25
The reasonable period of the recirculation with ultrafiltration to eliminate disinfectant on reused dialyzer

The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

The reasonable period of the recirculation with ultrafiltration

to eliminate disinfectant on reused dialyzer!

Page 2: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

ผู้ร่วมวิจัย

นางพรรณพนัช อิทธิพงศ์สกุล

นางวรรณชนาถ ศรีมงคล

นางสาวอัมพร ซอฐานานุศักดิ์

ศ.นพ. ชัยรัตน์ ฉายากุล

Page 3: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

ภูมิหลัง การรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะท้ายโดยการฟอกเลือดด้วยเครื่อง ไตเทียมในประเทศไทย อุปกรณ์ที่สําคัญที่ใช้ในการฟอกเลือดคือ ตัวกรองเลือด (Dialyzer) ซึ่งมีการนําตัวกรองเลือดมาใช้ซ้ํา(Reused dialyzer) โดยการล้างและอบฆ่าเชื้อตัวกรองเลือดด้วยน้ํายา 0.16% Peracetic acid ดังนั้นก่อนนํามาใช้กับผู้ป่วยจําเป็นต้องล้างน้ํายาอบฆ่าเชื้อออกให้หมด เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย วิธีการล้างน้ํายาอบฆ่าเชื้อในขั้นตอนการทํา Recirculation with ultrafiltration ใช้เวลาถึง 10 นาที จึงต้องการศึกษา เพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสมและคุ้มค่าในการทํา Recirculation with ultrafiltration เพื่อขจัดน้ํายาฆ่าเชื้อในตัวกรองเลือดที่นํากลับมาใช้ซ้ํา

Page 4: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

!วัตถุประสงค์หลัก : เพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการขจัดน้ํายาฆ่าเชื้อ 0.16% Peracetic acid ในตัวกรองเลือดที่นํากลับมาใช้ซ้ํา

วัตถุประสงค์รอง : เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างชนิดของตัวกรองเลือด, จํานวนครั้งที่นํากลับมาใช้ซ้ํา , total cell volume และ grade ของตัวกรองเลือดกับผลการตรวจ strip test ที่ให้ผลลบ

วัตถุประสงค์

Page 5: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

วิธีการศึกษา - รูปแบบการศึกษาเป็นแบบ experimental procedure ในตัวกรองเลือดที่นํากลับมาใช้ซ้ํา จํานวน 420 ตัว ชนิด High flux 3 ชนิด คือ FB210U F80S และ Elisio210HR โดยล้างน้ํายา Peracetic acid ด้าน Dialysate compartment ด้วยน้ํา RO และด้าน Blood compartment ด้วย 0.9%NSS 1,000 ml. และทําการ Recirculation with Ultrafiltration ด้วย BFR 400ml/min UF 3000ml/min UFG 500ml DFR 500 ml/min ใช้ Syringe 1 ml. ดูดน้ํายาจาก port artery ขณะทําการ Recirculation นาทีที่ 0-10 นํามา test โดยใช้ Residual peroxide strip test ทดสอบน้ํายาตกค้าง ใช้ผู้อ่านผลอย่างน้อย 2 คน โดยที่มิทราบว่าเป็นน้ํายาจากตัวกรองชนิดใด และนาทีที่เท่าใด - สถิติที่ใช้วิเคราะห์ได้แก่ : ร้อยละ minimum maximum Mean Standard deviation ANOVA Factorial ANOVA

Page 6: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

เนื่องจากในการศึกษาครั้งนี้มีกลุ่มที่ต้องการทั้งสิ้น 4 กลุ่มโดยแบ่งตามจํานวนครั้งที่นําตัวกรองกลับมาใช้ซ้ําหรือจํานวนครั้งที่อบ คือ5 ครั้ง, 10 ครั้ง,15 ครั้งและ 19 ครั้ง และศึกษา Dialyzer3 ชนิดที่ใช้บ่อยจะได้จํานวนกลุ่มตัวอย่างกลุ่มละ 35 ตัวอย่าง รวมทั้งสิ้น 420 ตัวอย่าง ชนิดตัวกรอง

(High Flux dialyzer) จํานวนครั้งที่นํากลับมาใช้/จํานวนครั้งที่อบฆ่าเชื้อ

5 ครั้ง 10 ครั้ง 15 คร้ัง 19 ครั้ง รวม

FB210U 35 35 35 35 140

F 80 S 35 35 35 35 140

Elisio210HR 35 35 35 35 140

รวม 105 105 105 105 420

Page 7: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

หมายเหต ุขณะทําการRecirculation with UF. Blood pump ต้องหมุนทํางานโดยต่อเนื่องและน้ํายาDialysate ต้องไหลผ่าน membrane ของตัวกรองเลือดตลอดเวลา

ขั้นตอนการศึกษา (Study Procedure)

Page 8: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

ลักษณะประชากร ลักษณะของประชากรที่ทําการศึกษาวิจัย เป็นตัวกรองเลือด

ที่ใช้ในหน่วยไตเทียมกัลยาณิวัฒนา โรงพยาบาลศิริราชได้แก่ FB210U F80S และ Elisio 210 HR เป็นตัวกรองเลือดที่นํากลับมาใช้ซ้ํา ครั้งที่ 5, 10, 15 และ19 ตามลําดับ มีTotal Cell Volume > 80 % และมี Grade ของตัวกรองเลือดระดับ 1-4 มีการอบฆ่าเชื้อด้วยน้ํายา 0.16% Peracetic acid ก่อนจะนําไปใช้กับผู้ป่วยต้องมีการล้างตัวกรองเลือดด้วย 0.9%NSS 1000 ml แล้วจึงนําไปทํา Recirculation with Ultrafiltration ต่อ เพื่อขจัดน้ํายาอบฆ่าเชื้อจนหมด ( ผล Strip test Negative ) ดังแสดงในตารางที ่1

Page 9: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่
Page 10: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่
Page 11: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่
Page 12: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่
Page 13: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่
Page 14: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่
Page 15: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

Case record form

Page 16: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

วิธีวัดผลลัพธ์ ผลลัพธ์หลัก ( Primary Outcome)

ระยะเวลาการขจัดน้ํายาอบฆ่าเชื้อที่อ่านผลได้ Negative ผลลัพธ์รอง ( Secondary Outcomes )

ความสัมพันธ์ระหว่างชนิด, ขนาดของตัวกรองเลือด, จํานวนที่นํากลับมาใช้ซ้ํา, Total cell volume และ grade กับเวลาที่อ่านได้ผลลบ

Page 17: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

ผลการศึกษา พบว่าระยะเวลาที่เหมาะสมในการขจัดน้ํายาฆ่าเชื้อ 0.16% Peracetic acid ในตัวกรองเลือดที่นํากลับมาใช้ซ้ํา คือ นาทีที่ 5 ในตัวกรองเลือดทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นการนําตัวกรองเลือดกลับมาใช้ซํ้าครั้งที่เท่าไหร่ Total cell volume และ grade เท่าไหร่ ซึ่งสามารถนํามาปรับเปลี่ยนเป็นมาตรฐานในการปฏิบัติการล้างตัวกรองเลือดที่นํากลับมาใช้ซ้ําแทนมาตรฐานเดิม ที่ใช้เวลานานถึง 10 นาที จากการวิจัยนี้ ทําให้สามารถประหยัดเวลา และแรงงานของบุคลากร ประหยัดทรัพยากรได้แก่ น้ํา RO. น้ํายา Hemo A Hemo B ทําให้ต้นทุนของหน่วยงานลดลงได้ถึง 122,428.80 บาท ต่อปี

Page 18: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

จํานวนครั้งของการ Reuse ไม่มีผลต่อระยะเวลาที่ตรวจแล้วได้ผลลบ ไม่ว่าจะเป็นตัวกรองชนิดใด จากการวิจัยพบว่าตัวกรองเลือดชนิด FB 210U ใช้เวลาน้อยที่สุด รองลงมาด้วย Elisio210HR และ F80S ใช้เวลามากที่สุด ดังตารางที ่1

ตารางที่ 1 จำนวนครั้งที่ Reused กับระยะเวลาที่อานผล Negative ในตัวกรองเลือดแตละชนิด?

จำนวน

ครั้งที่

Reused?

FB 210U ? F 80S? Elisio 210 HR ?

P-value?min? max ? Mean ± SD ?

min? max ? Mean ± SD ?

min? max ? Mean ± SD ?

(นาที)? (นาที)? (นาที)? (นาที)? (นาที)? (นาที)?

Reused? 2 ? 4 ? 2.54 ± 0.611 ? 2 ? 5 ? 3.63 ± 0.65 ? 2 ? 4 ? 2.83 ± 0.62 ? < 0.001 ?

5 ? (n=18)? (n=2)? (n=35)? n=1 ? n=2 ? n=35 ? n=10 ? n=4 ? n=35 ?  ?

Reused? 1 ? 3 ? 2.29 ± 0.52 ? 3 ? 5 ? 3.51 ± 0.61 ? 2 ? 4 ? 2.60 ± 0.65 ? < 0.001 ?

10 ? (n=1)? (n=11)? (n=35)? n=19 ? n=2 ? n=35 ? n=17 ? n=3 ? n=35 ?  ?

Reused? 1 ? 4 ? 2.29 ± 0.57 ? 3 ? 5 ? 3.63 ± 0.60 ? 2 ? 4 ? 2.91 ± 0.66 ? < 0.001 ?

15 ? (n=1)? (n=1)? (n=35)? n=15 ? n=2 ? n=35 ? n=9 ? n=6 ? n=35 ?  ?

Reused? 2 ? 4 ? 2.43 ± 0.56 ? 3 ? 5 ? 3.66 ± 0.54 ? 2 ? 5 ? 2.94 ± 0.68 ? < 0.001 ?

19 ? (n=21)? (n=1)? (n=35)? n=13 ? n=1 ? n=35 ? n=8 ? n=1 ? n=35 ?  ?

 ? P = 0.171 n = 140 ? P = 0.760 n = 140 ? P = 0.120 n=140 ?

P = 0.551 (Factorial ANOVA)?

Page 19: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

Total cell volume ไม่มีผลต่อระยะเวลาที่ตรวจแล้วได้ผลลบ ไม่ว่าจะเป็นตัวกรองชนิดใดใด จากการวิจัยพบว่าตัวกรองเลือดชนิด FB 210U ใช้เวลาน้อยที่สุด รองลงมาด้วย Elisio210HR และ F80S ใช้เวลามากที่สุด ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 Total cell volume กับระยะเวลาที่อานผล Negativa ในตัวกรองเลือดแตละชนิด?

Total

cell

volume

(%)?

FB 210U ? F 80S? Elisio 210 HR ?

P-value?min? max ?

Mean ± SD ?

min? max ?

Mean ± SD ?

min? max ?

Mean ± SD ?(นาที)? (นาที)? (นาที)? (นาที)? (นาที)? (นาที)?

80 - 85 ? 2 ? 3 ? 2.33 ± 0.50 ? 3 ? 4 ? 3.50 ± 0.55 ? 3 ? 4 ? 3.17 ± 0.41 ? < 0.001 ?

 ? (n=8)? (n=4)? (n=12)? n=3 ? n=3 ? n=6 ? n=5 ? n=1 ? n=6 ?  ?

85 - 90 ? 2 ? 3 ? 2.25 ± 0.44 ? 3 ? 5 ? 4.25 ± 0.96 ? 2 ? 5 ? 2.94 ± 0.66 ? < 0.001 ?

 ? n=30 ? n=10 ? n=40 ? n=1 ? n=2 ? n=4 ? n=3 ? n=1 ? n=17 ?  ?

90 - 95 ? 1 ? 4 ? 2.41 ± 0.62 ? 2 ? 4 ? 3.62 ± 0.65 ? 2 ? 4 ? 2.95 ± 0.74 ? < 0.001 ?

 ? n=2 ? n=3 ? n=73 ? n=1 ? n=9 ? n=13 ? n=12 ? n=10 ? n=41 ?  ?

95 - 100 ? 2 ? 4 ? 2.67 ± 0.62 ? 3 ? 5 ? 3.59 ± 0.58 ? 2 ? 4 ? 2.70 ± 0.61 ? < 0.001 ?

 ? n=6 ? n=1 ? n=15 ? n=53 ? n=5 ? n=117 ? n=29 ? n=6 ? n=76 ?  ?

 ? n = 140 ? n = 140 ? n = 140 ?

P = 0.745 (Factorial ANOVA)?

Page 20: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

Grade ของตัวกรองเลือด ไม่มีผลต่อระยะเวลาที่ตรวจแล้วได้ผลลบ ไม่ว่าจะเป็นตัวกรองชนิดใดใด จากการวิจัยพบว่าตัวกรองเลือดชนิด FB 210U ใช้เวลาน้อยที่สุด รองลงมาด้วย Elisio210HR และ F80S ใช้เวลามากที่สุด ดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 Grade กับระยะเวลาที่อานผล Negativa ในตัวกรองเลือดแตละชนิด?

Grade?

FB 210U ? F 80S? Elisio 210 HR ?

P-value?min? max ? Mean ±

SD ?

min? max ? Mean ± SD ?

min? max ? Mean ± SD ?

(นาที)? (นาที)? (นาที)? (นาที)? (นาที)? (นาที)?

1 ? 2 ? 4 ? 2.35 ± 0.59 ? 3 ? 5 ? 3.51 ± 0.54 ? 2 ? 4 ? 2.69 ± 0.67 ? < 0.001 ?

 ? n=14 ? (n=1)? n=20 ? n=30 ? n=1 ? n=59 ? n=22 ? n=6 ? n=52 ?  ?

2 ? 1 ? 4 ? 2.41 ± 0.60 ? 2 ? 5 ? 3.67 ± 0.65 ? 2 ? 4 ? 2.85 ± 0.64 ? < 0.001 ?

 ? n=2 ? n=3 ? n=85 ? n=1 ? n=5 ? n=63 ? n=17 ? n=8 ? n=59 ?  ?

3 ? 2 ? 3 ? 2.33 ± 0.48 ? 3 ? 5 ? 3.76 ± 0.57 ? 2 ? 5 ? 3.00 ± 0.67 ? < 0.001 ?

 ? n=22 ? n=11 ? n=33 ? n=5 ? n=1 ? n=17 ? n=5 ? n=1 ? n=28 ?  ?

4 ? 2 ? 3 ? 2.50 ± 0.71 ? 3 ? 3 ? 3.00 ± 0.00 ? 3 ? 3 ? 3.00 ± 0.00 ? ≠0.816

เนื่องจาก? ? n=1 ? n=1 ? n=20 ? n=1 ? n=3 ? n=1 ? n=1 ? n=1 ? n=1 ?

 ? P = 0.895 ? P = 0.216 ? p = 0.241 ?

P = 0.082 (Factorial ANOVA)?

Page 21: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

แผนภูมิ แสดงร้อยละของตัวกรองเลือดแต่ละชนิดกับระยะเวลาที่อ่านผลได้ Negative

Page 22: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

สรุปผลการวิจัย - ระยะเวลาที่สามารถขจัดน้ํายาอบฆ่าเชื้อ Peracetic acid ได้หมด ในตัวกรองเลือด ทุกชนิดคือ นาทีที่ 5 ของการทํา Recirculation with ultrafiltration ไม่ว่าจะเป็นการนํากลับมาใช้ซ้ําครั้งที่เท่าไหร่ Total cell volume และ grade เท่าไหร่ - จากผลการวิจัย พบว่า ตัวกรองเลือดชนิด FB210U ใช้เวลาน้อยที่สุด รองลงมาคือ Elislo 210 HR และ F80S ใช้เวลานานที่สุด ซึ่งอาจจะเกี่ยวข้องกับชนิดและคุณสมบัติของ Membrane ค่า Kuf Surface area เป็นต้น - ปัจจุบัน หน่วยไตเทียมทุกหน่วยในประเทศไทย ทําการ Recirculation with ultrafiltration ด้วยระยะเวลา 10 นาที ดังนั้นผลการวิจัยนี้ยืนยันได้ว่า นาทีที่ 5 สามารถขจัดน้ํายาออกได้หมด และนําตัวกรองเลือด กลับมาใช้กับผู้ป่วยได้อย่างปลอดภัยเหมือนเดิม สามารถใช้เป็นมาตรฐานใหม่ ในการเตรียมตัวกรองเลือด แทนมาตรฐานเดิมซ่ึงใช้เวลานาน 10 นาที - ข้อเสนอแนะ ถ้ามีการใช้ตัวกรองเลือดที่แตกต่างจากการวิจัยนี้ ควรทําการเก็บตัวอย่างเพื่อดูผลเปรียบเทียบต่อไป

Page 23: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

งบประมาณที่ประหยัดได ้1. น้ํา R.O. ในการทํา Recirculation with ultrafiltration ใช้อัตรา 500 ml ต่อนาที (ราคา R.O. โดยประมาณ 1000 ml = 1 บาท 5 นาที คือ 500 ml x 5 = 2,500 ml = 2.5 บาท ใน1 ปี ของศูนย์ไตเทียมกัลยาณิวัฒนา ทํา Hemodialysis จํานวน 18,720 ครั้ง ดังนั้น ต้นทุนของน้ํา R.O. = 2.5 x 18,720 = 46,800 บาท 2. น้ํายา Hemo A 5000 ml ราคา 121 บาท ใช้ได้ 4 ชั่วโมง 5 นาที ใช้น้ํายา = 104 ml. คิดเป็นเงิน 2.52 บาท ใน 1 ปี จะประหยัดเงินได ้= 47,174.40 บาท 3. น้ํายา Hemo B. 5000 ml. ราคา 73 บาท ใช้ได้ 4 ชั่วโมง 5 นาที ใช้น้ํายา = 104 ml. คิดเป็นเงิน 1.52 บาท ใน 1 ปี จะประหยัดเงินได ้= 28,454.40 บาท

รวม 1 ปี สามารถประหยัดงบประมาณลงได้ = 122,428.80 บาท

หมายเหต ุ ในการทํา Recirculation with ultrafiltration ต้องใช้น้ํา R.O. ผสมกับน้ํายาHemo A, Hemo B เป็น Dialysate Fluid

Page 24: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่

การขยายผลงานวิจัย

1. ใช้ในหน่วยงานของตนเอง 2. ขยายผลไปยังหน่วยงานไตเทียม ภายในโรงพยาบาลศิริราช ได้แก่ หอผู้ป่วยกัลยาณิวัฒนา 4 หอผู้ป่วยไตเทียม สง่า นิลวรางกูล หอผู้ป่วยไตเทียม เจ้าฟ้า 6 3. ดําเนินการประชุม ปรับแก้ไข Work Instruction ของ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช เรื่อง แนวทางการปฏิบัติการเตรียมตัวกรองเลือดและสายส่งเลือด ก่อนการฟอกเลือด 4. เผยแพร่ ในงานประชุมวิชาการโรคไต ของสมาคมพยาบาลโรคไตแห่งประเทศไทย เพื่อนําไปปรับเปลี่ยนแก้ไขแนวทางปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยฟอกเลือด เพื่อใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานของพยาบาลไตเทียมทั่วประเทศ

Page 25: The reasonable period of the recirculation with ...r2rthailand.org/download/r2r10/7. คุณพรรณพนัช_อิทธิ... · มาใช้ซ้ํา ครั้งที่