267
สารบัญ ชื่อเรื่อง/ชื่อผู้วิจัย หน้า DEVELOPING A FUTURE MANAGEMENT AND FORECASTING 1 MODEL IN MINING AND QUARRYING SECTORS OF THAILAND Mr. Chatchanant Meethong ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมรีไซเคิลอุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็ก 9 และผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้าน กฤติยา อิศวเรศตระกูล แนวทางการบริหารจัดการในการขับเคลื่อนกลยุทธ์การตลาดสู่ความสาเร็จของ 15 ธุรกิจอุปกรณ์การเลี้ยงไก่ในฟาร์มระบบปิด กฤษณ์ พานสัมฤทธิปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเป็นผู้ประกอบการใหม่ Start-Up 26 ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 ชลลดา เจียมจิตวานิชย์ ตัวแบบการตัดสินใจที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้พลังงานแสงอาทิตย์ 31 ของสถานประกอบการ ทรงกฤต ตรีรัตน์พิจารณ์ การพัฒนาทุนมนุษย์ของวิสาหกิจชุมชนจังหวัดชุมพร 41 ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ธนภร จรูญนิมมาน การพัฒนากลยุทธ์การตลาดเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน 47 ของการประกอบธุรกิจ กวดวิชาในเขตกรุงเทพมหานคร ธนวิทย์ อิ่มยิ้ม

Start Up - Western · impact on all countries [2,3]. Greenhouse gas is a negative phenomenon, affecting the World particularly in terms of global economy, society, and the environment

  • Upload
    others

  • View
    12

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • สารบัญ ชื่อเรื่อง/ชื่อผู้วิจัย หน้า DEVELOPING A FUTURE MANAGEMENT AND FORECASTING 1 MODEL IN MINING AND QUARRYING SECTORS OF THAILAND

    Mr. Chatchanant Meethong ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมรีไซเคิลอุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็ก 9 และผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้าน

    กฤติยา อิศวเรศตระกูล

    แนวทางการบริหารจัดการในการขับเคลื่อนกลยุทธ์การตลาดสู่ความส าเร็จของ 15 ธุรกิจอุปกรณ์การเลี้ยงไก่ในฟาร์มระบบปิด

    กฤษณ์ พานสัมฤทธิ์ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเป็นผู้ประกอบการใหม่ Start-Up 26 ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0

    ชลลดา เจียมจิตวานิชย์

    ตัวแบบการตัดสินใจที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้พลังงานแสงอาทิตย์ 31 ของสถานประกอบการ

    ทรงกฤต ตรีรัตน์พิจารณ์

    การพัฒนาทุนมนุษย์ของวิสาหกิจชุมชนจังหวัดชุมพร 41 ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ธนภร จรูญนิมมาน การพัฒนากลยุทธ์การตลาดเพ่ือสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน 47 ของการประกอบธุรกิจ กวดวิชาในเขตกรุงเทพมหานคร ธนวิทย์ อิ่มยิ้ม

  • สารบัญ ชื่อเรื่อง/ชื่อผู้วิจัย หน้า กลยุทธ์การตลาดและความส าเร็จของการประกอบธุรกิจผลิตภัณฑ์สปา 61 ผ่านช่องทางดิจิทัล ธัญญ์รวี ธรศิริปุณโรจน์ กลยุทธ์การตลาดการเช่า-ซื้อ อาคารที่พักอาศัยคอนโดมิเนียม 79 ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล นพวัตติ์ ธรรมเหมไพจิตร การพัฒนาการบริหารจัดการการธุรกิจไอที ขนาดกลาง 89 และขนาดย่อมในส่วนภูมิภาค ปวินท์ เทพกุณหนิมิตต์ แนวทางการให้บริการของส านักงานบัญชีคุณภาพ เพื่อเข้าสู่มาตรฐานสากล 95 ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

    พฤกษา แก้วสาร

    การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการของ 105 ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมผลิตยานยนต์ พีรยสถ ์ อยู่ประพัฒน์ แนวทางการจัดการความรับผิดชอบต่อสังคมท่ีส่งผลต่อความส าเร็จ 114 ของธุรกิจหม้อแปลงไฟฟ้า อย่างยั่งยืน ไพฑูรย์ พรหมสุภร แนวทางการตัดสินใจลงทุนในตลาดหุ้นอเมริกาของนักลงทุนชาวไทย 122 ในเขตกรุงเทพมหานคร

    ภัทราวดี นามสีฐาน

    การพัฒนาการจัดการของผู้ประกอบการธุรกิจไม้ยางพาราแปรรูป 135 ภัสร์ศศิร์ หีดจันทร์

  • สารบัญ ชื่อเรื่อง/ชื่อผู้วิจัย หน้า ธรรมาภิบาลขององค์การภาคเอกชน : ธุรกิจการบริการในเขตพ้ืนที่จังหวัดปัตตานี 145 ภาณุ ปาตานี แนวทางวางแผนการเงินหลังวัยเกษียณของพนักงานเอกชน ในประเทศไทย 156 ภาสกร จูตะกานนท์ กลยุทธ์การตลาดเพ่ือสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของผู้ประกอบการ 170 จ าหน่ายรถยนต์ใช้แล้วในเขตกรุงเทพมหานคร

    มนูญ พรหมลักษณ์ แนวทางการบริหารจัดการโรงแรมสีเขียวสู่ความส าเร็จเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 177 ในจังหวัดภูเก็ต ประเทศไทย วิษณุ มั่นคง บทบาทของผู้น าเชิงนวัตกรรมกับความส าเร็จของธุรกิจโลจิสติกส์ 185 ศิวพร ไตรภพ การจัดการและความส าเร็จของการประกอบธุรกิจตลาดสด 197 อุดม สมบูรณ์ผล การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศึกษาศูนย์การเรียนรู้ 203 ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กัณยกร อัครรัตนากร การพัฒนารูปแบบการนิเทศภายในเรื่องการท าวิจัยในชั้นเรียนระดับประถมศึกษา 215 สังกัดศึกษาธิการจังหวัดก าแพงเพชร

    ชุมครู เวียงสมุทร

    แนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้น าของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล 230 พรรษรัตน์ พรมมนิทร์

  • สารบัญ ชื่อเรื่อง/ชื่อผู้วิจัย หน้า การพัฒนารูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียน 238 สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยุคไทยแลนด์ 4.0

    สุมลฑา เพชรใส

    แหล่งเรียนรู้ในยุคดิจิทัล 4.0 249 อรรฆพร ประชานุรักษ์

    การบริหารจัดการหลักสูตรสาขาวิชาการบริหารการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฎ 259 อ านาจ บุญประเสริฐ

  • DEVELOPING A FUTURE MANAGEMENT AND FORECASTING MODEL IN MINING AND QUARRYING SECTORS OF THAILAND Mr. Chatchanant Meethong Abstract

    This paper aims to propose a management and forecasting model in the mining and quarrying sectors of Thailand. The author has studied and compiled the most relevant researches from the past to the present. In establishing such a model, both Thailand and other countries attempt to create the model for a future planning and use it as a tool to support in future researches. Therefore, such an establishment becomes necessary and required as a part of the research process in order to produce an accurate and effective research outcome, as so a sustainable development is achieved. Through a study of related researches, it has shown that the ARIMAX model is a forecasting model in which it is developed to be effectively applied in different contexts of other sectors. Particularly, this model is advanced to analyze the relationship between economic growth, social growth, and environmental growth. In respect of the environmental analysis, it has been challenging and requires an advanced analysis. Thus, the ARIMAX model becomes a model that is appropriate to fill up the requirement and support for future researches. Keywords : Mining and Quarrying sectors; forecasting model; energy consumption;

    GHG emission; Multiplier; Management model INTRODUCTION

    The economy has continued to grow, achieving a very high GDP per capita, being an important goal of the all countries [1], it is a problem that the whole world is experiencing, say that: economies, society are in growth but there is deterioration of the environmental [1,2,3] mainly brought about by the negative impacts of energy consumption, and the result of rising greenhouse gas, which is the catalyst for climate change itself.

    Climate change is occurring, and is having an impact on all countries [2,3]. Greenhouse gas is a negative phenomenon, affecting the World particularly in terms of global economy, society, and the environment itself. The level of greenhouse gas is likely to continue to rise steadily [4], particularly in the developing countries. Although various organizations are trying to find a solution to the policy [5]. This can be observed from the global temperature rise from 1.1 to 6.0 degree Celsius [1].

    Thailand, as one of the rapidly developing nations, has experienced a steady increase in GDP from 2000 to 2015 [1]. The highest revenue for the country has been generated in the Mining and the Quarrying sectors [2,3]. It have been found that the afore mentioned sectors exhibited increased growth rate [14] from 3.17% in (2000) to 49.65% in (2015) [3]. 90 percent of the production is for export, and 10 percent of the production is for domestic consumption [1,3]. As such, this results in huge revenues, and cash in-flow to the country for these sectors [6,7,8]. However, the mining and quarrying sectors also have a high environmental cost (65%), especially energy cost as shown in the figure 1 [9,10,11]. Similarly, there is an adverse effect on the environment [12]. Based on similar reasoning to the above, the government is planning for the nation effectively and sustainably [13].

    1

  • This study has foreseen the problems that arise from energy consumption in the mining and the quarrying sectors. The study of forecasting of energy consumption has been conducted in order to help decision-making on the further operational planning needed [14]. In addition, the study of related research, and reviewed literature did not find any other study conducted on the same basis and with coinciding research objectives. Thus, it is important to point out that the study results can be carried out in the national administration in Thailand, and could also be applied in the context of other countries worldwide.

    Figure 1 The proportion of GHG emissions by sector. MODEL AND METHODOLOGY

    Input-output model

    The model in this study is related to the Input-Output Table, in which the relationship of the data are categorized by rows and columns as follows in Table 1. [15] Table 1 Matrix used to create the Input-Output table of production sectors.

    Using sector

    Producing sector

    Processing sectors Final demand

    Total outputs

    (X) 1 2 Processing sectors

    1 11x 12x 1c 1i 1g 1e 1x 2 21x 22x 2c 2i 2g 2e 2x

    Payments sectors

    Value added 1l 2l cl 1l g

    l el L

    1n 2n cn 1n gn en N

    Imports 1m 2m cm 1m gm em M

    Total outlays (X') 1x 2x C I G E X

    2

  • Rows present output distribution of product sector i for n product sectors and the Gross product of product sector i can be defined, for ni 1 , by

    iX = in

    j

    ij FX 1

    (1)

    Where iX refers to Gross product of product sector i, ijX refers to product distribution

    of product sector i of goods and services production for product sector j, and Fi refers to the final demand of product sector i.

    Columns show the structure of expense or cost of goods production for product sector j (Xi) that can be defined, for nj 1 by

    iX = jn

    j

    ij VX 1

    (2)

    Where jV refers to value added of product sector j, only if input value is directly

    proportional to output value. Then ijX can be defined by the relationship of output (X), input coefficient (A) and final demand (F) of production structure for an economic system that can be defined by X = FAX (3) X = FAI 1 (4)

    1 AI is the Leontief Inverse Matrix (or inverse matrix), which is important for economic system analysis when using the Input-Output Table. The inverse matrix acts as a direct and indirect input coefficient of a production supply chain that can be used for supply chain length and intensity calculation. Environmental Cost of the production of each good or service can be calculated using the multiplication of the Environmental Cost coefficient and the inverse matrix. Finally, the result represents the total effect of a supply chain by giving the accumulated Environmental Cost of each good produced. The result also shows intensity of backward environmental effects of direct and indirect inputs and outputs. Furthermore, the result presents names, sectors and intensities of Environmental Costs that are useful to formulate an efficient policy and in environmental problem solving.

    Relationships in the Input-Output Table affects the output of each product sector (ΔF), which is called the Multiplier for Final goods and services. Equation (5) presents the calculation of the Multiplier. X = FAI 1 (5)

    If final demand (ΔF) increases, Environmental Cost will increase (ΔE). Equation (6) calculates the increase of Environmental Cost. E = FAIR 1 (6)

    3

  • ARIMA Model ARIMA models obtained from a combination of autoregressive and moving

    average models. For modelling of seasonal time series beside non-seasonal series, ARIMA(p,d,q) (P,D,Q)ҩ is known as multiplicative ARIMA model is defined as follows:

    t

    dDp

    p

    p

    p ZBBBBBBBB )1()1)(1)(...1(2

    212

    21

    = tq

    q

    Q

    Q BBBBBB )...1)(...1( 221

    221 (7)

    where t is the random variable, ҩ is the periodic term, B is the difference operator as B(Zt) = Zt-1, (1- B ҩ)D is the Dth seasonal difference measure ҩ, d = (1- B)d is the dth non-seasonal difference, p is the order of non-seasonal autoregressive model, q is the order of non-seasonal moving average model, P is the order of seasonal autoregressive model, Q is the order of seasonal moving average model, is the parameter of non-seasonal autoregressive model, is the parameter of non-seasonal moving average model, is the parameter of seasonal autoregressive model, and is the seasonal moving average model [23,24]. It should be noted that, in Eq. (7) when d = D = 0, ARIMA model becomes ARMA model. The next stage is determining the number of ARMA and ARIMA models parameters that perform by Partial Auto Correlation Function (PACF) and Auto Correlation function (ACF) curves [25,27,29]. The next parameters that should be determined are d and D, which de- fined for ARIMA models. These parameters were considered in practice maximum one or two [34,36]. Due to the number of possible scenarios for the parameters, p = P = q = Q = {0,1,2,3,4} CONCLUSION

    The results of the energy consumption are classified by each category of the production. This research can be summarized as following: Table 2: The priority arising from energy consumption in Mining and Quarrying sectors

    Energy consumption Multiplier value Sectors

    0.4893 Fluorite

    0.1569 Coal and lignite

    0.1444 Tin ore

    0.1436 Stone quarrying

    0.1297 Tungsten ore

    0.1207 Petroleum and natural gas

    0.1184 Other non-ferrous metals

    0.1173 Chemical fertilizers

    0.1138 Salt

    0.1107 Iron ore

    4

  • Table 2 lists the top ten Mining and Quarrying sectors in terms of energy consumption. The result shows that fluorite has the highest value of energy consumption and followed by coal and lignite, tin ore, stone quarrying, tungsten ore, petroleum and natural gas, other non-ferrous metals, chemical fertilizers, salt, and iron ore, respectively. The average carrying capacity value for environmental cost in terms of energy consumption, 0.0503. If the energy consumption for a particular sector is lower than the average carrying capacity value, there is further capacity for production. Energy consumption values that are higher than the average carrying capacity value signify that there is no further capacity for production. The sectors with the highest energy consumption were all sectors. The energy consumption indicator was above the average carrying capacity value, signifying that this sector does not have capacity for further production.

    The results of this study show that fluorite has the highest level of energy consumption, followed by coal and lignite, tin ore, stone quarrying, tungsten ore, petroleum and natural gas, other non-ferrous metals, chemical fertilizers, salt, and iron ore, respectively. The results forecast shows that these models are effective in forecasting measured by using RMSE, MAE, and MAPE. The results forecast of each model is as follows: Model 1 and Model 2 show that GHG emission will be increasing steadily, and with a level of 21.58% forecast (2025), and 36.97%(2035), respectively. As regards the economic development of various countries, it is a policy that every country will need to focus on. Each country wants to look forward to benefiting from increasing capital inflows to increase its GDP as high as possible; and per capita income higher for the population. Also, it is an objective of each country to try to turn itself into a developed nations (Annex 1). The policy is focused on both economic, and social development, which need to be increased. The needs of environmental development have not so far been addressed, and as such, forecasting of the GHG emission is required for the purpose of defining the policy, and planning to support achievement of sustainable development, which could be informed by knowledge from this research. To maximize the benefits this research should be adapted for, and applied to each sector, and the content of each country. REFERENCE [1] Asian Development Bank (ADB). Environment, Climate Change, and Disaster Risk

    Management. Manila: Asian Development Bank 2014. [2] Thailand Development Research Institute (TDRI). Prioritizing Environmental

    Problems with Environmental Costs. Final report prepared the Thailand Health Fund. Bangkok. 2007.

    [3] Office of the National Economic and Social Development Board. 2015. National Income of Thailand. Bangkok: NESDB 2015.

    [4] Sutthichaimethee P. VARIMAX Model to Forecast the emission of Carbon Dioxide from Energy Consumption in Rubber and Petroleum industries sectors in Thailand. Journal of Ecological Engineering 2017; 18(3): 112-117.

    [5] Sutthichaimethee P. Modeling Environmental Impact of Machinery Sectors to Promote Sustainable Development of Thailand, Journal of Ecological Engineering 2016; 17(1): 18-25.

    [6] Sutthichaimethee, P., Sawangdee, Y. Indicator of Environmental Problems of Agricultural Sectors under the Environmental Modeling . Journal of Ecological Engineering 2016; 17(2): 12-18.

    [7] Sutthichaimethee, P., Ariyasajjakorn, D. Forecasting Model of GHG Emission in Manufacturing Sectors of Thailand. Journal of Ecological Engineering 2017; 18(1): 18–24.

    5

    http://www.jeeng.net/Author-Pruethsan-Sutthichaimethee/30150http://www.jeeng.net/Author-Pruethsan-Sutthichaimethee/30150http://www.jeeng.net/Author-Pruethsan-Sutthichaimethee/30150http://www.editorialsystem.com/jeeng/article/53076/view/http://www.editorialsystem.com/jeeng/article/53076/view/http://www.jeeng.net/Author-Danupon-Ariyasajjakorn/39902http://www.jeeng.net/FORECASTING-MODEL-OF-GHG-EMISSION-IN-MANUFACTURING-SECTORS-OF-THAILAND,64566,0,2.htmlhttp://www.jeeng.net/FORECASTING-MODEL-OF-GHG-EMISSION-IN-MANUFACTURING-SECTORS-OF-THAILAND,64566,0,2.htmlhttp://www.jeeng.net/FORECASTING-MODEL-OF-GHG-EMISSION-IN-MANUFACTURING-SECTORS-OF-THAILAND,64566,0,2.html

  • [8] Sutthichaimethee, P., Ariyasajjakorn, D. Forecasting Energy Consumption in Short-Term and Long-Term Period by using Arimax Model in the Construction and Materials Sector in Thailand. Journal of Ecological Engineering 2017; 18(4): 52-59.

    [9] Sutthichaimethee, P., Ariyasajjakorn, D. The Revised Input-Output Table to Determine Total Energy Content and Total Greenhouse Gas Emission Factors in Thailand. Journal of Ecological Engineering; 2017; 18(6): 166-170.

    [10] Sutthichaimethee P., Sawangdee, Y. Model of Environmental Impact of Service Sectors to Promote Sustainable Development of Thailand .Ethics in Science and Environmental Politics 2016; 16(1): 11-17.

    [11] Sutthichaimethee P., Sawangdee, Y. Indicator of Environmental Problems Priority Arising from the use of Environmental and Natural Resources in Machinery Sectors of Thailand. Environmental and Climate Technologies 2016; 17(1): 18-29.

    [12] Yu S, Wei Y-M, Wang K. A PSO–GA optimal model to estimate primary energy demand of China. Energy Policy 2012; 42:329–40.

    [13] Ciabattoni L, Grisostomi M, Ippoliti G, Longhi S. Fuzzy logic home energy consumption modeling for residential photovoltaic plant sizing in the new Italian scenario. Energy 2014; 74:359–67.

    [14] Jovanovic´ RZˇ, Sretenovic´ AA,Zˇ ivkovic´ BD. Ensemble of various neural networks for prediction of heating energy consumption. Energy Build 2015; 94:189–99.

    [15] Osorio G, Matias J, Catalão J. Short-term wind power forecasting using adaptive neuro-fuzzy inference system combined with evolutionary particle swarm optimization, wavelet transform and mutual information. Renew Energy 2015; 75:301–7.

    [16] Xie N-m, Yuan C-q, Yang Y-j. Forecasting China’s energy demand and self sufficiency rate by grey forecasting model and Markov model. Int J Electr Power Energy Syst 2015; 66:1–8.

    [17] Barak S, Dahooie JH, Tichy´ T. Wrapper ANFIS-ICA method to do stock market timing and feature selection on the basis of Japanese Candlestick. Expert Syst Appl 2015; 42:9221–35.

    [18] Suganthi L, Samuel AA. Energy models for demand forecasting—a review. Renew Sustain Energy Rev 2012; 16:1223–40.

    [19] Hao J, Liu D, Li Z, Chen Z, Kong L. Power system load forecasting based on fuzzy clustering and gray target theory. Energy Proc 2012; 16:1852–9.

    [20] Alizadeh M, Jolai F, Aminnayeri M, Rada R. Comparison of different input selection algorithms in neuro-fuzzy modeling. Expert Syst Appl 2012; 39:1536–44.

    [21] Lee Y-S, Tong L-I. Forecasting nonlinear time series of energy consumption using a hybrid dynamic model. Appl Energy 2012; 94:251–6.

    [22] Lee Y-S, Tong L-I. Forecasting energy consumption using a grey model improved by incorporating genetic programming. Energy Convers Manage 2011; 52:147–52.

    ]23 [Leontief, W.W. 1986. Input-Output Economics (2nd ed.). New York, Oxford University Press.

    [24] Azadeh A, Asadzadeh S, Saberi M, Nadimi V, Tajvidi A, Sheikalishahi M. A neuro-fuzzy-stochastic frontier analysis approach for long-term natural gas consumption forecasting and behavior analysis: the cases of Bahrain, Saudi Arabia, Syria, and UAE. Appl Energy 2011; 88:3850–9.

    [25] Pappas SS, Ekonomou L, Karamousantas DC, Chatzarakis G, Katsikas S, Liatsis P. Electricity demand loads modeling using AutoRegressive Moving Average (ARMA) models. Energy 2008; 33:1353–60.

    6

    http://www.jeeng.net/FORECASTING-MODEL-OF-GHG-EMISSION-IN-MANUFACTURING-SECTORS-OF-THAILAND,64566,0,2.htmlhttp://www.jeeng.net/FORECASTING-MODEL-OF-GHG-EMISSION-IN-MANUFACTURING-SECTORS-OF-THAILAND,64566,0,2.htmlhttp://www.jeeng.net/FORECASTING-MODEL-OF-GHG-EMISSION-IN-MANUFACTURING-SECTORS-OF-THAILAND,64566,0,2.htmlhttp://www.jeeng.net/FORECASTING-MODEL-OF-GHG-EMISSION-IN-MANUFACTURING-SECTORS-OF-THAILAND,64566,0,2.htmlhttp://www.jeeng.net/FORECASTING-MODEL-OF-GHG-EMISSION-IN-MANUFACTURING-SECTORS-OF-THAILAND,64566,0,2.htmlhttp://www.jeeng.net/FORECASTING-MODEL-OF-GHG-EMISSION-IN-MANUFACTURING-SECTORS-OF-THAILAND,64566,0,2.htmlhttp://www.jeeng.net/Author-Pruethsan-Sutthichaimethee/30150http://www.jeeng.net/Author-Danupon-Ariyasajjakorn/39902http://www.jeeng.net/Author-Pruethsan-Sutthichaimethee/30150http://www.jeeng.net/Author-Pruethsan-Sutthichaimethee/30150http://www.eeer.org/articles/archive.php

  • [26] Mamlook R, Badran O, Abdulhadi E. A fuzzy inference model for short-term load forecasting. Energy Policy 2009; 37:1239–48.

    [27] Azadeh A, Saberi M, Seraj O. An integrated fuzzy regression algorithm for energy consumption estimation with non-stationary data: a case study of Iran. Energy 2010; 35:2351–66.

    [28] Suganthi L, Iniyan S, Samuel AA. Applications of fuzzy logic in renewable energy systems – a review. Renew Sustain Energy Rev 2015; 48:585–607.

    [29] Li C, Hu J-W. A new ARIMA-based neuro-fuzzy approach and swarm intelligence for time series forecasting. Eng Appl Artif Intell 2012; 25:295–308.

    [30] Yan X, Chowdhury NA. Mid-term electricity market clearing price forecasting utilizing hybrid support vector machine and auto-regressive moving average with external input. Int J Electr Power Energy Syst 2014; 63:64–70.

    [31] Khashei M, Bijari M. A novel hybridization of artificial neural networks and ARIMA models for time series forecasting. Appl Soft Comput 2011; 11:2664–75.

    [32] Babu CN, Reddy BE. A moving-average-filter-based hybrid ARIMA–ANN model for forecasting time series data. Appl Soft Comput 2014.

    [33] Kavaklioglu K, Ceylan H, Ozturk HK, Canyurt OE. Modeling and prediction of Turkey’s electricity consumption using artificial neural networks. Energy Convers Manage 2009; 50:2719–27.

    [34] Deb C., Eang L.S., Yang J., Santamouris M. Forecasting energy consumption of institutional buildings in Singapore. Procedia Eng. 121 2015; 1734–1740.

    [35] Kucukali S, Baris K. Turkey’s short-term gross annual electricity demand forecast by fuzzy logic approach. Energy Policy 2010; 38:2438–45.

    [36] Rahmani R, Yusof R, Seyedmahmoudian M, Mekhilef S. Hybrid technique of ant colony and particle swarm optimization for short term wind energy forecasting. J Wind Eng Ind Aerodyn 2013;123, Part A:163–70.

    [37] Hamzacebi C, Es HA. Forecasting the annual electricity consumption of Turkey using an optimized grey model. Energy 2014; 70:165–71.

    [38] Kozak J, Boryczka U. Multiple boosting in the ant colony decision forest metaclassifier. Knowl-Based Syst 2015; 75:141–51.

    [39] Liu H, Tian H-q, Li Y-f, Zhang L. Comparison of four Adaboost algorithm based artificial neural networks in wind speed predictions. Energy Convers Manage 2015; 92:67–81.

    [40] Kıran MS, Özceylan E, Gündüz M, Paksoy T. A novel hybrid approach based on particle swarm optimization and ant colony algorithm to forecast energy demand of Turkey. Energy Convers Manage 2012; 53:75–83.

    [41] Nie Q, Jin L, Fei S. Probability estimation for multi-class classification using Adobos. Pattern Recogn 2014; 47:3931–40.

    [42] Assaad M, Boné R, Cardot H. A new boosting algorithm for improved time-series forecasting with recurrent neural networks. Inform Fusion 2008; 9:41–55.

    [43] Pappas SS, Ekonomou L, Karampelas P, Karamousantas D, Katsikas S, Chatzarakis G, et al. Electricity demand load forecasting of the Hellenic power system using an ARMA model. Elect Power Syst Res 2010; 80:256–64.

    [44] Babu CN, Reddy BE. A moving-average filter based hybrid ARIMA–ANN model for forecasting time series data. Appl Soft Comput 2014; 23:27–38.

    [45] Zhao H., Magoulès F. A review on the prediction of building energy consumption. Renewable Sustainable Energy Rev. 16 2012; 3586–3592.

    7

  • [46] Al-Ghandoor A, Samhouri M, Al-Hinti I, Jaber J, Al-Rawashdeh M. Projection of future transport energy demand of Jordan using adaptive neuro-fuzzy technique. Energy 2012; 38:128–35.

    [47] Foucquier A., Robert S., Suard F., Stéphan L., Jay A. State of the art in building modelling and energy performances prediction: a review. Renewable Sustainable Energy Rev. 23 2013; 272–288.

    [48] Wang J., Li L., Niu D., Tan Z. An annual load forecasting model based on support vector regression with differential evolution algorithm. Appl. Energy 94 2012; 65–70.

    [49] Ekonomou L. Greek long-term energy consumption prediction using artificial neural networks. Energy 2010; 35:512–7.

    8

  • ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมรีไซเคิลอุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็กและผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้าน INNOVATIVE PRODUCTS RECYCLING, STEEL FURNITURE AND HOME DECORATIVE PRODUCTS. ผู้วิจัย กฤติยา อิศวเรศตระกูล อาจารย์ที่ปรึกษา ดร.ทนพ.นพดล พันธ์พานิช บทคัดย่อ

    อุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็กและผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้านชั้นน าระดับโลกจ านวนมาก ได้น านวัตกรรมมาเป็นส่วนส าคัญของแผนกลยุทธ์ในการท าธุรกิจ ที่จะเป็นการชี้น าทิศทางของตลาดจากการสร้างทัศนคติต่อผลิตภัณฑ์ใหม่ในอนาคตให้ประสบความส าเร็จและส่งผลต่อความสามารถการแข่งขันให้กับผลิตภัณฑ์ซึ่งต้องเป็นการสร้างที่ดีขึ้นและเพิ่มคุณค่าในใจของลูกค้าในการพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมรีไซเคิลอุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็กและผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้านจะเป็นกลยุทธ์การตลาดที่เพิ่มความสามารถในการแข่งขันของผลิตภัณฑ์รวมถึงสร้างตราผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการถ่ายโอนภาพลักษณ์

    การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นผลิตภัณฑ์นวัตกรรมรีไซเคิลให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยจะท าให้ผู้บริโภคที่ตระหนักและใส่ใจต่อปัญหาที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเจ้าของผลิตภัณฑ์ต้องมีการจัดท ากิจกรรมเพื่อให้ผู้ซื้อเกิดการรับรู้และเกิดการตอบสนองในด้านความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ในอนาคตโดยแยกระดับความเกี่ยวข้องของผลิตภัณฑ์ให้สามารถมองเห็นลักษณะการบริโภคผลิตภัณฑ์รีไซเคิลได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นสร้างองค์ความรู้ให้เจ้าของผลิตภัณฑ์ได้ศึกษาและเพิ่มความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ว่าปัจจัยใดที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ของตนเองและช่วยให้เกิดการพัฒนาการผลิตเพื่อกระตุ้นการบริโภคผลิตภัณฑ์ได้ถูกต้อง เหมาะสม สามารถน าไปพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็กเครืองใช้ส านักงานสู่ความส าเร็จให้เติบโตและเพิ่มมูลค่าทางการตลาดได้อย่างยั่งยืน ค าส าคัญ : นวัตกรรม อุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์ Abstract Furniture industry Steel and home decoration products Many world class leaders. Innovation is an important part of business strategy. It directs the direction of the market by creating new attitudes towards new products in the future. It affects the competitiveness of the product, which must be improved. Add value to the customer's mind in developing innovative products, recycling the steel furniture processing industry. Home Decoration is a marketing strategy that enhances the product's competitiveness, including branding, image transfer and branding. Development of innovative products as recycling products. To become a product that is environmentally friendly, it will make consumers aware and pay attention to the problems that occur with the environment. Product owners need to be active in order for the buyer to perceive and respond to the intended purchase of the product in the future. Separating the relevance of the product can clearly see the nature of the consumption of recycled products. Increased knowledge

    9

  • and understanding about consumer attitudes towards the product, what factors affect the intention to buy their own products, and help develop the production to stimulate consumption of products properly. It can be used to develop the steel furniture processing industry, to use the office for success, to grow and to increase the value of sustainable marketing. Keyword : Innovative Furniture industry บทน า อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์เป็นอุตสาหกรรมที่มีขนาดใหญ่ มีการจ้างงานกว่า 150,000 คน มีผู้ผลิตมากกว่า 2,000 ราย มูลค่าตลาด 100,000 ล้าน มูลค่าส่งออก 35,000 ล้านบาท ไปทั่วโลกโดย 80 % ไปที่ประเทศ ญี่ปุ่น สหรัฐและยุโรป ส่วนที่เหลือจะเป็นการส่งออกไปที่กลุ่มประเทศในอาเซียนได้แก่ ประเทศเวียดนาม มาเลเซียและอินโดนีเซีย เป็นผู้น าเข้ารายใหญ่ มีอัตราการเติบโตสูงที่สุด มูลค่าคิดเป็นสัดส่วน 20 % อันเป็นผลมาจากการลดอัตราภาษีน าเข้าสินค้าเฟอร์นิเจอร์ซึ่งปรกติแล้วอุตสาหกรรมชนิดนี้ จะได้รับการคุ้มครองจากรัฐบาลโดยการตั้งก าแพงภาษีน าเข้าสูงถึงร้อยละ 60 แต่เมื่อได้รับการลดภาษีน าเข้าท าให้มีราคาถูกลง การส่งออกจึงเป็นไปได้ง่ายขึ้นปัจจุบันเฟอร์นิเจอร์ไม้เนื้อแข็งมีราคาแพงขึ้นมาก ท าให้มีการพัฒนาเฟอร์นิเจอร์จากวัสดุเหล็กมากขึ้น เนื่องจากมีความคงทนถาวรและการออกแบบให้มี ความเหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอยมากขึ้น โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์นวัตกรรมรีไซเคิลอุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็กและผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้านก าลังได้รับความสนใจทั้งจากภาครัฐบาลและเอกชน เนื่อ งจากมีอัตราการขยายตัวอย่างรวดเร็วของทั้งในด้านการส่งออกและการเจริญเติบโตของตลาดภายในประเทศ มีการพัฒนารูปแบบและคุณภาพให้สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ เจ้าของผลิตภัณฑ์ต้องมีการจัดท ากิจกรรมเพื่อให้ผู้ซื้อเกิดการรับรู้ที่ดีต่อผลิตภัณฑ์และให้เกิดการตอบสนองในด้านความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคและมีทัศนคติที่มีต่อผลิตภัณฑ์ว่ามีความน่าเชื่อถือหลังจากการใช้ผลิตภัณฑ์แล้วและได้ท าการประเมินผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคให้มีความชื่นชอบในเชิงบวกและส่งผลต่อความตั้งใจซื้อของผู้บริโภคในคร้ังต่อไปเมื่อมีความต้องการการท าให้ผู้บริโภคเกิดการภักดีต่อผลิตภัณฑ์ จะท าให้ผู้บริโภคมีความตั้งใจซื้อที่เพิ่มขึ้นในอนาคต ซึ่งหากพิจารณาจากสภาพปัจจุบันแล้วจะเห็นได้ว่าอุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็กและสินค้าตกแต่งบ้านควรจะพัฒนาให้ผลิตภัณฑ์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพราะจะได้รับการยอมรับมากขึ้นจากกระบวนการผลิตที่สะอาดรวมทั้งหลังจากบริโภคผลิตภัณฑ์แล้วส่งผลต่อเสียต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์นวัตกรรมรีไซเคิลอุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็กและสินค้าตกแต่งบ้าน เจ้าของผลิตภัณฑ์จะเกี่ยวข้องการเติบโตของธุรกิจและเป็นผู้ที่กล้ารับความเสี่ยงจากการซื้อของในราคาที่แน่นอน แต่ขายในราคาที่ไม่แน่นอน เป็นผู้ที่น าปัจจัยในการผลิตต่าง ๆ มารวมกัน และ เป็นผู้ส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐศาสตร์ เจ้าของผลิตภัณฑ์ คือ ผู้ซึ่งมีความช านาญในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ การแบ่งสรรทรัพยากร เจ้าของผลิตภัณฑ์จึงเป็นนักวางแผนเชิงรุกเพราะจะต้องลงทุนเองทั้งหมดและมักเป็นนักวางแผนเชิงรับที่ต้องเป็นผู้มีความรู้ทั่วไปมากกว่าความรู้เฉพาะ ดังนั้น จึงต้องมีความช านาญในการตัดสินใจในทุกด้านเพื่อน าไปสู่ความส าเร็ จและต้องมีความสามารถในการกระตุ้นจูงใจผู้อื่นเจ้าของผลิตภัณฑ์ต้องมีการเปลี่ยนแปลงในการพัฒนาของผลิตภัณฑ์ มีกระบวนการจัดการ (Organizing) ด าเนินการ (Operating) และการบริหารความเสี่ยงของธุรกิจ นวัตกรรม (innovation) เป็นสิ่งที่เจ้าของผลิตภัณฑ์จะเป็นผู้ที่ท าให้เกิดกับผลิตภัณฑ์และสร้างสวรรค์องค์ประกอบใหม่

    10

  • บริบทของสินค้าผลิตภัณฑ์นวัตกรรมรีไซเคิลอุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็กและสินค้าตกแต่งบ้าน สินค้าผลิตภัณฑ์นวัตกรรมรีไซเคิลอุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็กและสินค้าตกแต่งบ้านมีความส าคัญต่อระบบเศรษฐกิจที่ก่อให้เกิดการจ้างงานได้เป็นจ านวนมาก หลายประเทศในโลกได้มีความพยายามที่จะพัฒนาขีดความสามารถการแข่งขันให้กับสินค้าผลิตภัณฑ์นวัตกรรมรีไซเคิลอย่างต่อเนื่อง ในการพัฒนาศักยภาพของผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ซื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะต้องอาศัยปัจจัยที่ จะน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางสร้างสรรค์แต่ถ้าขาดวัตถุดิบรีไซเคิลทีม่ีคุณภาพ ก็จะไม่สามารถน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์รีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพต้องมีระบบการจัดการที่ดีเพราะจะท าให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องและจะท าให้เกิดความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วจากการที่อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์รีไซเคิลเป็นไปตามวัตถุประสงค์ในการน าไปประยุกต์ใช้ ปัจจุบันอุตสาหกรรมของผลิตภัณฑ์รีไซเคิลมีบทบาทส าคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยสัดส่วนมูลค่า ผลผลิตอุตสาหกรรมต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วซึ่งโดยบริบทหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการก าหนดทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมของผลิตภัณฑ์รีไซเคิล จะประกอบไปด้วย 1. มีกระบวนการผลิตที่ค านึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ENVIRONMENTAL FRIENDLY - GREEN AND CLEAN) 2. แข่งขันบนการผลิตภายใต้มาตรฐานสากลและบรรทัดฐานของสังคม (ADOPT GLOBAL STANDARD /BUSINESS ETHIC) 3. มุ่งเน้นประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและฐานความรู้ในการเพิ่มมูลค่าสินค้า (APPLY TECHNOLOGY AND KNOWLEDGE) 4. สร้างเครือข่ายการผลิตผ่านความร่วมมือภายในและระหว่างอุตสาหกรรม (COLLABORATIVE NETWORK / CLUSTER) 5. การผลิตที่เป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานโดยมีรูปแบบการผลิตแบบใหม่ (NEW MODE OF PRODUCTION THROUGH GLOBAL VALUE CHAIN) 6. เน้นการสร้างความสามารถหลักเฉพาะด้านที่มีขีดความสามารถสูงสุด (FOCUS ON SPECIALIZED CORE COMPETENCY) 7. เน้นการบริหารจัดการภาวะความเสี่ยงในรูปแบบใหม่ (MANAGED THROUGH GLOBAL RISK) 8. สร้างรูปแบบการเข้าถึงตลาดใหม่ (NEW MARKET ACCESS) แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการรับรู้ความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์จากการใช้งาน การรับรู้ความเสี่ยงจากการใช้งาน (Perceived risk of functional of product) หมายถึง เป็นความรู้สึกว่าเมื่อซื้อไปแล้วอาจไม่ได้รับประโยชน์ตามที่คาดหวัง เป็นความเสี่ยงที่ผู้บริโภครับรู้หรือรู้สึกขึ้นมา เป็นเรื่องภายในใจซึ่งหน่วงการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ เป็นสภาวะที่เกิดรับรู้หรือรู้สึกขึ้นมาว่ามีความเสี่ยงหากซื้อและจะท าให้เกิดผลเสียหาย หากตัดสินใจผิดพลาด มีผลให้เลือกที่จะชะลอการตัดสินใจ ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ในทางปฏิบัติเจ้าของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตหรือจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ชนิดใดจะต้องพิจารณาสิ่งต่างๆที่เก่ียวข้อง ดังต่อไปนี้ 1. แนวความคิดด้านผลิตภัณฑ์ (Product concept) เป็นคุณสมบัติที่ส าคัญของผลิตภัณฑ์ที่สามารถสนองความต้องการของผู้ซื้อได้ ผลิตภัณฑ์ทุกชนิดต้องก าหนดลงไปให้ชัดเจน 2. คุณสมบัติผลิตภัณฑ์ (Product attribute) จะต้องทราบว่ามาจากอะไร มีคุณสมบัติอย่างไร ลักษณะทางกายภาพ ฟิสิกส์ เคมี ขนาด ความดี ความงาม ความคงทนทางด้านรูปร่าง รูปแบบของผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ในตัวของมันเอง

    11

  • 3. ลักษณะเด่นของสินค้า (Feature) คือ การน าสินค้าของเจ้าของผลิตภัณฑ์ไปเปรียบเทียบกับของคู่แข่งแล้วมีคุณสมบัติแตกต่างกัน และจะต้องรู้ว่ามีลักษณะอะไรเด่นเป็นพิเศษกว่าสินค้าอื่น เพื่อดึงดูดลูกค้าให้ใช้สินค้า จุดเด่นหรือลักษณะเด่นของสินค้าที่ผลิตออกมานั้น เมื่อน าไปตรวจสอบในการเปรียบเทียบกับกลุ่มเป้าหมายแล้วจะต้องหาลักษณะเด่นให้ได้ เพราะสินค้าที่ไม่มีลักษณะเด่น ยากที่จะเป็นผู้น าหรือผู้ท้าชิงได้ แต่จะกลายเป็นได้แค่ผู้ตาม แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ซื้อและผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันกระแสการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมนับได้ว่ามีส่วนเก่ียวข้องกับธุรกิจเป็นอย่างมากเจ้าของผลิตภัณฑ์ต่างล้วนปรับตัวในการผลิตสินค้าและกระบวนการท างานให้สอดคล้องกับการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมีแนวทางกา รด าเนินธุรกิจด้วยหลัก 3R.S ได้แก่ Reduce คือลดจ านวนการใช้ Reuse คือการใช้หลายครั้ง และ Recycle คือการน ามาผ่านกระบวนการเพื่อให้สามารถใช้ซ้ าได้อีก ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จะได้รับการยอมรับว่าผลิตขึ้นโดยใช้วัตถุดิบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หรือเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อธรรมชาติ ที่เริ่มตั้งแต่การผลิต การอุปโภคบริโภค ตลอดจนการสิ้นสภาพ โดยมีกระบวนการผลิตที่สะอาดซึ่งหลังจากบริโภคผลิตภัณฑ์แล้วจะส่งผลต่อเสียต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด แนวคิดผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่ผู้ซื้อให้ความส าคัญอย่างจริงจัง ธุรกิจต้องน าแนวคิดดังกล่าวไป ประยุกต์ใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์รีไซเคิลอย่างครบวงจร ตั้งแต่การผลิต การน าออกสู่ตลาด การใช้งานโดยผู้ซื้อ และการท าลายทิ้งหลังการใช้งาน รวมทั้งการด าเนินธุรกิจต้องมีความโปร่งใส ภายใต้ปรัชญาที่ก าหนดขึ้นของธุรกิจ แนวความคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับการตัดสินใจซื้อ การรับรู้ถึงความต้องการเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการซื้อคือการที่ผู้ซื้อตระหนักถึงปัญหาหรือการรับรู้ถึงความต้องการของตนเองจะเป็นสิ่งกระตุ้นภายในร่างกายหรือเจ้าของผลิตภัณฑ์อาจสร้างสิ่งกระตุ้นทางการตลาดเพื่อท าให้ผู้ซื้อเกิดความต้องการข้ึนได้ ในบางครั้งความต้องการได้รับการกระตุ้นและคงอยู่เป็นเวลานาน แต่ความต้องการนั้นยังไม่ถึงระดับที่จะท าให้เกิดการซื้อ ดังนั้นเจ้าของผลิตภัณฑ์อาจจะต้องท าการวิจัยเพื่อให้ทราบถึงความต้องการหรือปัญหาของผู้ซื้อที่จะน าไปสู่การซื้อผลิตภัณฑ์ของตน กระบวนการตัดสินใจซื้อจะประกอบไปด้วยบุคคลหรือกลุ่มคนที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องหรือมีบทบาทในการตัดสินใจซื้อ โดยเริ่มจากบุคคลที่เสนอความคิดในการซื้อผลิตภัณฑ์เป็นคนแรก ผู้มีอิทธิพลหรือผู้ให้ค าแนะน า และผู้ตัดสินใจซื้อคือผู้ที่ซื้อสินค้า ว่าซื้อหรือไม่ซื้อ ซื้ออะไร ซื้อที่ไหนและซื้ออย่างไร ผู้ซื้อคือ ผู้ท าการซื้อสินค้าโดยมีกระบวนการการรับรู้และความเข้าใจของบุคคลที่ขึ้นอยู่กับปัจจัยภายใน ได้แก่ ความเชื่อ ประสบการณ์ อารมณ์ และปัจจัยภายนอก ได้แก่ สิ่งกระตุ้นที่มากระทบประสาท สัมผัสทั้ง 5 ดังนั้นการโฆษณาจึงต้องพยายามสร้างให้เกิดความรับรู้ทางด้านอารมณ์ และความน่าเชื่อถือ เนื่องจากพฤติกรรมผู้ซื้อครอบคลุมกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคสินค้า เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจถึงปัจจัยต่างๆ การศึกษาจากแบบจ าลองที่แสดงสิ่งกระตุ้นและการตอบสนองทางด้านจิตวิทยาของผู้ซื้อกับปัจจัยที่ก าหนดพฤติกรรมในรูปแบบของการตอบสนองต่อสิ่งเร้าและในรูปแบบปัจจัยน าเข้า ปัจจัยคั่นกลางและผลลัพธ์ โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ปัจจัยภายนอก กล่องด าของผู้ซื้อและส่วนผลลัพธ์โดยแบบจ าลองนี้จะมีประโยชนเ์ป็นอย่างมาก เนื่องจากสามารถน าไปท าความเข้าใจพฤติกรรมผู้ซื้อ รวมถึงปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง แบบจ าลองจะมีการน าเสนอรูปแบบของสิ่งกระตุ้นและการตอบสนองที่ท าให้เจ้าของผลิตภัณฑ์สามารถน าไปประยุกต์ใช้ได้สะดวกขึ้น แบบจ าลองพฤติกรรมผู้ซื้อซึ่งนับได้ว่าเป็นประโยชน์กับเจ้าของผลิตภัณฑ์ ในการใช้เป็นกรอบในการศึกษาพฤติกรรมผู้ซื้อ เพื่อให้เกิดความเข้าใจพฤติกรรมการตัดสินใจ และปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของผู้ซื้อท าให้เจ้าของผลิตภัณฑ์สามารถน าองค์ความรู้ และผลการศึกษาที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการก าหนดกลยุทธ์และออกแบบกิจกรรมการตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

    12

  • สรุป สรุปได้ว่าเจ้าของผลิตภัณฑ์มีผลอย่างมากต่อความส าเร็จความเจริญเติบโตและความก้าวหน้าในการพัฒนาไปสู่

    การผลิตสินค้าผลิตภัณฑ์นวัตกรรมรีไซเคิลอุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็กและสินค้าตกแต่งบ้าน ซึ่งจะเชื่อมโยงระบบเศรษฐกิจเสรีในรูปของการแข่งขันทางธุรกิจอันเป็นรากฐานของการพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรมการผลิตสินค้าใหม่ๆ ซึ่งจะเป็นสิ่งกระตุ้นที่ก่อให้เกิดสิ่งประดิษฐ์หรือผลิตภัณฑ์ที่แปลกใหม่ตอบสนองความต้องการของผู้ซื้อมากขึ้น อุตสาหกรรมของผลิตภัณฑ์รีไซเคิลอุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็กและสินค้าตกแต่งบ้าน ต้องมีการใช้ความรู้ ทักษะที่สามารถประยุกต์ใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรมในการปฏิบัติได้ มีการก าหนดทิศทางยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการจนประสบผลส าเร็จ ในการพัฒนากลยุทธ์ของผู้ผลิตสินค้าผลิตภัณฑ์นวัตกรรมรีไซเคิลอุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็กและสินค้าตกแต่งบ้านส าคัญต้องสร้างผลิตภัณฑ์ที่ดีและมีคุณสมบัติที่ถูกต้องตรงตามลักษณะและความเหมาะสมตามความต้องการของผู้ซื้อเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันและน าไปสู่ผลประกอบการที่ดี สามารถเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด มีอัตราการเติบโตที่ดี ท าก าไรได้สูงสุดสร้างความมั่นคงที่ยั่งยืนให้กับเจ้าของผลิตภัณฑ์ได้

    การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นผลิตภัณฑ์นวัตกรรมรีไซเคิลให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยจะท าให้ผู้บริโภคที่ตระหนักและใส่ใจต่อปัญหาที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเจ้าของผลิตภัณฑ์ต้องมีการจัดท ากิจกรรมเพื่อให้ผู้ซื้อเกิดการรับรู้และเกิดการตอบสนองในด้านความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ในอนาคตโดยแยกระดับความเกี่ยวข้องของผลิตภัณฑ์ให้สามารถมองเห็นลักษณะการบริโภคผลิตภัณฑ์รีไซเคิลได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นสร้างองค์ความรู้ให้เจ้าของผลิตภัณฑ์ได้ศึกษาและเพิ่มความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ว่าปัจจัย ใดที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ของตนเองและช่วยให้เกิดการพัฒนาการผลิตเพื่อกระตุ้นการบริโภคผลิตภัณฑ์ได้ถูกต้อง เหมาะสม สามารถน าไปพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปเฟอร์นิเจอร์เหล็กเครืองใช้ส านักงานสู่ความส าเร็จให้เติบโตและเพิ่มมูลค่าทางการตลาดได้อย่างยั่งยืน เอกสารอ้างอิง อริญชย์ ณ ระนอง. (2558).อิทธิพลของทัศนคติที่มีต่อการโฆษณาสินค้าและทัศนคติที่มีต่อตราสินค้าในฐานะปัจจัย

    คั่นกลางที่ถ่ายทอดอิทธิพลของการรับรองผลิตภัณฑ์โดยบุคคลที่มีชื่อเสียงสู่ความตั้งใจซื้อ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค าแหง

    Adele Revella. (2015). Buyer Personas: How to Gain insight into Your Customer's Expectations, Align Your Marketing Strategies, and Win More Business. New York : Mc-Grow Hill.

    Ashforth, B.E. & Mael, F., (2009). Social identity theory and the organization. Academy of Management Review, 14(1), pp.20-39.

    Andrian P. and Nicole K., (2009). An experiential, social network-based approach to direct marketing. Direct Marketing : An international Journal. Vol. 3 No. 3 pp. 162-176.

    Austin, J.H. (2011). Social networking sites- venues for the brand ambassadors of the future. Business strategic. 4(3):354-387.

    Cristina, C. & Lei, H. (2012). Social Media in an Alternative Marketing Communication Model. Journal of marketing Development and Competitiveness,Vol.6(1) 117-131.

    Chaipoopirutana, Z. B. a. S. (2011). GREEN PRODUCT CONSUMER BUYER BEHAVIOR IN CHINA. American Journal of Business Research 4(1): 1-18.

    13

  • Marshal Cohen. (2006). Why customers do what they do : who they are, why they buy, and how you can anticipate their every move. New York : McGraw-Hill.

    Ottman, J. (1992). Sometimes consumers will pay more green. Marketing News 16. Parthasarathy, R., Huang, C., & Ariss, S. (2011). Impact of dynamic capability on innovation,value

    creation and industry leadership. The IUP Journal of Knowledge Management, 9(3), 59-73.

    14

  • แนวทางการบริหารจัดการในการขับเคลื่อนกลยุทธก์ารตลาดสู่ความส าเร็จของธรุกิจอุปกรณก์ารเลี้ยงไก่ในฟาร์มระบบปิด Marketing Strategy Management Approach for the Success of Chicken Equipment Business on Closed Farm System ผู้วิจัย กฤษณ์ พานสัมฤทธิ์ อาจารย์ที่ปรึกษา ดร.ทนพ.นพดล พันธ์พานิช บทคัดย่อ

    บทความวิชาการนี้น าเสนอกลยุทธ์การตลาดที่มีประสิทธิภาพในการท าให้ธุรกิจประสบความส าเร็จ จากการ สังเคราะห์จากแนวคิดทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องด้านกลยุทธ์การตลาด ดังนั้นเพื่อให้นักธุรกิจได้เลือกกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพเมื่อน ามาใช้แล้วสามารถเห็นผลได้อย่างชัดเจน ซึ่งจากการศึกษาพบว่าการบริหารธุรกิจทุกประเภท ปัจจัยส าคัญที่จะท าให้ประสบความส าเร็จก็คือการวางแผนที่มีการน ากลยุทธ์ทางการตลาด ซึ่งมีอยู่มากมายมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับธุรกิจแต่ละประเภท เพราะปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีส่วนเกี่ยวข้องอยู่ในชีวิตประจ าวันของคนเราในทุกๆ ด้าน การที่ผู้ประกอบการธุรกิจอุปกรณ์การเลี้ยงไก่ในฟาร์มระบบปิด สามารถด าเนินธุรกิจโดยสร้างการเจริญเติบโตให้มีจ านวนลูกค้า ยอดขาย ก าไร สินทรัพย์ และเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น สามารถพิจารณาได้จาก 7 ปัจจัย คือ ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจัดจ าหน่าย การส่งเสริมการตลาด บุคคลหรือพนักงาน ลักษณะทางกายภาพ และกระบวนการ โดยที่ผู้ประกอบการต้องมีคุณลักษณะที่ดีของของผู้ประกอบการ ประกอบไปด้วย ความเป็นตัวของตัวเอง ความมีนวัตกรรม การเผชิญกับความเสี่ยง ความเป็นอิสระในการบริหารงาน และความสามารถในการแข่งขัน ดังนั้นผู้ประกอบการต้องตระหนักถึงลักษณะของประเภทสถานประกอบการ ตลอดจนความพร้อมของผู้ประกอบการ ศักยภาพของพนักงานและกระบวนการ ธุรกิจจะประสบความส าเร็จหรือไม่ขึ้นอยู่กับการบริหารและการด าเนินงานที่ถูกต้อง เหมาะสมกับสภาพของสถานประกอบการ ผู้ประกอบการควรให้ความส าคัญกับการบริหารจัดการ ความกล้าเสี่ยงและกล้าตัดสินใจ ตลอดจนการเลือกใช้นวัตกรรมในกระบวนการการบริการ สร้างความได้เปรียบเชิงแข่งขันในตลาดการค้าโลก สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ในเชิงสร้างสรรค์ เพื่อมุ่งสู่การเป็นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ส่งผลต่อความส าเร็จทางการตลาด ซึ่งสามารถวัดได้จากความสามารถในการลดต้นทุนการผลิต ความส าเร็จในการท าก าไร การเพิ่มข้ึนของยอดขาย และจ านวนของผลิตภัณฑ์ เชิงสร้างสรรค์ใหม่ที่เกิดขึ้น ท าให้ผู้ประกอบธุรกิจประสบความส าเร็จตามเป้าหมายที่ก าหนดไว้ ค าส าคัญ : การบริหารจัดการ, กลยุทธ์การตลาด, ความส าเร็จของธุรกิจ Abstract

    The objective of this article are present effective marketing strategies to make business successful and faster. So that, in order for business people to choose effective strategies when applied, they can see the results clearly. Business Administration, important factor to make a success is planning brings the marketing strategy there are many to adapt to suit. Nowadays, information technology is involved in our daily lives in every aspect each type of business. The business entrepreneur of equipment for chicken farming on closed systems. can operate chicken farming equipment on the closed system by create growth with the number of customers, sales, profit, asset and increased investment can be determined from 7 factors are products, price, distribution channels, marketing, promotion, person or

    15

  • employee, physical description and process. Good feature of entrepreneur including personality, emotional state, spirit, need, propulsion and values including be yourself, innovation, facing with risk, independence in administration and the ability to compete. Therefore, the entrepreneur must be aware of the characteristics of the type of establishment, and the availability of entrepreneurs, employee potential and processes The business will be successful or not depending on the management and operation that is right and appropriate for the establishment condition. Entrepreneurs should focus on issues including managemen, courage and entrepreneur determination including innovation in the service process, create a competitive advantage in the world trade market, new innovations. In order to become a creative industry, the success of marketing, can be measured by the ability to reduce production costs, profitability increase in sales and a number of new creative products are emerging.

    Keywords : Management, marketing strategies, Business Success บทน า

    ผลผลิตไก่เนื้อของโลกมีปริมาณปีละ 85-90 ล้านตัน มีผู้ผลิตหลัก คือ สหรัฐฯ บราซิล และจีน สัดส่วนการผลิตรวมกันประมาณ 50% ของผลผลิต ส่วนใหญ่ใช้บริโภคภายในประเทศเป็นหลัก การส่งออกไก่แช่แข็งและแปรรูปมีสัดส่วนเพียง 12% ของผลผลิตไก่เนื้อทั้งหมด โดยการส่งออกแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1) ไก่สด แช่เย็นแช่แข็ง เป็นการน าไก่สดทั้งตัว หรือไก่ช าแหละ หรือไก่สดหมักเกลือมาผ่านกระบวนการแช่เยือกแข็ง และ 2) ไก่แปรรูป เป็นการน าเนื้อไก่ผ่านกระบวนการปรุงสุกหรือปรุงรสก่อนน าไปแช่เยือกแข็ง ซึ่งเป็นอาหารส าเร็จรูปแช่แข็งที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นผลิตภัณฑ์ไก่แปรรูปที่ส าคัญ ได้แก่ ไก่ชุบแป้งทอด ไก่หมักซอส นักเก็ตไก่ สเต็กไก่ เป็นต้น (วารีรัตน์ เพชรสีช่วง, 2560) ประเทศ ผู้ส่งออกไก่แช่แข็งและแปรรูปอันดับ 1 ของโลกคือ บราซิลมีส่วนแบ่งตลาดส่งออก 36.4% ของมูลค่าการส่งออกในตลาดโลก ตามด้วยสหรัฐฯ (28.2%) สหภาพยุโรป (11.9%) และไทย (6.5%) โดยการส่งออกไก่เนื้อในตลาดโลกส่วนใหญ่อยู่ในรูปของไก่แช่เย็น แช่แข็ง สัดส่วน 88% ในเชิงปริมาณและ 76% ในเชิงมูลค่าส่วนการส่งออกไก่แปรรูปมีสัดส่วนส่งออก 12% ในเชิงปริมาณและ 24% ในเชิงมูลค่า การค้าไข่ไก่ในภูมิภาคเอเชียคิดเป็นร้อยละ 25 ของโลก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการค้าระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน การส่งออกไข่ไก่ของภูมิภาคเอเชียตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นเท่าตัวจาก 204,000 ตัน เป็น 418,000 ตัน จากการขยายตัวการส่งออกของประเทศตุรกี มาเลเชีย จีน อินเดีย และไทย ทั้งนี้การส่งออกของจีนมีการขยายตัวอย่างมากจาก 65,000 ตันในปี 2543 เป็น 135 ,000 ตันในปี 2552 โดยส่งออกไปฮ่องกงถึงร้อยละ 85 ที่เหลือส่งไป มาเก๊าสิงคโปร์ และสหรัฐฯ ในขณะที่มาเลเชียมีการขยายตัวเพิ่มของการส่งออกไข่ไก่จนขึ้นสู่อันดับสองของโลกในปี 2552 ซึ่งส่วนใหญ่ส่งออกไปสิงคโปร์คิดเป็นร้อยละ 83 ประเทศตุรกีมีการขยายตัวการส่งออกไข่ไก่มากที่สุดจากจ านวน 4,000 ตัน ในปี 2543 เป็นประมาณ 90,000 ตัน ในปี 2552 มีตลาดคู่ค้าที่ส าคัญคือ อิรัก และสาธารณรัฐอาหรับซีเรีย ส าหรับประเทศไทยมีการขยายตัวการส่งออกอยู่ในอันดับห้า โดยมีการส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 6 ,000 ตัน ในปี 2543 เป็นประมาณ 22,000 ตันในปี 2552 (ส านักนโยบายและยุทธศาสตร์การค้าสินค้าเกษตร, 2560)

    หลังวิกฤติไข้หวัดนกปี 2547 เป็นต้นมา ไก่เนื้อของไทยมีมาตรการคุมเข้มเรื่องโรคเป็นอย่างดี จนได้รับการยอมรับจากตลาดโลก การบริโภคเพิ่มทั้งในประเทศและส่งออก ยิ่งมีการพัฒนาการเลี้ยงจนได้มาตรฐาน ท าให้อุตสาหกรรมไก่เนื้อและไก่ไข่ เติบโตมาโดยตลอดจนประเทศไทยเป็นอันดับต้นของโลกตั้งแต่ปี 2555-2560 อีกทั้งตั้งแต่ได้มีการก่อตั้งองค์การการค้าโลก (WTO) ซึ่งเป็นองค์กรที่มีหน้าที่ดูแลและก าหนดมาตรการต่างๆ ในการส่งออกสินค้าสู่ตลาดประเทศ ซึ่งเริ่มมีการบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา ประเทศต่างๆ ที่เป็นสมาชิกองค์กรดังกล่าว จึงมีความตื่นตัวและจ าเป็นที่จะต้องปรับตัวเพื่อการแข่งขันทางการค้ามากขึ้น หน่วยงานที่รับผิดชอบในการผลิตปศุสัตว์ในประเทศไทย คือ กรมปศุสัตว์ ได้ออกกฎ ระเบียบ กฎหมาย รวมถึงมาตรฐานต่างๆ เพื่อให้มีความ

    16

  • สอดคล้องกับข้อก าหนดขององค์การการค้าโลก และองค์กรโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (OIE) และถือว่าเป็นมาตรฐานการผลิตสินค้าทางการเกษตร (GAP) ด้านการผลิตปศุสัตว์ ซึ่งมีมาตรฐานที่ส าคัญบางประการ ได้แก่ มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ การควบคุมการใช้ยาในมาตรฐานฟาร์มปศุสัตว์ และข้อก าหนดการควบคุมการใช้ยาส าหรับสัตว์ ทั้งนี้ ส าหรับประเทศไทย โครงสร้างอุตสาหกรรมไก่เนื้อในปัจจุบันถูกครองตลาดโดยผู้ประกอบการรายใหญ่ 1-7 ราย ประกอบด้วย เครือเจริญโภคภัณฑ์อาหาร (มีก าลังการผลิตประมาณ 30% ของผลผลิตในตลาด) เบทาโกร สหฟาร์ม คาร์กิล ไทยฟู้ดส์กรุ๊ป จีเอฟพีที และ แหลมทองอุตสาหกรรม ซึ่งบริษัทใหญ่เหล่านี้มีการผลิตครบวงจร ตั้งแต่อาหารสัตว์ ฟาร์มไก่เนื้อ และการแปรรูปไก่เนื้อ จึงสามารถบริหารต้นทุนได้ดี เกิดการประหยัดต่อขนาด มีการแปรรูปมูลค่าเพิ่มสูงเพื่อเพิ่มโอกาสในการส่งออก โดยผลผลิตของรายใหญ่ดังกล่าวมีสัดส่วนสูงถึง 90% ของผลผลิตไก่แช่แข็งและแปรรูปทั้งหมด

    การเลี้ยงไก่ เป็นอาชีพหนึ่งของเกษตรกรที่มีการเลี้ยงกันอย่างแพร่หลายทั่วทุกภาคของประเทศไทย รวมทั้งผลผลิตที่ได้เป็นไข่ไก่และเนื้อไก่ ก็เป็นสินค้าเกษตรที่ส าคัญของประเทศไทย ผลผลิตไข่ไก่นอกจากจะใช้บริโภคภายในประเทศและยังสามารถส่งออกจ าหน่ายต่างประเทศ โดยปัจจุบันจะมีการเลี้ยงไก่ไข่ในเชิงพาณิชย์กันมากขึ้น อีกทั้งการเลี้ยงไก่ไข่จะกระจายตัวตามภูมิภาคต่าง ๆ โดยภาคกลางและภาคตะวันออกเป็นแหล่งที่มีการเลี้ยงไก่มากที่สุด ในจังหวัดฉะเชิงเทรา สุพรรณบุรี ชลบุรี สระบุรี นครนายก อยุธยา นครปฐม เป็นต้น รองลงมา ได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ ตามล าดับ โดยภาคกลางและภาคตะวันออก มีการเลี้ยงไก่มากกว่าภาคอื่น ๆ มีการส่งเนื้อไก่และไข่ไก่ เข้ามาขายในกรุงเทพฯ ถึงวันละ 10 -11 ล้านฟอง ซึ่งเป็นปริมาณมากกว่าผลผลิตร้อยละ 50 ของผลผลิตจากไก่ทั้งหมด โดยเฉพาะไข่ไก่ที่จ าหน่ายแต่ละวัน พ่อค้าขายส่งจะกระจายให้พ่อค้าปลีกในตลาดต่าง ๆ ของกรุงเทพฯ และปริมณฑล และอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ต้องใช้ไข่ไก่เป็นวัตถุดิบ โดยมีบริษัทที่ประกอบธุรกิจด้านปศุสัตว์เข้ามามีบทบาทและด าเนินการในลักษณะแบบครบวงจร�