37
คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา Ver. 1.0 บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 887361 Digital Media Production

Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา

Ver. 1.0

บทที่ 4 การเขียนบท

Script Writing

887361 Digital Media Production

Page 2: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

2 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

การพัฒนาความคิด หลักการคิด-การเขียนพล็อตเรื่องนิยาย/ละคร/หนังสั้น การสร้างความหมายเพื่อเล่าเรื่อง การเขียนบท

สารบัญ

Page 3: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

3 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

การพัฒนาความคิด (Initiation) เป็นขั้นตอนเริ่มแรก เริ่มต้นจาก ความคิด (Idea) มากมายอาทิ ผลิตรายการอะไร เป้าหมายคือใคร เนื้อหาอย่างไร รูปแบบไหน กลุ่มเป้าหมายเป็นใคร งบประมาณเท่าไหร ่

ความคิดเหล่านี้ เป็นค าถามส าคัญก่อนลงมือผลิตรายการโทรทัศน์ และเป็นรากฐานส าคัญที่สุดส าหรับเป็นแนวทางในการท างานในขั้นตอนต่อ ๆ ไป

Page 4: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

4 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

1. จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ (Program Ideas) 2. ก าหนดกระบวนการสาร (Defined Process Message) 3. เขียนข้อเสนอโครงงานการผลิตรายการ/ข้อเสนอผลิต

รายการ (Program Proposal) 4. เขียนบทและออกแบบงานต่าง ๆ (Script and Designs)

Page 5: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

5 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

1. จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ (Program Ideas) โดยมากผู้อ านวยการผลิต หรือ โปรดิวเซอร์ มักเป็นผู้จุดประกาย

ความคิดในการสร้างรายการใหม่ เมื่อได้ช่วงเวลามา จะร่วมกับทีมงานเลือกธีม เลือกประเภทรายการ เช่น

รายการข่าว รายการสัมภาษณ์ (ถาม-ตอบ) รายการพูดคุย (ทอล์คโดยผู้ด าเนินรายการ) รายการสารคดี (เจาะลึกเรื่องเดียว) รายการนิตยสาร (วาไรตี)้ รายการละคร เกมโชว์ กีฬา อื่นๆ

Page 6: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

6 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

2. ก าหนดกระบวนการสาร (Defined Process Message) ทีมงานด าเนินการค้นคว้าหาข้อมูล เพื่อก าหนดกรอบในการ

น าเสนอรายการโทรทัศน์ ว่า รายการต้องการน าเสนออะไร เพื่ออะไร ให้ใคร อย่างไร ควรมี เอกลักษณ์ จุดยืนของรายการให้ เด่นชัด

Page 7: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

7 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

3. เขียนข้อเสนอโครงงานการผลิตรายการ/ข้อเสนอผลิตรายการ (Program Proposal) เขียนข้อเสนอโครงงาน ได้แก่ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค ์ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาน าเสนอ รูปแบบรายการ วิธี การผลิต งบประมาณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ รายชื่อทีมงาน

ควรเขียนอย่างกระชับ ชัดเจน สาระครบถ้วน ดึงดูดใจ

Page 8: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

8 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

4. เขียนบทและออกแบบงานต่าง ๆ (Script and Designs) ขั้นตอนนี้เกิดขึ้นภายหลังจากทีไ่ด้รับอนุมัติข้อเสนอโครงงานแลว้ ทีมงานผู้ผลิตรายการโทรทัศนจ์ะตอ้งมาประชุมวางแผนสร้างบท

รายการ ซึ่งอาจก าหนดเป็นบทโทรทัศน์แบบ ▪ กึ่งสมบูรณ์แบบ ▪ สมบูรณ์ มีทัง้ภาพและเสียง หรือแบบสตอรี่บอร์ด เพ่ือให้ ทีมงานทุกฝ่าย

เห็นภาพชัดเจน เข้าใจตรงกัน หลังจากนั้นทุกฝ่ายจึงออกไปค้นคว้าและออกแบบงานของตน ได้

แก่ ▪ ฝ่ายฉาก ฝ่ายอุปกรณ์ประกอบฉาก ฝ่ายกราฟิก ฝ่ายเสื้อผ้า ฝ่ายคัดเลือก

นักแสดง

Page 9: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

9 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

ขั้นตอนนี้ประกอบด้วย 1. บทรายการโทรทัศน์ (Script) 2. แตกบท (Breakdown Script) 3. วางแผนบริหารจัดการคน เงิน อุปกรณ์ สถานที่ เวลา

(Planning) 4. จัดท าตารางเอกสารต่างๆ และหนังสือขออนุญาต

(Production Scheduling, Call sheet permit)

Page 10: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

10 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

สูตรส าเร็จการเขียน มี 3 ประการ ต่อไปนี้ 1. เริ่มต้นทีค่วามคิด (Idea) เกณฑ์การพิจารณาเรื่องที่น ามาเขียน ▪ เรื่องนั้นตอ้งมีความใกล้ชิดกับผู้อ่าน ▪ เรื่องนั้นสามารถดึงดูดความสนใจผู้อา่นได ้ ประมวลความคิดภายใต้

แนวคิดทีช่ัดเจน 2. ลงมือเขียนร่าง (Draft) 3. เขียนให้ เข้าใจง่าย (Simplify) ชัดเจน (Clarify) และ ตรง

เป้าหมาย (Aim)

Page 11: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

11 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

คุณลักษณะที่ดีของงานเขียน เนื้อหา คือ ตัวเรื่องราว หรือประเด็นส าคัญที่ผู้เขยีนต้องการให้ผู้

อ่านรับรู้ จะต้องมีความชัดเจน จัดล าดับเรื่องราวได้สอดคล้องสัมพันธ์กัน

มีความต่อเนื่อง ใช้ค าเชื่อมที่เหมาะสม ใชภ้าษา ถ้อยค าได้ถูกต้อง ใช้ประโยคกะทัดรัด อ่านง่าย ใช้การย่อหน้า เว้นวรรคตอนอย่างเหมาะสม

Page 12: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

12 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

Plot /พล็อต/ โครงเรื่อง คือ ส่วนที่บ่งบอกประเด็นใจความของเนื้อเรื่องท่ีจะเขียน ความยาวประมาณ 2-3 หน้า เพื่อวางเรือ่งราวทัง้หมด

Plot /พล็อต/ โครงเรื่อง คือ เรื่องย่อแบบคร่าว ๆ ของนิยาย ละคร เรื่องสั้น นั่นเอง

ผู้เขียนย่อมตอ้งมีโครงเรื่องท่ีอยากเขียนคร่าว ๆ อยู่ เสมอเพียงแต่ เราไม่ทันรู้สึกว่าสิ่งนั้นคือพล็อตเรื่องของนิยาย/ละคร/หนังสั้นนั่นเอง

Page 13: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

13 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

พล็อต / โครงสร้าง เป็นเครื่องมือพื้นฐานของนักเขียนที่มีไว้เพื่อความบันเทิง... (ขณะเขียน อย่าเครียด)

ระวังอย่า “ออกทะเล” คือการไม่สามารถชักน าความคิดมาปะติดปะต่อ และควบคุมทิศทางไว้ได้อย่างใจ จนในที่สุดก็ไปไกลเกินกวา่จะกู่กลับ และหาทางปิดจบเรื่องไม่ลง

โครงเรื่องที่เตรียมการไว้ตั้งแต่ต้นจะเข้ามามีบทบาท ตัวอย่าง การบันทึก/เริ่มคิด เติมอักษรล าดับเหตุการณ์ ลงไปอีกนิด เป็น A B C ดังนี้ ▪ AA - นางเอกกับพระเอกเคยเป็นเพ่ือนสนิทในวัยเด็ก แล้วต้องแยกจากกัน

ไป ▪ BB - พวกเขาบังเอิญกลับมาเจอกันอีกครั้ง นางเอก(รวย) เสียความทรงจ า ▪ CC- พระเอกดูแล ป้องกันภัยให้นางเอกและกลายเป็นความรักตอ่กัน

Page 14: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

14 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

ในส่วนการเชื่อมต่อของพล็อตหลัก ไปยังพล็อตรอง ควรให้ตัวละครหลักเป็นตัวเดินเรื่อง หากเรื่องนั้นตั้งชือ่ให้นางเอกเป็นหลัก ▪ ควรให้ นางเอกเป็นตัวเดินเรื่อง

หลักในการสร้างตัวละครนั้น เราควรถามตัวเอง 3 อย่างต่อไปนี้ ... ▪ ใช้มาก / ใช้น้อย / ใช้ไหม?

Page 15: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

15 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

การเขียนทีใ่ช้จินตนาการ (โน้มน้าวใจ) การเขียนเค้าโครงละคร มี 5 ขั้นตอนส าคัญ ดังนี้ 1. จินตนาการ สร้างพล็อตเรื่อง คิดจากตัวละคร 1 คนแล้วเติมตัวอื่น ๆ เข้าไป คิดจากพื้นฐานเรื่องเดิมที่มีอยู่ แล้วดัดแปลงใส่บรรยากาศใหม่ ๆ

เข้าไป คิดโดยเอาตัวละครจริงหลาย ๆ ตัวเอาผสมผสานกัน เช่น ตัวละคร

จากแฟ้มข่าว 2. สร้างตัวละคร ใส่บุคลิก 3. เริ่มเรื่อง 4. กลางเรื่อง 5. จบเรื่อง

Page 16: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

16 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

เรื่องราว (Event) ที่ดีต้องมี E1 + E2 + E3 ต้องมีเหตุมีผล มีความเชื่อมโยง มีความซับซ้อน (เงื่อนไข – ปัญหาอุปสรรค) มีความขัดแย้ง (ดี – เลว จน – รวย) มีความประหลาดใจ (ได้ลุ้น) มีแก่นเรื่อง มีทางละคร (สนุก)

Page 17: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

17 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

ฝึกคิดให้ เป็นภาพ ควรให้ตัวละครเอกเป็นตัวเดินเรื่อง ตัวละครส าคัญควรมีประมาณ 8 – 10 ตัว หาความหมายให้ ตัวละครแต่ละตัว อาชีพตัวละครเป็นสิ่งส าคัญ อยา่จมอยูฉ่าก/สถานที/่เหตุการณ์ เดียวนานเกินไป เรื่องต้อง

เคลื่อนไปข้างหน ้า อย่าเขียนเรียงตามล าดับเวลา

Page 18: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

18 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

ตามแนวคิดของกลุ่มทฤษฎีสัญวิทยา (Semiology) เชื่อกันว่า ความหมายเกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบย่อย

และสัญญะ (Sign) ต่างๆ ภายในโครงสร้างใด โครงสร้างหนึ่ง

การสลับสับเปลีย่นต าแหนง่ เปลี่ยนองค์ประกอบ และบริบทที่เปลี่ยนไป จะท าให้ความหมายเปลีย่นไปได้ เช่น ห้องว่างหนึ่งห้อง หากตกแต่งด้วยโต๊ะ เก้าอี้ จัดห้องแบบคลาสรมู นั่นหมายถึง ห้องเรียน แตห่้องเดียวกันหากจัดด้วยโต๊ะ เก้าอี้หรูหรา มีชุดรับแขก นั่นหมายถึง ห้องท างานผู้บริหาร เป็นต้น

Page 19: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

19 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

สรุป รูปสัญญะ / Signifier คือ รูปแบบ (Form) ทีใ่ช้ในการสื่อสาร หากเป็นสื่อสารเพือ่เล่าเรื่องราวผ่านสื่อโทรทศัน์ องค์ประกอบ

เหล่านั้นที่รวมกันออกมาเป็น Form ได้แก่ ภาพ ตัวอักษร เสียง ฉาก เสื้อผ้า ดนตรี เสียงประกอบฯลฯ

ส่วนความหมายสัญญะ / Signified คือ ความคิด/มโนภาพ (Idea/Concept) ที่สามารถสื่อออกไปให้คนดูเข้าใจได้ ซึ่งแตล่ะสังคมอาจมีข้อตกลงร่วมกัน

ในการอ่านรหัสเหล่านั้นแตกต่างกัน ผู้ผลิตรายการจึงควรพิถีพิถันในการเลือกลงรหัสต่าง ๆ

Page 20: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

20 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

กาญจนา แก้วเทพ (2549) อ้างถึง สจ๊วร์ต ฮอลล์ (Hall, 1973) กล่าวว่า ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ สามารถก าหนดได้ว่า ต้องการให้ ผู้ชมเห็นอะไรและไม่เห็นอะไรในการเล่าเรื่องบนจอโทรทัศน์ โดยการเลือกใช้เทคนิคต่าง ๆ ในการจัดวาง “ความหมาย” ให้เป็นไปตามกรอบของภาษาโทรทัศน์ ที่มี สีสันน่าดึงดูดใจ เช่น การแสดง ฉาก มุมกล้อง ขนาดภาพ การเคลื่อนกล้อง การแต่งกาย

เหล่านี้จะท าให้ผูช้มสามารถถอดรหัสของผู้ผลิตได้ เช่น รายการข่าว ผู้ผลิตต้องใช้รูปแบบรหัสในการเล่าเรื่องที่แตกต่างจากรายการเกมโชว์ เป็นต้น

Page 21: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

21 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

การเล่าเรื่องบนหน้าจอโทรทัศน์ด้วยเทคนิคต่าง ๆ ผ่านอวัจนภาษา 7 ประการ ต่อไปนี้

1. เทศภาษา – ต าแหน่ง ระยะห่างของบุคคล สื่อความหมาย- ระดับความใกล้ชิดสนิทสนม และล าดับชั้นทาง

สังคม การเล่าเรื่องโดยภาษาโทรทัศน์ – การจัดวางองค์ ประกอบภาพ

ขนาดภาพ การจัดแสดง การเว้นพื้นที่ว่าง

Page 22: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

22 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

2. กาลภาษา – ช่วงเวลา เช่น สว่าง มืด ฝนตก สื่อความหมาย- รุ่งเรือง ตกต่ า โหดร้าย การเล่าเรื่องโดยภาษาโทรทัศน์ – การจัดแสง การตัดต่อภาพ การใช้

เสียงประกอบ 3. เนตรภาษา – การใช้ ดวงตา เพื่อสื่ออารมณ์ สื่อความหมาย- จริงจัง จริงใจ กรุ้มกริ่ม การเล่าเรื่องโดยภาษาโทรทัศน์ – การแสดง การใช้ ขนาดภาพ การ

ตัดต่อ การใช้มุมกล้อง

Page 23: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

23 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

4. สัมผัสภาษา – การใช้อาการสื่อความหมาย สื่อความหมาย- กอด -แสดงความรัก โอบไหล-่สนิทสนม การเล่าเรื่องโดยภาษาโทรทัศน์ – การแสดง การใช้ขนาดภาพ การ

ตัดต่อ การใช้มุมกล้อง 5. อาการภาษา – การใช้ความเคลื่อนไหว ท่าทางสื่ออารมณ์ สื่อความหมาย- เดินกร่าง-นักเลง นั่งพับเพียบ-เรียบรอ้ย เดินไว-รีบ การเล่าเรื่องโดยภาษาโทรทัศน์ – การแสดง การเคลื่อนกลอ้ง การ

ตัดต่อ

Page 24: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

24 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

6. วัตถุภาษา – การเลือกใช้วัตถุเพื่อแสดงความหมายที่ต้องการสื่อ สื่อความหมาย- บ้านสลัม-ยากจน รถเบนซ์ -ร่ ารวย หร ู การเล่าเรื่องโดยภาษาโทรทัศน์ – การจัดฉาก องค์ประกอบฉาก การ

ออกแบบเสื้อผ้า การแต่งหน้าตัวละคร 7. ปริภาษา – การใช้น้ าเสียง โทนเสียง ส าเนียงประกอบ

ถ้อยค า สื่อความหมาย- เสียงสูง-โกรธ ส าเนียงท้องถิ่น-ต่างจังหวัด การเล่าเรื่องโดยภาษาโทรทัศน์ – การใช้น้ าเสียงของตัวละคร การ

ปรับแต่งเสียง การใช้ดนตรีและเสยีงประกอบ

Page 25: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

25 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

การเขียนบท มีข้อแนะน าต่อไปนี้ ต้องคิดออกมาเป็นภาพ (องค์ประกอบด้านภาพมีความส าคัญ 50

%) มีความเข้าใจการน าเสนอทางวิทยุ โทรทัศน์ ใช้เทคนิคประกอบพอสมควร ภาพและเสียงต้องสมัพันธ์กั น ควรใช้ตัวหนังสือประกอบ (SUPERIMPOSE) เพื่อเสริมการรับรูข้อง

ผู้ชม ค านึงถึงการสื่อความหมายง่ายเป็นหลกั เขียนเรื่องที่น่าสนใจ ควรค่าแก่การเผยแพร่

Page 26: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

26 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

องค์ประกอบของการเขียนบท เรื่อง (story) หมายถึงเหตุการณ์หรือเรือ่งราวทีเ่กิดขึ้น โดยมี

จุดเริ่มต้นและด าเนินไปสู่จุดสิ้นสดุ ▪ เรื่องอาจจะสั้นเพียงไม่ก่ีนาที อาจยาวนานเป็นปี หรือไม่รู้จบ

(infinity) ก็ได้ สิ่งส าคัญในการด าเนินเรือ่ง คือ ปมความขัดแย้ง (conflict) ซึ่งก่อให้เกิดการกระท า ส่งผลให้เกิดเป็นเรื่องราว

แนวความคิด (concept) เรื่องที่จะน าเสนอมีแนวความคิด (Idea) อะไรที่จะสื่อให้ผู้ชมรับรู้

Page 27: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

27 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

องค์ประกอบของการเขียนบท แก่นเรื่อง (theme) คือประเด็นเนื้อหาส าคัญหรือแกนหลกั (Main

theme) ของเรื่องที่จะน าเสนอ ซึ่ง อาจประกอบด้วยประเด็นรองๆ (sub theme) อีกก็ได้ แตต่้องไม่ออกนอกแนวความคิดหลัก

เรื่องย่อ (plot) เป็นจุดเริ่มต้นของการเล่าเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องที่คิดขึ้นมาใหม่ เรื่องที่น ามาจากเหตุการณจ์ริง เรื่องที่ ดัดแปลงมาจากวรรณกรรม หรือแม้แต่เรื่องที่ลอกเลียนแบบมาจากภาพยนตร์อื่น ▪ ส่ิงแรกนั้นเรื่องต้องมี ความน่าสนใจ มีใจความส าคัญชัดเจน ต้องมีการมี

การตั้งค าถามว่า จะมอีะไรเกิดขึ้น (What...if...?) กับเรื่องที่คิดมา และสามารถพัฒนาขยายเป็นโครงเรื่องใหญ่ได

Page 28: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

28 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

องค์ประกอบของการเขียนบท ตัวละคร (character) มีหน้าที่ด าเนินเหตุการณ์จากจุดเริ่มต้นไปสู่

จุดสิ้นสุดของเรื่อง ▪ ตัวละครอาจเป็น คน สัตว์ สิ่งของ หรือเป็นนามธรรมไม่มีตัวตนก็ได้ ▪ การสร้างตัวละครขึ้นมาต้องค านึงถึงภูมิหลังพื้นฐาน ที่มาที่ไป บุคลิกนิสัย

ความต้องการ อันก่อให้เกิดพฤติ กรรมต่าง ๆ ของตัวละครนั้นๆ ▪ ตัวละครแบ่งออกเป็นตัวแสดงหลักหรือตัวแสดงน า และตัวแสดงสมทบ

หรือตัวแสดงประกอบ ▪ ทุกตัวละครจะต้องส่งผลต่อเหตุการณ์นั้น ๆ มากน้อยตามแต่บทบาทของ

ตน ตัวเอกย่อมมคีวามส าคัญมากกว่าตัวรอง

Page 29: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

29 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

องค์ประกอบของการเขียนบท บทสนทนา (dialogue) เป็นถ้อยค าที่ก าหนดให้แต่ละตัวละครได้ใช้

แสดงโต้ตอบกัน ▪ ใช้บอกถึงอารมณ์ ด าเนินเรื่อง และสื่อสารกับผู้ชม แต่ส่วนมากไม่ค่อยพบ

ในมิวสิควดีีโอ เพราะมเีนื้อร้องเป็นสิ่งก าหนดการด าเนินเรื่องอยู่แล้ว มิวสิควดีีโอที่ดีจะสื่อความหมายด้วยภาพมากกว่าค าพูด การประหยัดถ้อยค าจึงเป็นสิ่งทีค่วรท า

▪ แต่ความหมายหรืออารมณ์บางครั้งอาจจ าเป็นต้องใช้ถ้อยค ามาช่วยเสริมให้ดูดียิ่งขึ้นก็ได ้

Page 30: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

30 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

โครงสร้างการเขียนบท การด าเนินเรื่อง (Story Telling) บทน า

ขยายความ

เนื้อเรื่อง

ไคลแมกซ ์

สรุป

Page 31: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

31 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

บทน า คือการน าเข้าสู่เนื้อเรื่อง อาจจะเป็นการบรรยายในลักษณะกว้าง ๆ แล้วเจาะจงลงไปในสิง่ที่

เราต้องการน าเสนอ เช่น

Page 32: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

32 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

ขยายความ คือการบรรยายขยายความบทน า ให้มีความชัดเจนใน

ประเด็นที่เราต้องการสื่อสารมากยิ่งขึ้น มักจะเป็นย่อหน้าที่ถัดจากบทน า

เนื้อเรื่อง คือเนื้อหาหลักของเรื่อง เป็นการด าเนินเรื่องโดยตัวละคร

ต่าง ๆ หรือเรื่องราวที่เกิดขึ้น เช่น

Page 33: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

33 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

เนื้อเรื่อง

Page 34: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

34 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

ไคลแมกซ์ คือจุดสูงสุดของเรื่อง อาจจะมีการหักมุมของเรื่อง เพื่อเสริม

ความเด่น

มักจะอยู่ตอนท้ายของเรื่อง บทสรุป เป็นการสรุปผลจากการด าเนินเรื่องท่ีมาทั้งหมด ท าให้ผู้ชม

เข้าใจอีกครั้งว่าเกิดอะไรขึ้น เช่น

Page 35: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

35 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

บทสรุป

Page 36: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

36 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

รศ.ดร.กุลธิดา ธรรมวิภัชน,์ การเขียนบทส าหรับรายการโทรทัศน์

รศ.ถาวร สายสืบ, การเขียนบทโทรทัศน์ Dr.Fisik Sean Buakanok, การวางแผนและการผลิต

สื่อระบบดจิิทัล

Page 37: Script Writing - Burapha Universityprajaks/web/sites/... · 2013-04-10 · บทที่ 4 การเขียนบท Script Writing 5 จาก 37 1.จุดริเริ่มทางความคิดด้านรายการ

37 จาก 37 บทท่ี 4 การเขียนบท Script Writing

ค าถาม