Transcript
Page 1: คู่มือเภสัชบำบัด 1 ปี 2550 · PDF fileแผนการสอนวิชา 611 314 เภสัชบําบ ัด1 3(2-3-4) ภาคปลาย

แผนการสอนวิชา 611 314 เภสัชบําบัด 1 3(2-3-4) ภาคปลาย ภาควิชาเภสัชกรรมคลินิก ปการศึกษา 2550 คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน _________________________________________________________________________________________________ _ สังเขปวิชา

สาเหตุ อาการและพยาธิสภาพของโรคตางๆ เปาหมายการรักษา การวางแผนการรักษา การจัดการเวชภัณฑที่มีจําหนายในทองตลาด เทคนิคการจายยาและการใหคําปรึกษาดานยาแกผูปวย การใชยาเพื่อบําบัดรักษาโรคตามอาการและพยาธิสภาพของโรค เภสัชจลนศาสตรคลินิก โภชนบําบัด การติดตามอาการไมพึงประสงค และการประเมินการใชยาในโรคที่พบบอย เงื่อนไขของรายวิชา 365 316 พยาธิวิทยาสําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร * 366 316 เภสัชวิทยา 1 สําหรับนักศึกษาเภสัชศาสตร *

611 313 การบริบาลทางเภสัชกรรม * วัตถุประสงค

เม่ือจบกระบวนการเรียนการสอนแลวนักศึกษาจะมีความสามารถดังนี ้1. อธิบายไดถึงสาเหตุของการเกิดโรค พยาธิสรีรวิทยา อาการและอาการแสดงของโรคที่พบบอยได 2. อธิบายขั้นตอนการวางแผนการรักษาดวยยาได และสามารถระบุปจจัยที่จะทําใหการใชยาเปนไปอยาง

สมเหตุสมผล 3. ระบุไดถึงยาที่ใชในการรักษาโรคนั้นๆ รวมทั้งการติดตามผลการรักษา ปญหาที่เกิดจากการใชยาและการให

คําปรึกษาดานการใชยานั้นๆดวย 4. จายยาตามใบสั่งยา และจายยาในโรคที่พบบอยในรานยา อธิบายเหตุผลในการจายยาแตละชนิดรวมทั้งให

คําแนะนําในการใชยาแกผูปวยไดอยางถูกตองและเหมาะสม 5. คนหาขอมูลเกี่ยวกับยา และผลิตภัณฑยาไดอยางถูกตองและเหมาะสม 6. ระบุถึงปฏิกิริยาระหวางยา (drug interaction) การเขากันไมไดของยารวมทั้งวิธีปองกัน หรือหลีกเลี่ยงผลเสีย

ที่อาจเกิดขึ้น 7. สามารถแกปญหาที่อาจเกิดขึ้นในระหวางการจายยาไดอยางมีเหตุผล

การเรียนการสอน ประกอบดวยการบรรยาย และการอภิปรายกลุมยอย บทบาทสมมติ กรณีศึกษา หัวเรื่อง ผูรับผิดชอบ

สัปดาหที ่1 Introduction to pharmacotherapeutics รศ.วิวรรธน อัครวิเชียร สัปดาหที ่2, 3 Common illness: Fever-headache URI and EENTcondition

อ. หนึ่งฤทัย สุกใส อ.วรรณวิไล เลาลัคนา

สัปดาหที ่4 Lower respiratory tract disorders อ.สุณี เลิศสินอุดม สัปดาหที ่6 Dermatological disorders ผศ.เชิดชัย สุนทรภาส สัปดาหที ่14 Gastrointestinal disorders ผศ.นฤมล เจริญศิริพรกุล สัปดาหที ่16 Immunization Nonpharmacotherapy

ผศ. จุลรัตน คลศิลป อ. เดนพงศ พัฒนเศษรษฐานนท

Page 2: คู่มือเภสัชบำบัด 1 ปี 2550 · PDF fileแผนการสอนวิชา 611 314 เภสัชบําบ ัด1 3(2-3-4) ภาคปลาย

2

การประเมินผล นักศึกษาตองเขาเรียนบรรยาย และอภิปรายกรณีศึกษาไมนอยกวา 80% ของเวลาเรียนจึงจะมีสิทธิ์เขาสอบปลาย

ภาค การประเมินผลประกอบดวย 3 สวน คือ 1. การสอบภาคทฤษฎี รอยละ 60 (ไดจากคะแนนสอบภาคทฤษฎีในแตละคร้ังรวมกัน) 2. การสอบภาคปฏิบัติการ รอยละ 30 (ไดจากคะแนนสอบกรณีศึกษาในแตละครั้งรวมกัน) 3. คะแนนระหวางภาค รอยละ 10 (ประเมินจากอภิปรายกลุม กิจกรรมกลุม และอ่ืนๆ ที่ระบุในแตละ block)

การประเมินผลจะนําคะแนนรวมทั้งหมดมาตัดเกรดดวยวิธีอิงกลุมหรืออิงเกณฑ หรืออาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมโดยอยูในดุลยพินิจของภาควิชา ฯ ผูรับผิดชอบวิชา 611 314 รศ.ดร. วิวรรธน อัครวิเชียร และ อ.วรรณวิไล เลาลัคนา คณาจารยผูสอน บรรยายโดยคณาจารยภาควิชาเภสัชกรรมคลินิก คณะเภสัชศาสตร และคณาจารยภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

กรณีศึกษาโดยคณาจารยภาควิชาเภสัชกรรมคลินิก คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน หนังสืออานประกอบ 1. ธานี เมฆะสุวรรณดิษฐ, ปรีชา มนทกานติกุล, จุฑามณี สุทธิสีสงัข, บรรณาธิการ. ตําราเภสัชบําบัด. กรุงเทพฯ: บริษัทโฮ

ลิสติก พับลิชช่ิง จํากัด; 2546. 2. วิทยา ศรีดามา, บรรณาธิการ. Evidence-based clinical practice guideline ทางอายุรกรรม 2548. พิมพครั้งที ่2 กรุงเทพฯ:

โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย; 2548. 3. สมชาย สุริยะไกร, นุจรี ประทีปะวณิช, ศิริลักษณ ใจซื่อ และคณะ, บรรณาธิการ. คูมือฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัช

กรรม (ฉบับพกพา). ขอนแกน: ภาควิชาเภสัชกรรมคลินิก คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน; 2546. 4. อาภรณี ไชยาคํา, ยุพาพร ปรีชากุล, บรรณาธิการ. การติดตามตรวจวัดระดับยาในเลือด. ขอนแกน: ภาควิชาเภสัชกรรม

คลินิก คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน; 2543. 5. American Hospital Formulary Service drug information. Bethesda: Published by Authority of the Board of Directors

of the American Society of Hospital Pharmacists. 2004. 6. Braunwald E, Kasper DL, Fauci AS, editors. Harrison's manual of medicine. 16th ed. Boston: McGraw-Hill; 2005. 7. DiPiro JT, editor. Pharmacotherapy: a pathophysiologic approach. 5th ed. New York: McGraw-Hill; 2002. 8. Drug facts and comparisons. 58th ed. St. Louis: Facts and Comparisons; 2004. 9. Hardman JG, editor. Goodman & Gilman's the pharmacological basis of therapeutics. 10th ed.New York: McGraw-

Hill; 2001. 10. Herfindal ET, Gourley DR, editors. Textbook of therapeutics: drug and disease management. 7th ed. Philadelphia:

Lippincott Williams & Wilkins; 2000.

Page 3: คู่มือเภสัชบำบัด 1 ปี 2550 · PDF fileแผนการสอนวิชา 611 314 เภสัชบําบ ัด1 3(2-3-4) ภาคปลาย

3

11. Koda-Kimble MA, Alldredge BK, Corelli RL, editors. Applied therapeutics: the clinical use of drugs. 8th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2005.

12. Lacy CF. Drug information handbook international with Canadian and international drug monographs. 13th ed. Hudson, Ohio: Lexi-Comp, 2005.

13. Malone PM, editor. Drug information: a guide for pharmacists. 2nd ed. New York: McGraw-Hill; 2001. 14. Nemire RE, Kier KL. Pharmacy clerkship manual: a survival manual for students. New York: McGraw-Hill; 2002. 15. Page C, Curtis M, Sutter M, editors. Integrated pharmacology. 2nd ed Edinburgh: Mosby; 2002. 16. Schwinghammer TL, DiPiro JT, editors. Pharmacotherapy casebook: a patient-focused approach. 5th ed. New York:

McGraw-Hill; 2002. 17. Walker R and Edwards C, editors. Clinical pharmacy and therapeutics. 3rd ed. Edinburgh: Livingstone; 2003. 18. Sweetman SC, editor. Martindale: the complete drug reference. 34th ed. London: Pharmaceutical Pr.; 2005. การอภิปรายกลุมยอยกรณีศึกษา วัตถุประสงค เพื่อใหนักศึกษาฝกปฏิบัติกระบวนการวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับผูปวย โดยเฉพาะปญหาเกี่ยวกับการใชยา รวมถึงการวางแผนการรักษาดวยยา การติดตามผลการรักษา การปองกันอาการไมพึงประสงคที่เกิดจากการใชยา วิธีการศึกษา นักศึกษาแบงออกเปนกลุม กลุมละประมาณ 10-12 คน โดยใหนักศึกษานํากรณีศึกษาตามที่ระบุในแผนการสอนมาอภิปรายในกลุม

การเตรียมตัวกอนการอภิปรายกลุมยอยกรณีศึกษา 1. ใหนักศึกษาแตละคนศึกษาขอมูลเพื่อทําความเขาใจ อาการและพยาธิสภาพของโรค รวมถึงการรักษาของโรค

ที่จะตองอภิปรายรวม โดยสามารถศึกษาไดจากเอกสอนคําสอนเก่ียวกับโรค และยาที่ใชในการรักษา รวมถึงเอกสารอางอิงอื่นๆ ที่เหมาะสม

2. ใหนักศึกษาศึกษากรณีศึกษาที่ไดรับและทําความเขาใจ พรอมทั้งคนหาขอมูลที่จําเปนเพื่อการวิเคราะหกรณีศึกษานั้น

3. ใหนักศึกษาใช systematic approach ในการวิเคราะหขอมูลของผูปวย และคนหาปญหาของผูปวย 4. นักศึกษาควรตอบคําถามของกรณีศึกษานั้นๆ ใหเรียบรอยกอนชั่วโมงการอภิปรายกลุมยอย ในช่ัวโมงการอภิปรายกลุมยอยกรณีศึกษา 1. ใหนักศึกษารวมกันอภิปรายกรณีศึกษา โดยอาจกําหนดใหมีประธานกลุมเปนผูดําเนินการ และควบคุมการ

อภิปราย 2. ในการอภิปรายในกลุม ใหนักศึกษาใช systematic approach ในการวิเคราะหขอมูลของผูปวย และคนหา

ปญหาของผูปวยรวมกัน 3. ใหนักศึกษาสรุปปญหาของผูปวยโดยเขียนเปน Problem list ใหครบทุกปญหา และรวมกันตอบคําถามของ

กรณีศึกษานั้นๆ ถาพบปญหาจากการใชยา (drug related problem ) ใหระบุดวยวามีปญหาในประเด็นใด 4. นักศึกษามีเวลาอภิปรายสรุปและเขียนสงทั้งหมด 45 นาที หรือตามที่กําหนดไวในแตละ block 5. อาจารยผูรับผิดชอบเลือกนักศึกษาข้ึนมานําเสนอ หรือเปนการอภิปรายกรณีศึกษารวมกันทายชั่วโมง

Page 4: คู่มือเภสัชบำบัด 1 ปี 2550 · PDF fileแผนการสอนวิชา 611 314 เภสัชบําบ ัด1 3(2-3-4) ภาคปลาย

สัปดาหที ่3 EENT วัน และเวลา

วัตถุประสงค หัวขอ และขอบเขตของ

เน้ือหา อาจารยผูสอน กิจกรรมการเรียนการสอน

สื่อการเรียนการสอน วิธีการประเมินผล

เกณฑสภาท่ีเก่ียวของ

12 พ.ย. 50 13.00-15.00 น.

13 พ.ย. 50 13.00-16.00 น.

14 พ.ย50 10.00-12.00 น. 13.00-16.00 น.

1. To be able to describe etiology, pathophysiology, sign and symptom of commonly found EENT conditions 2. To be able to describe pharmacotherapeutic plan including the monitoring of a patient 3. To be able to describe drug used in the treatment of EENT conditions including the drug regimens 4. To be able to give an advice and counseling to patient using special dosage for ie. eye drop, ear drop, nasal spray and be able to describe the ADR that may occur

Eye ear nose and throat disorders - Glaucoma - Cataract - Hordeolum - Conjunctivitis - Pinquecula - Ophthalmia neonatorum - vertigo - tinnitus - Epistaxis - Allergic rhiuitis - Drug use in EENT

Aj.Wanwilai 1.Lecture (5h) 2. Dispensing Lab (3 h) 2.1 EENT product study emphazise on dosage form, indication & administration, precausion and advice 2.2 Dispense for Rx including writing label and giving advice 3.Case study (2 h)

1. Lecture note or handout 2. Lab direction. 3. Drug products 4. Simulated prescriptions and case study

1. Exam & Test (90%) - Written exam - Lab exam - Exam of case study - Quit 2. Group activity and assignment (10 %)

เกณฑมาตรฐานขอ 4 ประเมินสุขภาพเบ้ืองตน เพื่อใหคําแนะนําท่ีเหมาะสมในการปฏิบัติตัวแกผูรับบริการ รวมท้ังสงตอกรณีจําเปน เกณฑมาตรฐานขอ 5 กําหนดแผนการใชยาท่ีเหมาะสมกับผูรับบริการแตละรายและดูแลการใชยาใหมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยเนนการสงเสริมความรวมมือของผูรับบริการ เกณฑมาตรฐานขอ 6 ติดตาม ปองกัน แกไขปญหาท่ีเก่ียวกับการใชยาของผูรับบริการและชุมชน และแจงแกผูเกี่ยวของอยางเปนระบบ

Page 5: คู่มือเภสัชบำบัด 1 ปี 2550 · PDF fileแผนการสอนวิชา 611 314 เภสัชบําบ ัด1 3(2-3-4) ภาคปลาย

5

ตารางหองเรียน นศภ.3 เทอมปลาย ปการศึกษา 2550 ภาคปกติและภาคสมทบ

วัน-เวลา 9.00-10.00 10.00-11.00 11.00-12.00 13.00-14.00 14.00-15.00 15.00-16.00 จันทร 3209 ตึก 3 ชั้น 2 อังคาร 2316 ตึก 2 ช้ัน 3 พุธ 2323 ตึก 2 ชั้น 3 2316 ตึก 2 ช้ัน 3

พฤหัสบดี ศุกร

สัปดาหที่ 3 EENT

วัน-เวลา 9.00-10.00 10.00-12.00 13.00-15.00 15.00-16.00 จันทร 12 พ.ย. 50

EENT disorders วรรณวิไล

อังคาร 13 พ.ย. 50

EENT disorders วรรณวิไล

พุธ 14 พ.ย. 50

Case study วรรณวิไลและทีม

Lab: URI & EENT วรรณวิไลและทีม

พฤ 15 พ.ย. 50 ศ 16 พ.ย. 50


Recommended