตท่ีกําหนดไวในหลักสูตร และตองไดระดับคะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 3.00 จากระบบ 4 และสอบผานภาษาตางประเทศอยางนอย 1 ภาษา สอบผานการสอบวัดคุณสมบัติ เสนอวิทยานิพนธและสอบปากเปลาข้ันสุดทาย และผลงานวิทยานิพนธไดรับการตีพิมพเผยแพรในวาราสารท่ีมี peer review

ตามเกณฑ สกอ. เพ่ิมเติม ปริญญาโท แผน ข เรียนครบตามจํานวนหนวยกิตท่ีกําหนดไวในหลักสูตร และตองไดระดับคะแนนเฉลี่ยไมต่ํากวา 3.00 จากระบบ 4 และสอบประมวลความรูขอเขียนและ/หรือปากเปลา และผลงานการศึกษาอิสระไดรับการตีพิมพเผยแพร ปริญญาเอก ท้ัง 2 แบบ ตองตีพิมพผลงานในวารสารวิชาการระดับชาติท่ีปรากฏในฐานขอมูล TCI

18

หัวขอ เกณฑมาตรฐานหลกัสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2548 การดําเนินการของ หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา

10. ช่ือปริญญา ตามท่ีกําหนดในพระราชกฤษฎีกา

ตามเกณฑ สกอ.

11. การประกันคณุภาพของหลักสูตร

1. การบริหารหลักสูตร 2. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 3. การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา 4. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/ หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต

ดําเนินการตามเกณฑ สกอ. ไดรับการรับทราบจาก สกอ. และไดรับการรับรองคุณวุฒิจากสํานักงานขาราชการพลเรือน

12. การพัฒนาหลักสูตร มีการปรับปรุงดัชนีดานมาตรฐานและคณุภาพการศึกษาเปนระยะ ๆ อยางนอยทุก ๆ 5 ป และมีการประเมินหลักสตูรอยางตอเน่ืองทุก 5 ป

1. มีการประเมินคุณภาพบัณฑิตและนําผลการประเมินมาปรับปรุง 2. มีการประเมินและปรับปรุงหลักสูตรทุก 5 ป ตามเกณฑ สกอ.

รายการหลักฐานอางอิง 2.1.1-9 ระเบียบมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติวาดวยบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา 2556 2.1.1-10 หนังสือรับทราบหลักสูตรจาก สกอ. 2.1.1-11 หนังสือรับรองหลักสูตรจากสภาการพยาบาล

4. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการใหครบถวนท้ังขอ 1 ขอ 2 และ ขอ 3 ขางตนตลอดเวลาท่ีจัดการศึกษา และมีระบบการกํากับดูแลใหมีการประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตรอยางนอยตามกรอบเวลาท่ีกําหนดในเกณฑมาตรฐานหลักสูตรฯ

การดําเนินการบริหารหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีคณะกรรมการท่ีรับผิดชอบควบคุมกํากับดูแลใหดําเนินการดวยความเรียบรอย มีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงคท่ีตั้งไว จํานวน 5 คณะกรรมการ ไดแก 1) คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะ รับผิดชอบดูแลการจัดการเรียนการสอน การประเมินหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบเวลาท่ีกําหนดของ สกอ. และตองผานความเห็นชอบจาก 2) คณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย 3) คณะกรรมการบริหารวิชาการ 4) คณะกรรมการบริหารของสภามหาวิทยาลัยและ 5) คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ในปการศึกษา 2555 มีการประเมินหลักสูตรตามกรอบเวลาท่ีกําหนดจํานวน 6 หลักสูตร ไดแก 1) หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารสุขภาพ 2) หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง 3) หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม 4) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเปนภาษาท่ีสอง 5) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีน 6) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนเพ่ือการสื่อสารเชิงธุรกิจ (เอกสาร 2.1.1-12 ถึง 2.1.1-13) รายการหลักฐานอางอิง 2.1.1-12 ข้ันตอนการพิจารณาการดําเนินการประเมินหลักสูตร

2.1.1-13 หลักสูตรท่ีไดดําเนินการประเมินในปการศึกษา 2555

5. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการไดครบถวนท้ังขอ 1 ขอ 2 และขอ 3 ขางตน ตลอดเวลา

ท่ีจัดการศึกษา และมีระบบการกํากับดูแลใหมีการพัฒนาหลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลการประเมินในขอ 4 กรณีหลักสูตร

ท่ีดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ จะตองควบคุมกํากับใหการดําเนินงานตามตัวบงชี้ใน

ขอ 3 ผานเกณฑการประเมินครบ ทุกตัวบงชี้และทุกหลักสูตร มีคณะกรรมการท่ีรับผิดชอบควบคุมกํากับดูแลใหดําเนินการดวยความเรียบรอย มีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงคท่ีตั้งไว ไดแก 1) คณะกรรมการบัณฑติศึกษาประจําคณะ รับผิดชอบดูแลการจัดการเรียนการสอน การประเมินหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ผานเกณฑการประเมินครบทุกตัวบงช้ีและทุกหลักสูตรท่ีครบรอบการประเมิน จํานวน 15 หลักสูตร ไดแก 1) หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาบูรณาการ

19

นโยบายสวัสดิการสังคม 2) หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (หลักสูตรภาษาไทย หลักสูตรภาษาจีน) 3) หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน 4) หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม 5) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีจีนสมัยใหมและรวมสมัย 6) หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง 7) หลักสูตรเภสัชศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม 8) หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผูใหญ 9) หลักสูตรนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารสุขภาพ 10) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเปนภาษาท่ีสอง 11) หลักสูตรศิลป ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษระดับสูงเพ่ือการสื่อสาร 12) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาจีน 13) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีนเพ่ือการสื่อสารเชิงธุรกิจ 14) หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย 15) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานโยบายและการบริหารสวัสดิการสังคม (เอกสาร 2.1.1-14 ถึง 2.1.1-15) รายการหลักฐานอางอิง 2.1.1-14 ข้ันตอนการพิจารณาการดําเนินการพัฒนาหลักสูตรตามผลการประเมิน

2.1.1-15 หลักสูตรท่ีไดดําเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติและเกณฑมาตรฐานหลักสูตร

ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 ตามตัวบงช้ีในขอ 3 ผานเกณฑการประเมินครบ ทุกตัวบงช้ีและทุกหลักสูตร

ในปการศึกษา 2555

การบรรลุเปาหมาย บรรลุเปาหมาย เพราะบัณฑิตวิทยาลัยกําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 2.1.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร” ไว เกณฑมาตรฐาน สกอ. คือดําเนินการครบ 5 ขอ และเปนไปตามเกณฑมาตรฐานเพ่ิมเติมเฉพาะกลุม การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง มีการดําเนินการ 5 ขอ ดําเนินการ 5 ขอ 5

องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต

ตัวบงชี้ ชนิด เปาหมาย เกณฑประเมิน

ตัวบงชี้ 1 2 3 4 5

2.2.1 มีระบบและกลไกสงเสริม

การพัฒนาสัมฤทธิผลการ

เรียนตามคณุลักษณะของ

บัณฑิต (ตัวบงชี้เฉพาะ)

P มีการดําเนินการ

5 ขอ

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ

3 ขอ

มีการดําเนินการ

4 ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

เกณฑประเมินตัวบงชี้ท่ี 2.2.1 (ขอ)

1. มีการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิตและความพึงพอใจของผูใช

บัณฑิตของทุกหลักสูตร

2. มีการนําผลจากขอ 1 สงตอใหอาจารยประจําหลักสูตรทุกหลักสูตรเพ่ือใชในการปรับปรุงหลักสูตร การ

จัดการเรียนการสอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนท่ีสงเสริมทักษะอาชีพและคุณลักษณะ

ของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิต

3. มีการสงเสริมสนับสนุนทรัพยากรและงบประมาณท่ีเอ้ือตอการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต

4. มีระบบและกลไกการสงเสริมใหนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเขารวมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนําเสนอ

ผลงานทางวิชาการในท่ีประชุมระหวางสถาบัน หรือท่ีประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ

20

5. มีกิจกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค อยางนอย 2 ประเภท จากกิจกรรมตอไปน้ี - กิจกรรมวิชาการ - กิจกรรมกีฬาหรือการสงเสริมสุขภาพ - กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษาสิ่งแวดลอม - กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม - กิจกรรมสงเสริมศิลปและวัฒนธรรม

ผลการดําเนินการ ในปการศึกษา 2555 มีผลการดําเนินการ 5 ขอ ตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. ดังน้ี 1. มีการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิตและความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตของทุกหลักสูตร มีดําเนินการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิตและความพึงพอใจของผูใชมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จในปการศึกษา 2553 จํานวน 5 หลักสูตร รวมท้ังสิ้น 59 ราย มีผูใชมหาบัณฑิตสงแบบสํารวจกลับ จํานวนท้ังสิ้น 21 ราย คิดเปนรอยละ 35.59 และในปการศึกษา 2554 จํานวน 7 หลักสูตร รวมท้ังสิ้น 79 ราย มีผูใชมหาบัณฑิตสงแบบสํารวจกลับ จํานวนท้ังสิ้น 28 ราย คิดเปนรอยละ 35.44 มีระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตเฉลี่ยทุกหลักสูตรในปการศึกษา 2553 และ 2554 เทากับ 4.34 และ 4.1 ตามลําดับ รวมเฉลี่ยท้ัง 2 ปการศึกษา เทากับ 4.2 (เอกสาร 2.2.1-1)

สรุปผลการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิตปการศึกษา 2553 – 2554

1. หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต - ตองการมหาบัณฑิตท่ีมีความรักในหนวยงาน สามารถเสียสละ มุงมั่นและทุมเทในการพัฒนาหนวยงาน มีความซื่อสัตยตอตนเองและผูอ่ืน เน่ืองจากสถานสงเคราะหมีบุคลากรนอยเมื่อเทียบกับภาระงานท่ีตองปฏิบัติและตองใหการดูแล เลี้ยงดู และฟนฟูเด็กพิการ - มีความรับผิดชอบ ตรงเวลา ขยัน มุงมั่น เสียสละ อุทิศตนและเห็นแกประโยชนสวนรวม - การทํางานเปนทีม การปรับตัวใหเขากับสิ่งแวดลอมตาง ๆ ในหนวยงานไดดี - มีทัศนคติท่ีดีในการปฏิบัติงาน - มีความกลาหาญ มีความคิดริเริ่ม และสรางสรรค

- ควรหาความรูเพ่ิมเติมหรือไปอบรมเพ่ือพัฒนาตนเองในการทํางานเพ่ิมมากข้ึน

- สามารถใชภาษาอังกฤษไดดี

2. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

- มีทัศนคติบวกตอองคกร รักองคกร สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนไดดี มีความอดทน - มกีารปรับตัวเขากับการทํางานท่ีรวดเร็วและเขาใจองคกรท่ีทํางานอยู - มีทักษะการเรียนรูรวดเร็วและปรับตัวกับสภาพแวดลอมไดดี - คิด วิเคราะห ทํางานอยางเปนระบบ - นําขอมูลมาใชเพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจอยางมีประสิทธิภาพ - มคีวามรับผิดชอบ - สามารถการนําเสนอผลงาน (Presentation) ตอท่ีประชุม การพูดในท่ีสาธารณะ มีบุคลิกภาพความเปนผูนํา

เรียนรูสิ่งตาง ๆ อยางรวดเร็ว - ใชภาษาอังกฤษ (อาน เขียน พูด) ไดดี

3. หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน - มคีวามคิดเชิงวิเคราะหและประยุกตใชองคความรูสูการพัฒนางาน แกไขปญหาอยางเปนระบบ

- มีความสามารถในการอานและวิเคราะหงานวิจัยและนํามาประยุกตใชในการปฏิบัติงานได - มีความสามารถในการประยุกตใชความรูท่ีไดจากการเรียนในการพัฒนางานและตอยอดงานเชิงสรางสรรคอยาง

เปนรูปธรรม

21

- ตัดสินใจและแกปญหาอยางมีวิจารณญาณโดยใชขอมูลท่ีเพียงพอ - อานและวิเคราะหงานวิจัย - สามารถเขียนงานเชิงวิชาการท่ีมีการคัดกรองหรือคัดสรรขอมูลท่ีเปนประโยชนทันสมัย - สามารถเขียนงานเชิงวิชาการแบบประยุกตความรูมาใชในการปฏิบัติงานจริง

- ขยัน อดทน ใฝเรียนรู หาประสบการณ - มทัีกษะดานอนามัยแมและเด็ก

- สามารถประเมินผลงานและวิเคราะหงานได

4. หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม - มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ มุงมั่นในการทํางาน รับผิดชอบตอหนาท่ีและเปาหมายท่ีไดรับ สามารถสรางผลงาน ตามท่ีไดรับการจัดสรรทรัพยากรท่ีจําเปนอยางพอเพียง

- สามารถวิเคราะหปญหาท่ีเกิดข้ึนไดทันทวงที โดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาเฉพาะหนา สามารถควบคุมและ จัดการเก่ียวกับบุคลากรใหเปนไปตามทิศทางท่ีวางไว

- มีทักษะในการสื่อสาร การวิเคราะห และความเปนผูนํา พรอมท้ังจริยธรรมและความซื่อสัตย การนําทีมถือเปน เรื่องสําคัญของการนําพาลูกทีมและบริษัทไปสูความสําเร็จ - ทํางานไดอยางรวดเร็ว เสร็จทันทวงที

5. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีจีนสมัยใหมและรวมสมัย - มีความรับผิดชอบตอหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมาย

- ทํางานเพ่ือองคกรสวนรวม - มีมนุษยสัมพันธดี สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนไดดี - เปนผูท่ีพัฒนาตนเองและหาความรูเพ่ิมเติมอยางตอเน่ือง - สามารถนําเทคโนโลยีทันสมัยมาใชในการเรียนการสอน - มีความมั่นใจในการพูดในท่ีประชุม มีความกลาแสดงออกเหมาะสมตามหนาท่ี - นําเทคโนโลยีมาใชพัฒนาดานการเรียนการสอนอยางสม่ําเสมอและตอเน่ือง - ประยุกตความรูท่ีไดศึกษาเลาเรียนมาใชกับงานท่ีรับผิดชอบ - มีความอุทิศตนและทุมเทเวลาใหกับการทํางานอยางเต็มความสามารถ

- เปนผูมีมนุษยสัมพันธท่ีดี สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนไดเปนอยางดี - มีความซื่อสัตยสุจริต - สามารถถายทอดความรูและประสบการณของตนใหกับผูอ่ืนไดอยางมีประสิทธิภาพ - สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การฝกอบรมwfh

- มทัีกษะในการวางแผนอยางเปนระบบและการคิดวิเคราะห - มทัีกษะการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ การวิเคราะหทางวิชาการอยางมีเหตุผล - มีคุณธรรมจริยธรรม อดทน และซื่อสัตยในวิชาชีพ - มีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม - มทัีกษะการสอน การจัดทําแผนการจัดการเรียนรู การออกขอสอบ ประเมินการสอน

6. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรเคร่ืองสําอาง - 7. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเปนภาษาท่ีสอง - มีวินัย ตรงตอเวลา มีความรับผิดชอบ สนใจใฝหาความรูอยูเสมอ มีการพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง

- มีความรูเรื่องขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมไทย - ขยัน ไมเก่ียงงาน ตรงตอเวลา ซื่อสัตยตอองคกร มีความรูศัพทโรงงานอุตสาหกรรม - สามารถวางแผน ใหงานไปสูเปาหมายได - สามารถแกไขปญหาและศึกษาเพ่ิมเติมเพ่ือใหงานสําเร็จ - ควรมีความรูเพ่ิมเติมเรื่องการใชภาษาไทยในชีวิตประจําวันของคนไทย

22

- มทัีกษะการบริหารจัดการ การวางแผน - มทัีกษะการทํางานเปนทีม

รายการหลักฐานอางอิง 2.2.1-1 รายงานสรุปผลการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิตและความพึงพอใจ ของผูใชบัณฑิตของทุกหลักสูตร ท่ีสําเร็จการศึกษา ปการศึกษา 2553-2554

2. มีการนําผลจากขอ 1 สงตอใหอาจารยประจําหลักสูตรทุกหลักสูตรเพ่ือใชในการปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียน

การสอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนท่ีสงเสริมทักษะอาชีพและคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงค

ตามความตองการของผูใชบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยไดจัดทํารายงานสรุปคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิตและความพึงพอใจของผูใชมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จในปการศึกษา 2553 - 2554 สงใหทุกหลักสูตร เพ่ือใหหลักสูตรนําขอมูลไปใชในการปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนท่ีสงเสริมทักษะ อาชีพและคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิตตอไป (เอกสาร 2.2.1-2) รายการหลักฐานอางอิง

2.2.1-2 หนังสือนําสงรายงานสรุปผลการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการของผูใชบัณฑิตและ

ความพึงพอใจของผูใชมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จในปการศึกษา 2553 - 2554

3. มีการสงเสริมสนับสนุนทรัพยากรและงบประมาณท่ีเอ้ือตอการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต มหาวิทยาลัยไดมีการจัดสรรงบประมาณคากิจกรรมพิเศษ ใหแกหลักสูตรรอยละ 50 และบัณฑิตวิทยาลัยรอยละ 20 เพ่ือใชในการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค ในปการศึกษา 2555 บัณฑิตวิทยาลัยไดดําเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค 10 กิจกรรม (เอกสาร 2.2.1-3 ถึง 2.2.1-4) รายการหลักฐานอางอิง 2.2.1-3 คากิจกรรมพิเศษนักศึกษาทุกหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา 2555 2.2.1-4 โครงการพัฒนานักศึกษา ปการศึกษา 2555

4. มีระบบและกลไกการสงเสริมใหนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเขารวมกิจกรรมการประชุมวิชาการ หรือนําเสนอผลงาน

ทางวิชาการในท่ีประชุมระหวางสถาบัน หรือท่ีประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ บัณฑิตวิทยาลัยมีระบบและกลไกการสงเสริมใหนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเขารวมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนําเสนอผลงานทางวิชาการในท่ีประชุมระหวางสถาบัน หรือท่ีประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ เชน การประชาสัมพันธการประชุมวิชาการตาง ๆ หลักสูตรไดมีการสนับสนุนคาลงทะเบียนใหแกนักศึกษาท่ีไปนําเสนอผลงานทางวิชาการ และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ไดเปนเจาภาพรวมโครงการเสวนางานวิจัย ครั้งท่ี 10 ในหัวขอ การเปนศูนยกลางสุขภาพของไทย ในเอเซีย (Medical hub) รวมกับมหาวิทยาลัยคริสเตียนและมหาวิทยาลัยเวสเทิรน หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต มกีารจัดโครงการนําเสนอผลงานวิทยานิพนธรวมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (เอกสาร 2.2.1-5 ถึง 2.2.1-8) รายการหลักฐานอางอิง 2.2.1-5 การประชาสัมพันธการประชุมวิชาการ 2.2.1-6 การสนับสนุนคาลงทะเบียนใหแกนักศึกษาท่ีไปนําเสนอผลงานทางวิชาการ 2.2.1-7 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เปนเจาภาพรวมโครงการเสวนางานวิจัย ครั้งท่ี 10 ในหัวขอ การเปนศูนยกลางสุขภาพของไทย ในเอเชีย (Medical hub) รวมกับมหาวิทยาลัยคริสเตียนและมหาวิทยาลัย เวสเทิรน

2.2.1-8 หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีการจัดโครงการนําเสนอผลงาน

วิทยานิพนธรวมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

23

5. มีกิจกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค อยางนอย 2 ประเภท จากกิจกรรมตอไปนี้ - กิจกรรมวิชาการ - กิจกรรมกีฬาหรือการสงเสริมสุขภาพ - กิจกรรมบําเพ็ญประโยชนหรือรักษาสิ่งแวดลอม - กิจกรรมเสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรม - กิจกรรมสงเสริมศิลปและวัฒนธรรม

ในปการศึกษา 2555 บัณฑิตวิทยาลัยไดจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค 3 ประเภท จํานวน 10 โครงการ (เอกสาร 2.2.1-9) ไดแก

- ดานกิจกรรมวิชาการ ประกอบดวย 6 โครงการ ดังน้ี 1) โครงการปฐมนิเทศนักศึกษา

2) โครงการเสริมทักษะการสืบคนขอมูล 3) โครงการอบรมเสริมทักษะการเขียนรายงาน 4) โครงการอบรมการนําเสนอผลงานทางวิชาการ 5) โครงการบรรยายพิเศษเสริมหลักสูตร

6) โครงการประกวดวิทยานิพนธดีเดน ครั้งท่ี 9 - ดานกิจกรรมกีฬา นันทนาการ และการสงเสริมสุขภาพ ประกอบดวย 1 โครงการ ไดแก โครงการสานสัมพันธนอง-พ่ี มหาบัณฑิตหัวเฉียวฯ ครั้งท่ี 14

- กิจกรรมสงเสริมศิลปวัฒนธรรม ประกอบดวย 3 โครงการ ไดแก 1) โครงการรดนํ้าขอพรวันสงกรานต

2) โครงการแสดงกตเวทิตาตอคณาจารย และแสดงความยินดีกับมหาบัณฑิต 3) โครงการศึกษาดูงานศิลปวัฒนธรรมไทย-จีน

รายการหลักฐานอางอิง 2.2.1-9 โครงการพัฒนานักศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย ปการศึกษา 2555

การบรรลุเปาหมาย บรรลุเปาหมาย เพราะบัณฑิตวิทยาลัยกําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 2.2.1 ระบบและกลไกสงเสริมการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต (ตัวบงช้ีเฉพาะ)” ไว คือ ดําเนินการครบ 5 ขอ การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง มีการดําเนินการ 5 ขอ ดําเนินการ 5 ขอ 5

24

องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต

ตัวบงชี้ ชนิดตัวบงชี ้

เปาหมาย เกณฑประเมิน

1 2 3 4 5

ตัวบงช้ีท่ี ๒ คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ (สมศ.)

O คะแนนเฉลี่ยจาก

การประเมินคุณภาพบัณฑิต ≥ 3.51

5

หมายเหตุ : 1. คุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ (TQF: HEd. หรือ Thai Qualifications Framework for Higher Education) หมายถึง คุณลักษณะของบัณฑิตระดับปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติท่ี สกอ. ระบุ โดยเปนคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคตามที่สถาบันกําหนด ครอบคลุมอยางนอย 5 ดาน คือ 1) ดานคุณธรรมจริยธรรม 2) ดานความรู 3) ดานทักษะทางปญญา 4) ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ และ 5) ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมท้ัง TQF ตามสาขาวิชาชีพท่ีประกาศใช ตลอดจนสอดคลองกับคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคท่ีสภาหรือองคกรวิชาชีพกําหนดเพ่ิมเติม หรือสอดคลองกับความตองการของผูใชบัณฑิต กรณีท่ีเปนวิชาชีพท่ีมีการเพ่ิมเติมคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีเพ่ิมเติมจากกรอบมาตรฐานท้ัง 5 ดาน ตองทําการประเมินครบทุกดาน 2. การคิดคะแนนตัวบงช้ีท่ี ๒ ในเกณฑประเมินระดับคะแนนท่ี 1 - 4 ใหคิดเทียบผลดําเนินการท่ีไดจากคะแนนเต็ม 5 ขอมูลประกอบการพิจารณา

ขอมูลจากการสํารวจตองมีความเปนตัวแทนของผูสําเร็จการศึกษาท้ังในเชิงปริมาณและในเชิงคุณภาพครอบคลุม ทุกคณะ อยางนอยรอยละ 20 ของจํานวนผูสําเร็จการศึกษาในแตละระดับ โดยมีขอมูลประกอบการพิจารณาดังตอไปน้ี 1. ขอมูล ท่ีแสดงถึงคุณภาพบัณฑิตในดานตางๆ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ท่ีสถาบันอุดมศึกษาเปนผูดําเนินการรวบรวมขอมูลเอง โดยใชแนวทางจากตัวอยางแบบสอบถามท่ีเผยแพรโดย สมศ. 2. ผูตอบแบบสอบถาม คือ ผูใชบัณฑิต หรือสถานศึกษาท่ีรับบัณฑิตเขาศึกษาตอ 3. ขอมูลการดําเนินงานดานการผลิตบัณฑิตจากระบบฐานขอมูลดานการประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา (CHE QA Online System) โดยสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) 4. ตองแสดงแบบเก็บขอมูลใหครบท้ัง 5 ดาน และแสดงวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลใหชัดเจน ผลการดําเนินการ คุณภาพของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ (TQF: HEd. หรือ Thai Qualifications Framework for Higher Education) ระดับปริญญาโท ไดรับการประเมินโดยใชแบบสอบถามผูใชมหาบัณฑิต ครอบคลุมท้ัง 5 ดาน คือ 1) ดานคุณธรรมจริยธรรม 2) ดานความรู 3) ดานทักษะทางปญญา 4) ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ และ 5) ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขการสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ในปการศึกษา 2553 มีมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษา 5 หลักสูตร จํานวน 59 คน มีผูใชบัณฑิตตอบแบบสอบถามกลับ 21 ราย คิดเปนรอยละ 35.59 ในปการศึกษา 2554 มีมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษา 7 หลักสูตร จํานวน 79 คน มีผูใชบัณฑิตตอบแบบสอบถามกลับ 28 ราย คิดเปนรอยละ 35.44 รวมท้ัง 2 ปการศึกษา มีมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษา 7 หลักสูตร จํานวน 138 คน มีผูใชบัณฑิตตอบแบบสอบถามกลับ 49 ราย คิดเปนรอยละ 35.5 บัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2553 มีระดับคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยรวมทุกหลักสูตร เทากับ 4.34 และบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2554 มีระดับคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยรวมทุกหลักสูตร เทากับ 4.1 รวมเฉลี่ยท้ัง 2 ปการศึกษา มีระดับคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยเทากับ 4.2 รายละเอียดตามตารางท่ี 2-3 (เอกสาร ๒-๑ ถึง ๒-๒)

25

ตารางท่ี 2 จํานวนมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาปการศึกษา 2553-2554 และจํานวนแบบสอบถามท่ีตอบกลับ หลักสูตร ปการศึกษา 2553 ปการศึกษา 2554

จํานวนมหา บัณฑิต ท่ีสําเร็จ

การศึกษา

จํานวน แบบสอบ

ถามท่ี ตอบกลับ (รอยละ)

จํานวนมหา บัณฑิต ท่ีสําเร็จ

การศึกษา

จํานวน แบบสอบ

ถามท่ี ตอบกลับ (รอยละ)

1. หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบูรณาการนโยบายสวัสดิการสังคม)

5 4 (80) 16 6 (37.5)

2. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต 23 4 (17.39) 16 4 (25) 3. หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล เวชปฏิบัติชุมชน

9 4 (44.44) 3 2 (66.67)

4. หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม 6 2 (33.33) 13 5 (38.46) 5. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีจีนสมัยใหม และรวมสมัย

16 7 (43.75) 20 6 (30)

6. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร เครื่องสําอาง

- - 1 1 (100)

7. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่ือสารภาษาไทย เปนภาษาท่ีสอง

- 10 4 (40)

รวมท้ังส้ิน 59 21(35.59) 79 28 (35.44)

ตารางท่ี 3 สรุปผลการสํารวจความพึงพอใจของผูใชมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จในปการศึกษา 2553 - 2554 หลักสูตร ความพึงพอใจของผูใชมหาบัณฑิตท่ี

สําเร็จในปการศึกษา 2553 2554

1. หลักสูตรสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต 4.35 3.78 2. หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต 4.34 4.08 3. หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน 4.06 4.04 4. หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม 4.39 4.10 5. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีจีนสมัยใหมและรวมสมัย 4.54 4.22 6. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรเครื่องสําอาง - 4.11 7. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเปนภาษาท่ีสอง - 4.35

รวมเฉลี่ยแตละปการศึกษา 4.34 4.1 รวมเฉลี่ยท้ัง 2 ปการศึกษา 4.2

การบรรลุเปาหมาย บรรลุเปาหมาย เพราะบัณฑิตวิทยาลัยกําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี ๒ คุณภาพของบัณฑิตปริญญาโท ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ (สมศ.)” ไว คือ คะแนนเฉลี่ยจากการประเมินคุณภาพบัณฑิต ≥ 3.51

การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง

คะแนนเฉลี่ยจากการประเมินคุณภาพบัณฑิต ≥ 3.51 4.2 4.2

26

รายการหลักฐานอางอิง

๒-๑ จํานวนมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2553-2554 ทุกหลักสูตร

๒-๒ รายงานสรุปผลการสํารวจความพึงพอใจของผูใชมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จในปการศึกษา 2553 - 2554 ทุกหลักสูตร องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑิต

ตัวบงชี้ ชนิดตัวบงชี ้

เปาหมาย เกณฑประเมิน

1 2 3 4 5

ตัวบงช้ีท่ี ๓ ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร (สมศ.)

O 20% ของนักศึกษาท่ี

จบการศึกษา

≥ 25%

หมายเหตุ : 1. นับตามปท่ีไดรับการตีพิมพเทาน้ัน 2. วิธีการคํานวณ

ผลรวมถวงนํ้าหนักของผลงานท่ีตีพิมพหรือเผยแพร

ของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท

จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท้ังหมด

3. เกณฑการประเมิน 1 – 4 ใหคิดเทียบจากเกณฑ 25% เทากับ 5 เกณฑการประเมินงานวิจัย กําหนดระดับคุณภาพบทความวิจัยท่ีตีพิมพ ดังน้ี

เกณฑการประเมินงานสรางสรรค กําหนดระดับแหลงเผยแพรงานสรางสรรค ดังน้ี

คาน้ําหนัก ระดับคุณภาพงานวิจัย 0.25 มกีารตีพิมพเผยแพรในลักษณะใดลักษณะหน่ึง

0.50 มีการตีพิมพในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการระดับชาติ (proceeding)

0.75 มีการตีพิมพในรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมการระดับนานาชาต ิ(proceeding) หรือมีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับชาต ิ

1.00 มีการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ

คาน้ําหนัก ระดับคุณภาพงานสรางสรรค* 0.125 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับสถาบันหรือจังหวัด 0.25 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับชาติ 0.50 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับความรวมมือระหวางประเทศ 0.75 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน 1.00 งานสรางสรรคท่ีไดรับการเผยแพรในระดับนานาชาต ิ

100

27

* องคประกอบของคณะกรรมการไมนอยกวา 3 คน และตองมีบุคคลภายนอกสถานศึกษาเขารวมพิจารณาดวยอาเซียน

หมายถึง สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of South East Asian Nations) มี 10 ประเทศ

ไดแก บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย สปป.ลาว มาเลเซีย พมา ฟลิปปนส สิงคโปร ไทย และ เวียดนามการเผยแพรในระดับความ

รวมมือระหวางประเทศ เปนโครงการรวมมือระหวางประเทศไทยกับประเทศอ่ืนการเผยแพรในระดับภูมิภาคอาเซียน เปน

การเผยแพรเฉพาะในกลุมอาเซียน 10 ประเทศ (อยางนอย 5 ประเทศ หมายถึงนับรวมประเทศไทยดวย) และการใหคะแนน

ตามแหลงเผยแพร ไมจะเปนตองไปแสดงในตางประเทศ การเผยแพรในระดับนานาชาติ เปนการเผยแพรท่ีเปดกวางสําหรับ

ทุกประเทศ (อยางนอย 5 ประเทศ ท่ีไมไดอยูในกลุมอาเซียน)

ขอมูลประกอบการพิจารณา

1. จํานวนและรายช่ือบทความวิจัยจากวิทยานิพนธ สารนิพนธ ของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ีไดรับการ

ตีพิมพในระดับชาติหรือนานาชาติรายปตามปการศึกษาหรือปปฏิทินท่ีตรงกับปการศึกษา พรอมช่ือเจาของบทความ ช่ือ

วิทยานิพนธหรือสารนิพนธ ปท่ีพิมพ ช่ือวารสารหรือรายงานสืบเน่ืองจากการประชุมวิชาการท่ีตีพิมพ คานํ้าหนักของบทความ

วิจัยแตละช้ิน

2. จํานวนและรายช่ือผลงานสรางสรรคจากศิลปนิพนธของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ีไดรับการเผยแพรใน

ระดับชาติหรือระดับนานาชาติ พรอมช่ือเจาของผลงาน ปท่ีเผยแพร ช่ือหนวยงานหรือองคกร พรอมท้ังจังหวัด ประเทศท่ี

เผยแพร รูปแบบของการเผยแพรพรอมหลักฐาน และคานํ้าหนักของการเผยแพรผลงานแตละช้ิน

3. จํานวนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท้ังหมด

ผลการดําเนินการ

ปการศึกษา 2555 มีมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาจํานวน 71 คน จาก 8 หลักสูตร มีผลงานตีพิมพเผยแพรท้ังสิ้น

จํานวน 66 คน ซึ่งตีพิมพเผยแพรในปการศึกษา 2555 จํานวน 42 เรื่อง คิดเปนคาถวงนํ้าหนักเทากับ 20 เทียบเปนรอยละ

เทากับ 28.17 คิดเปน 5 คะแนน รายละเอียดตามตารางท่ี 4 (เอกสาร ๓-๑ ถึง ๓-๒)

วิธีการคํานวณ

ผลรวมถวงนํ้าหนักของผลงานท่ีตพิีมพเผยแพรของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท x 100

จํานวนผูสําเรจ็การศึกษาระดับปรญิญาโทท้ังหมด

20 x 100 = 28.17 71 คิดเปน 5 คะแนน

28

ตารางท่ี 4 ผลการคิดคานํ้าหนักคุณภาพและรอยละของผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปรญิญาโทท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร ในปการศึกษา 2555

หลักสูตร จํานวนผูสําเร็จ

การ ศึกษา

จํานวนท่ีตีพิมพเผยแพร ท้ังหมด

จํานวนท่ีตีพิมพ

เผยแพรปการศึกษา

คาน้ําหนักคุณภาพงานวิจัย รวมน้ําหนัก

รอยละ คะ แนนท่ี

ได

2555 0.25 0.5 0.75 1.00 1. สังคมสงเคราะหฯ(บูรณาการนโยบายฯ)

7 7 7 7 x 0.25 =1.75

- - - 1.75 25 5

2. บริหารธุรกิจฯ 15 11 6 6 x 0.25 =1.5

- - - 1.5 10 2

3. การจัดการฯ (การจัดการอุตสาหกรรม)

11 10 10 10 x 0.25 =2.5

- - - 2.5 22.73 4.55

4. ศิลปศาสตรฯ (วรรณคดีจีนฯ)

14 14 11 - - 0.75 x 11 =8.25

- 8.25 58.93 5

5. ศิลปศาสตรฯ (การส่ือสารภาษาไทยฯ)

10 10 5 - - 0.75 x 5 =3.75

- 3.75 37.5 5

6. พยาบาลฯ (พยาบาล เวชปฏิบัติฯ)

11 11 0 - - - - 0 0 0

7. วิทยาศาสตรฯ (เครื่องสําอาง)

2 2 2 - - 0.75 x 2 =1.5

- 1.5 75 5

8. นิเทศศาสตรฯ 1 1 1 - - 0.75x1= 0.75

- 0.75 75 5

มหาวิทยาลัย 71 66 42 5.75 - 14.25 - 20 28.17 5

การบรรลุเปาหมาย บรรลุเปาหมาย เพราะบัณฑิตวิทยาลัยกําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี ๓ ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร (สมศ.)” ไว คือ คะแนนเฉลี่ยจากการประเมินคุณภาพบัณฑิต ≥ 3.51

การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง

ผลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพร 20 % ของนักศึกษาท่ีจบการศึกษา

28.17 % 5

รายการหลักฐานอางอิง

๓-๑ จํานวนและรายช่ือมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จในปการศึกษา 2555 ทุกหลักสูตร

๓-๒ ผลงานทางวิชาการตีพิมพเผยแพรปการศึกษา 2555 ของมหาบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาทุกหลักสูตร สรุปผลการประเมินตนเอง

ตัวบงชี้คุณภาพ คะแนนอิงมาตรฐาน 2.1.1 5 2.1.2 5

ตัวบงช้ี ๒ (สมศ.) 4.2 ตัวบงช้ี ๓ (สมศ.) 5

ผลการประเมินตนเองเฉลี่ย 4.8

29

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ (12 ตัวบงชี้) ระบบและกลไก

บัณฑิตวิทยาลัยมีการบริหารงานตามรูปแบบท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด คือคณบดีเปนผูมีอํานาจสูงสุดในการบริหารงาน มีเลขานุการ 1 คน มีเจาหนาท่ี 3 คน ตามแผนภูมิโครงสรางองคกร (Organization chart) แผนภูมิการบริหาร (Administration chart) และแผนภูมิการดําเนินการ (Activity chart) มีการกําหนดภาระงานของบุคลากรแตละตําแหนง และมอบหมายใหไปปฏิบัติ มีการรายงานผลการปฏิบัติงานตอคณบดีในรูปแฟมสะสมงาน เพ่ือนํามาใชในการประเมินผลเลื่อนข้ันเงินเดือนเมื่อสิ้นปการศึกษา ตัวบงชี้คุณภาพ

ตัวบงชี้ ชนิด

ตัวบงชี้ เปาหมาย

เกณฑประเมิน

1 2 3 4 5

7.1 ภาวะผูนําของคณะกรรมการวิชาการคณะ และผูบริหารทุกระดับของหนวยงาน (สกอ.)

P มีการ

ดําเนินการ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ 2 หรือ 3

ขอ

มีการดําเนินการ 4 หรือ 5

ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

เกณฑประเมินตัวบงชี้ท่ี 7.1 (ขอ) 1. คณะกรรมการบริหารของหนวยงาน ปฏิบัติหนาท่ีตามท่ีกําหนดครบถวนและมีการประเมินตนเองตามหลักเกณฑ ท่ีกําหนดลวงหนา 2. ผูบริหารของหนวยงานมีวิสัยทัศน กําหนดทิศทางการดําเนินงาน และสามารถถายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผนกลยุทธ มีการนําขอมูลสารสนเทศเปนฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนาหนวยงาน 3. ผูบริหารมีการกํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามท่ีมอบหมาย รวมท้ังสามารถสื่อสารแผนและ ผลการดําเนินงานของหนวยงานไปยังบุคลากรในหนวยงาน 4. ผูบริหารสนับสนุนใหบุคลากรในหนวยงานมีสวนรวมในการบริหารจัดการ ใหอํานาจในการตัดสินใจแกบุคลากรตามความเหมาะสม 5. ผูบริหารถายทอดความรูและสงเสริมพัฒนาผูรวมงาน เพ่ือใหสามารถทํางานบรรลุวัตถุประสงคของหนวยงาน เต็มตามศักยภาพ 6. ผูบริหารบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาล โดยคํานึงถึงประโยชนของมหาวิทยาลัย หนวยงาน และผูมีสวนได สวนเสีย 7. มหาวิทยาลัยประเมินผลการบริหารงานของหนวยงานและผูบริหารนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานอยางเปนรูปธรรม หมายเหตุ

หลักธรรมาภิบาล หมายถึง การปกครอง การบริหาร การจัดการ การควบคุม ดูแลกิจการตางๆ ใหเปนไปใน

ครรลองธรรม นอกจากน้ี ยังหมายถึงการบริหารจัดการท่ีดี ซึ่งสามารถนําไปใชไดท้ังภาครัฐและเอกชน ธรรมท่ีใชในการ

บริหารงานน้ีมีความหมายอยางกวางขวาง กลาวคือ หาไดมีความหมายเพียงหลักธรรมทางศาสนาเทาน้ัน แตรวมถึงศีลธรรม

คุณธรรม จริยธรรม และความถูกตอง ชอบธรรมท้ังปวง ซึ่งวิญูชนพึงมีและพึงประพฤติปฎิบัติ อาทิ ความโปรงใส ตรวจสอบ

ได การปราศจากการแทรกแซงจากการองคกรภายนอกเปนตน

หลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี (Good Governance) ท่ีเหมาะสมจะนํามาปรับใชมี 10 องคประกอบ

ดังน้ี

30

1) หลักประสิทธิผล (Effectiveness) คือ ผลการปฏิบัติงานท่ีบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายของแผนการปฏิบัติงาน

ตามท่ีไดรับงบประมาณมาดําเนินการ รวมถึงสามารถเทียบเคียงกับสวนราชการหรือหนวยงานท่ีมีภารกิจคลายคลึงกัน

และมีผลการปฏิบัติงานในระดับช้ันนําของประเทศเพ่ือใหเกิดประโยชนสุขตอประชาชน โดยการปฏิบัติงานจะตองมี

ทิศทางยุทธศาสตร และเปาประสงคท่ีชัดเจน มีกระบวนการปฏิบัติงานและระบบงานท่ีเปนมาตรฐาน รวมถึงมีการ

ติดตามประเมินผลและพัฒนา ปรับปรุงอยางตอเน่ืองและเปนระบบ

2) หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ การบริหารราชการตามแนวทางการกํากับดูแลท่ีดีท่ีมีการออกแบบกระบวนการ

ปฏิบัติงานโดยใชเทคนิคและเครื่องมือการบริหารจัดการท่ีเหมาะสมใหองคการสามารถใชทรัพยากรท้ังดานตนทุน

แรงงานและระยะเวลาใหเกิดประโยชนสูงสุดตอการพัฒนาขีดความสามารถในการปฏิบัติราชการตามภารกิจเพ่ือ

ตอบสนองความตองการของประชาชนและผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุม

3) หลักการตอบสนอง (Responsiveness) คือ การใหบริการท่ีสามารถดําเนินการไดภายในระยะเวลาท่ีกําหนด และ

สรางความเช่ือมั่น ความไววางใจ รวมถึงตอบสนองความคาดหวังหรือความตองการของประชาชนผูรับบริการ และผูมี

สวนไดสวนเสียท่ีมีความหลากหลายและมีความแตกตาง

4) หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) คือ การแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาท่ีและผลงานตอ

เปาหมายท่ีกําหนดไว โดยความรับผิดชอบน้ันควรอยูในระดับท่ีสนองตอความคาดหวังของสาธารณะ รวมท้ังการแสดง

ถึงความสํานึกในการรับผิดชอบตอปญหาสาธารณะ

5) หลักความโปรงใส (Transparency) คือ กระบวนการเปดเผยอยางตรงไปตรงมา ช้ีแจงไดเมื่อมีขอสงสัยและ

สามารถเขาถึงขอมูลขาวสารอันไมตองหามตามกฎหมายไดอยางเสรี โดยประชาชนสามารถรูทุกข้ันตอนในการดําเนิน

กิจกรรมหรือกระบวนการตางๆ และสามารถตรวจสอบได

6) หลักการมีสวนรวม (Participation) คือ กระบวนการท่ีขาราชการ ประชาชนและผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุมมี

โอกาสไดเขารวมในการรับรู เรียนรู ทําความเขาใจ รวมแสดงทัศนะ รวมเสนอปญหาหรือ ประเด็นท่ีสําคัญท่ีเก่ียวของ

รวมคิดแนวทาง รวมการแกไขปญหา รวมในกระบวนการตัดสินใจ และรวมกระบวนการพัฒนาในฐานะหุนสวนการ

พัฒนา

7) หลักการกระจายอํานาจ (Decentralization) คือ การถายโอนอํานาจการตัดสินใจ ทรัพยากร และภารกิจจาก

สวนงานกลางใหแกหนวยการปกครองอ่ืนๆ และภาคประชาชนดําเนินการแทนโดยมีอิสระตามสมควร รวมถึงการมอบ

อํานาจและความรับผิดชอบในการตัดสินใจและการดําเนินการใหแกบุคลากร โดยมุงเนนการสรางความพึงพอใจในการ

ใหบริการตอผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย การปรับปรุงกระบวนการ และเพ่ิมผลิตภาพเพ่ือผลการดําเนินงานท่ีดี

ของหนวยงาน

8) หลักนิติธรรม (Rule of Law) คือการใชอํานาจของกฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับในการบริหารราชการดวยความ

เปนธรรม ไมเลือกปฏิบัติ และคํานึงถึงสิทธิเสรีภาพของผูมีสวนไดสวนเสีย

9) หลักความเสมอภาค (Equity) คือ การไดรับการปฏิบัติและไดรับบริการอยางเทาเทียมกันโดยไมมีการแบงแยกดาน

ชายหรือหญิง ถ่ินกําเนิด เช้ือชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานของบุคคล ฐานทาง

เศรษฐกิจและสังคม ความเช่ือทางศาสนา การศึกษา การฝกอบรม และอ่ืนๆ

31

10) หลักมุงเนนฉันทามติ (Consensus oriented) คือ การหาขอตกลงท่ัวไปภายในกลุมผูมีสวนไดสวนเสียท่ีเก่ียวของ ซึ่ง

เปนขอตกลงท่ีเกิดจากการใชกระบวนการเพ่ือหาขอคิดเห็นจากกลุมบุคคลท่ีไดรับประโยชนและเสียประโยชน

โดยเฉพาะกลุมท่ีไดรับผลกระทบโดยตรงซึ่งตองไมมีขอคัดคานท่ียุติไมไดในประเด็นท่ีสําคัญ โดยฉันทามติไมจําเปนตอง

หมายความวาเปนความเห็นพองโดยเอกฉันท ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2555 มีผลการดําเนินงาน 7 ขอ ตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. ดังน้ี 1. คณะกรรมการบริหารของหนวยงาน ปฏิบัติหนาท่ีตามท่ีกําหนดครบถวนและมีการประเมินตนเองตามหลักเกณฑท่ีกําหนดลวงหนา

คณบดีเปนผูบริหารไดช้ีแจง ทําความเขาใจเก่ียวกับกฎ ระเบียบ ขอบังคับของมหาวิทยาลัย อาทิ ขอบังคับท่ีวาดวยการบริหารงานบุคคลและผูบริหาร แผนพัฒนามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 5 ป (2555-2559) แผนกลยุทธบัณฑิตวิทยาลัย 5 ป ( 2555-2559) เพ่ือใหทราบถึงบทบาทหนาท่ีกอนจะปฏิบัติหนาท่ีในทิศทางท่ีกําหนดรวมกัน มีการประเมินตนเองและรายงานผลการประเมินตนเอง (เอกสาร 7.1-1 ถึง 7.1-5) รายการหลักฐานอางอิง 7.1-1 รายงานการประชุมบุคลากร เรื่อง กฎ ระเบียบ ขอบังคับของมหาวิทยาลัย อาทิ ขอบังคับท่ีวาดวยการบริหารงาน บุคคลและผูบริหาร 7.1-2 แผนพัฒนามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 5 ป (ปการศึกษา 2555-2559) 7.1-3 แผนกลยุทธ บัณฑิตวิทยาลัย 5 ป (2555-2559) 7.1-4 แผนปฏิบัติการ บัณฑิตวิทยาลัย ปการศึกษา 2555 7.1-5 รายงานการประชุมบุคลากร ปการศึกษา 2555 2. ผูบริหารของหนวยงานมีวิสัยทัศน กําหนดทิศทางการดําเนินงาน และสามารถถายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มีความสามารถในการวางแผนกลยุทธ มีการนําขอมูลสารสนเทศเปนฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนาหนวยงาน

คณบดีและบุคลากรทุกคนมีสวนรวมกันในการกําหนดนโยบาย และจัดทําวิสัยทัศน พันธกิจ แผนกลยุทธ และนําสูการปฏิบัติท่ีเปนระบบชัดเจน โดยมีการกําหนดตัวบงช้ีคุณภาพ (KPI) ของงานท่ีปฏิบัติ ครบทุกมิติของการพัฒนา ไดแก 1) มิติการพัฒนาองคกร เชนการพัฒนาเจาหนาท่ีสายสนับสนุนดานการฝกอบรมความรูเพ่ือพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง 2) มิติการพัฒนาหรือปรับปรุงกระบวนตามพันธกิจหลัก 3) มิติผูรับบริการหรือผูมีสวนได สวนเสียเชน ความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต ความคุมคาของการใชจายเงิน งบประมาณ สอดคลองกับเปาประสงคตามประเด็นยุทธศาสตร มีการรายงานผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการท่ีกําหนดไว ปละ 2 ครั้ง (เอกสาร 7.1-6 และ 7.1-10) รายการหลักฐานอางอิง 7.1-6 รายงานการประชุมบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย เรื่องการจัดทําแผนพัฒนาใหสอดคลองกับเกณฑ สกอ. สมศ. 7.1-7 แผนกลยุทธ บัณฑิตวิทยาลัย 5 ป (2555-2559) 7.1-8 แผนปฏิบัติการ บัณฑิตวิทยาลัย ประจําป ป 2555 7.1-9 ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ 6 เดือนแรก (เดือนมิถุนายน-เดือนพฤศจิกายน 2555) 7.1-10 ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ปการศึกษา 2555 (เดือนมิถุนายน 2555 –เดือนพฤษภาคม 2556) 3. ผูบริหารมีการกํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามท่ีมอบหมาย รวมท้ังสามารถสื่อสารแผนและผลการดําเนินงานของหนวยงานไปยังบุคลากรในหนวยงาน

คณบดีทําหนาท่ีกํากับ ติดตามผลการนํานโยบายและแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติ และทบทวนเปาหมาย หรือปรับแผนการดําเนินงานใหสอดคลองกับบริบทท่ีเปลี่ยนแปลงไป รวมท้ังสื่อสารแผนการดําเนินงานไปยังบุคลากรทุกระดับท่ีเก่ียวของในท่ีประชุมบุคลากร มีการประเมินผลการดําเนินงานท่ีสําคัญตามภารกิจอยางครบถวน รวมท้ังการติดตามผลสัมฤทธ์ิ อยางนอย ปละ 2 ครั้ง (เอกสาร 7.1-11 และ 7.1-13) รายการหลักฐานอางอิง

32

7.1-11 รายงานการประชุมบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย เรื่องติดตามผลการดําเนินการตามแผน 7.1-12 ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ 6 เดือนแรก (เดือนมิถุนายน-เดือนพฤศจิกายน 2555) 7.1-13 ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ปการศึกษา 2555 (เดือนมิถุนายน 2555-เดือนพฤษภาคม 2556)

4. ผูบริหารสนับสนุนใหบุคลากรในหนวยงานมีสวนรวมในการบริหารจัดการ ใหอํานาจในการตัดสินใจแกบุคลากรตามความเหมาะสม คณบดสีนับสนุนใหบุคลากรมีสวนรวมในการบริหารจัดการ ใหอํานาจในการตัดสินใจแกบุคลากรตามความเหมาะสม มีการมอบหมายใหเจาหนาท่ีรับผิดชอบวางแผน ดําเนินการตามงานท่ีไดรับมอบหมาย ประเมินและปรับปรุงผลการดําเนินการตามเปาหมายตัวบงช้ีท่ีกําหนดไว (เอกสาร 7.1-14) การมอบหมายภาระงาน ตามแผนงาน

1. แผนงานผลิตบัณฑิต งาน กิจกรรม/โครงการ ผูรับผิดชอบ

1. งานมาตรฐานการศึกษา 1. การเปด ปด ประเมินมาตรฐานการศึกษา การประเมินหลักสูตร การปรับปรุงหลักสูตร การจัดทําคูมือหลักสูตร

อภิวันท

2. การควบคมุมาตรฐานวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ 2.1 การจัดทําคูมือวิทยานิพนธ คณะกรรมการฯ/

อภิวันท 2.2 ติดตามความกาวหนาในการทําวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ กฤตภรณ 2.3 ตรวจรูปแบบการพิมพวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ ทุกคน 2.4 ติดตามการตีพิมพเผยแพรผลงานใหเสร็จทันเวลาท่ีกําหนด ทุกคน 2.5 การประกวดวิทยานิพนธดเีดน คณะกรรมการฯ/

อภิวันท 2.6 การจัดทํารูปเลมบทคดัยอวิทยานิพนธและการศึกษาอิสระ นิภาพร 3. การประเมินการสอนอาจารย ศูนยคอมฯ 4. การประกันคณุภาพ ทุกคน 2. งานจัดการเรียนการสอน 1. จัดทําปฏิทินการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา อภิวันท 2. จัดหองเรียน หองสอบ หองประชุม สัมมนา เตรยีมความพรอมสือ่

โสต ทัศนูปกรณ ทุกคน

3. รับคํารอง ติดตามรักษาสถานภาพของนักศึกษา ผอนผัน กูยมื ยุพดี 3. งานรับนักศึกษา 1. การประชาสมัพันธ อภิวันท/นิภาพร 2. การรับสมัครนักศึกษา ทุกคน 3. ประสานงานการสอบคดัเลือก (การออกขอสอบ ตรวจขอสอบ

สงผลสอบใหหลักสตูร) ยุพดี

4. งานพัฒนานักศึกษา 1. ดานวิชาการ (ปฐมนิเทศ การสบืคน การเขียนบทความทางวิชาการ) ทุกคน 2. ดานกิจกรรมกีฬา นันทนาการ และการสงเสริมสุขภาพ ทุกคน 3. ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ทุกคน 5. งานสําเร็จการศึกษา 1. ติดตามการแจงจบ ตรวจสอบรายช่ือผูสําเร็จการศึกษา ยุพดี 2. ประเมินภาวะการมีงานทําและความพึงพอใจผูใชบัณฑิต อภิวันท/กฤตกรณ 3. สํารวจความตองการคุณสมบัตบัิณฑิตท่ีพึงประสงค กฤตภรณ

Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight

33

2. แผนงานสนับสนนุการวิจัยอาจารยและนักศึกษามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ งาน ผูรับผิดชอบ

1. งานจริยธรรมการวิจัย คณะกรรมการฯ / อภิวันท 2. คลินิกงานวิจัย (ใหคําปรึกษางานวิจัย จัดทําฐานขอมลูการวิจัย) รศ.ดร.เดชาวุธ และคณะ /อภิวันท รายการหลักฐานอางอิง 7.1-14 แผนปฏิบัติการ บัณฑิตวิทยาลัย ประจําป ป 2555 (การมอบภาระงานเจาหนาท่ี) 5. ผูบริหารถายทอดความรูและสงเสริมพัฒนาผูรวมงาน เพ่ือใหสามารถทํางานบรรลุวัตถุประสงคของหนวยงานเต็มตามศักยภาพ

มีการถายทอดใหความรูและทักษะตาง ๆ ใหแกเจาหนาท่ี เพ่ือใหเจาหนาท่ีสามารถทํางานบรรลุวัตถุประสงคเต็มตามศักยภาพ โดยมีการมอบหมายใหเจาหนาท่ีทุกคนตองเขารวมอบรม สัมมนา เพ่ือพัฒนาทักษะการทํางาน อยางนอย 3 ครั้งตอป ปการศึกษา 2555 น้ีมีเจาหนาท่ีเขารวมอบรม สัมมนา รอยละ 100 (เอกสารหมายเลข 7.1-15 ถึง 7.1-16) รายการหลักฐานอางอิง 7.1-15 แผนการพัฒนาบุคลากร (การอบรมสัมมนา) 7.1-16 แฟมสะสมงานเจาหนาท่ี 6. ผูบริหารบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาล โดยคํานึงถึงประโยชนของมหาวิทยาลัย หนวยงาน และผูมีสวนไดสวนเสีย ผูบริหารมีการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล ดังน้ี มีการประชุมบุคลากรระดมสมอง กําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค ปรัชญา แผนงาน โครงการ/กิจกรรม ตัวช้ีวัด ประจําปการศึกษา 2555 โดยยึดหลักประสิทธิผล หลักประสิทธิภาพ หลักการตอบสนอง หลักความมีสวนรวม หลักความเสมอภาค หลักมุงเนนฉันทามติ มีการบริหารงานโดยการมอบหมายภาระงาน ใหแกเจาหนาท่ีทุกคน ตามศักยภาพโดยยึดหลักความมีสวนรวมและการกระจายอํานาจ มีการติดตามและกํากับการดําเนินการโครงการตามแผน โดยแสดงถึงภาระความรับผิดชอบในหนาท่ี มีการบริหารการจัดการทางการเงิน โดยมีการเสนอของบประมาณประจําปในหมวดตาง ๆ ตามระเบียบและขอปฏิบัติมหาวิทยาลัย มีการวิเคราะหถึงความจําเปน คํานึงถึงประโยชนสูงสุด จากน้ันนําเสนอคําของบประมาณใหมหาวิทยาลัยเพ่ือพิจารณา เมื่อมหาวิทยาลัยไดจัดสรรงบประมาณแลว จะมีการประชุมรวมกันเพ่ือใชงบประมาณอยางประหยัด คุมคา คุมทุน ซึ่งการบริหารการเงิน จะยึดหลักความโปรงใส หลักความมีสวนรวม หลักการกระจายอํานาจ หลักนิติธรรม หลักความเสมอภาค หลักมุงเนนฉันทามติ (เอกสาร 7.1-17 ถึง 7.1-23) รายการหลักฐานอางอิง 7.1-17 รายงานการประชุมบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย เรื่องการจัดทําแผนพัฒนาใหสอดคลองกับเกณฑ สกอ. สมศ. 7.1-18 แผนกลยุทธ บัณฑิตวิทยาลัย 5 ป (2555-2559) 7.1-19 แผนปฏิบัติการ บัณฑิตวิทยาลัย ประจําป 2555 7.1-20 ผลการประเมินความพึงพอใจผูใชบัณฑิต 7.1-21 ผลการประเมินความพึงพอใจในการใหบริการของบัณฑิตวิทยาลัย 7.1-22 รายงานการประชุมบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง เพ่ือพิจารณาจัดทําคําของบประมาณ ประจําปการศึกษา 2555 7.1-23 รายงานการประชุมบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง แจงผลการจัดสรรงบประมาณ ประจําปการศึกษา 2555

34

7. มหาวิทยาลัยประเมินผลการบริหารงานของหนวยงานและผูบริหารนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารงานอยางเปนรูปธรรม มหาวิทยาลัยประเมินผลการบริหารงาน โดยบัณฑิตวิทยาลัยจะตองรายงานผลการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการอยางนอยปละ 2 ครั้ง มีการจัดทํารายงานประเมินตนเองประจําป (SAR) ตามตัวบงช้ีคุณภาพภายในของ สกอ. มีการประเมินจากคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในเปนประจําทุกป และมีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงในปการศึกษาถัดไป (เอกสาร 7.1-24 และ 7.1-28) รายการหลักฐานอางอิง 7.1-24 ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ 6 เดือนแรก (เดือนมิถุนายน-เดือนพฤศจิกายน 2554) 7.1-25 ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ปการศึกษา (เดือนมิถุนายน 2554-เดือนพฤษภาคม 2555) 7.1-26 รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปการศึกษา 2554 7.1-27 ผลการประเมินคุณภาพกรศึกษาภายใน ปการศึกษา 2554 7.1-28 แผนปฏิบัติการ บัณฑิตวิทยาลัย ประจําป 2555 (นําผลประเมินมาปรับปรุง) การบรรลุเปาหมาย บรรลุเปาหมาย เพราะแผนก/สาขาวิชา/คณะวิชา/ มหาวิทยาลัยกําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 7.1 ภาวะผูนําของคณะกรรมการวิชาการคณะและผูบริหารทุกระดับของคณะวิชา (สกอ.)” ไวท่ีมีการดําเนินการ 5 ขอ ตามเกณฑประเมิน สกอ. และคณะวิชา/ มหาวิทยาลัย สามารถดําเนินการตามเกณฑประเมิน การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง มีการดําเนินการ 5 ขอ ดําเนินการ 7 ขอ 5

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ ชนิด ตัว บงชี ้

เปาหมาย เกณฑประเมิน

1 2 3 4 5

7.2 การพัฒนาคณะวิชา สูองคกรแหงการ เรียนรู (สกอ.)

P มีการ

ดําเนินการ 3 ขอ

มีการ ดําเนินการ

1 ขอ

มีการ ดําเนินการ

2 ขอ

มีการ ดําเนินการ

3 ขอ

มีการ ดําเนินการ

4 ขอ

มีการ ดําเนินการ

5 ขอ เกณฑประเมินตัวบงชี้ท่ี 7.2 (ขอ) 1. มีการกําหนดประเด็นความรูและเปาหมายของการจัดการความรูท่ีสอดคลองกับแผนกลยุทธของหนวยงาน 2. กําหนดบุคลากรกลุมเปาหมายท่ีจะพัฒนาความรูและทักษะอยางชัดเจนตามประเด็นความรูท่ีกําหนดในขอ 1 3. มีการแบงปนและแลกเปลี่ยนเรียนรูจากความรู ทักษะของผูมีประสบการณตรง (Tacit knowledge) เพ่ือคนหาแนวปฏิบัติท่ีดีตามประเด็นความรูท่ีกําหนดในขอ 1 และเผยแพรไปสูบุคลากรกลุมเปาหมายท่ีกําหนด 4. มีการรวบรวมความรูตามประเด็นความรูท่ีกําหนดในขอ 1 ท้ังท่ีมีอยูในตัวบุคคลและแหลงเรียนรูอ่ืนๆ ท่ีเปนแนวปฏิบัติท่ีดีมาพัฒนาและจัดเก็บอยางเปนระบบโดยเผยแพรออกมาเปนลายลักษณอักษร (Explicit knowledge) 5. มีการนําความรูท่ีไดจากการจัดการความรูในปการศึกษาปจจุบันหรือปการศึกษาท่ีผานมา ท่ีเปนลายลักษณอักษร (Explicit knowledge) และจากความรู ทักษะของผูมีประสบการณตรง (Tacit knowledge) ท่ีเปนแนวปฏิบัติท่ีดีมาปรับใชในการปฏิบัติงานจริง

35

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2555 มีผลการดําเนินงาน 3 ขอ ตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. ดังน้ี 1. มีการกําหนดประเด็นความรูและเปาหมายของการจัดการความรูท่ีสอดคลองกับแผนกลยุทธของหนวยงาน

บัณฑิตวิทยาลัย มีการกําหนดประเด็นความรูและเปาหมายของการจัดการความรู 2 ประเด็น โดยกําหนดใหเจาหนาท่ีทุกคนไดรับการพัฒนาความรูและพัฒนาทักษะทางดาน 1) งานสารบรรณ 2) ทักษะคอมพิวเตอรโปรแกรมท่ีจําเปนตอการทํางานสามารถ upload data on website ของหนวยงานได (เอกสาร 7.2-1) รายการหลักฐานอางอิง 7.2-1 แผนปฏิบัติการประจําป บัณฑิตวิทยาลัย ป 2555 (แผนพัฒนาบุคลากร) 2. กําหนดบุคลากรกลุมเปาหมายท่ีจะพัฒนาความรูและทักษะอยางชัดเจนตามประเด็นความรูท่ีกําหนดในขอ 1 มีการกําหนดใหเจาหนาท่ีทุกคนท่ีจะไดรับการพัฒนาความรูและทักษะดานงานสารบรรณและทักษะคอมพิวเตอร (เอกสาร 7.2-2) รายการหลักฐานอางอิง 7.2-2 การมอบภาระงานเจาหนาท่ี 3. มีการแบงปนและแลกเปลี่ยนเรียนรูจากความรู ทักษะของผูมีประสบการณตรง (Tacit knowledge) เพ่ือคนหาแนวปฏิบัติท่ีดีตามประเด็นความรูท่ีกําหนดในขอ 1 และเผยแพรไปสูบุคลากรกลุมเปาหมายท่ีกําหนด มีการแบงปน แลกเปลี่ยนเรียนรูงานสารบรรณโดยเลขานุการบัณฑิตวิทยาลัย เปนผูใหความรู และการพัฒนาทักษะคอมพิวเตอรโดยเจาหนาท่ีศูนยคอมพิวเตอรและเลขานุการบัณฑิตวิทยาลัยเปนผูใหความรู (เอกสาร 7.2-3) รายการหลักฐานอางอิง 7.2-3 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูงานสารบรรณและทักษะคอมพิวเตอร การบรรลุเปาหมาย บรรลุเปาหมาย เพราะแผนก/สาขาวิชา/คณะวิชา/ มหาวิทยาลัยกําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 7.2 การพัฒนาคณะวิชาสูองคกรแหงการเรียนรู (สกอ.)” ไวท่ีมีการดําเนินการ 3 ขอ ตามเกณฑประเมิน สกอ. และคณะวิชา/ มหาวิทยาลัย สามารถดําเนินการตามเกณฑประเมิน การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง มีการดําเนินการ 5 ขอ ดําเนินการ 3 ขอ 3

36

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ ชนิดตัว บงชี้

เปาหมาย เกณฑประเมิน

1 2 3 4 5

7.3 ระบบสารสนเทศเ พ่ือการบริหารและการตัดสินใจ (สกอ.)

P มีการ

ดําเนินการ 3 ขอ

มีการ ดําเนินการ

1 ขอ

มีการ ดําเนินการ

2 ขอ

มีการ ดําเนินการ

3 ขอ

มีการ ดําเนินการ

4 ขอ

มีการ ดําเนินการ

5 ขอ เกณฑประเมินตัวบงชี้ท่ี 7.3 (ขอ)

1. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information system plan) 2. มีระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจตามพันธกิจของหนวยงาน 3. มีการประเมินความพึงพอใจของผูใชระบบสารสนเทศ 4. มีการนําผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชระบบสารสนเทศมาปรับปรุงระบบสารสนเทศ 5. มีการสงขอมูลผานระบบเครือขายของหนวยงานภายนอกท่ีเก่ียวของตามกําหนด

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2555 มีผลการดําเนินงาน 2 ขอ ตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. ดังน้ี 1. มีแผนระบบสารสนเทศ (Information system plan)

บัณฑิตวิทยาลัยมีแผนระบบสารสนเทศ เพ่ือทําหนาท่ีจัดทําแผนพัฒนาระบบสารสนเทศ จัดทําระบบสารสนเทศ ท่ีสอดคลองกับแผนปฏิบัติการประจําป 2555 (เอกสาร 7.3-1) รายการหลักฐานอางอิง 7.3-1 แผนปฏิบัติการ บัณฑิตวิทยาลัย ประจําป 2555 (ระบบสารสนเทศ) 2. มีระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจตามพันธกิจของหนวยงาน

มหาวิทยาลัยมีระบบสารสนเทศ MIS เพ่ือการบริหารและการตัดสินใจท่ีเปนปจจุบัน ครอบคลุมพันธกิจหลักของบัณฑิตวิทยาลัยทางดานการผลิตบัณฑิตและการสนับสนุนการวิจัย (เอกสาร 7.3-2) รายการหลักฐานอางอิง 7.3-2 ระบบสารสนเทศ MIS มหาวิทยาลัย เพ่ือการบริหารและการตัดสินใจ

การบรรลุเปาหมาย ไมบรรลุเปาหมาย เพราะแผนก/สาขาวิชา/คณะวิชา/ มหาวิทยาลัยกําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 7.3 ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจ (สกอ.)” ไวท่ีมีการดําเนินการ 3 ขอ ตามเกณฑประเมิน สกอ. และคณะวิชา/ มหาวิทยาลัย สามารถดําเนินการตามเกณฑประเมิน

การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง

มีการดําเนินการ 3 ขอ ดําเนินการ 2 ขอ 2

37

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ

ตัวบงชี้ ชนิดตัวบงชี ้

เปาหมาย เกณฑประเมิน

1 2 3 4 5

7.4 ระบบบรหิารความเสี่ยง (สกอ.)

P มีการ

ดําเนินการ 4 ขอ

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 ขอ

มีการดําเนินการ 3 หรือ 4

ขอ

มีการดําเนินการ

5 ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

เกณฑประเมินตัวบงชี้ท่ี 7.4 (ขอ) 1. มีการแตงตั้งคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริหารความเสีย่ง โดยมีผูบรหิารและตัวแทนท่ีรับผิดชอบพันธกิจ

หลักของหนวยงานรวมเปนคณะกรรมการหรือคณะทํางาน 2. มีการวิเคราะหและระบุความเสีย่ง และปจจัยท่ีกอใหเกิดความเสี่ยงอยางนอย 3 ดาน ตามบริบทของหนวยงาน

จากตัวอยางตอไปน้ี - ความเสีย่งดานทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยสีารสนเทศ อาคารสถานท่ี) - ความเสีย่งดานยุทธศาสตร หรือกลยุทธของหนวยงาน - ความเสีย่งดานนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ - ความเสีย่งดานการปฏิบัติงาน เชน ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย

ระบบงาน ระบบประกันคณุภาพ - ความเสีย่งดานบุคลากรและความเสี่ยงดานธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของบุคลากร - ความเสีย่งจากเหตุการณภายนอก - อ่ืนๆ

3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลําดับความเสี่ยงท่ีไดจากการวิเคราะหในขอ 2 4. มีการจัดทําแผนบรหิารความเสี่ยงท่ีมีระดับความเสี่ยงสูง และดําเนินการตามแผน 5. มีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามแผน และรายงานตอมหาวิทยาลัย เพ่ือพิจารณาอยางนอย

ปละ 1 ครั้ง 6. มีการนําผลการประเมิน และขอเสนอแนะจากคณะกรรมการบริหารความเสีย่งระดบัมหาวิทยาลัยไปใชในการ

ปรับแผนหรือวิเคราะหความเสีย่งในรอบปถัดไป

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2555 มีผลการดําเนินงาน 6 ขอ ตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. ดังน้ี 1. มีการแตงต้ังคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริหารความเสี่ยง โดยมีผูบริหารระดับสูงและตัวแทนท่ีรับผิดชอบพันธกิจหลักของหนวยงานรวมเปนคณะกรรมการหรือคณะทํางาน

มีการคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย ทําหนาท่ีพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงมาใชในกระบวนการบริหารการศึกษา (เอกสาร 7.4-1) รายการหลักฐานอางอิง 7.4-1 คําสั่งมหาวิทยาลัย ท่ี 216/2554 เรื่องแตงตั้งคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย 2. มีการวิเคราะหและระบุความเสี่ยง และปจจัยท่ีกอใหเกิดความเสี่ยงอยางนอย 3 ดาน ตามบริบทของหนวยงาน คณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย ไดวิเคราะหและระบุปจจัยท่ีกอใหเกิดความเสี่ยงท่ีสงผลกระทบหรือสรางความเสียหาย หรือความลมเหลวหรือลดโอกาสท่ีจะบรรลุเปาหมาย ดังน้ี 1) ความเสี่ยงดานทรัพยากร (การเงิน) เน่ืองจากรับนักศึกษาไมไดตามเปาท่ีกําหนด 2) ความเสี่ยงดานนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ตามเกณฑประเมินคุณภาพ สมศ. ๓ ผลงานของนักศึกษาปริญญาโทตีพิมพเผยแพร 3) ความเสี่ยงดานการปฏิบัติงานของบุคลากร (เอกสาร 7.4-2) รายการหลักฐานอางอิง 7.4-2 รายงานการบริหารความเสี่ยง บัณฑิตวิทยาลัย

38

3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลําดับความเสี่ยงท่ีไดจากการวิเคราะหในขอ 2 มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยง และไดมีการจัดลําดับความสําคัญความเสี่ยง เรียงลําดับดังน้ี 1) ความเสี่ยงดานทรัพยากร (การเงิน) เน่ืองจากรับนักศึกษาไมไดตามเปาท่ีกําหนด 2) ความเสี่ยงดานนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ตามเกณฑประเมินคุณภาพ สมศ. ๓ ผลงานของนักศึกษาปริญญาโทตีพิมพเผยแพร 3) ความเสี่ยงดานการปฏิบัติงานของบุคลากร (เอกสาร 7.4-3) รายการหลักฐานอางอิง 7.4-3 แผนปฏิบัติการประจําป บัณฑิตวิทยาลัย ป 2555 (การประเมินผลกระทบความเสี่ยง) 4. มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงท่ีมีระดับความเสี่ยงสูง และดําเนินการตามแผน

มีการจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงเพ่ือการบรรลุเปาหมาย โดยตองกําหนดมาตรการหรือแผนปฏิบัติการท่ีกําหนด (เอกสาร 7.4-4) รายการหลักฐานอางอิง 7.4-4 แผนปฏิบัติการ บัณฑิตวิทยาลัย ประจําป 2555 (แผนบริหารความเสี่ยง) 5. มีการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามแผน และรายงานตอมหาวิทยาลัย เพ่ือพิจารณาอยางนอย ปละ 1 คร้ัง

มีการติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานตามแผน โดยเมื่อสิ้นปการศึกษา 2555 และมีสรุปผลการดําเนินงานและมีการรายงานตอมหาวิทยาลัย (เอกสาร 7.4-5) รายการหลักฐานอางอิง 7.4-5 รายงานผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการตอผูบริหาร 6. มีการนําผลการประเมิน และขอเสนอแนะจากมหาวิทยาลัยไปใชในการปรับแผนหรือวิเคราะหความเสี่ยงในรอบปถัดไป

มีการนําผลการประเมิน และขอเสนอแนะจากมหาวิทยาลัยไปใชในการปรับแผนหรือวิเคราะหความเสี่ยงในรอบปถัดไป (เอกสาร 7.4-6) รายการหลักฐานอางอิง 7.4-6 รายงานการประชุมบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัยเรื่อง แผนบริหารความเสี่ยง ปการศึกษา 2556 การบรรลุเปาหมาย บรรลุเปาหมาย เพราะแผนก/สาขาวิชา/คณะวิชา/ มหาวิทยาลัยกําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง (สกอ.)” ไวท่ีมีการดําเนินการ 5 ขอ ตามเกณฑประเมิน สกอ. และคณะวิชา/ มหาวิทยาลัย สามารถดําเนินการตามเกณฑประเมิน

การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง

มีการดําเนินการ 5 ขอ ดําเนินการ 6 ขอ 5

39

ตัวบงชี้ท่ี 7.5 : รอยละของบุคลากรท่ีมีการกําหนดภาระงานของบุคลากร (Job Assignment) (IQA) ชนิดของตัวบงชี:้ ผลผลิต เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

1 - 35.99% 36.00 – 53.99% 54.00 – 71.99% 72.00 – 89.99% 90.00 - 100%

ผลการดําเนินงาน บัณฑิตวิทยาลัยมีบุคลากรท้ังสิ้น 5 ตําแหนง ประกอบดวย คณบดี เลขานุการ และเจาหนาท่ี 3 ตําแหนง ซึ่งทุกตําแหนงมีภาระงานและหนาท่ีรับผิดชอบเปนลายลักษณอักษรอยางชัดเจน คิดเปนรอยละ 100.00 (เอกสาร 7.5-1) การบรรลุเปาหมาย บรรลเุปาหมาย เพราะมหาวิทยาลยักําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 7.5 รอยละของบุคลากรท่ีมีการกําหนดภาระงานของบุคลากร (Job Assignment) (IQA)” คือ รอยละ 100.00 การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง รอยละ 100.00 รอยละ 100.00 5

รายการหลักฐานอางอิง 7.5-1 หนาท่ีและความรับผิดชอบของคณบดี เลขานุการ และเจาหนาท่ี

ตัวบงชี้ท่ี 7.6 : รอยละของงานหลกัท่ีมีคูมือการปฏิบัติงาน ซ่ึงประกอบดวย ระบบงาน และ ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน (Work Flow) (IQA) ชนิดของตัวบงชี:้ ผลผลิต

เกณฑการประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

1 - 35.99% 36.00 – 53.99% 54.00 – 71.99% 72.00 – 89.99% 90.00 - 100%

ผลการดําเนินงาน งานหลักของบัณฑิตวิทยาลยัตามแผนปฏิบัติการประจําปการศึกษา 2555 ประกอบดวย 2 แผนงานหลัก มีคูมือการปฏิบัติงาน ประกอบดวย ระบบงาน และข้ันตอนในการปฏิบัติงาน (Work Flow) (IQA) ทุกแผนงานคิดเปนรอยละ 100 (เอกสาร 7.6-1) การบรรลุเปาหมาย บรรลุเปาหมาย เพราะมหาวิทยาลัยกําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 7.6 รอยละของงานหลักท่ีมคีูมอืการปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบดวย ระบบงาน และข้ันตอนในการปฏิบัติงาน (Work Flow) (IQA)” คือ รอยละ 100.00

การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง 100.00 % 100.00% 5

Hcu2
Highlight
Hcu2
Highlight

40

รายการหลักฐานอางอิง 7.6-1 ข้ันตอนในการการปฏิบัติงาน (Work Flow) ของงานหลักของบัณฑิตวิทยาลยั ตัวบงชี้ท่ี 7.7 : รอยละของงานหลกัท่ีมีการนําผลการประเมินขัน้ตอนการทํางานมาปรับปรุงแกไข (IQA) ชนิดของตัวบงชี ้: ผลผลิต เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

1 - 35.99% 36.00 – 53.99% 54.00 – 71.99% 72.00 – 89.99% 90.00 - 100%

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2554 มีการสํารวจความพึงพอใจของผูใชบริการ มีขอเสนอแนะท่ีจะตองปรับปรุงเพียงประเด็นเดียว คือการประชาสัมพันธขาวสารขอมูลตาง ๆ ใหแกนักศึกษา ซึ่งในปการศึกษา 2555 น้ีไดดําเนินการปรับปรุงแกไขโดยมีการเพ่ิมชองทางในการประชาสัมพันธหลากหลายชองทางมากข้ึน ไดแก e-mail ทางโทรศัพทมือถือ ผานทางประธานนักศึกษา คิดเปนรอยละ 100 ของงานท่ีตองนํามาปรับปรุง นอกจากน้ีจากผลการประเมินคุณภาพในปการศึกษา 2554 ไดนํามาปรับปรุงในปการศึกษา 2555 จํานวน 15 ขอ จากขอเสนอแนะ 16 ขอ คิดเปนรอยละ 93.75 (เอกสาร 7.7-1 ถึง 7.7-4) การบรรลุเปาหมาย บรรลเุปาหมาย เพราะมหาวิทยาลยักําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 7.7 รอยละของงานหลักท่ีมีการนําผลการประเมินข้ันตอนการทํางานมาปรับปรุงแกไข (IQA)” คือ รอยละ 100.00 ของสิ่งท่ีตองปรับปรุง การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง 100.00 %ของสิ่งท่ีตองปรับปรุง 100.00 %ของสิ่งท่ีตองปรับปรุง 5

รายการหลักฐานอางอิง 7.7-1 สรุปผลการประเมนิความพึงพอใจของผูใชบริการบัณฑติวิทยาลยั ปการศึกษา 2554 7.7-2 ข้ันตอนการปฏิบัติงานดานประชาสัมพันธขาวสาร ขอมูลแกนักศึกษา ปการศึกษา 2555 7.7-3 ผลการประเมินคณุภาพภายใน ปการศึกษา 2555 (ขอเสนอแนะ) 7.7-4 สรุปการนําผลการประเมิน ปการศึกษา 2554 มาปรับปรงุในปการศึกษา 2555

Hcu2
Highlight

41

ตัวบงชี้ท่ี 7.8 : หนวยงานมีการประชุมภายในหนวยงาน (IQA) ชนิดของตัวบงชี ้: ผลผลิต เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

1 – 3 ครั้ง/ป 4 – 5 ครั้ง/ป 6 – 7 ครั้ง/ป 8 – 9 ครั้ง/ป 10 - 12 ครั้ง/ป

ผลการดําเนินงาน บัณฑิตวิทยาลัยจัดใหมีการประชุมบุคลากรของหนวยงานเปนประจํา เพ่ือแจงนโยบายและขาวสารตาง ๆ จากท่ีประชุม และเปดโอกาสใหเจาหนาท่ีไดแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน ในปการศึกษา 2555 ไดมีการประชุมท้ังสิ้น 10 ครั้ง (เอกสาร 7.8-1) การบรรลุเปาหมาย บรรลเุปาหมาย เพราะมหาวิทยาลยักําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 7.8 หนวยงานมีการประชุมภายในหนวยงาน (IQA)” ไว คือ 10 ครั้ง/ป การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง 10 ครั้ง/ป 10 ครั้ง/ป 5

รายการหลักฐานอางอิง 7.8-1 รายงานการประชุมบุคลากร บัณฑิตวิทยาลยั ประจําปการศึกษา 2555 ตัวบงชี้ท่ี 7.9 : รอยละของโครงการ/กิจกรรมท่ีมีการพัฒนาบุคลากรตามแผนพัฒนาบุคลากรของหนวยงาน (IQA) ชนิดของตัวบงชี:้ ผลผลิต เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

1 - 35.99% 36.00 – 53.99% 54.00 – 71.99% 72.00 – 89.99% 90.00 – 100.00%

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2555 กําหนดใหมีแผนพัฒนาบุคลากรจํานวน 3 โครงการ ไดแก 1) การอบรมงานดานสารบรรณ 2) การพัฒนาทักษะคอมพิวเตอร 3) การเขารวมอบรมในโครงการท่ีมหาวิทยาลัยดําเนินการจัด และไดมีการมอบหมายงานให เจาหนาท่ีทุกคนเขารวมโครงการพัฒนาบุคลากรอยางนอย 3 ครั้งตอป ซึ่งโครงการท่ีกําหนดในแผนพัฒนาบุคลากรไดดําเนินการครบทุกโครงการ คิดเปนรอยละ 100 และเจาหนาท่ีทุกคนไดรับการอบรมตามแผนท่ีกําหนด 3 ครั้ง/ป (เอกสาร 7.9-1 ถึง 7.9-2) การบรรลุเปาหมาย บรรลุเปาหมาย เพราะมหาวิทยาลัยกําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 7.9 รอยละของโครงการ/กิจกรรมท่ีมีการพัฒนาบุคลากรตามแผนพัฒนาบุคลากรของหนวยงาน (IQA)” คือ รอยละ 90.00

การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง 90.00 % 100.00 % 5

42

รายการหลักฐานอางอิง 7.9-1 แผนพัฒนาบุคลากรบัณฑิตวิทยาลัย 7.9-2 Porfolio ของเจาหนาท่ีบัณฑิตวิทยาลัย ปการศึกษา 2555 (การเขาอบรมเพ่ือพัฒนาทักษะการทํางานของ เจาหนาท่ีครบท้ัง 3 ครั้ง/ป)

ตัวบงชี้ท่ี 7.10 : ระดับความพึงพอใจของผูรับบริการในภาพรวม (ใชคะแนน 5 ระดับ) (IQA) ชนิดของตัวบงชี ้: ผลผลิต เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

ระดับความ พึงพอใจ

มีคะแนนเฉลี่ย อยูระหวาง 1 - 1.99

ระดับความ พึงพอใจ

มีคะแนนเฉลี่ย อยูระหวาง

2.00 – 2.49

ระดับความ พึงพอใจ

มีคะแนนเฉลี่ย อยูระหวาง

2.50 – 2.99

ระดับความ พึงพอใจ

มีคะแนนเฉลี่ย อยูระหวาง

3.00 – 3.50

ระดับความ พึงพอใจ

มีคะแนนเฉลี่ย มากกวาหรือเทากับ

3.51 ผลการดําเนินงาน มีการประเมินความพึงพอใจของผูรับบริการประจําปการศึกษา 2555 จากนักศึกษา อาจารยและเจาหนาท่ี มีผูตอบแบบสํารวจท้ังสิ้น 199 คน พบวามีระดบัความพึงพอใจในภาพรวมเฉลี่ย เทากับ 4.1 (จากสเกล 5) (เอกสาร 7.10-1) การบรรลุเปาหมาย บรรลเุปาหมาย เพราะมหาวิทยาลยักําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 7.10 ระดับความพึงพอใจของผูรับบริการในภาพรวม” คือ คะแนนเฉลี่ย 3.51

การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง

คะแนนเฉลีย่ 3.51 คะแนนเฉลีย่ 4.21 5

รายการหลักฐานอางอิง 7.10-1 ผลการประเมินความพึงพอใจในการใหบริการของบัณฑติวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555

ตัวบงชี้ท่ี 7.11 : มีระบบและกลไกในการควบคุมครุภัณฑสํานักงาน (IQA) ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑการประเมิน : 1 2 3 4 5

มีระบบในการควบคุม ครุภณัฑ

1 + มีการตรวจสอบ ครุภณัฑท่ีหนวยงาน

รับผิดชอบ ปละ 1 ครั้ง

2 + มีการดําเนินงาน ตามระบบ

ควบคุมครภุัณฑ

3 + มีการประเมินการดําเนินงาน

ตามระบบควบคุม ครุภณัฑ

4 + มีการนําผลการ ประเมินไปปรับปรุง

ระบบควบคมุ ครุภณัฑ

ผลการดําเนินงาน มีระบบและกลไกในการควบคุมครุภัณฑสํานักงานตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด โดยกําหนดกิจกรรมควบคุมครภุัณฑและมอบหมายใหคณุนิภาพร วงษเทศ และคณุยุพดี ทองใบศรี เปนผูรับผดิชอบในการควบคมุดูแลครุภณัฑของบัณฑติวิทยาลัย มีการสํารวจครุภณัฑและสงขอมูลตอกองพัสดุ เพ่ือรับทราบ มีการประเมินผลการดําเนินงาน และเห็นวาระบบควบคุมครุภณัฑท่ีกําหนดใชไดผลดีอยูแลว จึงไมตองปรับปรุง (เอกสาร 7.11-1 ถึง 7.11-4)

Hcu2
Highlight

43

การบรรลุเปาหมาย บรรลเุปาหมาย เพราะมหาวิทยาลยักําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 7.11 มีระบบและกลไกในการควบคุมครุภณัฑสํานักงาน (IQA)” ไวท่ีเกณฑประเมินระดับ 5 การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมินตนเอง เกณฑประเมิน ระดับ 5 ระดับ 5 5

รายการหลักฐานอางอิง 7.11-1 ระบบการควบคุมครุภณัฑของมหาวิทยาลัย 7.11-2 รายงานการประชุมบุคลากร เรื่อง การมอบหมายผูรบัผิดชอบควบคมุดูแลครุภณัฑ 7.11-3 บันทึกจากกองพัสด ุ เรื่อง แจงรายการครภุัณฑบัณฑิตวิทยาลัย 7.11-4 บันทึกจากบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง แจงรายการครุภณัฑบัณฑิตวิทยาลัย ตัวบงชี้ท่ี 7.12 : มีระบบและกลไกในการควบคุมวัสดุสํานกังาน (IQA) ชนิดของตัวบงชี้ : กระบวนการ เกณฑการประเมิน : 1 2 3 4 5

มีระบบ ในการควบคุม การเบิกจาย วัสดุสํานักงาน

1 + มีทะเบียนควบคุม การใชงบประมาณ ดานวัสดสุํานักงาน

ใหเปนไปตาม งบประมาณ

ท่ีไดรับจดัสรร

2 + มีการดําเนินงาน ตามระบบการควบคุม

การเบิกจาย วัสดุสาํนักงาน

3 + มีการประเมินผล

การดําเนินงานตาม ระบบควบคมุ วัสดุสาํนักงาน

4 + มีการนําผล การประเมินไป ปรับปรุงระบบ

ผลการดําเนินงาน มีระบบและกลไกในการควบคุมวัสดสุํานักงาน โดยกําหนดกิจกรรมแผนงานควบคุมวัสดุสํานักงานและมอบหมายใหคุณนิภาพร วงษเทศและคุณยุพดี ทองใบศรี เปนผูรับผิดชอบในการควบคุมดูแล มีการจัดทําข้ันตอนการควบคุมการเบิก-จายวัสดุสํานักงาน มีทะเบียนควบคุมการใชงบประมาณ เพ่ือเปนการควบคุมการเบิก-จายใหเปนไปตามงบประมาณท่ีไดรับจัดสรร ในปการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณหมวดวัสดุสํานักงานใหแกบัณฑิตวิทยาลัยเปนจํานวนเปนท้ังสิ้น 20,000 บาท มีการแจงใหบุคลากรรับทราบจัดสรรงบประมาณและใหดําเนินการควบคุมการเบิก-จายตามงบประมาณท่ีไดรับจัดสรร โดยเนนการประหยัด คุมคาคมทุน เมื่อสิ้นปการศึกษามีการใชงบประมาณเปนจํานวนเงิน 19,972.90 บาท ซึ่งอยูในงบท่ีไดรับจัดสรร มีการประเมินผลการดําเนินงาน และเห็นวาการดําเนินงานตามข้ันตอนการปฏิบัติ ดําเนินการไดเปนระบบดีอยูแลว ดังน้ัน จึงไมมีสิ่งท่ีตองปรับปรุง (เอกสาร 7.12-1 ถึง 7.12-5)

การบรรลุเปาหมาย บรรลเุปาหมาย เพราะมหาวิทยาลัยกําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 7.12 มีระบบและกลไกในการควบคุมวัสดุสํานักงาน (IQA)” ไวท่ีเกณฑประเมินระดับ 5

การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมินตนเอง เกณฑประเมิน ระดับ 5 ระดับ 5 5

Hcu2
Highlight

44

รายการหลักฐานอางอิง 7.12-1 แผนงานการควบคุมวัสดสุํานักงาน 7.12-2 ข้ันตอนการควบคุมการเบิก-จายวัสดสุํานักงาน 7-12-3 ทะเบียนควบคมุการใชงบประมาณวัสดุสาํนักงาน 7.12-4 รายงานการประชุมบุคลากร เรื่อง แจงการจัดสรรงบประมาณ ประจาํปการศึกษา 2555 7.12-5 รายงานการประชุมบุคลากร เรื่อง สรุปผลการดําเนินการควบคุมวัสดสุํานักงาน

สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบงชี้คุณภาพ คะแนนอิงมาตรฐาน

7.1 5 7.2 3 7.3 2 7.4 5 7.5 5 7.6 5 7.7 5 7.8 5 7.9 5 7.10 5 7.11 5 7.12 5

ผลการประเมินตนเองเฉลี่ย 4.58

45

องคประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ (1 ตัวบงชี้) ระบบและกลไก มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติมีระบบบริหารการเงินแบบรวมศูนย ในสวนหนวยงาน บัณฑิตวิทยาลัยโดยคณบดี เลขานุการและเจาหนาท่ีทุกคน มีสวนรวมในการจัดทําคําของบประมาณประจําป ตามแผนกลยุทธ 5 ป (2555-2559) โดยยึดหลักในการประหยัด คุมคา คุมทุน จากน้ันนําคําของบประมาณ เสนอตอมหาวิทยาลัยผานกองแผนและพัฒนา กองแผนและพัฒนาจะทําการแจงผลการจัดสรรงบประมาณมายังบัณฑิตวิทยาลัย บัณฑิตวิทยาลัยไดทําการแจงใหบุคลากรทราบและมอบหมายใหผูท่ีเก่ียวของรับไปดําเนินการจัดการตามระเบียบของมหาวิทยาลัย เมื่อไดดําเนินการเสร็จสิ้นแลวมีการรายงานผลการดําเนินการ วิเคราะหความเหมาะสมและความคุมคาของการใชงบประมาณ

ตัวบงชี้ ชนิดตัวบงชี ้

เปาหมาย เกณฑประเมิน

1 2 3 4 5

8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ (สกอ.)

P มีการ

ดําเนินการ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ 2 หรือ 3

ขอ

มีการดําเนินการ 4 หรือ 5

ขอ

มีการดําเนินการ

6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 ขอ

เกณฑประเมินตัวบงชี้ท่ี 8.1 (ขอ) 1. มีแผนกลยุทธทางการเงินท่ีสอดคลองกับแผนกลยุทธของหนวยงาน 2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน หลักเกณฑการจัดสรร และการวางแผนการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได 3. มีงบประมาณประจําปท่ีสอดคลองกับแผนปฏิบัติการในแตละพันธกิจและการพัฒนาหนวยงาน และบุคลากร 4. มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ และรายงานตอมหาวิทยาลัย อยางนอยปละ 2 ครั้ง 5. มีการนําขอมลูทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และวิเคราะหสถานะทางการเงินและความมัน่คงของหนวยงานอยางตอเน่ือง 6. มีหนวยงานตรวจสอบภายในมหาวิทยาลัย ทําหนาท่ีตรวจ ติดตามการใชเงินใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑท่ีมหาวิทยาลัย กําหนด 7. ผูอํานวยการ/คณะกรรมการบริหารหนวยงานมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนําขอมูลจากรายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจ เกณฑการประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5

มีการดําเนินการ 1 ขอ

มีการดําเนินการ 2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ 4 หรือ 5 ขอ

มีการดําเนินการ 6 ขอ

มีการดําเนินการ 7 ขอ

ผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2555 มีผลการดําเนินงาน 7 ขอ ตามเกณฑมาตรฐาน สกอ. ดังน้ี 1. มีแผนกลยุทธทางการเงินท่ีสอดคลองกับแผนกลยุทธของหนวยงาน

มีแผนกลยุทธทางการเงิน สอดคลองตามภารกิจทุกพันธกิจหลัก (เอกสาร 8.1-1 ถึง 8.1-2) รายการหลักฐานอางอิง 8.1-1 แผนกลยุทธ บัณฑิตวิทยาลัย 5 ป (2555-2559) (แผนการเงิน) 8.1-2 คําของบประมาณประจําป 2555

46

2. มีแนวทางจัดหาทรัพยากรทางดานการเงิน หลักเกณฑการจัดสรร และการวางแผนการใชเงินอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได ในปการศึกษา 2555 บัณฑิตวิทยาลัยไดรับจัดสรรงบประมาณ 2 สวน คือ 1) งบประมาณประจําปครอบคลุมทุกงานหลัก จํานวนเงิน 141,000 บาท 2) งบคากิจกรรมพิเศษ สําหรับกิจกรรมพัฒนานักศึกษา จํานวน 69,508 บาท มีการใชงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบไดตามหลักเกณฑการใชเงินของมหาวิทยาลัย มีสํานักงานตรวจสอบภายในเปนหนวยงานกลางทําหนาท่ีตรวจสอบสถานการณทางการเงินตามท่ีกําหนด (เอกสาร 8.1-3 ถึง 8.1-5) รายการหลักฐานอางอิง 8.1-3 งบประมาณท่ีไดรับการจัดสรรจากมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555 8.1-4 งบคาธรรมเนียมพิเศษ ปการศึกษา 2555 8.1-5 บันทึกการขอเขาตรวจสอบของสํานักงานตรวจสอบภายใน

3. มีงบประมาณประจําปท่ีสอดคลองกับแผนปฏิบัติการในแตละพันธกิจและการพัฒนาหนวยงานและบุคลากร

ปการศึกษา 2555 ไดรับการจัดสรรงบประมาณประจําปจากมหาวิทยาลัย เปนจํานวนเงิน 141,000 บาท และงบคากิจกรรมพิเศษ สําหรับกิจกรรมพัฒนานักศึกษา จํานวน 69,508 บาท ซึ่งครอบคลุมทุกพันธกิจหลัก ทําใหการดําเนินงานบรรลุตามเปาหมายท่ีกําหนดไว (เอกสาร 8.1-6) รายการหลักฐานอางอิง 8.1-6 งบประมาณบัณฑิตวิทยาลัย ประจําป 2555 / งบคาธรรมเนียมพิเศษ ปการศึกษา 2555 4. มีการจัดทํารายงานทางการเงินอยางเปนระบบ และรายงานตอมหาวิทยาลัยอยางนอยปละ 2 คร้ัง

มีจัดทํารายงานทางการเงิน และรายงานงบประมาณรายรับ คาใชจาย งบประมาณประจําป อยางเปนระบบ ทุก 3 เดือน โดยกองแผนและพัฒนา และรายงานทางการเงินของงบคากิจกรรมพิเศษโดยกองคลัง เพ่ือท่ีบัณฑิตวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยไดรับทราบสถานะทางการเงิน (เอกสาร 8.1-7 ถึง 8.1-8) รายการหลักฐานอางอิง 8.1-7 รายงานการเบิกจายงบประมาณ จากกองแผนและพัฒนา ทุก 3 เดือน 8.1-8 รายงานแจงยอดเงินท่ีไดรับจัดสรรคากิจกรรมพิเศษ จากกองคลัง 5. มีการนําขอมูลทางการเงินไปใชในการวิเคราะหคาใชจาย และวิเคราะหสถานะทางการเงินและความมั่นคงของ

หนวยงานอยางตอเนื่อง มีการนําขอมูลจากรายงานงบประมาณรายรับ คาใชจายและงบดุลทุก 3 เดือน จากกองแผนและพัฒนา มาวิเคราะหวา

ไดใชเงินตามแผนหรือไมและไดใชเงินกับกิจกรรมใด มีผลลัพธจากการทํางานอยางไรบาง มีงบประมาณเหลือจายในแตละแผนเทาไร (เอกสาร 8.1-9) รายการหลักฐานอางอิง 8.1-9 รายงานการประชุมบุคลากร เรื่อง การดําเนินงานตามงบประมาณประจําป (รายรับ คาใชจายและงบดุลทุก 3 เดือน จากกองแผนและพัฒนา) 6. มีหนวยงานตรวจสอบภายในมหาวิทยาลัย ทําหนาท่ีตรวจ ติดตามการใชเงินใหเปนไปตามระเบียบและกฎเกณฑท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด

มหาวิทยาลัยมีการแตงตั้งสํานักงานตรวจสอบภายใน เพ่ือทําหนาท่ีตรวจสอบการดําเนินการของหนวยงาน โดยจะกําหนดตรวจสอบตามกรอบเวลาท่ีกําหนด (เอกสาร 8.1-10) รายการหลักฐานอางอิง 8.1-10 บันทึกแจงกําหนดการการขอเขาตรวจสอบของสํานักงานตรวจสอบภายใน

47

7. ผูอํานวยการ/คณะกรรมการบริหารหนวยงานมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนําขอมูลจากรายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจ คณบดีมีการติดตามผลการใชเงินใหเปนไปตามเปาหมาย และนําขอมูลจากรายงานทางการเงินไปใชในการวางแผนและการตัดสินใจในการของบประมาณในปการศึกษาถัดไป (เอกสาร 8.1-11 ถึง 8.1-12) รายการหลักฐานอางอิง 8.1-11 รายงานการประชุมบุคลากร เรื่อง ผลการใชงบประมาณปการศึกษา 2555 และการจัดสรรงบประมาณ ปการศึกษา 2556 8.1-12 รายงานแจงยอดเงินท่ีไดรับจัดสรรคากิจกรรมพิเศษ จากกองคลัง การบรรลุเปาหมาย บรรลเุปาหมาย เพราะแผนก/สาขาวิชา/คณะวิชา/ มหาวิทยาลัยกําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ (สกอ.)” ไวท่ีมีการดําเนินการ 5 ขอ ตามเกณฑประเมิน สกอ. และคณะวิชา/ มหาวิทยาลยั สามารถดําเนินการตามเกณฑประเมิน การประเมินตนเอง

เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง มีการดําเนินการ 5 ขอ ดําเนินการ 7 ขอ 5

สรุปผลการประเมินตนเอง

ตัวบงชี้คุณภาพ คะแนนอิงมาตรฐาน 8.1 5

ผลการประเมินตนเองเฉลี่ย 5

48

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ (1 ตัวบงชี้) ระบบและกลไก

บัณฑิตวิทยาลัยกําหนดนโยบาย และแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพและเจาหนาท่ีประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือดําเนินการจัดทําระบบประกันคุณภาพ พิจารณาตัวบงช้ีคุณภาพและเกณฑการประเมินคุณภาพท่ัวไป (Common indicator) มีการกําหนดตัวบงช้ีคุณภาพและเกณฑการประเมินคุณภาพเฉพาะ (Specific indicator) ท่ีเปนอัตลักษณของบัณฑิตวิทยาลัย มีการดําเนินการประกันคุณภาพ ติดตามและประเมินผลการดําเนินการ มีการรวบรวมผลการดําเนินงานและจัดทําเปนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report; SAR) นําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงในปการศึกษาตอไป

ตัวบงชี้ ชนิด ตัวบงชี ้

เปาหมาย เกณฑประเมิน

1 2 3 4 5

9.1 ระบบและกลไก การประกัน คุณภาพการศึกษา ภายใน (สกอ.)

P มีการ

ดําเนินการ 5 ขอ

มีการดําเนินการ

1 ขอ

มีการดําเนินการ

2 หรือ 3 ขอ

มีการดําเนินการ 4 หรือ 5 หรือ 6 ขอ

มีการดําเนินการ

7 หรือ 8 ขอ

มีการดําเนินการ

9 ขอ

เกณฑประเมินตัวบงชี้ท่ี 9.1 (ขอ) 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการบริหารงานท่ัวไปภายในท่ีเหมาะสมและสอดคลองกับพันธกิจและพัฒนาการของหนวยงาน ตั้งแตระดับแผนกหรือหนวยงานเทียบเทาและดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด 2. มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเรื่องการประกันคุณภาพการบริหารงานท่ัวไปภายใน โดยคณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของหนวยงาน 3. มีการกําหนดตัวบงช้ีเฉพาะเพ่ิมเติมตามลักษณะงานของหนวยงาน 4. มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพการบริหารงานท่ัวไปภายในท่ีครบถวน ประกอบดวย 1) การควบคุม ติดตามการดําเนินงาน และประเมินคุณภาพ 2) การจัดทํารายงาน ประจําป ท่ีเปนรายงานประเมินคุณภาพเสนอตอมหาวิทยาลัยและสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามกําหนดเวลา โดยเปนรายงานท่ีมีขอมูลครบถวนตามท่ีสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนดใน CHE QA Online และ 3) การนําผลการประเมินคุณภาพไปทําแผนการพัฒนาคุณภาพการบริหารงานท่ัวไปของหนวยงาน 5. มีการนําผลการประกันคุณภาพการบริหารงานท่ัวไปภายในมาปรับปรุงการทํางาน และสงผลใหมีการพัฒนาผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีของแผนกลยุทธทุกตัวบงช้ี 6. มีระบบสารสนเทศท่ีใหขอมูลสนับสนุนการประกันคุณภาพการบริหารงานท่ัวไปภายในครบทุกองคประกอบคุณภาพ 7. มีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียในการประกันคุณภาพการบริหารงานท่ัวไป โดยเฉพาะนักศึกษา ผูใชบัณฑิต และผูใชบริการตามพันธกิจของหนวยงาน 8. มีเครือขายการแลกเปลี่ยนเรียนรูดานการประกันคุณภาพการบริหารงานท่ัวไประหวางหนวยงานภายในมหาวิทยาลัยหรือภายนอกมหาวิทยาลัย และมีกิจกรรมรวมกัน 9. มีแนวปฏิบัติท่ีดีหรืองานวิจัยดานการประกันคุณภาพการบริหารงานท่ัวไปท่ีหนวยงานพัฒนาข้ึน และเผยแพรใหหนวยงานอ่ืนสามารถนําไปใชประโยชน ผลการดําเนินการ ในปการศึกษา 2555 มีการดําเนินการ 7 ขอ ตามเกณฑ สกอ. ดังน้ี 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการบริหารงานท่ัวไปภายในท่ีเหมาะสมและสอดคลองกับพันธกิจและพัฒนาการของหนวยงาน ต้ังแตระดับแผนกหรือหนวยงานเทียบเทาและดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในท่ีเหมาะสม และสอดคลองกับพันธกิจและระดับการพัฒนาบัณฑิตวิทยาลัย มีการแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพ เพ่ือดําเนินการจัดทําระบบประกันคุณภาพ ทําหนาท่ีขับเคลื่อน

49

งานประกันคุณภาพใหดําเนินการไปอยางตอเน่ืองเปนประจําทุกปตามระบบ PDCA มีการจัดทําแผนประกันคุณภาพ มีการประชุมหารืออยางตอเน่ือง ติดตามและประเมินผลการดําเนินการ รวบรวมผลการดําเนินงานจัดทําเปนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report; SAR) และนําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการดําเนินการประกันคุณภาพ ในปการศึกษาตอไป (เอกสาร 9.1-1 ถึง 9.1-2) รายการหลักฐานอางอิง 9.1-1 คําสั่งแตงตั้งบัณฑติวิทยาลัย เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการประกันคณุภาพ 9.1-2 แผนกปฏิบัติการประจําป บัณฑิตวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555 2. มีการกําหนดนโยบายและใหความสําคัญเร่ืองการประกันคุณภาพการบริหารงานท่ัวไปภายใน โดยคณะกรรมการระดับนโยบายและผูบริหารสูงสุดของหนวยงาน บัณฑิตวิทยาลัยไดใหความสําคัญเรื่องการประกันคุณภาพมาโดยตลอด โดยมีคณะกรรมการประกันคุณภาพรับผิดชอบพิจารณาตัวบงช้ีคุณภาพและเกณฑการประเมินคุณภาพท่ัวไปของมหาวิทยาลัย ตัวบงช้ีคุณภาพและเกณฑการประเมินคุณภาพเฉพาะ มีการกําหนดผูรับผิดชอบตัวบงช้ีคุณภาพแตละตัวบงช้ี จากน้ันคณบดีมอบนโยบายแกเจาหนาท่ี และกํากับ ติดตาม ประเมินผลการนําแผนไปสูการปฏิบัติโดยเทียบกับเปาหมายของแตละตัวบงช้ี และประสานงานกับหนวยประกันคุณภาพ กองแผนและพัฒนา ท่ีมีหนาท่ีรับผิดชอบการประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย (เอกสาร 9.1-3 ถึง 9.1-4) รายการหลักฐานอางอิง 9.1-3 คําสั่งแตงตั้งบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการประกันคณุภาพ 9.1-4 รายงานการประชุมบุคลากรบัณฑตฺวิทยาลัย เรื่อง การพิจารณาตัวบงช้ีเกณฑประเมินคุณภาพภายใน และผูรับผิดชอบ ประจําปการศึกษา 2555 3. มีการกําหนดตัวบงชี้เฉพาะเพ่ิมเติมตามลักษณะงานของหนวยงาน มีการกําหนดตัวบงช้ีเฉพาะเพ่ิมเติมตามลักษณะงานของบัณฑิตวิทยาลัย 1 ตัวบงช้ี คือ ขอ 2.2.1 ซึ่งสอดคลองกับภารกิจของบัณฑิตวิทยาลัย รวมท้ังสิ้น 19 ตัวบงช้ี (เอกสาร 9.1-5) รายการหลักฐานอางอิง 9.1-5 บันทึกขอความ เรื่องตัวบงช้ีคุณภาพและเกณฑประเมินคุณภาพภายใน ปการศึกษา 2555 (ตัวบงช้ีเฉพาะ) 4. มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพการบริหารงานท่ัวไปภายในท่ีครบถวน ประกอบดวย 1) การควบคุม ติดตามการดําเนินงาน และประเมินคุณภาพ 2) การจัดทํารายงาน ประจําป ท่ีเปนรายงานประเมินคุณภาพเสนอตอมหาวิทยาลัยและสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามกําหนดเวลา โดยเปนรายงานท่ีมีขอมูลครบถวนตามท่ีสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนดใน CHE QA Online และ 3) การนําผลการประเมินคุณภาพไปทําแผนการพัฒนาคุณภาพการบริหารงานท่ัวไปของหนวยงาน มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพภายในท่ีครบถวน ท้ังการควบคุมคุณภาพ การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพอยางตอเน่ืองเปนประจํา ประกอบดวย

4.1 การพัฒนาและการควบคุมคุณภาพ โดยมีการประชุมพิจารณาวิสัยทัศน กลยุทธ ไปสูการปฏิบัติ ผานโครงการ กิจกรรม มีการควบคุมคุณภาพ มีการวัดและประเมินผลตามตัวช้ีวัดความสําเร็จ (เอกสาร 9.1-6 ถึง 9.1-7)

4.2 การตรวจติดตามคุณภาพ ตั้งแตการกําหนดนโยบายใหผูรับผิดชอบแตละโครงการ วัดและประเมินผลงานทุก 6 เดือน (เอกสาร 9.1-8 ถึง 9.1-9)

4.3 การรวบรวมผลการดําเนินงานประจําป และจัดทําเปนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report; SAR) ท่ีมีขอมูลครบถวนตามท่ีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด เสนอตอมหาวิทยาลัย มีการประเมินคุณภาพโดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน และรายงานผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตอหนวยงานท่ีเก่ียวของ โดยดําเนินการอยางตอเน่ืองเปนประจําทุกป มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพในปการศึกษาถัดไป (เอกสาร 9.1-10 ถึง 9.1-11)

50

รายการหลักฐานอางอิง 9.1-6 แผนกลยุทธ บัณฑิตวิทยาลัย 5 ป (2555-2559) 9.1-7 แผนปฏิบัติการ บัณฑิตวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555 9.1-8 ประเมินผลดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ บัณฑิตวิทยาลัย 6 เดือนแรก (เดือนมิถุนายน-เดือนพฤศจิกายน 2555) 9.1-9 ประเมินผลดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการ บัณฑิตวิทยาลัย ประจําป 2555 (เดือนมิถุนายน 2555-เดือนพฤษภาคม 2556) 9.1-10 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารบัณฑิตวิทยาลัย เรื่องการนําผลการประเมินป 2554 มาปรับปรุง 9.1-11 รายงานการประชุมบุคลากรบัณฑติวิทยาลยั เรื่องการนําผลการประเมินป 2554 มาปรับปรุง 5. มีการนําผลการประกันคุณภาพการบริหารงานท่ัวไปภายในมาปรับปรุงการทํางาน และสงผลใหมีการพัฒนาผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ของแผนกลยุทธทุกตัวบงชี้ มีการนําผลจากการประกันคุณภาพจากปการศึกษา 2554 มาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงาน ในปการศึกษา 2555 (เอกสาร 9.1-12 ถึง 9.1-13) รายการหลักฐานอางอิง 9.1-12 รายงานการประเมินคณุภาพภายใน โดยคณะกรรมการประเมินคณุภาพภายใน ปการศึกษา 2554 9.1-13 แผนปฏิบัติการ บัณฑติวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555 (การนําผลการประเมินมาปรับปรงุ) 6. มีระบบสารสนเทศท่ีใหขอมูลสนับสนุนการประกันคุณภาพการบริหารงานท่ัวไปภายในครบทุกองคประกอบคุณภาพ มหาวิทยาลัยไดจัดทําระบบฐานขอมูลและสารสนเทศ MIS ซึ่งเปนระบบเครือขายดานการประกันคุณภาพภายในมหาวิทยาลัย ท่ีสามารถใชรวมกันได (เอกสาร 9.1-14) รายการหลักฐานอางอิง 9.1-14 ระบบฐานขอมูล MIS & QA HCU (http://mis.hcu.ac.th/) 7. มีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียในการประกันคุณภาพการบริหารงานท่ัวไป โดยเฉพาะนักศึกษา ผูใชบัณฑิต และผูใชบริการตามพันธกิจของหนวยงาน ในปการศึกษา 2555 ไดสงเสริมและเปดโอกาสใหใหนักศึกษา อาจารย และบุคลาการของคณะ รวมท้ังผูมีสวนไดสวนเสีย ไดแก ผูใชบัณฑิต ไดเขามามีสวนรวมในกระบวนการประกันคุณภาพ ดังน้ี 1) มีการสํารวจคุณลักษณะท่ีพึงประสงคและประเมินความพึงพอใจผูใชบัณฑิต เพ่ือนําขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชนจากกลุมของผูใชบัณฑิต เก่ียวกับบัณฑิตท่ีพึงประสงค มาเปนแนวทางในการปรับปรุงหลักสูตรตอไป 2) มีการประเมินการสอนของอาจารย เปนรายบุคคล เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน 3) มีการประเมนิความพึงพอใจผูใชบริการบัณฑิตวิทยาลัย และนักศึกษาในกิจกรรมพัฒนานักศึกษา เพ่ือนําผลการประเมินมาปรับปรุง (เอกสาร 9.1-15 ถึง 9.1-18) รายการหลักฐานอางอิง 9.1-15 รายงานสรุปสํารวจคุณลักษณะท่ีพึงประสงค และความพึงพอใจผูใชบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาปการศึกษา 2553-2554 9.1-16 รายงานผลประเมินการสอนของอาจารยเปนรายบุคคล ปการศึกษา 2555 9.1-17 สรุปการประเมินความพึงพอใจผูใชบริการบัณฑิตวิทยาลัย ปการศึกษา 2555 9.1-18 สรุปโครงการ/กิจกรรมพัฒนานักศึกษาประจําปการศึกษา 2555

การบรรลุเปาหมาย บรรลุเปาหมาย เพราะแผนก/สาขาวิชา/คณะวิชา/ มหาวิทยาลัยกําหนดเปาหมายของ “ตัวบงช้ีท่ี 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (สกอ.)” ไวท่ีมีการดําเนินการ 5 ขอ ตามเกณฑประเมิน สกอ. และคณะวิชา/ มหาวิทยาลัย สามารถดําเนินการตามเกณฑประเมิน

51

การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนท่ีประเมนิตนเอง

มีการดําเนินการ 5 ขอ ดําเนินการ 7 ขอ 4 สรุปผลการประเมินตนเอง

ตัวบงชี้คุณภาพ คะแนนอิงมาตรฐาน 9.1 4

ผลการประเมินตนเองเฉลี่ย 4

สวนท่ี 3 สรุปผลการดําเนินงานและแนวทางการพัฒนาคุณภาพ

องคประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินการ สรุปผลการดําเนินการ

บัณฑิตวิทยาลัยไดจดัทําแผนกลยทุธ 5 ป (2555-2559) แผนปฏิบัติการประจาํป 2555 สอดคลองกับแผนมหาวิทยาลัย มีการกําหนดตัวบงช้ีของแผนกลยุทธ แผนปฏิบัติการประจาํป และคาเปาหมายของแตละตัวบงช้ี มีการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจําปครบตามทุกพันธกิจ มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตวับงช้ีของแผนปฏิบัติการประจําป ปละ 2 ครั้ง มีการประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงช้ีของแผนกลยุทธ มกีารนําผลการพิจารณา ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะของมหาวิทยาลัยไปปรับปรุงแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการประจําป 2556

สรุปผลการประเมินคุณภาพของการดําเนินการขององคประกอบท่ี 1 โดยสรุปการดําเนินงานในองคประกอบท่ี 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินการ อยูใน

ระดับดีมาก (คะแนนเฉลี่ย 5.00) จุดเดน - จุดท่ีควรปรับปรุง -

แนวทางการพัฒนา 1. พัฒนางานสนับสนุนการวิจัยอาจารยและนักศึกษา 2. สงเสริม สนับสนุนการตีพิมพเผยแพรของนักศึกษา

องคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑติ สรุปผลการดําเนินการ

บัณฑิตวิทยาลัยมีระบบและกลไกในการเปด การปดหลักสูตร การประเมินคุณภาพ การประเมินหลักสูตรและ

การปรับปรุงหลักสูตร ภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการหลักสูตรบัณฑิตศึกษาประจําคณะ คณะกรรมการบริหาร

บัณฑิตวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารวิชาการ คณะกรรมการบริหารสภามหาวิทยาลัย และคณะกรรมการสภา

มหาวิทยาลัย ตามแนวปฏิบัติท่ีสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด หลักสูตรท้ัง 15 หลักสูตรท่ีเปดสอน ทุก

หลักสูตรมีคุณภาพไดมาตรฐานตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติรวมท้ังสภาวิชาชีพ ไดแก สภาการพยาบาล นอกจากน้ียังมีระบบและกลไกสงเสริมการพัฒนา

สัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต โดยมีการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตท่ีพึงประสงคตามความตองการ

ของผูใชบัณฑิต การสํารวจภาวะมีงานทําและความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต เพ่ือเปนขอมูลใหแกหลักสูตรในการพัฒนา

คุณภาพบัณฑิตและมีการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา

ผลการสํารวจความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษา ในปการศึกษา 2553 มีระดับคะแนนความพึง

พอใจเฉลี่ยรวมทุกหลักสูตร เทากับ 4.34 บัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษา ในปการศึกษา 2554 มีระดับคะแนนเฉลี่ยความ

พึงพอใจรวมทุกหลักสูตร เทากับ 4.1 รวมท้ัง 2 ปการศึกษา เฉลี่ยเทากับ 4.2 และในปการศึกษา 2555 มีบัณฑิตท่ี

สําเร็จการศึกษา จํานวน 71 คน มผีลงานของผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทท่ีไดรับการตีพิมพหรือเผยแพรจํานวน

66 เรื่อง และตีพิมพเผยแพรปการศึกษา 2555 จํานวน 42 เรื่อง คิดเปนคาถวงนํ้าหนักเทากับ 20 เทียบเปนรอยละ

เทากับ 28.17 คิดเปน 5 คะแนน มีการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาเพ่ือสงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงค

จํานวน 10 กิจกรรม สรุปผลการประเมินคุณภาพของการดําเนินการขององคประกอบท่ี 2 โดยสรุปการดําเนินงานในองคประกอบท่ี 2 การผลิตบัณฑติ อยูในระดับ ดีมาก (คะแนนเฉลีย่ 4.8)

53

จุดเดน การเปดหลักสูตรในระดับบัณฑติศกึษาทุกหลักสูตรเปนหลักสตูรท่ีเปนท่ีตองการของสังคม ไดแก หลักสตูรทางดานจีนศึกษา จุดท่ีควรปรับปรุง

1. สงเสรมิสนับสนุนใหนักศึกษา แผน ข การศึกษาอิสระ ตีพิมพผลงานเผยแพรใหมากข้ึน 2. สงเสรมิสนับสนุนใหนักศึกษาตีพิมพผลงานในวารสารวิชาการระดับชาติ นานาชาติใหมากข้ึน แนวทางการพัฒนา

1. การตีพิมพเผยแพรผลงานทางวิชาการของนักศึกษาโดยเฉพาะแผน ข การศึกษาอิสระ ควรเปนเง่ือนไขการสําเร็จการศึกษา

2. สรางเครือขายกับองคกรภายนอกในการจัดสัมมนาวิชาการระดับชาติ เพ่ือเผยแพรผลงานทางวิชาการของนักศึกษา

องคประกอบท่ี 7 การบริหารและการจัดการ สรุปผลการดําเนินการ บัณฑิตวิทยาลัยเปนหนวยงานขนาดเล็ก มีการบริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาล มีวิสัยทัศน กําหนดทิศทางการดําเนินงาน มีการกํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน โดยคํานึงถึงประโยชนของผูมีสวนไดสวนเสียและมหาวิทยาลัย มีนําผลการประเมินไปปรับปรุงการบริหารงาน ในดานการพัฒนาบัณฑิตวิทยาลัยไดเริ่มตนมุงสูองคกรแหงการเรียนรู เริ่มมีการพัฒนาฐานขอมูลเพ่ือการตัดสินใจ มีการบริหารความเสี่ยง มีการกําหนดภาระงานของเจาหนาท่ีอยางชัดเจน มีการพัฒนาทักษะบุคลากรเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการทํางาน สรุปผลการประเมินคุณภาพของการดําเนินการขององคประกอบท่ี 7 โดยสรุปการดําเนินงานในองคประกอบท่ี 7 การบรหิารและการจัดการ อยูในระดับ ดีมาก (คะแนนเฉลี่ย 4.58) จุดเดน - จุดท่ีควรปรับปรุง 1. การพัฒนาสูองคกรแหงการเรียนรู 2. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจของบัณฑติวิทยาลัย แนวทางการพัฒนา

1. ดําเนินการจัดการความรู 2. ประสานงานกับศูนยคอมพิวเตอร เพ่ือเรงรัดการจัดทําระบบสารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจของบัณฑิตวิทยาลัย

องคประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ สรุปผลการดําเนินการ

บัณฑิตวิทยาลัยไดดําเนินการจัดทําคําของบประมาณประจําปครอบคลุมแผนงานหลักท้ังหมด เสนอตอมหาวิทยาลัยผานกองแผนและพัฒนา เมื่อมหาวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณ บัณฑิตวิทยาลัยจะมีการใชงบประมาณตามแผนงานประจําป โดยมีการดําเนินการเสนอขออนุมัติจัดโครงการ/กิจกรรม มีการสรุปโครงการตอกองคลัง การดําเนินการจะเนนการประหยัด คุมคาคุมทุน โปรงใส ตรวจสอบไดและเกิดประโยชนสูงสุด มีการสรุปคาใชจายงบประมาณทุก 3 เดือนโดยกองแผนและพัฒนา สรุปผลการประเมินคุณภาพของการดําเนินการขององคประกอบท่ี 8 โดยสรุปการดําเนินงานในองคประกอบท่ี 8 การเงินและงบประมาณ อยูในระดับ ดีมาก (คะแนนเฉลี่ย 5.00) จุดเดน - จุดท่ีควรปรับปรุง -

แนวทางการพัฒนา -

54

องคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ สรุปผลการดําเนินการ

บัณฑิตวิทยาลัยมีคณะกรรมการประกันคุณภาพ กําหนดตัวบงช้ีคุณภาพและดําเนินการประกันคุณภาพตามระบบและกลไกการประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย มีการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลกการประกันคุณภาพอยางตอเน่ือง มีการนําผลการประเมินมาปรับปรุง สรุปผลการประเมินคุณภาพของการดําเนินการขององคประกอบท่ี 9 โดยสรุปการดําเนินงานในองคประกอบท่ี 9 ระบบและกลไกการประกันคณุภาพ อยูในระดับ ดี (คะแนนเฉลี่ย 4.00) จุดเดน - จุดท่ีควรปรับปรุง 1. ควรมีแนวปฏิบัติท่ีดี (Best practice) ในการประกันคุณภาพ 2. ควรสรางเครือขายการประกันคุณภาพกับองคกรภายนอก แนวทางการพัฒนา 1. พัฒนาแนวปฏิบัติท่ีดีในการประกันคุณภาพ 2. เพ่ิมโครงการเครือขายแลกเปลี่ยนเรียนรูงานดานประกันคุณภาพการศึกษากับภายนอกสถาบัน สรุปผลการประเมินคุณภาพ รายองคประกอบคุณภาพ (19 ตัวบงชี)้

องคประกอบ คาคะแนน คาคะแนนเฉลี่ย ผลการประเมินตนเอง 1 5 5 ดีมาก 2 4.8 ดีมาก

2.1.1 5 2.2.1 5

ตัวบงช้ี ๒ (สมศ.) 4.2 ตัวบงช้ี ๓ (สมศ.) 5

7 4.58 ดีมาก 7.1 5 7.2 3 7.3 2 7.4 5 7.5 5 7.6 5 7.7 5 7.8 5 7.9 5 7.10 5 7.11 5 7.12 5 8 5 5 ดีมาก 9 4 4 ดี

เฉลี่ยทุกตัวบงชี้ 4.64 4.64 ดีมาก