Transcript

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

Basic Statistics D2.indd 1 13/12/2556 15:03:22

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

สถิติเบื้องต้น

รองศาสตราจารย์ ดร. สรชัย พิศาลบุตร

ฉบับพิมพ์ที่ 1 พิมพ์ครั้งแรก มกราคม 2557

สงวนสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

ห้ามท�าซ�้า ดัดแปลง คัดลอก ลอกเลียน หรือน�าไปเผยแพร่ในส่ือทุกประเภท ไม่ว่าส่วนใดส่วนหนึ่ง

ของหนังสือเล่มนี้ ตลอดจนห้ามมิให้สแกนหนังสือหรือคัดลอกส่วนใดส่วนหนึ่งเพื่อสร้างฐานข้อมูล

อิเล็กทรอนิกส์ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากบริษัทวิทยพัฒน์ จ�ากัด

จัดท�ารูปเล่ม จัดพิมพ์และจ�าหน่ายโดย

บริษัทวิทยพัฒน์ จ�ากัด

52/103-104 บางกะปิสแควร์ ถนนรามค�าแหง

เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

โทรศัพท์ 02 3749915 (หลายคู่สาย)

โทรสาร 02 3746495

ที่อยู่อีเมล [email protected]

พิมพ์ที่ บริษัท ส. เอเซียเพรส (1989) จ�ากัด

143, 145 ซอยรามค�าแหง 42 แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

ราคา 150 บาท

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ

สรชัย พิศาลบุตร.

สถิติเบื้องต้น.--กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์, 2557.

256 หน้า.

1. สถิติศาสตร์. I. ชื่อเรื่อง.

001.422

ISBN 978-616-7136-64-6

ท่านที่ต้องการสั่งซื้อหนังสือเล่มนี้ กรุณาสอบถามหรือสั่งซื้อได้ที่บริษัทวิทยพัฒน์ จ�ากัด โทร. 02 3749915 หรือตามที่อยู่ด้านบน

หากท่านมีข้อติชม หรือค�าแนะน�าเกี่ยวกับหนังสือหรือบริการของบริษัทฯ กรุณาส่งจดหมายถึงผู้จัดการฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ตามที่อยู่ด้านบน หรือส่งอีเมลที่ [email protected] จักเป็นพระคุณยิ่ง

Basic Statistics D4.indd 2 11/1/2557 13:26:25

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

ค�ำน�ำ

ต�ำรำ สถิติเบื้องต้น ประกอบด้วยเนื้อหำวิชำสถิติที่เป็นพื้นฐำนส�ำหรับกำรเรียนสถิติในระดับสูง

ขึ้นไป รวมทั้งเนื้อหำวิชำสถิติที่สำมำรถน�ำไปประยุกต์กับกำรเรียนในหลักสูตรระดับต่ำงๆของสำขำ

สังคมศำสตร์ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี โดยเฉพำะในหลักสูตรบริหำรธุรกิจดำ้นกำรผลิต ด้ำนกำรตลำด

และด้ำนกำรบริหำรจัดกำร และเพ่ือให้เนื้อหำวิชำสถิติเบื้องต้นดังกล่ำวง่ำยต่อกำรสอนของอำจำรย์และ

ง่ำยต่อกำรเข้ำใจของนกัศกึษำ ตลอดจนสำมำรถน�ำเน้ือหำวิชำสถติิเบือ้งต้นไปประยกุต์กบัวิชำในหลกัสตูร

ต่ำงๆได้อย่ำงเป็นรูปธรรม ผู้เขียนได้เขียนเน้ือหำอย่ำงกระชับ เข้ำใจง่ำย และยกตัวอย่ำงท่ีพบเห็นกัน

ทั่วไปในกำรเรียนและในชีวิตประจ�ำวัน

ผู้เขียนหวังว่ำผู้อ่ำนต�ำรำ สถิติเบ้ืองต้น เล่มน้ีคงเห็นควำมส�ำคัญและควำมจ�ำเป็นของกำร

เรยีนรูว้ชิำสถติ ิ และสำมำรถน�ำควำมรูท้ีไ่ด้รบัไปใช้ประโยชน์ในกำรตดัสนิใจเพือ่แก้ปัญหำต่ำงๆในกำรเรยีน

และในชีวิตประจ�ำวัน ตลอดจนน�ำไปประยุกต์กับกำรเรียนวิชำอ่ืนๆได้อย่ำงเป็นรูปธรรม อันจะเป็น

ประโยชน์ต่อกำรเรียนและกำรประกอบอำชีพต่ำงๆต่อไปในอนำคต

(รองศาสตราจารย์ดร.สรชัยพิศาลบุตร)

Basic Statistics D4.indd 3 11/1/2557 13:26:25

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

สำรบัญ

บทที่ 1 ความส�าคัญของสถิติที่มีต่อการบริหารธุรกิจ 9

1.1 ความหมาย ความจ�าเป็นและประโยชน์ของสถิติที่มี

ต่อการบริหารธุรกิจ 10

1.1.1 ควำมหมำยของสถิติ 10

1.1.2 ควำมจ�ำเป็นและประโยชน์ของสถิติที่มีต่อกำรบริหำรธุรกิจ 11

1.2 สถิติพื้นฐานที่ส�าคัญและจ�าเป็นส�าหรับการบริหารธุรกิจ 14

1.2.1 สถิติพื้นฐำนส�ำหรับกำรเก็บรวบรวมข้อมูล 14

1.2.2 สถิติพื้นฐำนส�ำหรับกำรวิเครำะห์ข้อมูล 18

1.3 ข้อควรพิจารณาเกี่ยวกับการใช้สถิติพื้นฐาน 25

1.4 กิจกรรมท้ายบทที่ 1 25

แบบฝึกหัดบทที่ 1 26

บทที่ 2 ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจเบื้องต้น 27

2.1 ข้อมูล สารสนเทศ และมาตรวัดข้อมูลธุรกิจ 28

2.1.1 ข้อมูลและสำรสนเทศ 28

2.1.2 ประเภทของข้อมูลธุรกิจ 29

2.1.3 แหล่งข้อมูลและสำรสนเทศทำงธุรกิจ 30

2.1.4 วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อกำรตัดสินใจ วำงแผน

และสร้ำงสำรสนเทศทำงธุรกิจ 31

2.2 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา 33

2.2.1 กำรแจกแจงควำมถี่ของข้อมูล 34

2.2.2 กำรวัดค่ำกลำงของข้อมูล 37

2.2.3 กำรวัดกำรกระจำยของข้อมูล 39

2.2.4 กำรเลือกสถิติพรรณนำมำใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล 43

Basic Statistics D4.indd 4 11/1/2557 13:26:25

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

2.3 การนำาเสนอข้อมูลธุรกิจ 44

2.3.1 การนำาเสนอข้อมูลธุรกิจโดยใช้ตารางสถิติ 44

2.3.2 การนำาเสนอข้อมูลธุรกิจโดยใช้แผนภูมิ 46

2.3.3 การนำาเสนอข้อมูลธุรกิจโดยใช้กราฟ 48

2.4 กิจกรรมท้ายบทที่ 2 49

แบบฝึกหัดบทที่ 2 51

บทที่ 3 ความน่าจะเป็นและการน�าไปใช้เพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ 52

3.1 ความหมายและวิธีหาความน่าจะเป็นเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ 53

3.1.1 ความหมายของความน่าจะเป็น 53

3.1.2 การหาความน่าจะเป็นที่จะเกิดเหตุการณ์ที่สนใจ 55

3.1.3 ข้อควรระวังเกี่ยวกับการประยุกต์ความน่าจะเป็นกับธุรกิจ 59

3.2 ตัวแปรสุ่มและการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม 60

3.2.1 ความหมายของตัวแปรสุ่ม 61

3.2.2 ชนิดของตัวแปรสุ่ม 61

3.2.3 การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม 62

3.3 การแจกแจงทวินาม ปัวซง และการนำาไปใช้ประโยชน ์ 83

3.3.1 การแจกแจงทวินามและการนำาไปใช้ประโยชน ์ 83

3.3.2 การแจกแจงปัวซงและการนำาไปใช้ประโยชน์ 89

3.4 ข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้ตัวแปรสุ่มและการแจกแจง

ความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม 93

3.5 กิจกรรมท้ายบทที่ 3 94

แบบฝึกหัดบทที่ 3 95

บทที่ 4 การเก็บรวบรวมข้อมูลทางธุรกิจ 101

4.1 ประชากรและตัวอย่างทางธุรกิจ 102

4.1.1 ประชากร 103

Basic Statistics D4.indd 5 11/1/2557 15:34:49

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

4.1.2 ตัวอย่าง 103

4.1.3 หน่วยตัวอย่าง 104

4.2 วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลทางธุรกิจ 104

4.2.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลธุรกิจจากทะเบียนหรือรายงานต่างๆ 104

4.2.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลธุรกิจจากการสำารวจ 105

4.2.3 การเก็บรวบรวมข้อมูลธุรกิจจากการสังเกต 111

4.2.4 การเก็บรวบรวมข้อมูลธุรกิจจากการทดลอง 112

4.2.5 การเลือกวิธีเก็บรวบรวมข้อมูลธุรกิจมาใช้และข้อควรระวัง 112

4.3 การเลือกตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่าง และการกำาหนดจำานวนตัวอย่าง 115

4.3.1 การเลือกตัวอย่างชนิดที่ไม่ทราบโอกาสหรือความน่าจะเป็นที่แต่ละ

หน่วยตัวอย่างจะถูกเลือก(non–probabilitysampling) 116

4.3.2 การเลือกตัวอย่างชนิดที่ทราบโอกาสหรือความน่าจะเป็นที่แต่ละ

หน่วยตัวอย่างจะถูกเลือก(probabilitysampling) 116

4.3.3 การกำาหนดจำานวนตัวอย่างสำาหรับวิธีเลือกตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่าย 119

4.3.4 ข้อควรระวังในการเลือกตัวอย่าง 121

4.4 การวัดค่าของข้อมูลธุรกิจ 121

4.4.1 วิธีวัดว่าข้อมูลธุรกิจอยู่ในกลุ่มใดของเรื่องหรือลักษณะที่ต้องการทราบ 122

4.4.2 วิธีวัดว่าข้อมูลธุรกิจอยู่ในลำาดับใดของเรื่องหรือลักษณะที่ต้องการทราบ 122

4.4.3 วิธีวัดว่าข้อมูลธุรกิจแตกต่างกันมากน้อยเพียงใดเมื่อเทียบกับ

ค่าต่ำาสุดของข้อมูลที่ต้องการทราบ 123

4.4.4 วิธีวัดว่าข้อมูลธุรกิจแตกต่างกันมากน้อยเพียงใดเมื่อเทียบกับ

ค่าต่ำาสุดที่เป็นศูนย์ 125

4.5 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลธุรกิจ 126

4.5.1 แนวคิดในการสร้างแบบสอบถาม 126

4.5.2 ส่วนประกอบของแบบสอบถาม 128

4.5.3 ประเภทของคำาถามในแบบสอบถาม 129

4.6 กิจกรรมท้ายบทที่ 4 131

แบบฝึกหัดบทที่ 4 133

Basic Statistics D4.indd 6 11/1/2557 15:34:49

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

บทที่ 5 การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐานทางธุรกิจ 135

5.1 การประมาณค่าทางธุรกิจ 137

5.1.1 กำรประมำณค่ำเฉลี่ยประชำกรชุดเดียว (m) 137

5.1.2 ข้อควรระวังเกี่ยวกับกำรประมำณค่ำ 142

5.2 การทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติทางธุรกิจ 143

5.2.1 ควำมจ�ำเป็นที่จะต้องมีกำรทดสอบสมมติฐำนเชิงสถิต ิ 143

5.2.2 กำรตั้งสมมติฐำนเชิงสถิติ 144

5.2.3 ควำมผิดพลำดในกำรทดสอบสมมติฐำนเชิงสถิติ 147

5.2.4 ระดับควำมเชื่อมั่นในกำรทดสอบสมมติฐำนเชิงสถิติ 149

5.2.5 ขั้นตอนในกำรทดสอบสมมติฐำนเชิงสถิติ 150

5.2.6 ตัวสถิติเพื่อกำรทดสอบ 153

5.2.7 กำรทดสอบสมมติฐำนเกี่ยวกับประชำกร 155

5.2.8 ข้อควรระวังในกำรทดสอบสมมติฐำนเชิงสถิติเกี่ยวกับ

ค่ำเฉลี่ยของประชำกร 174

5.3 กิจกรรมท้ายบทที่ 5 176

แบบฝึกหัดบทที่ 5 177

บทที่ 6 การหาความสัมพันธ์และการพยากรณ์ทางธุรกิจ 181

6.1 การวิเคราะห์การถดถอยและสหสัมพันธ์ทางธุรกิจ 182

6.1.1 กำรวิเครำะห์กำรถดถอยเชิงเดี่ยว 182

6.1.2 กำรวิเครำะห์แนวโน้มทำงธุรกิจ 196

6.1.3 กำรวิเครำะห์กำรถดถอยพหุคูณ 202

6.2 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ทางธุรกิจ 212

6.2.1 กำรหำสหสัมพันธ์ระหว่ำงข้อมูลธุรกิจทั่วไป 212

6.2.2 กำรหำสหสัมพันธ์ระหว่ำงข้อมูลธุรกิจที่วัดล�ำดับที ่ 214

6.2.3 ข้อควรระวังเกี่ยวกับกำรวิเครำะห์กำรถดถอยและสหสัมพันธ์ทำงธุรกิจ 217

Basic Statistics D4.indd 7 11/1/2557 13:26:25

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

6.3 การทดสอบไคสแควร์ 218

6.3.1 การหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลธุรกิจโดยใช้การทดสอบไคสแควร์ 220

6.3.2 ข้อควรระวังในการทดสอบไคสแควร์ 225

6.4 กิจกรรมท้ายบทที่ 6 226

แบบฝึกหัดบทที่ 6 227

ภาคผนวก� 235

Basic Statistics D4.indd 8 11/1/2557 15:36:04

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

ความสำคัญของสถิติที่มีตอการบริหารธุรกิจ

สถิติพรรณนา

สถิติอนุมาน

ความหมายของสถิติ

กิจกรรม 5 กิจกรรม

แบบฝกหัด 9 ขอ

ความจำเปนและประโยชนของสถิติที่มีตอการบริหารธุรกิจ

สถิติพื้นฐานสำหรับการเก็บรวบรวมขอมูล

สถิติพื้นฐานสำหรับการวิเคราะหขอมูล

วิธีเลือกตัวอยางแบบสุมอยางงาย

วิธีเลือกตัวอยางแบบแบงเปนชั้นภูมิ

ความหมาย ความจำเปนและประโยชนของสถิติที่มีตอการบริหารธุรกิจ

สถิติพื้นฐานที่สำคัญและจำเปนสำหรับการบริหารธุรกิจ

ขอควรพิจารณาเกี่ยวกับการใชสถิติพื้นฐาน

กิจกรรมทายบทที่ 1

แบบฝกหัดบทที่ 1

สรุปหัวข้อเนื้อหาในบทที่ 1

Basic Statistics D3.indd 9 25/12/2556 11:14:16

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

บทที่ 1 ความส�าคัญของสถิติที่มีต่อการบริหารธุรกิจ

1.1 ความหมาย ความจ�าเป็นและประโยชน์

ของสถิติที่มีต่อการบริหารธุรกิจ

การน�าความรู้เกี่ยวกับสถิติไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�าวันและการประกอบอาชีพ ตลอดจน

การน�าไปใช้ในการแก้ปัญหาด้านต่างๆได้อย่างเป็นรูปธรรม มีความจ�าเป็นต้องทราบความรู้พื้นฐาน

เสียก่อนว่าสถิติคืออะไร มีความส�าคัญและจ�าเป็นต่อชีวิตประจ�าวันและการประกอบอาชีพอย่างไร ข้อมูล

และสารสนเทศต่างกันอย่างไร ข้อมูลที่น�ามาใช้ตัดสินใจ วางแผน และสร้างสารสนเทศมีกี่ประเภท

และมีแหล่งที่มาจากไหนบ้าง วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล เลือกตัวอย่าง และวิธีสุ่มตัวอย่างท�าอย่างไร วิธี

วิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติมีอะไรบ้าง และข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้สถิติมีอะไรบ้าง

1.1.1 ความหมายของสถิติ

สถิตเิป็นวชิาทีว่่าด้วยการเกบ็รวบรวมข้อมลูและการวเิคราะห์ข้อมลูเพือ่น�าไปใช้ในการหา

ข้อสรุปส�าหรับการตัดสนิใจและวางแผนในเรือ่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรือ่งในชวีติประจ�าวนัหรอืเรือ่ง

ทีเ่กีย่วกบัการประกอบอาชพี ข้อสรปุในเรือ่งต่างๆท่ีได้จากการใช้สถติเิป็นท่ียอมรบักนัโดยท่ัวไป

ว่ามโีอกาสผดิพลาดน้อยทีส่ดุเมือ่เทยีบกบัข้อสรปุทีไ่ด้จากการใช้วธิอีืน่ๆ เช่น การใช้ประสบการณ์

หรือความเชื่อที่มีต่อเรื่องนั้นๆ

สถิติอาจหมายถึงตัวเลขที่แทนขนาดของสิ่งหรือเรื่องที่ต้องการวัดหรือเปรียบเทียบ

เช่น สถิติจ�านวนประชากรของประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2546 ถึง 2555 สถิติปริมาณและ

มูลค่าการส่งออกข้าวไปขายต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2551 ถึง 2555

Basic Statistics D3.indd 10 25/12/2556 11:14:17

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

11���� ��������� �����������������������������������������������������

บทที่ 1 ความส�าคัญของสถิติที่มีต่อการบริหารธุรกิจ

1.1 ความหมาย ความจ�าเป็นและประโยชน์

ของสถิติที่มีต่อการบริหารธุรกิจ

การน�าความรู้เกี่ยวกับสถิติไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�าวันและการประกอบอาชีพ ตลอดจน

การน�าไปใช้ในการแก้ปัญหาด้านต่างๆได้อย่างเป็นรูปธรรม มีความจ�าเป็นต้องทราบความรู้พื้นฐาน

เสียก่อนว่าสถิติคืออะไร มีความส�าคัญและจ�าเป็นต่อชีวิตประจ�าวันและการประกอบอาชีพอย่างไร ข้อมูล

และสารสนเทศต่างกันอย่างไร ข้อมูลที่น�ามาใช้ตัดสินใจ วางแผน และสร้างสารสนเทศมีกี่ประเภท

และมีแหล่งที่มาจากไหนบ้าง วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล เลือกตัวอย่าง และวิธีสุ่มตัวอย่างท�าอย่างไร วิธี

วิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติมีอะไรบ้าง และข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้สถิติมีอะไรบ้าง

1.1.1 ความหมายของสถิติ

สถติเิป็นวชิาทีว่่าด้วยการเกบ็รวบรวมข้อมลูและการวเิคราะห์ข้อมลูเพือ่น�าไปใช้ในการหา

ข้อสรปุส�าหรบัการตดัสนิใจและวางแผนในเร่ืองต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองในชวีติประจ�าวนัหรอืเรือ่ง

ท่ีเกีย่วกบัการประกอบอาชพี ข้อสรปุในเรือ่งต่างๆทีไ่ด้จากการใช้สถติเิป็นทีย่อมรบักนัโดยทัว่ไป

ว่ามโีอกาสผดิพลาดน้อยทีส่ดุเมือ่เทยีบกบัข้อสรปุทีไ่ด้จากการใช้วธิอีืน่ๆ เช่น การใช้ประสบการณ์

หรือความเชื่อที่มีต่อเรื่องนั้นๆ

สถิติอาจหมายถึงตัวเลขที่แทนขนาดของสิ่งหรือเรื่องที่ต้องการวัดหรือเปรียบเทียบ

เช่น สถิติจ�านวนประชากรของประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ. 2546 ถึง 2555 สถิติปริมาณและ

มูลค่าการส่งออกข้าวไปขายต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ. 2551 ถึง 2555

1.1.2 ความจ�าเป็นและประโยชน์ของสถิติที่มีต่อการบริหารธุรกิจ

เป้าหมายส�าคญัในการด�ารงชวีติและการประกอบอาชพีของคนส่วนใหญ่โดยท่ัวไปกค็อื

ความต้องการมีชีวิตประจ�าวันอย่างเป็นปรกติสุข มีความก้าวหน้าในการศึกษาและการประกอบ

อาชพีทัง้ของตนเองและสมาชกิในครอบครวั แต่การด�ารงชวีติอย่างเป็นปรกตสิขุ มคีวามก้าวหน้า

ในการศึกษา และมีอาชีพการงานที่มั่นคงในปัจจุบันท่ามกลางการเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศ

ในด้านต่างๆไปทั่วโลกอย่างรวดเร็ว โดยท่ีคนส่วนใหญ่ท้ังประเทศหรือท้ังโลกมีโอกาสรับรู้และ

ใช้ประโยชน์จากข้อมูลและสารสนเทศดังกล่าวพอๆกันและในระยะเวลาที่ใกล้เคียงกัน ผู้ที่ทราบ

ข้อมลูและสารสนเทศทีส่�าคญัและจ�าเป็นต่อการน�ามาใช้ในการตดัสนิใจและวางแผนงานด้านต่างๆ

มากกว่า ก็จะมีโอกาสตัดสินใจและวางแผนงานด้านน้ันๆได้อย่างเหมาะสมและถูกต้องกว่าผู้ท่ี

ไม่ทราบหรือทราบข้อมูลและสารสนเทศน้อยกว่า โดยเฉพาะข้อมูลและสารสนเทศทางธุรกิจ ซึ่ง

มีการเปลี่ยนแปลงเคลื่อนไหวค่อนข้างรวดเร็วเมื่อเทียบกับข้อมูลด้านอื่นๆ ดังจะเห็นได้จากที่มี

การเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศต่างๆทางธุรกิจการค้าและการบริการอย่างต่อเนื่องผ่านสื่อ

ต่างๆที่มีผู้อ่าน ผู้รับฟัง และผู้รับชมจ�านวนมาก เช่น หนังสือพิมพ์รายวัน วิทยุ โทรทัศน์

และอีเมล เรื่องที่มีการน�าเสนอผ่านสื่อข้างต้นเป็นประจ�าทุกวัน เช่น

SS ข่าวการพยากรณ์อากาศประจ�าวนัของกรมอตุนุยิมวทิยาทางหนงัสอืพมิพ์ วทิย ุและโทรทศัน์

SS ข่าวรายงานการเคลื่อนไหวของราคาสินค้าเกษตรเป็นประจ�าทุกวัน

SS ข่าวการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าที่ส�าคัญและจ�าเป็นต่อการบริโภครายวันของกระทรวง

พาณิชย์ทางหนังสือพิมพ์

SS ข่าวการเคลือ่นไหวของราคาหลกัทรพัย์ในวนัท่ีผ่านมาทางหนงัสอืพมิพ์และในแต่ละวนั

ทางวิทยุและโทรทัศน์

SS ข่าวอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราสกุลต่างๆและราคาทองค�าในแต่ละวันทางหนังสือพิมพ์

SS ข้อมูลการพยากรณ์ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจของประเทศราย 1 ปีหรือรายเดือนทาง

หนังสือพิมพ์และวารสารต่างๆ

SS ข้อมูลแสดงผลการแข่งขันกีฬาชนิดต่างๆ รวมทั้งสถิติแสดงผลการแข่งขัน

SS ข้อมูลแสดงราคาสินค้าและบริการที่ลดราคาประจ�าสัปดาห์ทางหนังสือพิมพ์รายวันหรือ

รายสัปดาห์

ฯลฯ

ข้อมูลข้างต้นนี้สามารถน�าไปใช้ในการตัดสินใจและวางแผนในชีวิตประจ�าวัน ในการ

ศึกษาและการประกอบอาชีพได้ทั้งสิ้นไม่มากก็น้อย ข้อมูลเกี่ยวกับการพยากรณ์อากาศสามารถ

น�าไปใช้ในการตัดสนิใจและวางแผนเกีย่วกบัการเดนิทาง ทัง้ในด้านการเตรยีมอปุกรณ์ทีใ่ช้ในการ

ป้องกันฝน ด้านการเลือกเวลาและเส้นทางการเดินทาง ด้านการนัดหมายเกี่ยวกับภารกิจของ

ครอบครัวและธุรกิจการงาน ฯลฯ ข่าวรายงานการเคลื่อนไหวของราคาสินค้าเกษตรในแต่ละวัน

สามารถน�าไปใช้ในการตัดสินใจซื้อสินค้าเกษตรมาบริโภคหรือน�ามาใช้เป็นวัตถุดิบในการ

ประกอบอาหารเพื่อจ�าหน่ายให้ลูกค้า ข่าวการเคลื่อนไหวของราคาหลักทรัพย์ในวันที่ผ่านมา

Basic Statistics D3.indd 11 25/12/2556 11:14:18

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

12 ������ �� ������������������������������������������

และในช่วงเวลาต่างๆของแต่ละวัน สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจลงทุนซ้ือขาย

หลักทรัพย์ต่างๆในแต่ละวันและในอนาคต ฯลฯ ข้อมูลแสดงราคาสินค้าและบริการที่ลดราคา

ประจ�าสัปดาห์ แม่บ้านสามารถน�าไปใช้ในการตัดสินใจซ้ือสินค้าหรือบริการดังกล่าวได้อย่าง

เหมาะสมทั้งในด้านคุณภาพ ราคา และจ�านวน

นอกจากข้อมูลและสารสนเทศที่มีการน�าเสนอผ่านสื่อต่างๆที่ส�าคัญในแต่ละวัน แต่ละ

สัปดาห์ หรือแต่ละเดือนเป็นประจ�าแล้ว ข้อมูลและสารสนเทศที่บุคคลหรือสมาชิกในครอบครัว

เคยสงัเกตหรอืเกบ็รวบรวมไว้เป็นระยะเวลาค่อนข้างนานเช่นข้อมูลราคาน�า้มันเชือ้เพลงิต่อลติร

ของปั๊มน�้ามันต่างๆตามเส้นทางที่ไปท�าภารกิจของครอบครัวหรือไปท�างาน ข้อมูลเกี่ยวกับ

ศูนย์การค้า โรงแรม แหล่งบันเทิง ร้านอาหาร และสถานที่ท่องเที่ยว ในด้านเส้นทางที่ใช้ใน

การเดนิทางประเภทของสนิค้าหรือบรกิารท่ีจ�าหน่ายและอตัราค่าบรกิารข้อมลูเก่ียวกับแหล่งงาน

และการว่าจ้างงานในด้านต�าแหน่งงานและอัตราเงินเดือนข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้สามารถ

น�าไปใช้ประโยชน์ในการตดัสนิใจเตมิน�า้มนัรถยนต์การตดัสนิใจเลือกร้านอาหารสถานทีท่่องเทีย่ว

และแหล่งบันเทิง ตลอดจนการใช้เส้นทางการเดินทาง การตัดสินใจในการเปลี่ยนงาน หรือ

การสมัครเข้าท�างานได้เป็นอย่างดี โดยที่การตัดสินใจและวางแผนเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆมีโอกาส

ผิดพลาดน้อยที่สุด อาจจะกล่าวได้ว่า สถิติถูกน�าไปใช้ในการบริหารธุรกิจมากกว่างานด้านอื่นๆ

ดังจะเห็นได้จากมีการน�าข้อมูลสถิติและวิธีการวิเคราะห์เชิงสถิติไปใช้ในการตัดสินใจ วางแผน

และก�าหนดนโยบายด้านการตลาดสินค้าและบริการกันค่อนข้างมากในเรื่องต่างๆต่อไปนี้

SS พฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้บริโภคในกลุ่มต่างๆ

SS ประสิทธิภาพในการขายสินค้าและบริการของพนักงานขาย

SS มูลเหตุจูงใจในการซื้อสินค้าและบริการของผู ้บริโภคกลุ ่มเป้าหมายหลักและกลุ ่ม

เป้าหมายรอง

SS ขนาดและส่วนแบ่งตลาดของสินค้าและบริการแต่ละชนิด

SS ก�าลังซื้อของผู้บริโภคในแต่ละกลุ่ม

SS โอกาสในการขยายตลาดสินค้าและบริการแต่ละชนิด

SS ประสิทธิภาพในการใช้สื่อแต่ละประเภทและสื่อผสมหลายประเภท

SS ปัจจัยส�าคัญที่มีผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการแต่ละชนิด

SS การพยากรณ์ปริมาณการผลิตและปริมาณการบริโภคสินค้าและบริการแต่ละชนิดของ

ผู้บริโภคแต่ละกลุ่ม

ให้นักศึกษาลองทบทวนเกี่ยวกับการรับข้อมูลข่าวสารทางธุรกิจจากสื่อต่างๆ ไม่ว่าจะ

เป็นหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต หรือป้ายโฆษณา ท้ังท่ีเป็นโดยเจตนาหรือ

โดยบังเอิญในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมาตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันอาทิตย์ ว่าได้รับฟัง รับชม เรื่องต่างๆ

ต่อไปนี้บ้างหรือไม่

SS ข้อมูลสถิติเกี่ยวกับราคาสินค้าท่ีส�าคัญและจ�าเป็นต่อการด�ารงชีวิตประจ�าวัน ได้แก่

ข้าวขาว5%สุกรช�าแหละเนื้อวัวไก่สดไข่เป็ดไข่ไก่ผักคะน้าฯลฯจากหนังสือพิมพ์

รายวัน

Basic Statistics D2.indd 12 3/12/2556 14:18:43

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

13���� ��������� �����������������������������������������������������

SS ข้อมูลสถิติราคาขายปลีกน�้ามันชนิดต่างๆในกรุงเทพฯ เช่น เบนซิน 91 แก๊สโซฮอล์ 95

ดีเซลหมุนเร็ว (บาท/ลิตร) เอ็นจีวีและแอลพีจี (บาท/กก.) จากหนังสือพิมพ์ด้าน

ธุรกิจรายวัน

SS ข้อมูลสถิติอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้ของธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย จาก

หนังสือพิมพ์รายวัน

SS ข้อมูลสถิติราคาซื้อและราคาขายทองค�าแท่งและทองรูปพรรณ จากหนังสือพิมพ์ด้าน

ธุรกิจรายวันหรือรายสัปดาห์

SS ข้อมูลดัชนีหุ้นของประเทศต่างๆรายวัน และมูลค่าการซื้อขาย จ�าแนกตามกลุ่มผู้ลงทุน

ทางโทรทัศน์และวิทยุ

SS ข้อมลูสถติอิตัราแลกเปลีย่นเงนิตราของประเทศต่างๆ จ�าแนกเป็นราคาซือ้และราคาขาย

จากหนังสือพิมพ์รายวัน

SS ข้อมูลการโฆษณาขายรถ ขายบ้าน ขายท่ีดนิ ในหนงัสอืพมิพ์ประเภทธรุกจิรายสปัดาห์

จ�าแนกตามยี่ห้อและรุ่นของรถ ท�าเลที่ตั้งบ้านและที่ดิน

SS ข้อมูลการประกาศรับสมัครพนักงาน/คนงานของบริษัทหรือโรงงานอุตสาหกรรมใน

หนังสือพิมพ์ด้านธุรกิจรายวันหรือรายสัปดาห์

SS สถิติและผลการแข่งขันกีฬาประเภทต่างๆในโทรทัศน์ วิทยุ และหนังสือพิมพ์รายวัน

นกัศกึษาส่วนใหญ่หรอืเกอืบทัง้หมดคงเคยได้รบัข้อมลูข่าวสารสถติต่ิางๆทีก่ล่าวมาแล้ว

ข้างต้นไม่มากก็น้อย ข้อมูลข่าวสารต่างๆเหล่านี้นับว่าเกี่ยวข้องกับสถิติไม่ทางตรงก็ทางอ้อม

และสามารถน�าไปใช้ประโยชน์ในการตดัสนิใจและวางแผนการด�าเนนิงานในเรือ่งต่างๆทีเ่กีย่วข้อง

ในชีวิตประจ�าวันหรือประกอบอาชีพโดยเฉพาะอาชีพที่เกี่ยวกับธุรกิจการค้าได้ทั้งสิ้น เช่น

ข้อมูล/สารสนเทศสถิติ การน�าไปใช้ประโยชน์

ข้อมูลสถิติแสดงราคาสูงสุดและต�า่สุดประจ�าวันของแต่ละหลักทรัพย์

ผู้ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ใช้ในการตัดสินใจเลือกหลักทรัพย์และจ�านวนหลักทรัพย์มาลงทุน

ข้อมูลแสดงการพยากรณ์โอกาสที่จะมี ฝนตกในพื้นที่ต่างๆ

ผู้ประกอบการธุรกิจในพื้นที่นั้นๆเตรียมอุปกรณ์กันฝนและพาหนะในการขนส่งสินค้าให้สอดคล้องกับโอกาสที่จะเกิดฝนตกในพื้นที่นั้นๆ

ข้อมูลสถิติปริมาณน�้าฝนหรือน�้าในเขื่อนต่างๆ ธุรกิจด้านการเกษตรวางแผนรับมือในกรณีที่เกิดน�า้ท่วมหรือการขาดแคลนน�้าเพื่อการเพาะปลูก

ข้อมูลการลดราคาสินค้าของห้างสรรพสินค้าต่างๆในหนังสือพิมพ์หรือใบโฆษณา

ผู้บริโภคใช้ตัดสินใจว่าควรจะไปซื้อสินค้าดังกล่าวที่ห้างสรรพสินค้าใดและจะซื้อจ�านวนมากน้อยเพียงไร

ข้อมูลโปรแกรมภาพยนตร์และรายการโทรทัศน ์ ในหนังสือพิมพ์

ผู้อ่านตัดสินใจเลือกภาพยนตร์ โรงภาพยนตร์ รายการโทรทัศน์ ช่องโทรทัศน์ และวันที่จะไป ดูหรือชม

Basic Statistics D3.indd 13 25/12/2556 11:14:30

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

14 ������ �� ������������������������������������������

ข้อมูล/สารสนเทศสถิติ การน�าไปใช้ประโยชน์

ข้อมูลการพยากรณ์โชคชะตา ผู้ที่มีความเชื่อในโชคชะตาน�าไปใช้ในการประกอบการตัดสินใจและวางแผนการด�าเนินชีวิตการประกอบอาชีพ และการประกอบธุรกิจ

ข้อมูลโฆษณาขายสินค้า กลุ่มลูกค้าเป้าหมายใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการซื้อสินค้าที่โฆษณา

ข้อมูลประกาศรับสมัครพนักงาน/คนงานของบริษัท/โรงงานในหนังสือพิมพ์รายวันหรือรายสัปดาห์

ผู้ว่างงานหรือผู้ที่ต้องการเปลี่ยนงานใช้ประกอบการตัดสินใจในการสมัครเข้าท�างานหรือเปลี่ยนงาน

ข้อมูลแสดงโปรแกรม ผล และสถิติการแข่งขันกีฬาประเภทต่างๆ

นักกีฬาและแฟนกีฬาใช้เป็นข้อมูลในการติดตามดูกีฬาประเภทต่างๆ ตลอดจนทราบผลและสถิติการแข่งขันของกีฬาที่สนใจ

รายงานข่าวจราจรและสภาพความเสียหายในถนนต่างๆในกรุงเทพฯทางวิทยุ

ชาวกรุงเทพฯและผู้ประกอบธุรกิจใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการเดินทางไปยังจุดหมายที่ต้องการโดยให้เกิดปัญหาในการเดินทางและการประกอบธุรกิจน้อยที่สุด

จากทีก่ล่าวมาแล้วข้างต้นจะเหน็ได้ว่าข้อมลูสถติอิยูร่อบๆตวัเราทุกคนและเราต้องพบ

หรือใช้ประโยชน์ในการด�ารงชีวิตประจ�าวันหรือการประกอบอาชีพของเราอยู่ตลอดเวลา ดังนั้น

ความสนใจในข้อมูลสถิติรอบๆตัวเราโดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�าวันและการประกอบ

ธุรกิจ จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการตัดสินใจและวางแผนด�าเนินการในเรื่องต่างๆ โดยที่ผล

การตัดสินใจและวางแผนโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลสถิติในเรื่องนั้นๆจะท�าให้มีโอกาสตัดสินใจ

หรือวางแผนผิดพลาดน้อยลง

1.2 สถิติพื้นฐานที่ส�าคัญและจ�าเป็นส�าหรับการบริหารธุรกิจ

สถิติพื้นฐานที่ส�าคัญและจ�าเป็นส�าหรับการบริหารธุรกิจประกอบด้วย สถิติพื้นฐานส�าหรับการ

เก็บรวบรวมข้อมูลและสถิติพื้นฐานส�าหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ดังรายละเอียดต่อไปนี้

1.2.1 สถิติพื้นฐานส�าหรับการเก็บรวบรวมข้อมูล

สถิติพื้นฐานส�าหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ส�าคัญก็คือเครื่องมือที่ใช้ในการเลือก

ตัวอย่างเพื่อใช้เป็นตัวแทนในการเก็บรวบรวมข้อมูลในกรณีที่ผู้ให้ข้อมูลทางธุรกิจเช่นผู้บริโภค

สนิค้าหรอืบรกิารตวัแทนจ�าหน่ายสนิค้าหรอืบรกิารหรอืพนักงานขายสนิค้าหรอืบรกิารมีจ�านวน

Basic Statistics D2.indd 14 3/12/2556 14:18:44

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

15���� �����������������������������������������������������

มาก การเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกๆคนอาจจะท�าให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวม

ข้อมูลดังกล่าวมากโดยไม่จ�าเป็น ท้ังน้ี เน่ืองจากการเลือกตัวอย่างจากผู้ให้ข้อมูลท้ังหมดมา

เพียงบางส่วนเพ่ือเป็นตัวแทนในการเก็บรวบรวมข้อมูลก็เป็นการเพียงพอที่จะสามารถสรุปเรื่อง

ต่างๆทางธุรกิจที่ต้องการทราบค�าตอบได้ เช่น ในการส�ารวจความพึงพอใจของชาวกรุงเทพฯที่

มีต่อสินค้าหรือบริการชนิดหนึ่ง อาจท�าได้โดยการเลือกตัวอย่างชาวกรุงเทพฯซึ่งใช้สินค้าหรือ

บรกิารชนดินัน้มาเป็นตวัแทนจ�านวนหนึง่จากชาวกรงุเทพฯทัง้หมดซึง่ใช้สนิค้าหรอืบรกิารชนดินัน้

โดยที่จ�านวนตัวอย่างชาวกรุงเทพฯท่ีเลือกมาเป็นตัวแทนของชาวกรุงเทพฯท้ังหมดซ่ึงใช้สินค้า

หรือบริการชนดิดงักล่าวจะมากน้อยเพยีงใด ส่วนหนึง่กข็ึน้อยูก่บัความต้องการของผูว้เิคราะห์ว่า

จะให้ผลการวเิคราะห์ข้อมลูจากตวัอย่างชาวกรงุเทพฯใกล้เคยีงกบัผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากชาว

กรงุเทพฯทัง้หมดมากน้อยเพยีงไร ถ้าผูวิ้เคราะห์ต้องการให้ได้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลใกล้เคยีงกนั

มากกค็วรเลอืกตวัอย่างชาวกรงุเทพฯจ�านวนมากมาเกบ็รวบรวมข้อมูล แต่ถ้าผูวิ้เคราะห์ต้องการ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างหยาบๆโดยไม่ต้องการความถูกต้องเชื่อถือได้มากนัก ก็ควรเลือก

ตัวอย่างชาวกรุงเทพฯเพียงจ�านวนน้อยมาเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลธุรกิจจาก

ตวัอย่างบางส่วนของผูใ้ห้ข้อมูลนีน้ยิมใช้กนัมากในการวจิยัธรุกจิหรอืวจิยัตลาด เนือ่งจากสามารถ

ประหยดัเวลาและค่าใช้จ่ายในการเกบ็รวบรวมข้อมลูมาใช้ในการวเิคราะห์วจัิยได้มาก โดยเฉพาะ

อย่างยิง่เมือ่ขอบเขตของการวจิยัธรุกจิหรอืการวจิยัตลาดกว้างหรอืจ�านวนผูใ้ห้ข้อมลูมจี�านวนมาก

วิธีเลือกตัวอย่างผู ้ให้ข้อมูลเพื่อน�ามาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลทางด้านธุรกิจท่ี

ค่อนข้างง่ายและที่นิยมใช้กันทั่วไปทางธุรกิจมี 2 วิธี คือ

1) วิธีเลือกตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่าย

2) วิธีเลือกตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ

1) วิธีเลือกตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่ายวิธีเลือกตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่ายเป็นวิธีเลือกตัวอย่างที่แต่ละหน่วยของ

ประชากรมีโอกาสถูกเลือกมาเป็นตัวอย่างเท่าๆกัน

วธิเีลอืกตวัอย่างแบบสุม่อย่างง่ายเหมาะทีจ่ะใช้กบัข้อมลูธรุกจิทีม่กีรอบตวัอย่าง

และมคีวามแตกต่างกนัไม่มากระหว่างผูใ้ห้ข้อมลูแต่ละรายหรอืข้อมลูธรุกจิมกีารกระจาย

น้อย ในการเลอืกตวัอย่างแบบน้ีผูใ้ห้ข้อมูลท่ีผูวิ้เคราะห์ต้องการแต่ละรายจากผูใ้ห้ข้อมูล

ทั้งหมดจะมีโอกาสถูกเลือกมาเป็นตัวอย่างหรือตัวแทนเท่าๆกัน และในกรณีที่ตัวอย่าง

ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีจ�านวนมาก ตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลมักจะกระจายไปตาม

ลักษณะต่างๆของผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด เช่น เพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้ของ

ผู้บริโภค หรือประเภทธุรกิจ ขนาดธุรกิจของสถานประกอบการธุรกิจ เป็นต้น

วิธีเลือกตัวอย่างแบบสุ่มหรือการสุ่มตัวอย่างท่ีนิยมใช้กันท่ัวไปมี 2 วิธี คือ

วิธีจับสลากและตารางเลขสุ่ม

1.1) ใช้วิธีจับสลาก โดยการเขียนชื่อหรือหมายเลขที่ใช้แทนผู้ให้ข้อมูลแต่ละราย

จากผู้ให้ข้อมูลทั้งหมดลงในสลาก ซึ่งอาจเป็นชื่อลูกค้า ชื่อสถานประกอบการ

Basic Statistics D3.indd 15 25/12/2556 11:14:39

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

16 ������ �� ������������������������������������������

หรือชื่อตัวแทนจ�าหน่าย แล้วน�าสลากทั้งหมดใส่ในภาชนะ เขย่าให้ปะปนกัน

ก่อนจะหยิบสลากอย่างไม่ล�าเอียงออกมาจากภาชนะดังกล่าวให้มีจ�านวน

เท่ากบัจ�านวนตวัอย่างทีต้่องการโดยทีเ่มือ่หยบิสลากชิน้ใดออกมาเป็นตวัอย่าง

แล้วจะต้องไม่น�าสลากชิ้นนั้นใส่กลับคืนลงในภาชนะใส่สลากก่อนที่จะหยิบ

สลากชิ้นต่อไปออกมาจากภาชนะดังกล่าว ชื่อผู้ให้ข้อมูลหรือหมายเลขที่ใช้

แทนชือ่ผูใ้ห้ข้อมลูทีอ่ยูใ่นสลากทีห่ยบิออกมาจากภาชนะใส่สลากทัง้หมดจะตก

เป็นตัวอย่างที่น�ามาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล การสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีจับสลาก

ควรจะใช้เมือ่กลุม่ผูใ้ห้ข้อมูลท้ังหมดหรอืประชากรของผูใ้ห้ข้อมูลมีจ�านวนน้อย

เท่านั้น เนื่องจากการท�าสลากของผู้ให้ข้อมูลจ�านวนมากเพื่อน�ามาใช้ในการ

เลือกตัวอย่างจะเสียเวลาค่อนข้างมาก

1.2) ใช้ตารางเลขสุ่ม (tableof randomnumber) โดยการน�ารายชื่อของผู้ให้

ข้อมูลซึ่งอาจเป็นผู้บริโภคหรือสถานประกอบธุรกิจมาก�าหนดหมายเลขเรียง

กันไปจาก123เรื่อยไปตามล�าดับจนถึงหมายเลขของผู้ให้ข้อมูลรายสุดท้าย

โดยทีก่ารก�าหนดหมายเลขให้แก่ผูใ้ห้ข้อมลูต้องไม่ท�าตามเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึง่

ที่ผู้วิจัยก�าหนดไว้ เช่น ตามเกณฑ์อายุ จ�านวนหรือยอดซื้อสินค้า ล�าดับตัว

อักษรของชื่อลูกค้า ร้านตัวแทนจ�าหน่าย พนักงานขาย ฯลฯ โดยทั่วไปการ

ก�าหนดหมายเลขมักจะก�าหนดตามรายชื่อลูกค้า ตัวแทนจ�าหน่าย พนักงาน

ขาย ฯลฯ ที่สถานประกอบธุรกิจมีอยู่แล้วเดิม ข้อมูลเหล่านี้ส่วนใหญ่มักจะ

เรียงกันตามระยะเวลาก่อนหลังท่ีมาเป็นลูกค้า สมาชิก ลูกจ้าง ฯลฯ ซ่ึง

สามารถน�ามาใช้ได้ทันทีโดยไม่จ�าเป็นต้องน�ามาจัดเรียงใหม่ ตารางเลขสุ่มที่

ใช้กันทั่วไปสามารถหาดูได้จากหนังสือสถิติทั่วๆไป

ในกรณทีีบ่รษิทัหนึง่ต้องการสุม่ตวัอย่างร้านค้าทีเ่ป็นตวัแทนจ�าหน่าย

สินค้าของบริษัทจ�านวน100รายจากจ�านวนทั้งหมด234รายตารางเลขสุ่ม

ที่บริษัทนี้ควรน�ามาใช้ในการสุ่มตัวอย่างร้านค้าที่เป็นตัวแทนจ�าหน่ายสินค้า

ของบริษัท คือ ตารางเลขสุ่ม 3 หลัก ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 3 หลัก คือ

ตั้งแต่เลข000001002003 เรื่อยไปจนถึง999ส�าหรับขั้นตอนและวิธีการ

สุ่มตามล�าดับควรท�าดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 น�ารายชื่อร้านค้าที่เป็นตัวแทนจ�าหน่ายสินค้าของบรษิทัทีบ่รษิทัจดัเรยีงหมายเลขไว้แล้วซึง่โดยทัว่ไปมกัจะเรยีงตามล�าดบัเวลา

ที่ร้านค้าเหล่านั้นมาเป็นตัวแทนจ�าหน่ายสินค้าของบริษัท ในกรณีที่ยังไม่ได้

ก�าหนดล�าดับหมายเลขของร้านค้าทีเ่ป็นตวัแทนจ�าหน่ายให้ก�าหนดหมายเลข

ร้านค้าที่เป็นตัวแทนจ�าหน่ายตามรายชื่อที่เรียงกันอยู่แล้วเดิม โดยเริ่มจาก

ร้านแรกก�าหนดให้เป็นหมายเลข001ร้านที่สองก�าหนดให้เป็นหมายเลข002

เรื่อยไปจนถึงร้านสุดท้ายก�าหนดให้เป็นหมายเลข 234

Basic Statistics D2.indd 16 3/12/2556 14:18:44

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

17���� �����������������������������������������������������

ขั้นตอนที่ 2 สุ่มตัวเลข3หลักจากตารางเลขสุ่ม3หลักโดยไม่มีการล�าเอยีงท่ีจะท�าให้ได้เลข3หลกัใดๆในตารางเลขสุม่มโีอกาสถูกเลอืกขึน้มา

มากหรือน้อยกว่าเลข 3 หลักอื่นๆในตาราง ซึ่งอาจท�าโดยการหลับตาแล้ว

ใช้ปลายดินสอชี้ลงไปที่ตารางเลขสุ่ม 3หลักถ้าปลายดินสอที่ชี้ลงไปตรงกับ

เลข3หลักใดรายชื่อร้านค้าที่มีหมายเลขตรงกับเลข3หลักนี้จะต้องตกเป็น

ตวัอย่างร้านค้าทีจ่ะน�ามาใช้เกบ็รวบรวมข้อมลูทีต้่องการในกรณทีีป่ลายดนิสอ

ชี้ลงไปตรงกับเลข 3 หลักซึ่งมากกว่า 234 จะต้องเลือกตัวอย่างร้านค้าใหม่

โดยใช้วิธีการเดิมที่กล่าวแล้วข้างต้น ท�าเช่นนี้เรื่อยไปจนกว่าจะได้ตัวอย่าง

ร้านค้า 100 ราย ในกรณีที่เลข 3 หลักซึ่งเลือกมาเป็นตัวอย่างซ�้ากับเลข 3

หลักเดิมที่เลือกมาเป็นตัวอย่างร้านค้าแล้ว จะต้องเลือกตัวอย่างร้านค้าใหม่

เช่นเดียวกันกับเมื่อตัวอย่างร้านค้าที่เลือกมาเป็นตัวอย่างเป็นเลข 3 หลักท่ี

มากกว่า 234

นอกจากการสุม่ตวัอย่างโดยใช้2วธิดีงักล่าวข้างต้นยงัสามารถใช้คอมพวิเตอร์

สุ่มตัวอย่าง โดยใช้โปรแกรมสุ่มตัวอย่างจากโปรแกรมส�าเร็จ เช่น SPSS หรือ SAS

ซึ่งอาจท�าได้เฉพาะผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่มีโปรแกรมส�าเร็จข้างต้นเท่านั้น

ข้อดี ของวิธีเลือกตัวอย่างแบบสุ่มก็คือ ขั้นตอนและวิธีการเลือกตัวอย่างท�าได้ง่าย นอกจากนี้ การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการเลือกตัวอย่างด้วยวิธีนี้ก็ท�าได้ง่าย

เช่นเดียวกัน แต่ ข้อเสีย ของวิธีเลือกตัวอย่างวิธีนี้ก็คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลจะใช้เวลาและค่าใช้จ่ายมาก เนื่องจากตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลที่จะใช้เก็บรวบรวมข้อมูลอยู่กัน

อย่างกระจัดกระจายมากโดยเฉพาะเมื่อขอบเขตในการเก็บรวบรวมข้อมูลกว้าง เช่น

การเก็บรวบรวมข้อมูลในระดับภาคหรือระดับประเทศ

2) วิธีเลือกตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิวิธีเลือกตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิเหมาะท่ีจะใช้กับข้อมูลท่ีต้องการเก็บ

รวบรวมมีความแตกต่างกันมากระหว่างผู้ให้ข้อมูลแต่ละราย หรือข้อมูลที่ต้องการเก็บ

รวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลมีการกระจายมาก ในการเลือกตัวอย่างวิธีน้ีจะแบ่งกลุ่มผู้ให้

ข้อมูลออกเป็นพวกหรือชั้นภูมิ โดยให้ข้อมูลซึ่งต้องการจากผู้ให้ข้อมูลที่อยู่ในพวกหรือ

ชัน้ภมูเิดยีวกนัแตกต่างกนัน้อยทีส่ดุและข้อมลูทีอ่ยูค่นละพวกหรอืคนละชัน้ภมูแิตกต่าง

กันมากที่สุด ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถใช้วิธีเลือกตัวอย่างแบบสุ่มจากแต่ละพวกหรือแต่ละ

ชั้นภูมิได้ ซึ่งจะมีผลท�าให้สามารถประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายโดยรวมในการเก็บ

รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลได้ และเพื่อที่จะให้ตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลซึ่งเลือกโดยวิธี

นีเ้ป็นตัวแทนทีดี่ของผูใ้ห้ข้อมลูทัง้หมดจงึจ�าเป็นต้องเลอืกตวัอย่างแบบสุม่มาจากแต่ละ

พวกหรือจากแต่ละชั้นภูมิ

Basic Statistics D2.indd 17 3/12/2556 14:18:44

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

18 ������ �� ������������������������������������������

ขั้นตอนที่ส�าคัญในการเลือกตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิมีดังนี้

2.1) แบ่งผู้ให้ข้อมูลออกเป็นพวกหรือชั้นภูมิตามลักษณะที่ผู้เก็บรวบรวมข้อมูลคาดว่าจะมีผลท�าให้ข้อมูลที่ต้องการแตกต่างกัน เช่น เพศ อายุระดบัการศกึษาอาชพีรายได้สถานภาพสมรสประเภทกจิการขนาดกจิการ

สถานที่ตั้งของธุรกิจ ฯลฯ กล่าวคือ ให้ข้อมูลซึ่งต้องการจากผู้ให้ข้อมูลที่อยู่

ในพวกหรือชั้นภูมิเดียวกันแตกต่างกันน้อยที่สุด และข้อมูลที่อยู่คนละพวก

หรือคนละชั้นภูมิแตกต่างกันมากที่สุด เช่น ต้องการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยว

กับความถี่ในการบริโภคสินค้าชนิดหน่ึงของชาวกรุงเทพฯ ในกรณีท่ีคาดว่า

ความถีใ่นการบรโิภคสินค้าชนิดน้ีของชาวกรงุเทพฯแตกต่างกันเน่ืองจากอาชีพ

ได้แก่ ลูกจ้างรัฐบาล ลูกจ้างเอกชน ผู้ประกอบธุรกิจส่วนตัว และอาชีพอื่นๆ

การแบ่งผูใ้ห้ข้อมลูหรอืชาวกรงุเทพฯซึง่ใช้สนิค้าชนดินีอ้อกเป็นพวกหรอืชัน้ภมู ิ

กค็วรต้องแบ่งตามอาชพีออกเป็น4กลุม่ข้างต้นโดยคาดว่าผูบ้รโิภคทีม่อีาชพี

เดียวกันจะมีความถี่ในการบริโภคแตกต่างกันน้อย และผู้บริโภคท่ีมีอาชีพ

ต่างกันจะมีความถี่ในการบริโภคแตกต่างกันมาก

2.2) สุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลจากแต่ละพวกหรือแต่ละชั้นภูมิมาเป็นตัวแทนของผู้ให้ข้อมูลทั้งหมดของพวกหรือชั้นภูมินั้นๆ ส�าหรับจ�านวนตัวอย่าง

ผู้ให้ข้อมูลที่สุ ่มมาจากแต่ละพวกหรือชั้นภูมิโดยทั่วไปควรจะเป็นปฏิภาค

โดยตรงกับจ�านวนผู้ให้ข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่ในพวกหรือชั้นภูมินั้นๆ กล่าวคือ

พวกหรือชั้นภูมิใดที่มีจ�านวนผู้ให้ข้อมูลทั้งหมดมากก็ควรเลือกตัวอย่างผู้ให้

ข้อมูลมามากพวกหรือชั้นภูมิใดที่มีจ�านวนผู้ให้ข้อมูลทั้งหมดน้อยก็ควรเลือก

ตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลมาน้อยเป็นสัดส่วนกัน

ข้อด ีของวธิเีลอืกตวัอย่างแบบแบ่งเป็นชัน้ภมูกิค็อืตวัอย่างผูใ้ห้ข้อมลูท่ีเลอืกมาเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นตัวแทนที่ดีของผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด เนื่องจากข้อมูลท่ีต้องการ

ทราบทุกขนาดและทุกลักษณะได้ถูกเลือกขึ้นมาเป็นตัวแทน การวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บ

รวบรวมได้มีความถูกต้องเชื่อถือได้มากกว่าวิธีเลือกตัวอย่างแบบสุ่มเม่ือเสียค่าใช้จ่าย

ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเท่าๆกัน นอกจากนี้ ยังสามารถวิเคราะห์ข้อมูลและแสดงผล

การวิเคราะห์ในระดับพวกหรือชั้นภูมิได้อีกด้วยนอกเหนือจากผลการวิเคราะห์รวม

ทัง้หมดแล้วแต่ข้อเสยีของวธิเีลอืกตวัอย่างวธินีีก้ค็อืขัน้ตอนและวธีิการเลอืกตวัอย่างตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากตัวอย่างค่อนข้างยุ่งยากและซับซ้อนเมื่อเทียบกับ

การเลือกตัวอย่างแบบสุ่ม

1.2.2 สถิติพื้นฐานส�าหรับการวิเคราะห์ข้อมูล

สถติพิืน้ฐานส�าหรบัการวเิคราะห์ข้อมลูทางธรุกจิประกอบด้วยสถติพิรรณนา(descriptive

statistics) และสถิติอนุมาน (inferential statistics)

Basic Statistics D2.indd 18 3/12/2556 14:18:44

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

19���� �����������������������������������������������������

1) สถิติพรรณนา เป็นสถิติท่ีใช้วิเคราะห์ข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมมาได้ไม่ว่าจะเป็นข้อมูล

ปฐมภูมิหรือข้อมูลทุติยภูมิ เพื่อจ�าแนกข้อมูลตามลักษณะต่างๆที่ต้องการเปรียบเทียบ

หรือน�าไปใช้ในการวิเคราะห์ต่อไป โดยท่ีการวิเคราะห์จะวิเคราะห์จากข้อมูลท่ีได้จาก

ทุกหน่วยในประชากรหรือข้อมูลที่ได้จากตัวอย่างที่เลือกมาเป็นตัวแทนจากประชากร

ก็ได้ การจ�าแนกข้อมูลตามลักษณะต่างๆที่ต้องการเปรียบเทียบมักน�าเสนอข้อมูลใน

รูปตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพ นอกจากนี้ ยังนิยมน�าเสนอในรูปค่าสัดส่วนหรือ

ร้อยละเนื่องจากสะดวกในการวิเคราะห์และตีความหมาย

ส�าหรับการใช้สถิติพรรณนาเพื่อน�าผลการวิเคราะห์ไปใช้เพื่อการวิเคราะห์ใน

เร่ืองอื่นๆต่อไป เช่น การใช้สถิติเชิงอ้างอิง หรือเพื่ออธิบายภาพรวมของประชากรที่

ต้องการศกึษา ประกอบด้วย การหาค่ากลางและค่าการกระจายของข้อมลูจากประชากร

หรือจากตัวอย่างที่เลือกมาเป็นตัวแทนจากประชากรนั้นๆ

1.1) ค่ากลางของข้อมูล คือค่าที่ใช้เป็นตัวแทนของค่าทั้งหมดในข้อมูลชุดนั้น ค่า

กลางที่ดีของข้อมูลชุดใดๆควรเป็นค่าที่ใกล้เคียงกับค่าส่วนใหญ่ของข้อมูลชุด

นั้น ค่ากลางมีหลายชนิดแต่ที่นิยมใช้กันเสมอๆมี 3 ชนิด คือ

OO ค่าเฉลีย่เลขคณิต คอืค่าท่ีได้จากการเฉลีย่ค่าทุกๆค่าของข้อมลูชดุ

นั้น เช่น ราคาเฉลี่ยของทองค�าแท่ง 1 บาทในเดือนธันวาคม 2555

เท่ากับ 25,120 บาท

OO ค่ามัธยฐาน คือค่าที่มีจ�านวนค่าที่มากกว่าและมีจ�านวนค่าที่น้อย

กว่าค่าน้ีอยูป่ระมาณเท่าๆกนัในข้อมูลชดุน้ัน เช่น มัธยฐานของราคา

ทองค�าแท่ง 1 บาทในเดือนธันวาคม 2555 เท่ากับ 25,100 บาท

OO ค่าฐานนิยม คือค่าที่มีความถี่สูงสุดของข้อมูลชุดนั้น เช่น ฐานนิยม

ของขนาดกระดาษถ่ายเอกสารคือ A4

1.2) ค่าการกระจายของข้อมูล คือค่าความแตกต่างระหว่างค่าแต่ละค่าของข้อมูล

ชุดนั้นกับค่าอื่นๆที่เหลือ ถ้าข้อมูลมีการกระจายมากแสดงว่าค่าแต่ละค่าของ

ข้อมลูมคีวามแตกต่างกนัมากหรอืมีค่าใดค่าหน่ึงหรอืหลายๆค่าท่ีแตกต่างจาก

ค่าอืน่ๆทีเ่หลอืมาก แต่ถ้าข้อมลูมกีารกระจายน้อยแสดงว่าแต่ละค่าของข้อมลู

มีความแตกต่างกันน้อย ในกรณีที่ค่าแต่ละค่าของข้อมูลชุดใดไม่มีความ

แตกต่างกันเลยหรือค่าทุกๆค่าเท่ากันหมดแสดงว่าข้อมูลชุดนั้นมีการกระจาย

เป็นศูนย์ การกระจายของข้อมูลเรื่องเดียวกันแต่ต่างประชากรกันอาจจะ

แตกต่างกนัได้ เช่น การกระจายของรายได้พนกังานน้อยกว่าการกระจายของ

รายได้ผูบ้ริหาร ในท่ีนีข้้อมลูคอืรายได้ และประชากรคอืพนกังานและผูบ้รหิาร

การวัดค่าการกระจายของข้อมูลวัดได้ 2 วิธี คือ การวัดการกระจาย

สัมบูรณ์ (absolute variation) และการวัดการกระจายสัมพัทธ์ (relative

variation)

Basic Statistics D3.indd 19 25/12/2556 11:14:50

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

20 ������ �� ������������������������������������������

1.2.1) การวัดการกระจายสัมบูรณ์ เป็นการวัดค่าการกระจายโดย

พิจารณาจากความแตกต่างระหว่างค่าแต่ละค่าของข้อมูลชุดน้ันกับ

ค่าอืน่ๆท่ีเหลอืแต่เพยีงอย่างเดยีว ไม่ได้พจิารณาถงึขนาดของข้อมูล

แต่ละค่าด้วยว่ามีค่ามากหรือน้อยเพียงใด การวัดค่าการกระจายวิธีนี้

จึงไม่สามารถเปรียบเทียบค่าการกระจายของข้อมูล 2 ชุดที่มีค่า

เฉลี่ยของข้อมูลแต่ละชุดแตกต่างกันได้ การกระจายสัมบูรณ์ที่นิยม

ใช้กันทั่วไปมี 2 วิธี คือ พิสัย (range) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

(standard deviation)

1.2.2) การวัดการกระจายสัมพัทธ์ เป็นการวัดการกระจายโดยพิจารณา

จากความแตกต่างระหว่างค่าแต่ละค่าของข้อมูลชุดน้ันกับค่าอ่ืนๆ

ที่เหลือเม่ือเทียบกับขนาดของข้อมูลชุดน้ัน กล่าวคือ วัดโดยใช้

อัตราส่วนระหว่างค่าการกระจายสัมบูรณ์กับค่ากลางซึ่งเป็นตัวแทน

ของข้อมูลชุดนั้น ดังนั้นการกระจายสัมพัทธ์ของข้อมูลแต่ละชุดจึง

สามารถน�าไปใช้ในการเปรยีบเทยีบการกระจายของข้อมูลตัง้แต่ 2 ชดุ

ขึน้ไปได้ การกระจายสมัพทัธ์ท่ีนิยมใช้กนัคอืสมัประสทิธ์ิการแปรผนั

(coefficient of variation) ซ่ึงวัดจากอัตราส่วนระหว่างค่าส่วน

เบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดเดียวกัน

กล่าวคือ

สัมประสิทธิ์การแปรผัน (C.V.) = ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ค่าเฉลี่ยเลขคณิต

2) สถติอินุมาน เป็นสถติิทีใ่ช้วเิคราะห์ข้อมลูท่ีเกบ็รวบรวมมาได้จากตวัอย่างจ�านวนหนึง่

ซึ่งเลือกมาเป็นตัวแทนจากกลุ่มหรือประชากรทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยการประมาณค่า

การทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติ และการหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่ต้องการศึกษา

ผลการวเิคราะห์สถิติอนมุานไม่ว่าจะเป็นการประมาณค่า การทดสอบสมมตฐิานเชงิสถติิ

หรอืการหาความสมัพนัธ์ระหว่างข้อมูล จะต้องมีความคลาดเคลือ่นของผลการวิเคราะห์

เกิดขึ้นเสมอไม่มากก็น้อย ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการกระจายของข้อมูลที่น�ามาวิเคราะห์เป็น

ส�าคญั ส�าหรบัการประมาณค่าและการทดสอบสมมตฐิานเชงิสถติ ิลกัษณะของประชากร

ที่ต้องการวัดหรือทดสอบท่ีส�าคัญมีอยู่ 2 ค่า คือ ค่าเฉลี่ยและค่าสัดส่วน ส่วนการ

หาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต้ังแต่ 2 ตัวขึ้นไป ซ่ึงโดยปรกติข้อมูลท่ีเป็นสาเหตุท่ี

ท�าให้ข้อมูลอีกตัวหนึ่งซึ่งเป็นผลอาจมีเพียงตัวเดียวหรือมีหลายตัวก็ได้ ส่วนข้อมูลซึ่ง

เป็นผลจากเหตุข้างต้นมีเพียงตัวเดียวเท่านั้น แต่ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลดังกล่าว

อาจจะไม่มีข้อมูลที่เป็นสาเหตุและข้อมูลที่เป็นผลก็ได้ กล่าวคือ เป็นความสัมพันธ์เชิง

คณิตศาสตร์โดยทั่วไป

Basic Statistics D3.indd 20 25/12/2556 11:14:50

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

21���� �����������������������������������������������������

2.1) การประมาณค่า คือการประมาณลักษณะของประชากรท่ีต้องการทราบจาก

ข้อมูลที่เลือกมาเป็นตัวแทนจ�านวนหนึ่ง ลักษณะส�าคัญของประชากรโดย

ทั่วไปที่ต้องการประมาณ คือ ค่าเฉลี่ยและค่าสัดส่วน วิธีการที่ใช้ประมาณค่า

ลักษณะดังกล่าวมีอยู่ 2 วิธี คือ วิธีประมาณแบบจุด (point estimation)

และวิธีประมาณแบบช่วง (interval estimation)

OO วธิปีระมาณแบบจดุเป็นวธิปีระมาณด้วยค่าเพยีงค่าเดยีว เช่น ค่าจ้าง

แรงงานเฉลี่ยต่อวันใน พ.ศ. 2555 ของกรุงเทพฯเท่ากับ 285 บาท

OO วิธีประมาณแบบช่วงเป็นวิธีประมาณด้วยค่า 2 ค่า คือ ค่าต�า่และ

ค่าสูง หรือประมาณเป็นช่วงค่า ช่วงที่ประมาณจะแคบหรือกว้าง

ขึ้นอยู่กับการกระจายของข้อมูลเป็นส�าคัญ นอกจากนี้ ยังขึ้นอยู่กับ

ระดับความเชื่อมั่นที่ค่าจริงซึ่งอาจจะเป็นค่าเฉลี่ยหรือค่าสัดส่วนจะ

ตกอยูใ่นช่วงท่ีประมาณด้วย เช่น ค่าจ้างแรงงานเฉลีย่ต่อวนัใน พ.ศ.

2555 ของกรุงเทพฯอยู่ระหว่าง 265 บาท และ 305 บาท

2.2) การทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติ คือวิธีทดสอบสมมติฐานหรือความเชื่อโดย

การเปรียบเทียบความเชื่อดังกล่าวกับความจริงที่หามาได้จากประชากร

ทัง้หมดทีเ่กีย่วข้องกับสมมตฐิานน้ันๆ โดยใช้ความจรงิจากตวัอย่างจ�านวนหน่ึง

ทีเ่ลอืกมาเป็นตวัแทนจากประชากรนัน้เป็นค่าประมาณ ดงันัน้การเปรยีบเทยีบ

สมมติฐานที่ต้ังขึ้นกับความจริงท่ีได้จากตัวอย่างจึงต้องแยกความผิดพลาด

เนือ่งจากการเกบ็รวบรวมข้อมลูจากตวัอย่างออกไปจากความแตกต่างระหว่าง

สมมติฐานหรือความเชื่อกับความจริงจากตัวอย่าง จึงจะบอกได้ว่าสมมติฐาน

หรือความเชื่อนั้นถูกต้องหรือไม่

การทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติมีขั้นตอนส�าคัญดังต่อไปนี้

1) ตั้งสมมติฐานเพื่อการทดสอบซ่ึงประกอบด้วย 2 สมมติฐาน คือ

สมมติฐานว่าง (null hypothesis) และสมมติฐานทางเลือก

(alternative hypothesis)

2) ก�าหนดตัวสถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน (test statistic) ซึ่งต้อง

พิจารณาจากลักษณะที่จะทดสอบ (ค่าเฉลี่ย ค่าสัดส่วน ค่าความ

สัมพันธ์) จ�านวนประชากรที่น�ามาทดสอบ (1, 2 หรือมากกว่า 2

ประชากร) ประเภทของข้อมูลท่ีใช้ทดสอบ (ข้อมูลเชงิปรมิาณ ข้อมูล

เชิงคุณภาพ หรือข้อมูลที่อยู่ในรูปกลุ่ม/ช่วง) จ�านวนลักษณะข้อมูล

หรือตัวแปรท่ีน�ามาทดสอบ และความถูกต้องเชื่อถือได้ของผลการ

ทดสอบท่ีต้องการ ซึง่ตวัสถติท่ีิใช้ทดสอบอาจจะมกีารแจกแจงปรกติ

มาตรฐาน (Z) การแจกแจงแบบที (t) การแจกแจงแบบเอฟ (F)

หรือการแจกแจงไคสแควร์ (c2)

Basic Statistics D3.indd 21 25/12/2556 11:14:50

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

22 ������ �� ������������������������������������������

3) เก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อน�ามาใช้ค�านวณกับตัวสถิติที่ใช้

ทดสอบที่ก�าหนดไว้ในข้อ 2)

4) ก�าหนดระดับนัยส�าคัญหรือข้อผิดพลาดท่ียอมให้เกิดขึ้นได้ ในการ

ทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติ ข้อผิดพลาดที่ก�าหนดนี้เป็นข้อผิดพลาด

ของผู้ทดสอบซ่ึงเป็นข้อผิดพลาดแบบท่ี 1 (type I error) หรือ

ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการปฏิเสธสมมติฐานว่างเมื่อสมมติฐานว่าง

เป็นจริง ซึ่งอยู่ในรูปค่าความน่าจะเป็นซึ่งมีค่าอยู่ระหว่าง 0 กับ 1

นยิมแทนด้วยค่าaการก�าหนดระดบันัยส�าคญัของการทดสอบต�า่ๆ

หรือระดับความเชื่อมั่นสูงๆ (ระดับความเชื่อมั่น = (1 - ระดับนัย

ส�าคัญ)×100)มีผลท�าให้โอกาสที่จะสรุปว่าความเชื่อของผู้ทดสอบ

ถูกต้องแม้ว่าความจริงจะแตกต่างจากความเชื่อมาก

5) หาค่าวิกฤต (critical value) จากตารางการแจกแจงที่สอดคล้อง

กับการแจกแจงของตัวสถิติทดสอบเพื่อใช้เปรียบเทียบกับค่าสถิติที่

ค�านวณได้จากข้อ3)การสรุปผลการทดสอบสมมติฐานจะมีผลลัพธ์

อย่างใดอย่างหนึ่งระหว่างยอมรับสมมติฐานว่างหรือปฏิเสธ

สมมติฐานว่างที่ตั้งไว้ในข้อ 1)

2.3) การหาความสัมพันธ์และการพยากรณ์ ข้อมูลที่น�ามาหาความสัมพันธ์อาจจะ

มีเพียง 2ตัวหรือมากกว่า วิธีหาความสัมพันธ์ท�าได้หลายแบบทั้งนี้ ขึ้นอยู่

กับปัจจัยหลายประการ เช่น ลักษณะของข้อมูล จ�านวนข้อมูลที่เป็นสาเหตุ

วัตถุประสงค์ในการน�าผลการวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ตลอดจนความถูกต้อง

เชื่อถือได้ของผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ท่ีต้องการ วิธีท่ีน�ามาหาความ

สัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทางธุรกิจโดยทั่วๆไป ได้แก่ การวิเคราะห์การถดถอย

การวิเคราะห์สหสัมพันธ์การวิเคราะห์อนุกรมเวลาและการทดสอบไคสแควร์

1) การวิเคราะห์การถดถอย (regression analysis) เป็นวิธีที่ใช้วัดความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลหรือตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป เพื่อ

ต้องการทราบว่าตัวแปรสาเหตุหรือตัวแปรอิสระแต่ละตัวมีอิทธิพล

ต่อตัวแปรผลหรือตัวแปรตามมากน้อยเพียงใด มีทิศทางของความ

สัมพันธ์ไปในทิศทางใด และน�าไปใช้ในการพยากรณ์ตัวแปรผลเมื่อ

ทราบค่าตัวแปรสาเหตุทุกๆตัว อิทธิพลและทิศทางของตัวแปร

สาเหตุแต่ละตัวซ่ึงส่งผลกระทบต่อตัวแปรผลแสดงด้วยค่าและ

เครื่องหมายของสัมประสิทธิ์การถดถอย(regressioncoefficient)

ของตัวแปรสาเหตุน้ัน การวิเคราะห์การถดถอยประกอบด้วยการ

วิเคราะห์การถดถอยเชิงเดี่ยว (simple regression analysis)ซึ่ง

เป็นวิธีหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสาเหตุ 1 ตัวและตัวแปรผล

Basic Statistics D2.indd 22 3/12/2556 14:18:45

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

23���� �����������������������������������������������������

1 ตัว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (multiple regression

analysis) ซ่ึงเป็นวิธีหาความสมัพนัธ์ระหว่างตวัแปรสาเหตมุากกว่า

1 ตัวและตัวแปรผล 1 ตัว

2) การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ (correlation analysis) เป็นวิธีที่ใช้วัด

ความสมัพนัธ์ระหว่างข้อมูลหรอืตวัแปรตัง้แต่ 2 ตวัขึน้ไป โดยท่ีไม่มี

ข้อมูลหรือตัวแปรตัวใดเป็นตัวแปรสาเหตุและตัวแปรตัวใดเป็น

ตวัแปรผล เพือ่วดัระดบัและทศิทางความสมัพนัธ์ระหว่างตวัแปรทัง้สอง

ระดับความสัมพันธ์และทิศทางของความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

แสดงด้วยค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ (correlation coefficient)

ซึ่งมีค่าอยู่ระหว่าง -1 กับ +1 ในกรณีที่ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์

เป็น 0 แสดงว่าตัวแปรไม่มีความสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ดังกล่าว

ไม่สามารถน�ามาใช้พยากรณ์ตัวแปรตัวหน่ึงเมื่อทราบค่าตัวแปรอีก

ตัวหนึ่งได้ ค่าที่บอกให้ทราบว่าตัวแปรตัวหนึ่งมีผลท�าให้ตัวแปรอีก

ตัวหนึ่งเปลี่ยนแปลงได้มากน้อยเพียงใด ต้องวัดด้วยค่าสัมประสิทธิ์

การก�าหนด (coefficient of determination) หรือค่าสัมประสิทธิ์

สหสัมพันธ์ยกก�าลังสอง กล่าวคือ

ค่าสัมประสิทธิ์การก�าหนด = (ค่าสมัประสทิธิส์หสมัพนัธ์)2

3) การวิเคราะห์อนุกรมเวลา (time series analysis) เป็นการ

วิเคราะห์ข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงเมื่อเวลาเปลี่ยนไป โดยเกิดจาก

อิทธิพลของ การแปรผันตามแนวโน้ม (trend variation) ซึ่งเป็น

การแปรผันตามธรรมชาติท่ีเกิดขึ้นในระยะเวลานานและส่วนใหญ่

ข้ึนอยูก่บัการเพิม่ของประชากร อทิธพิลของ การแปรผนัตามฤดกูาล

(seasonal variation) ซึ่งเป็นการแปรผันที่เกิดขึ้นท�านองเดียวกัน

ในช่วงเวลาเดยีวกนัของรอบเวลาสัน้ๆอย่างมากไม่เกนิ 1 ปี อทิธพิล

ของ การแปรผันตามวัฏจักร (cyclical variation) ซึ่งเป็นการ

แปรผันท่ีเกิดขึ้นท�านองเดียวกันในช่วงเวลาเดียวกันของรอบเวลา

ยาวๆตั้งแต่ 4 ปีขึ้นไป และอิทธิพลของ การแปรผันตามเหตุการณ์

ผิดปรกติ (irregular variation) ซึ่งเป็นการแปรผันที่เกิดจาก

เหตุการณ์ผิดปรกติท่ีไม่ได้คาดไว้ล่วงหน้า การวัดอิทธิพลของการ

แปรผันตามแนวโน้ม การแปรผันตามฤดูกาล การแปรผันตาม

วัฏจักร และการแปรผันตามเหตุการณ์ผิดปรกติ พิจารณาจากค่า

แนวโน้ม ค่าดัชนีฤดูกาล ค่าดัชนีวัฏจักร และค่าดัชนีเหตุการณ์

ผิดปรกติ ซึ่งอาจจะเป็นรายเดือน รายไตรมาส รายปี ฯลฯ ทั้งนี้

Basic Statistics D3.indd 23 25/12/2556 11:15:00

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

24 ������ �� ������������������������������������������

ขึ้นอยู่กับความสั้นยาวของช่วงเวลาท่ีน�ามาใช้ในการวิเคราะห์เป็น

ส�าคัญ

4) การทดสอบไคสแควร์ (chi-squaretest)เป็นวิธีวัดความสมัพนัธ์ระหว่างลักษณะหรือตัวแปรทีละ 2 ลักษณะหรือ 2 ตัวแปรว่ามี

หรือไม่ โดยการทดสอบสมมติฐานท่ีได้กล่าวมาแล้วในเรื่องการ

ทดสอบสมมตฐิานเชงิสถติิในกรณทีีห่าความสมัพนัธ์ทลีะ2ลกัษณะ

โดยก�าหนดลักษณะใดลักษณะหนึ่งไว้เหมือนกันตลอด เช่น หา

ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้กับอายุของผู้บริโภค รายได้กับระดับ

การศึกษา และรายได้กับอาชีพ อาจเปรียบเทียบอิทธิพลของอายุ

ระดับการศึกษา และอาชีพที่มีต่อรายได้ว่าตัวแปรใดมีอิทธิพลมาก

น้อยกว่ากันโดยใช้ตัวสถิติของคราเมอร์(Cramer)หรือตัวสถิติของ

เพียร์สัน (Pearson)

เมื่อกล่าวโดยสรุป วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติที่น�ามาใช้ในการตัดสินใจ วางแผน และ

ก�าหนดนโยบายทางธุรกิจ จะเป็นดังแผนผังต่อไปนี้

สถิติพรรณนา สถิติอนุมาน

คากลางของขอมูล- คาเฉลี่ยเลขคณิต- คามัธยฐาน- คาฐานนิยม

การประมาณคา- วิธีประมาณแบบจุด- วิธีประมาณแบบชวง

การหาความสัมพันธและการพยากรณ- การวิเคราะหการถดถอย- การวิเคราะหสหสัมพันธ- การวิเคราะหอนุกรมเวลา- การทดสอบไคสแควร

การทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติ

คาการกระจายของขอมูล- การวัดการกระจายสัมบูรณ- การวัดการกระจายสัมพัทธ

วิธีวิเคราะหขอมูลเชิงสถิติ

Basic Statistics D2.indd 24 3/12/2556 14:18:45

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

251.4 กิจกรรมท้ายบทที่ 1

1.3 ข้อควรพิจารณาเกี่ยวกับการใช้สถิติพื้นฐาน

การใช้สถิติพื้นฐานมีข้อควรพิจารณาที่ส�าคัญดังต่อไปนี้ คือ

1) สถิติไม่ได้หมายถึงแค่ตัวเลขที่สามารถน�ามาเปรียบเทียบขนาดกันได้เท่านั้น แต่สถิติยังรวมถึง

วิธีการที่น�ามาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย เช่น วิธีเลือกตัวอย่างมา

เป็นตัวแทนของประชากรส�าหรับใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ต้องการ วิธีหาค่ากลาง วิธีวัด

การกระจายของข้อมูล วิธีประมาณค่า วิธีทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติ วิธีวัดความสัมพันธ์

ระหว่างข้อมูล และการพยากรณ์

2) สารสนเทศคือข้อมูลที่ผ่านการเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ และการสรุปผลโดยใช้วิธีการท่ีเป็น

ระบบหรือเป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์แล้ว

3) ข้อมูลใดๆอาจเป็นได้ทั้งข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ กล่าวคือ เป็นข้อมูลปฐมภูมิของผู้เก็บ

รวบรวมรายแรก เมื่อข้อมูลเหล่านั้นได้รับการเผยแพร่แล้วซึ่งอาจจะผ่านฐานข้อมูล รายงาน

ประจ�าปี รายงานการวิจัย หรือบทความ ข้อมูลข้างต้นก็จะกลายเป็นข้อมูลทุติยภูมิของผู้น�า

ไปใช้ต่อๆไป

4) เคร่ืองมือที่น�ามาใช้เพ่ือการเก็บรวบรวมหรือวิเคราะห์ข้อมูลมีหลายวิธี แต่ละวิธีต่างก็มี

วัตถุประสงค์ ข้อดี ข้อเสีย แตกต่างกันไป การจะน�าเครื่องมือดังกล่าวไปใช้ในการเก็บรวบรวม

หรือวิเคราะห์ข้อมูลจะต้องเลือกเครื่องมือให้เหมาะสมกับการน�าไปใช้ในแต่ละวัตถุประสงค์ของ

ผู้ใช้เครื่องมือเหล่านั้น

1.4 กิจกรรมท้ายบทที่ 1

1) อาจารย์ให้นักศึกษาระบุแหล่งที่มาของข้อมูลทุติยภูมิต่อไปนี้ ราคาไข่ไก่ที่ขายอยู่ในกรุงเทพฯใน

แต่ละวัน ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของประเทศไทย อัตราแลกเปลี่ยนของธนาคารพาณิชย์รายวัน

ราคาซื้อขายทองค�าแท่งและทองรูปพรรณ รายชื่อธนาคารพาณิชย์ในจังหวัดเชียงใหม่

2) อาจารย์ให้นักศึกษาอภิปรายเร่ือง ข้อมูลธุรกิจชุดหนึ่งอาจจะเป็นได้ทั้งข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูล

ทุติยภูมิ เช่น ข้อมูลดัชนีราคาผู้บริโภคของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2555 ของกระทรวงพาณิชย์

3) อาจารย์ให้นักศึกษาไปค้นคว้าความหมายของกรอบตัวอย่าง (sampling frame) และความ

ส�าคัญของกรอบตัวอย่างที่มีต่อวิธีสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย

4) อาจารย์แบ่งนกัศึกษาออกเป็น 2 กลุม่ แล้วให้กลุม่หนึง่เป็นฝ่ายเสนอว่าการสุม่ตวัอย่างอย่างง่าย

ของชาวกรุงเทพฯมาเก็บรวบรวมข้อมูลที่ต้องการสามารถท�าได้ และให้อีกกลุ่มเป็นฝ่ายค้านว่า

ไม่สามารถท�าได้ โดยใช้เหตุผลและข้อสนับสนุนเกี่ยวกับความหมายของวิธีสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย

5) อาจารย์ให้นักศึกษาช่วยกันออกความเห็นว่า ความเชื่อไม่จ�าเป็นต้องพิสูจน์ด้วยการทดสอบ

สมมติฐานเชิงสถิติเสมอไป

Basic Statistics D4.indd 25 7/1/2557 8:47:45

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

แบบฝึกหัดบทที่ 1

1.1 สถิติมีความส�าคัญและจ�าเป็นต่อชีวิตประจ�าวันของท่านและการประกอบอาชีพของสมาชิกใน

ครอบครัวของท่านอย่างไรบ้าง ยกตัวอย่างข้อมูลสถิติและสารสนเทศที่ท่านใช้ประกอบการ

ตัดสินใจเป็นประจ�าในชีวิตประจ�าวันมา 5 เรื่อง และที่สมาชิกในครอบครัวของท่านใช้ในการ

ประกอบอาชีพมา 3 เรื่อง

1.2 ข้อใดต่อไปนี้ที่เป็นสารสนเทศ

ก. อุณหภูมิสูงสุดและต�่าสุดรายวันของกรุงเทพฯในเดือนมกราคม พ.ศ. 2556

ข. ปริมาณและมูลค่าการส่งออกข้าวไปขายต่างประเทศของประเทศไทยระหว่าง ปี พ.ศ.

2550-2556

ค. ปริมาณการส่งออกข้าวไปขายต่างประเทศของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2556 ที่ได้จาก

การวิเคราะห์แนวโน้มคาดว่าจะเป็นประมาณ 3 ล้านตัน

ง. ราคาหมูเฉลี่ยต่อกิโลกรัมของตลาดสดในเขตเทศบาลเมืองเชียงใหม่เท่ากับ 130 บาท

1.3 ข้อมูลปฐมภูมิแตกต่างจากข้อมูลทุติยภูมิอย่างไร ฐานข้อมูลของหน่วยงานต่างๆท้ังภาครัฐและ

เอกชนเป็นข้อมูลทุติยภูมิของผู้ใช้ข้อมูลโดยทั่วไปใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด

1.4 ข้อมูลต่อไปนี้ท่านคิดว่ามีแหล่งข้อมูลอยู่ที่หน่วยงานภาครัฐหรือภาคเอกชนใด

ก. จ�านวนรถยนต์จ�าแนกตามประเภทของรถ

ข. มูลค่าการส่งออกข้าวรายเดือนของประเทศไทยระหว่าง ปี พ.ศ. 2554-2555

ค. อัตราแลกเปลี่ยนเงินสกุลต่างๆเป็นรายวันของธนาคารแห่งประเทศไทย

ง. จ�านวนโรงงานอุตสาหกรรมที่ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมของจังหวัดสมุทรปราการและ

ชลบุรี

จ. จ�านวนบัณฑิตสาขาบริหารธุรกิจในปีการศึกษา 2555

1.5 การสุ่มตัวอย่างชาวกรุงเทพฯและปริมณฑลมาเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจที่มีต่อ

การชมโฆษณาสินค้าของสถานีโทรทัศน์ ช่อง 5 ท�าได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

1.6 สถิติอนุมานต่างจากสถิติพรรณนาอย่างไร ข้อมูลที่ส�ารวจได้จากทุกหน่วยของประชากรน�ามาใช้

วิเคราะห์ด้วยสถิติอนุมานได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

1.7 ระดับนัยส�าคัญของการทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติคืออะไร ต่างจากระดับความเชื่อมั่นอย่างไร

1.8 การวิเคราะห์การถดถอยต่างจากการวิเคราะห์อนุกรมเวลาอย่างไร

1.9 สัมประสิทธิ์การก�าหนดต่างจากสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างไร

Basic Statistics D4.indd 26 7/1/2557 8:47:47

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

ขอมูลและการวิเคราะหขอมูลธุรกิจเบื้องตน

ความหมายลักษณะ

ขอมูลและสารสนเทศ

ขอมูลแบงตามวิธีเก็บขอมูลแบงตามระยะเวลา

ประเภทของขอมูลธุรกิจ

รายงานและบทความฐานขอมูล

แหลงขอมูลและสารสนเทศทางธุรกิจ

วิธีเก็บรวบรวมขอมูลจากตัวอยางวิธีเลือกตัวอยาง

วิธีเก็บรวบรวมขอมูลเพ­อการตัดสินใจ วางแผน และสรางสารสนเทศทางธุรกิจ

ขอมูล สารสนเทศ และมาตรวัดขอมูลธุรกิจ

ขอมูลแตละคาขอมูลแตละชวงหรืออันตรภาคชั้น

การแจกแจงความถี่ของขอมลู

คาเฉลี่ยเลขคณิตมัธยฐานฐานนิยม

การวัดคากลางของขอมูล

การวัดการกระจายสัมบูรณการวัดการกระจายสัมพัทธ

การวัดการกระจายของขอมลู

การเลือกสถิติพรรณนามาใช ในการวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติพรรณนา

สวนประกอบที่สำคัญของตารางการนำเสนอขอมูลธุรกิจโดยใชตารางสถิติ

แผนภูมิแทงแผนภูมิรูปวงกลม

การนำเสนอขอมูลธุรกิจโดยใชแผนภูมิ

กราฟเชิงเดี่ยวกราฟเชิงซอน

การนำเสนอขอมูลธุรกิจโดยใชกราฟ

กิจกรรม 3 กิจกรรม

แบบฝกหัด 9 ขอ

การนำเสนอขอมูลธุรกิจ

กิจกรรมทายบทที่ 2

แบบฝกหัดบทที่ 2

สรุปหัวข้อเนื้อหาในบทที่ 2

Basic Statistics D2.indd 27 3/12/2556 14:18:49

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡

บทที่ 2 ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจเบื้องต้น

จากตัวอย่างการน�าสถิติไปใช้ในการตัดสินใจ วางแผน และก�าหนดนโยบายทางธุรกิจท่ีได้

กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นได้ว่าสถิติที่อยู่ในรูปข้อมูล สารสนเทศ และวิธีวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆทั้งสถิติ

พรรณนาและสถิติอนุมาน ได้ถูกน�าไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง เนื่องจากช่วยให้ผู้ประกอบธุรกิจและ

ผู้บริโภคสินค้าและบริการชนิดต่างๆสามารถตัดสินใจและวางแผนทางธุรกิจได้โดยมีโอกาสผิดพลาด

น้อยที่สุด เช่น การประเมินประสิทธิภาพการลงทุน การผลิต การจ�าหน่าย การบริหารจัดการ และ

การโฆษณาประชาสัมพันธ์ การทดสอบคุณภาพของสินค้าและบริการท่ีผลิตหรือเป็นตัวแทนจ�าหน่าย

การทดสอบความแตกต่างระหว่างคุณภาพของสินค้าและบริการที่ผลิตได้กับของคู่แข่งที่ส�าคัญ การวัด

ความคิดเห็น ทัศนคติและภาพพจน์ของผู้ใช้บริการหรือของประชาชนทั่วไปที่มีต่อผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด

2.1 ข้อมูล สารสนเทศ และมาตรวัดข้อมูลธุรกิจ

2.1.1 ข้อมูลและสารสนเทศ

1) ข้อมลู คอืตวัเลขหรอืข้อความทีส่ามารถน�ามาใช้บอกขนาดหรอืใช้เปรยีบเทยีบขนาดได้

เช่น ความยาว ส่วนสูง น�้าหนัก ราคาสินค้า ปริมาณสินค้า ระดับความคิดเห็น

ระดับความสนใจ ระดับความพึงพอใจ ระดับความชอบ ส�าหรับตัวเลขท่ีไม่สามารถ

น�ามาใช้ในการเปรียบเทียบขนาดได้ เช่น เลขทะเบียนยานพาหนะ รหัสสินค้า เลขที่

บ้านของผู้บริโภค เลขประจ�าตัวพนักงานขายสินค้า ฯลฯ

Basic Statistics D3.indd 28 25/12/2556 11:15:21

«‘∑¬æ—≤πè

μ—«Õ¬ã“ß¿“

¬„π‡≈ã¡


Recommended