1
พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง เทศบาลตาบลตระการพืชผล อาเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี The Behavior of Solid Waste Management in Donyai Villeage and don Thap Chang Villeage. Trakan Phuetphon Municipality Trakan Phuetphon Districk Ubon Ratchathani Province อมร ตังนู 1 อรรถพร ชนะพาห์ 1* นันทพร สุทธิประภา 2 1 ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 2 อาจารย์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ ความเข้าใจ พฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยใน โครงการ Zero Waste และเพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจการจัดการขยะมูลฝอย ระหว่างชุมชน บ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง ซึ่งกลุ่มตัวอย่างมี จานวน 310 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แกค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ผลการศึกษาพบว่า การรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับ โครงการ Zero Waste ภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับปานกลาง ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะ ของประชาชน ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับสูง พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในโครงการ Zero Waste ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี ส่วนพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยในโครงการ Zero Waste ระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง พบว่า ประชาชนมีพฤติกรรมใน การจัดการขยะมูลฝอยแตกต่างกัน โดยชุมชนบ้านดอนใหญ่มีพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยสูงกว่า ชุมชนบ้านดอนทับช้าง ทุกด้าน บทนา เทศบาลตาบลตระการพืชผล ตั้งอยู่ในอาเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานีมีหน่วยงานทีให้บริการและจัดการขยะมูลฝอยเพียงแห่งเดียว คือเทศบาลตาบลตระการพืชผล ปริมาณขยะมูลฝอยทีเกิดขึ้นในเทศบาล มีปริมาณ 20 ตันต่อวัน โดยเทศบาลเก็บขนขยะใช้รถบรรทุก จานวน 5 คัน เทศบาล ตาบลตระการพืชผล ยังไม่มีศูนย์การกาจัดขยะมูลฝอยในลักษณะรวมศูนย์แนวทางในการแก้ไขปัญหาเรื่อง ขยะควรมีการรณรงค์ให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจ หรือหาแนวทางในการลดปริมาณขยะโดยการใช้ หลักการแยกชนิดของขยะก่อนทิ้งหรือให้ความรู้แก่ประชาชนเรื่องการจัดการขยะและมูลค่าที่ใช้ใน การจัดการขยะโดยผ่านหน่วยงานของรัฐ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาพฤติกรรมของประชาชนในการจัดการ ขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste ) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอย 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย 3.เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจการจัดการขยะมูลฝอยระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชน บ้านดอนทับช้าง 4. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมจัดการขยะมูลฝอยระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัย 0.19 0.058 0.927 0.112 0.094 0.166 0.077 0.928 0.11 0.093 บ้านดอนใหญ่ บ้านดอนทับช้าง ด้านการคัดแยก ขยะ ด้านความรู้เกี่ยวกับ โครงการ Zero Waste ด้านการลดปริมาณขยะ ด้านการนาขยะกลับใช้ซด้านการแปรสภาพและการ หมุนเวียนนากลับมาใช้ใหม่ 0.774 0.200 0.333 0.771 0.192 0.258 บ้านดอนใหญ่ บ้านดอนทับช้าง พฤติกรรมด้านการลดปริมาณขยะ พฤติกรรมด้านการนาขยะกลับ ใช้ซพฤติกรรมด้านการแปรสภาพและการ หมุนเวียนนากลับมาใช้ใหม่ สรุปผลวิจัย ภาพที่ 1 การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอย ระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ทั้งสองหมู่บ้านมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะ มูลฝอยไม่แตกต่างกัน ภาพที่ 2 การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยระหว่าง ชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ทั้งสองชุมชนมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย ไม่แตกต่างกัน การรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับโครงการ Zero Waste พบว่า มีการรับรู้ข่าวสารอยู่ใน ระดับปานกลาง กลาง ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะของประชาชน ภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับสูง พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในโครงการ Zero Waste ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี การเปรียบเทียบความรู้ความ เข้าใจและพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย ทั้งสองชุมชนไม่แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะ - ควรมีการติดตามโครงการการจัดการขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste) อย่าง ต่อเนื่อง อ้างอิง กองสาธารณะสุขสิ่งแวดล้อมเทศบาลตาบลตระการพืชผล. (2555 ). การบริหาร จัดการขยะแบบชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste). อุบลราชธานี : เทศบาลตาบล ตระการพืชผล หัทยา พละพงศ์ และคณะ. (2555 ). ความรู้ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้หลัก 3Rs เทศบาลพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชภัอุบลราชธานี. สุ่มตัวอย่าง สร้างแบบสอบถาม ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ความเที่ยงตรง ทดสอบเครื่องมือ 50 ชุด นาแบบสอบถามไปเก็บ ข้อมูลจากครัวเรือน จานวน 310 ชุด ทาการเก็บรวบรวม แบบสอบถามและ ตรวจสอบข้อมูล นาข้อมูลไปวิเคราะห์ผล

The Behavior of Solid Waste Management in Donyai Villeage ...nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015070.pdf · พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชน

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: The Behavior of Solid Waste Management in Donyai Villeage ...nestc.sci.ubu.ac.th/2015/upload/Poster/N2015070.pdf · พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชน

พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง เทศบาลต าบลตระการพืชผล อ าเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธาน ี

The Behavior of Solid Waste Management in Donyai Villeage and don Thap Chang Villeage. Trakan Phuetphon Municipality Trakan Phuetphon Districk

Ubon Ratchathani Province

อมร ตังน1ู อรรถพร ชนะพาห1์* นันทพร สุทธปิระภา2

1ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 2อาจารย์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยัราชภฏัอบุลราชธานี อ าเภอเมือง จงัหวดัอบุลราชธานี 34000

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ ความเข้าใจ พฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยในโครงการ Zero Waste และเพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจการจัดการขยะมูลฝอย ระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง ซึ่งกลุ่มตัวอย่างมี จ านวน 310 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ผลการศึกษาพบว่า การรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับโครงการ Zero Waste ภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับปานกลาง ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะของประชาชน ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับสูง พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในโครงการ Zero Waste ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี ส่วนพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยในโครงการ Zero Waste ระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง พบว่า ประชาชนมีพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยแตกต่างกัน โดยชุมชนบ้านดอนใหญ่มีพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยสูงกว่าชุมชนบ้านดอนทับช้าง ทุกด้าน

บทน า

เทศบาลต าบลตระการพืชผล ตั้งอยู่ในอ าเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานีมีหน่วยงานที่ให้บริการและจัดการขยะมูลฝอยเพียงแห่งเดียว คือเทศบาลต าบลตระการพืชผล ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในเทศบาล มีปริมาณ 20 ตันต่อวัน โดยเทศบาลเก็บขนขยะใช้รถบรรทุก จ านวน 5 คัน เทศบาลต าบลตระการพืชผล ยังไม่มีศูนย์การก าจัดขยะมูลฝอยในลักษณะรวมศูนย์แนวทางในการแก้ไขปัญหาเรื่องขยะควรมีการรณรงค์ให้ประชาชน มีความรู้ความเข้าใจ หรือหาแนวทางในการลดปริมาณขยะโดยการใช้หลักการแยกชนิดของขยะก่อนทิ้งหรือให้ความรู้แก่ประชาชนเรื่องการจัดการขยะและมูลค่าที่ใช้ใน การจัดการขยะโดยผ่านหน่วยงานของรัฐ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาพฤติกรรมของประชาชนในการจัดการขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste )

วัตถุประสงค์

1. เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอย 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย 3.เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจการจัดการขยะมูลฝอยระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชน บ้านดอนทับช้าง 4. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมจัดการขยะมูลฝอยระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

ผลการวิจัย

0.19

0.058

0.927

0.112 0.094 0.166

0.077

0.928

0.11 0.093

บ้านดอนใหญ่ บ้านดอนทับช้าง

ด้านการคัดแยกขยะ

ด้านความรู้เกี่ยวกับโครงการ Zero Waste

ด้านการลดปริมาณขยะ ด้านการน าขยะกลับใช้ซ้ า ด้านการแปรสภาพและการหมุนเวียนน ากลับมาใช้ใหม ่

0.774

0.200

0.333

0.771

0.192 0.258

บ้านดอนใหญ่ บ้านดอนทับช้าง

พฤติกรรมด้านการลดปริมาณขยะ พฤติกรรมด้านการน าขยะกลับใช้ซ้ า

พฤติกรรมด้านการแปรสภาพและการหมุนเวียนน ากลับมาใช้ใหม่

สรุปผลวิจัย

ภาพที่ 1 การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง

เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ทั้งสองหมู่บ้านมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยไม่แตกต่างกัน

ภาพที่ 2 การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยระหว่างชุมชนบ้านดอนใหญ่และชุมชนบ้านดอนทับช้าง

เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ทั้งสองชุมชนมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยไมแ่ตกต่างกัน

การรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับโครงการ Zero Waste พบว่า มีการรับรู้ข่าวสารอยู่ในระดับปานกลาง กลาง ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะของประชาชน ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับสูง พฤติกรรมการจัดการขยะของประชาชนในโครงการ Zero Waste ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี การเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจและพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย ทั้งสองชุมชนไม่แตกต่างกัน

ข้อเสนอแนะ

- ควรมีการติดตามโครงการการจัดการขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste) อย่างต่อเนื่อง

อ้างอิง

กองสาธารณะสุขสิ่งแวดล้อมเทศบาลต าบลตระการพืชผล. (2555). การบริหารจัดการขยะแบบชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste). อุบลราชธานี : เทศบาลต าบลตระการพืชผล หัทยา พละพงศ์ และคณะ. (2555 ). ความรู้ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้หลัก 3Rs เทศบาลพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธาน:ี มหาวิทยาลัยราชภัอุบลราชธาน.ี

สุ่มตัวอย่าง สร้างแบบสอบถาม ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ

ความเที่ยงตรง

ทดสอบเครื่องมือ 50 ชุด น าแบบสอบถามไปเก็บ

ข้อมูลจากครัวเรือน จ านวน 310 ชุด

ท าการเก็บรวบรวมแบบสอบถามและตรวจสอบข้อมูล

น าข้อมูลไปวิเคราะห์ผล