Transcript
Page 1: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 1

แบบทดสอบชดุท่ี 1

1. จงอธิบายวาอตัราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ยกบัอัตราการเกดิปฏิกิริยา ณ ขณะใดขณะหนึ่งแตกตางกันอยางไร

2. ไนโตรเจนไดออกไซดไดรับความรอนและสลายตัวดังสมการ 2 NO2 (g) 2 NO(g) + O2(g)

เมื่อเร่ิมตนปฏิกิริยามี NO2 0.1103 mol/dm3 หลังจากเกดิปฏิกิริยาแลว 60 วินาที มี NO2 เหลืออยู 0.1076 mol/dm3จงหาอัตราการสลายตัวของ NO2 และอัตราการเกิด NO และ O2

3. สาร A ทําปฏิกิริยากับสาร B ไดสาร C เมื่อวัดความเขมขนของสาร A ขณะเกิดปฏิกิริยาไดผลดังนี ้

เวลา (s) ความเขมขนของสาร A (mol/dm3) 0 20 40 60 80 100

1.000 0.818 0.669 0.548 0.448 0.367

อัตราการเกิดปฏิกิริยาระหวางเวลา 0 – 20 s, 40 – 60 s และ 80 – 100 s เทากันหรือไม อยางไร

4. ใสโลหะ Mg 6.40 g ลงในสารละลายกรด HCl พบวาเมื่อเวลาผานไป 20 s มีโลหะ Mg เหลืออยู 4.60 g จงคํานวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา และอัตราการลดลงของกรด HCl

5. สาร X ทําปฏิกิริยากับสาร Y เกิดเปนสาร Z จากการทดลองพบวาอตัราการลดลงของสาร X เทากับ 1/3 ของอัตราการลดลงของสาร Y และเทากบั 1/2 ของอัตราการเพิ่มขึน้ของสาร Z จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาที่เกดิขึ้น

6. แกสแอมโมเนยี (NH3) ถูกเผาไหมเกดิปฏิกริิยาดังสมการ 4 NH3 (g) + 5 O2 (g) 4 NO (g) + 6 H2O (g)

ณ เวลาหนึ่งของการเกิดปฏกิิริยา NH3 ทําปฏิกิริยาดวยอัตราการเกิดปฏิกิริยา 0.24 mol dm-3. s-1 จงคํานวณหา

อัตราการเกิดปฏิกิริยาของ O2 อัตราปฏิกิริยาในการเกิด H2O

Page 2: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 2

7. จงคํานวณหาอัตราเริ่มตนของการสลายตัวของไซโคลบิวเทน (C4H8) ที่ 500 °C เวลา ( s ) 0 25 50 75 100 150 200

[C4H8] (mol.dm-3.s-1)

0.050 0.041 0.034 0.028 0.023 0.016 0.011

8. จงนําหมายเลขในแผนภาพแสดงพลังงานศักยของสารในปฏิกิริยาใสลงในขอ 8.1 – 8.6

พลังงานศักยของสารผลิตภัณฑ พลังงานกอกมัมันตของปฏิกิริยาไปขางหนา พลังงานความรอนของปฏิกิริยา พลังงานศักยของสารตั้งตน พลังงานกอกมัมันตของปฏิกิริยายอนกลับ พลังงานของสารเชิงซอนกัมมันต

การดําเนินไปของปฏิกิริยา

พลังงานศัก

สารเชิงซอนกมัมันต

สารตั้งตน

สารผลิตภัณฑ

Page 3: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 3

แบบทดสอบชดุท่ี 2

1. พิจารณารูป ก. และ ข. ซ่ึงแสดงการเปลีย่นแปลงพลังงานของปฏิกิริยา A (g) + B (g) C (g) + D (g)

อัตราการเกิดปฏิกิริยาตามรูปใดสูงกวากัน เพราะเหตุใด

2. พิจารณารูป ก. และ ข. แสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานของสองปฏิกิริยาในสถานะแกส

ปฏิกิริยาใดเกดิดวยอัตราเร็วสูงกวากัน เพราะเหตใุด ปฏิกิริยาทั้งสองเปนปฏิกิริยาดูดหรือคายความรอน ทราบไดอยางไร ปฏิกิริยาใดเกดิปฏิกิริยายอนกลับไดเร็วกวา เพราะเหตุใด

Ea Ea/

A + B A + B

C + D C + D

การดําเนินไปของปฏิกิริยา การดําเนินไปของปฏิกิริยา

พลังงาน

(E)

พลังงาน

(E)

รูป ก. รูป ข.

E1

การดําเนินไปของปฏิกิริยา การดําเนินไปของปฏิกิริยา

พลังงาน

(E)

พลังงาน

(E)

รูป ก. รูป ข.

E1

E2 E2

E3 E3 สารตั้งตน สารตั้งตน

สารผลิตภัณฑ สารผลิตภัณฑ

Page 4: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 4

3. จงเขียนความสัมพันธระหวางอัตราการเกดิปฏิกิริยาของสารในปฏิกิริยาตอไปนี ้3.1 2 Fe3+(aq) + 2 I-(aq) 2 Fe2+(aq) + I2(g) 3.2 Zn2+(aq) + 4 NH3(aq) [Zn(NH3)4]

2+(aq) 4. กําหนดปฏิกิริยา 4 NH3(g) + 3 O2(g) 2 N2(g) + 6 H2O(l) ถาอัตราการเกิด

N2 มีคา 0.800 mol.dm-3.s-1 จงคํานวณหา อัตราการเกิด H2O อัตราการหายไปของ NH3 อัตราการหายไปของ O2

5. กําหนดปฏิกิริยา 4 NH3(g) + 7 O2(g) 4 NO2(g) + 6 H2O(l) ถาอัตราการเกิด H2O มีคา 0.42 mol.dm-3.min-1 จงคํานวณหา

อัตราการเกิด NO2 อัตราการหายไปของ NH3 อัตราการหายไปของ O2

Page 5: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 5

แบบทดสอบชดุท่ี 3

1. จากการศึกษาปฏิกิริยาระหวางไอโอไดดไอออน (I-) กับเปอรซัลเฟตไอออน (S2O82-) ดัง

สมการ S2O8

2-(aq) + I-(aq) 2 SO42-(aq) + I2(aq) โดยทําการทดลองที่อุณหภูมิ 25

°C ไดขอมูลดังนี ้การทดลองที่ ความเขมขนของสารตัง้ตน(mol/dm3) อัตราการเกิด I2

(mol.dm-3.s-1) S2O82- I-

1 2 3

1.0 x 10-4 2.0 x 10-4 4.0 x 10-4

1.0 x 10-2 1.0 x 10-2 2.0 x 10-2

6.50 x 10-7 1.30 x 10-6 5.20 x 10-6

1.1 จงหากฎอัตราและอันดับปฏกิิริยา 1.2 จงคํานวณหาคาคงที่อัตรา 1.3 จงคํานวณอัตราการเกิด I2 ที่ 25 °C เมื่อความเขมขนของ S2O8

2- เทากับ 1.0 x 10-4 mol/dm3 และความเขมขนของ I- เทากับ 2.0 x 10-2 mol/dm3

2. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศระหวางโอโซนและไนโตรเจนมอนอกไซดเปนไปตาม สมการ NO(g) + O3(g) NO2(g) + O2(g) เมื่อนําปฏิกิริยาดังกลาวมาศึกษาใน หองปฏิบัติการไดขอมูลดังตอไปนี้ การทดลองที่ ความเขมขนของสารตัง้ตน(mol/dm3) อัตราการเกิด NO2

(mol.dm-3.s-1) NO O3 1 2 3 4 5

1.00 x 10-6 1.00 x 10-6 1.00 x 10-6 2.00 x 10-6 3.00 x 10-6

1.00 x 10-6 6.00 x 10-6 9.00 x 10-6 9.00 x 10-6 9.00 x 10-6

0.660 x 10-4 1.32 x 10-4 1.98 x 10-4 3.96 x 10-4 5.94 x 10-4

2.1 จงหากฎอัตราและอันดับรวมของปฏิกิริยา 2.2 จงหาคา k

3. จงเขียนกฎอัตราและหาอันดบัปฏิกิริยารวมจากขอมูลของปฏิกิริยาตอไปนี้ A + B C

เมื่อถือวาความเขมขนของ A และ B ที่ถูกใชไปมีคานอยมากในเวลาที่กําหนดทั้ง 3 การ

Page 6: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 6

ทดลอง การทดลองที่ ความเขมขนเริม่ตน(mol/dm3) เวลา

(s) [C]

mol/dm3 อัตราเริ่มตนการเกิด C

(mol.dm-3.s-1) A B 1 2 3

0.100 0.300 0.200

1.0 x 10-2 1.0 x 10-2 2.0 x 10-2

15 20 30

7.5 x 10-2 30 x 10-2 3.0 x 10-2

………………… ………………… …………………

4. กฎอัตราของปฏิกิริยา 2 A + B ผลิตภัณฑ คือ r = k[A]2[B]-1 ความเขมขนของสารตั้งตนมีผลตอการเกิดปฏิกิริยาเคมนีี้อยางไร จงอธิบาย

5. ปฏิกิริยา 2 A + 2 B + M 2 C + D จากการทดลองไดขอมูลดังนี้ การทดลองที่ ความเขมขนเริม่ตนของสารตั้งตน(mol/dm3) อัตราการเกิด D

(mol.dm-3.s-1) A B M 1 2 3 4

4 x 10-3 2 x 10-3 2 x 10-3 2 x 10-3

2 x 10-3 4 x 10-3 2 x 10-3 2 x 10-3

1 x 10-2 1 x 10-2 1 x 10-2 5 x 10-3

0.48 x 10-3 0.48 x 10-3 0.24 x 10-3 0.96 x 10-3

5.1 อัตราการสลายตัวของสาร A ในการทดลองที่ 3 มีคาเทาใด 5.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยานี้ขึ้นอยูกับความเขมขนของสารตั้งตนชนิดใด

6. ผลการทดลองสําหรับปฏิกิริยา 2 NO(g) + 2 H2(g) 2 H2O(g) + N2O(g) เปนดังนี ้

ความเขมขนของ NO (mol/dm3)

ความเขมขนของ H2 (mol/dm3)

อัตราการเกิดปฏิกิริยา mol.dm-3.s-1

1.00 1.20 0.80 1.00 2.00

1.00 1.20 0.80 2.00 1.00

3.5 x 10-5 5.0 x 10-5 1.8 x 10-5 7.0 x 10-5 1.4 x 10-5

อัตราการเกิดปฏิกิริยานี้เปนสัดสวนกับความเขมขนของสารตั้งตนอยางไร

Page 7: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 7

แบบทดสอบชดุท่ี 4

1. พิจารณาสมการ A + 2 B C + 280 kJ ……………(1) 2 X + Y + 150 kJ 3 Z ……………(2)

ถาพลังงานของสารตั้งตนในปฏิกิริยา (1) และ (2) เปน 510 kJ และ 340 kJ ตามลําดับ พลังงานของสารผลิตภัณฑของทั้งสองปฏิกิริยามีคาแตกตางกันกีก่ิโลจลู

2. กําหนดแผนภาพการเปลี่ยนแปลงพลังงานของปฏิกิริยา A(g) B(g)

2.1 ปฏิกิริยา A B มีพลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยาเทาใด 2.2 พลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยา B A มีคาเทาใด 2.3 ปฏิกิริยานี้มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานแบบใดและมคีาพลังงานเทาใด 3. ถาปฏิกิริยา 3 O2(g) 2 O3(g) ดดูพลังงาน 150 kJ/mol และมีคาพลังงานกอกัม

มันตสําหรับปฏิกิริยาไปขางหนาเทากบั 400 kJ คาพลังงานกอกัมมนัตของปฏิกิริยายอนกลับมีคาเทาใด

4. จงเขียนกราฟแสดงการเปลีย่นแปลงพลังงานของปฏิกิริยา N2(g) + 3 H2(g) 2 NH3(g) + 92 kJ

มีคาพลังงานกอกัมมันตของปฏิกิริยาเทากบั 668 kJ

A

B p

q

r

s

การดําเนินไปของปฏิกิริยา

พลังงานศัก

Page 8: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 8

แบบทดสอบชดุท่ี 5

1. กลไกของปฏิกิริยาหนึ่งมีดังนี้ ขั้นที่ 1 2 A Q ขั้นที่ 2 Q + B C + D ขั้นที่ 3 B + D 2 M

จงเขียนปฏิกิริยารวม จงเขียนกฎอัตรา ถาขั้นที่ 1 เปนขั้นกําหนดอัตรา จงเขียนกฎอัตรา ถาขั้นที่ 2 เปนขั้นกําหนดอัตรา และขัน้ที่ 1 มีสมดุล

2. ปฏิกิริยาหนึ่งมีกฎอัตราดังนี ้ r = k[R]2 และมีกลไก 3 ขั้นตอนคือ ขั้นที่ 1 2 R X + Y ขั้นที่ 2 X + Z T + U ขั้นที่ 3 U + Z P ขั้นตอนใดเปนขั้นกําหนดอตัราการเกิดปฏิกิริยา

3. C4H9OH ทําปฏิกิริยากับ H+ และ Br- เกิด C4H9Br อัตราการเกิดปฏิกริิยาเปนอันดับหนึ่งและหนึ่งเมื่อเทียบกับ C4H9OH และ H+ ตามลําดับ และเปนอันดับศนูยเมื่อเทยีบกบั Br- กลไกของปฏิกิริยาที่ถูกตองคือ ขอ 3.1 หรือ 3.2 3.1 Br- + C4H9OH C4H9Br + OH_ ……….เกิดชา OH_ + H+ H2O ……….เกิดเรว็ 3.2 C4H9OH + H+ C4H9OH2

+ ……….เกิดเรว็ C4H9OH2

+ C4H9+ + H2O ……….เกิดชา

C4H9+ + Br- C4H9Br ……….เกิดเรว็

4. จงเขียนกฎอัตราของปฏิกิริยา 2 NO(g) + O2(g) 2NO2(g) ถามีกลไกของปฏิกิริยาเปนแบบขอ 4.1 และ 4.2 4.1 2 NO N2O2 ……….เกิดเรว็ N2O2 + O2 2 NO2 ……….เกิดชา 4.2 NO + O2 O2NO ……….เกิดเรว็ O2NO + NO 2 NO ……….เกิดชา

5. ปฏิกิริยา 2 ICl + H2 I2 + 2 HCl มีกฎอัตราเปน r = k[ICl][H2] ปฏิกิริยานี้จะมกีลไกขั้นเดียวเปนกระบวนการสามโมเลกุลไดหรือไม เพราะเหตใุด

Page 9: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 9

6. ปฏิกิริยาชนิดหนึ่งสารตั้งตน A สลายไปเปนสารผลิตภัณฑ D มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานดังกราฟ

ปฏิกิริยานี้มีกลไกปฏิกิริยากีข่ั้นตอน พลังงานของปฏิกิริยานี้คือหมายเลขใดและเปนปฏิกิริยาดูด หรือคายความรอน พลังงานกอกมัมันตของปฏิกิริยาไปขางหนาคือหมายเลขใด พลังงานกอกมัมันตของปฏิกิริยายอนกลับคือหมายเลขใด ขั้นกําหนดอัตราของปฏิกิริยานี้คือขั้นใด สารใดหมายถงึสารเชิงซอนกอกัมมันต สารใดหมายถงึสารมัธยันต เขียนสมการเคมีแสดงขั้นกําหนดอัตราของปฏิกิริยายอนกลับ

A

X

B

Y

Z

C

D

การดําเนินไปของปฏิกิริยา

พลังงาน

Page 10: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 10

แบบทดสอบชดุท่ี 6 1. แคลเซียมคารบอเนตทําปฏิกิริยากับสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเกิดปฏิกิริยาดังสมการ

CaCO3(s) 2 HCl(aq) CaCl2(aq) + H2O(l) + CO2(aq) เมื่อใชแคลเซียมคารบอเนตชนิดกอนและชนิดผงที่มีมวลเทากันทําปฏิกริิยากับกรดไฮโดรคลอ

ริก อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะตางกันหรือไม อยางไร 2. ในปฏิกิริยา H2(g) + Cl2(g) 2 HCl(g) ถาเติมผงนิกเกิลลงไปเล็กนอยจะทํา

ใหอัตราการเกดิปฏิกิริยาสูงขึ้น นักเรยีนคิดวาผงนิกเกิลทําหนาที่ใด และมีผลตอการดําเนินไปของปฏิกิริยาอยางไร จงอธิบาย

3. เมื่อผสมแกสออกซิเจนและแกสไฮโดรเจนที่อุณหภูมิหองจะไมมีปฏิกิริยาเกดิขึ้น แตถาผสมกันบนผิวของโลหะแพลทินัม ปฏิกิริยาจะเกิดขึน้ทนัที เพราะเหตุใด

4. เมื่อบรรจุแกส NO และแกส H2 ในภาชนะที่อุณหภูมหิองแลวเผาใหรอนจะเกิดปฏิกิริยาดังสมการ 2NO(g) + 2H2(g) N2(g) + 2H2O(g) การกระทําตอไปนี้จะมีผลตออัตราการเกดิปฏิกิริยาเคมอียางไร

5. ตัวเรงปฏิกิริยาจะทําใหสมบตัิของปฏิกิริยาในขอตอไปนี้เปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร อัตราการเกิดปฏิกิริยา พลังงานกอกมัมันตของปฏิกิริยา พลังงานของปฏิกิริยา ตําแหนงสมดลุ

6. ปฏิกิริยาในขอตอไปนี้ปฏิกิริยาใดมีตวัเรงปฏิกิริยาเอกพนัธ หรือตัวเรงปฏิกิริยาววิิธภณัฑ และปฏิกิริยาใดไมมีตัวเรงปฏิกิริยา 6.1 CH3CO2CH3(aq) + H2O(l) + H+(aq) CH3CO2H(aq) + CH3OH(aq) + H+(aq) 6.2 2 H2(g) + O2(g) 2 H2O(g) 6.3 2 H2(g) + O2(g) + Pt(s) 2 H2O(g) + Pt(s) 6.4 NH3(g) + CH3Cl(aq) + H2O(l) Cl-(aq) + NH4

+(aq) + CH3OH(aq)

Page 11: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 11

แบบทดสอบชดุท่ี 7

1. เมื่อเผาแคลเซียมคารบอเนตจะเกิดการสลายตัวดังสมการ CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g)

ระบบจะอยูในภาวะสมดุลหรือไม เพราะเหตุใดในกรณตีอไปนี ้ ปฏิกิริยาเกิดในภาชนะเปด ปฏิกิริยาเกิดในภาชนะปด

2. ระบบที่อยูในภาวะสมดุลไดนามิกมีลักษณะอยางไร 3. ระบบตอไปนีอ้ยูในภาวะสมดุลไดนามิกหรือไม จงอธิบาย

ปรอทและไอปรอทในเทอรโมมิเตอร ณ อุณหภูมิคงที ่ หลอดคะปลลารีชนิดปลายเปดทั้งสองดาน โดยที่ดานหนึ่งจุมอยูในน้ํา

4. ปจจัยใดบางเปนองคประกอบที่ทําใหปฏิกิริยาเคมอียูในภาวะสมดุล 5. จงเขียนคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาตอไปนี้

5.1 2 CO2(g) 2 CO(g) + O2(g) 5.2 PbI2(s) Pb2+(aq) + 2 I-(aq) 5.3 CO(g) + NO2(g) CO2(g) + NO(g) 5.4 Cu(s) + 2 Ag+(aq) Cu2+(aq) + 2 Ag(s) 5.5 CO2(g) + H2(g) CO(g) + H2O(l)

6. จงเขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาเคมีที่มีคาคงที่สมดุล(K) = [NO2]2[Cl2] / [NO2Cl]2

7. กําหนดคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาดังนี ้(1) Cl2(g) 2Cl(g) ; K1 = 6.40 x 10-

39 (2) Cl2(g) + 2 NO(g) 2 NOCl(g) ; K2 = 3.70 x 10-8 (3) Cl2(g) + 2 NO2(g) 2 NO2Cl(g) ; K3 = 1.80 จงหาคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาตอไปนี ้7.1 2 NOCl(g) 2 Cl(g) + 2 NO(g) 7.2 2 Cl(g) + 2 NO2(g) 2 NO2Cl(g)

8. ปฏิกิริยา SO2(g) + 1/2 O2(g) SO3(g) มีคาคงที่สมดุลเทากับ 20.4 ที่ 700 °C จงหาคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาตอไปนี ้

SO3(g) SO2(g) + 1/2 O2(g) 2 SO2(g) + O2(g) 2 SO3(g)

Page 12: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 12

9. แกส N2 และ H2 ทําปฏิกิริยากันในภาชนะขนาด 250 cm3 ดังสมการ

N2(g) + 3H2(g) 2 NH3(g) ที่ภาวะสมดุลพบวามีแกส N2 , H2 และ NH3 อยูเทากับ 2 , 3 และ 4 mol ตามลําดับ

จงคํานวณหาคาคงที่สมดุล

10. คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา H2(g) + I2(g) 2 HI(g) เทากับ 9.0 ที่ 30 °C ณ ภาวะสมดุลทีอุ่ณหภูมิเดยีวกันนี้พบวา ในภาชนะขนาด 2 dm3 มีแกส HI และ H2 อยู 0.6 mol และ 0.4 mol ตามลําดับ จะมีแกส I2 อยูกี่ mol/dm3

11. ที่อุณหภูมิ 800 °C เมื่อผานไอน้ําไปบนถานโคกจะได water gas ซ่ึงเปนกีสผสมระหวาง แกส CO และแกส H2 ดังสมการ C(s) + H2O(g) CO(g) + H2(g) ณ ภาวะสมดุลมสีารตางๆ อยูดังนี้ H2 = 4.0 x 10-2 mol/dm3, CO = 4.0 x 10-2 mol/dm3 และ H2O = 1.0 x 10-2 mol/dm3 จงคํานวณหาคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี ้

12. จงคํานวณคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา A + 2 B 2 C ถาผสมสาร A 1.0 mol กับสาร B 1.5 mol ในภาชนะขนาด 2 dm3 ที่ภาวะสมดุลความเขมขนของ C เทากับ 0.35 mol/dm3

13. ถาผสมแกส CO 0.065 mol ใหทําปฏิกริิยากับ FeO มากเกินพอในภาชนะขนาด 1 dm3 จงคํานวณหาจาํนวนโมลของ CO , Fe และ CO2 ในปฏิกิริยาที่ภาวะสมดุล

FeO(s) + CO(g) Fe(s) + CO2(g) ; K = 0.516

14. ที่ 25 °C คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาระหวางกรดฟอรมกิกับไซยาไนดไอออนเทากบั 4.5 x 105 ปฏิกิริยาเคมีดังสมการ

HCOOH(aq) + CN-(aq) HCN(aq) + HCOO-(aq) จงคํานวณคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาระหวาง ฟอรเมตไอออนกับกรดไฮโดรไซยานิก

15. เมื่อบรรจุแกส SO2 และ NO2 ชนิดละ 2 mol ลงในภาชนะปดขนาด 2 dm3 และใหความรอนจนปฏิกิริยาเขาสูภาวะสมดุล พบวามี NO อยู 1.3 mol ปฏิกิริยาดังสมการ

SO2(g) + NO2(g) SO3(g) + NO(g) จงหาคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี ้

16. ปฏิกิริยาที่ภาวะสมดุลเปนดังนี้ Fe3+(aq) + SCN-(aq) FeSCN2+(aq) ; K = 1.1 x 103

ถาในภาชนะขนาด 2 dm3 มี Fe(NO3)3 0.01 mol และ KSCN 2 mol จงคํานวณหาความ

Page 13: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 13

เขมขนของ Fe3+ , SCN- และ FeSCN2+ ที่ภาวะสมดุล 17. ปฏิกิริยาการสลายตัวของแกส SO3 ที่อุณหภูมิสูงเปนดงัสมการ

2 SO3(g) 2 SO2(g) + O2(g) เมื่อเร่ิมตนปฏิกิริยามี SO3 จํานวน 6.09 x 10-3 mol/dm3 ที่อุณหภูมิ 1000K เมื่อเขาสูภาวะ

สมดุลมี SO3 อยู 2.44 x 10-3 mol/dm3 จงหาคาคงที่สมดุล ณ อุณหภมูินี้

18. ปฏิกิริยา N2(g) + O2(g) 2 NO(g) ที่อุณหภูมิ 2000 °C มีคา K = 4.1 x 10-4 ณ ภาวะสมดุลถามี N2 1.4 g และ NO 0.015 g ในภาชนะ 0.50 dm3 จะมี O2 กี่กรัม

19. เมื่อผานแกสผสมของ CH4 และ H2O ไปบนโลหะนกิเกิลซ่ึงเปนตัวเรงปฏิกิริยาที่อุณหภูมิ 1000 K ในภาชนะขนาด 5 dm3 พบวาที่ภาวะสมดุลมี CO 8.62 g , H2 2.60 g , CH4 43.0 g และไอน้ํา 48.4 g จงคํานวณหาคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา

CH4(g) + H2O(g) CO(g) + 3 H2O(g) 20. กําหนดคาคงที่สมดุล(K) ของปฏิกิริยาใหดังนี ้

(1) CO(g) + H2O(g) CO2(g) + H2(g) ; K1 = 23.20 (2) 2 CO(g) C(s) + CO2(g) ; K2 = 1.56 (3) C(s) + H2O(g) CO(g) + H2(g) ; K3 = 1.60 x 10-21 จงหาคา K ของปฏิกิริยาตอไปนี ้20.1 C(s) + CO2(g) 2 CO(g) 20.2 C(s) + 2 H2O(g) CO2(g) + 2 H2(g)

Page 14: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 14

แบบทดสอบชดุท่ี 8

1. ที่ 300 °C ปฏิกิริยา 2 NO(g) + Cl2(g) 2 NOCl(g) มีคาคงที่สมดุล Kp = 2.72

จงหา Kp ของปฏิกิริยาตอไปนี้ที่ 300 °C NO(g) + 1/2Cl2(g) NOCl(g) 2 NOCl(g) 2 NO(g) + Cl2(g)

2. ที่ 25 °C ปฏิกิริยา CO(g) + 2 H2(g) CH3OH(g) มีคาคงที่สมดุล Kc = 1.4 x

107 จงหาคา Kc ของปฏิกิริยาตอไปนี้ที่ 25 °C 2.1 CH3OH(g) CO(g) + 2 H2(g) 2.2 2CO(g) + 4 H2(g) 2 CH3OH(g)

3. กําหนดคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาตอไปนี้ที่ 823 K (1) CoO(s) + H2(g) Co(s) + H2O(g) ; K1 = 67 (2) CoO(s) + CO(g) Co(s) + CO2(g) ; K2 = 490 จงหาคาคงที่สมดุลของปฏิกิริยาตอไปนี ้3.1 CO2(g) + H2(g) CO(g) + H2O(g) 3.2 CO(g) + H2O(g) CO2(g) + H2(g)

4. ปฏิกิริยา H2(g) + I2(g) 2 HI(g) มีคา Kp = 0.35 ที่ 25°C จงหาคา Kc ของปฏิกิริยานี ้

5. คา Kp ที่ 300 °C ของปฏิกิริยา 2 NO(g) + Cl2(g) 2 NOCl(g) เทากับ 2.72 จง

คํานวณหาคา Kc ของปฏิกิริยานี้ที่ 300 °C

6. ปฏิกิริยา CO(g) + H2O(g) Cl2(g) + H2(g) มีคา Kc = 4.05 ที่ 500 °C จง

คํานวณหาคา Kp ของปฏิกิริยานี้ที่ 500 °

7. ปฏิกิริยา N2O4(g) 2 NO2(g) มีคา Kc = 0.212 mol/dm3 ที่ 100 °C จง

คํานวณหา Kp ของปฏิกิริยานี้ที่ 100 °C

8. ที่ 525 °C ความดันยอยของสมดุล 2 SO2(g) + O2(g) 2 SO3(g) คือ SO2 = 0.015 atm, SO3 = 0.253 atm และ O2 = 0.365 atm จงคํานวณหาคา Kp ของปฏิกิริยานี้

9. ปฏิกิริยาการเกดิแกสแอมโมเนีย N2(g) + 3 H2(g) 2 NH3(g) ที่ 400 °C มีความเขมขนที่ภาวะสมดุลของ N2 , H2 และ NH3 เทากับ 0.45, 0.63 และ 0.24 mol/dm3 ตามลําดับ จงคํานวณหาคา Kc

Page 15: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 15

10. เมื่อใหความรอนแก PCl5 ในภาชนะขนาด 1 dm3 พบวาเมื่อถึงสมดลุมี PCl3(g) 0.40 mol และ Cl2(g) 0.40 mol คาคงที่สมดุลการสลายตัวของ PCl5 เปน PCl3 และ Cl2 เทากับ 0.50 จงคํานวณหาความเขมขนของ PCl5

11. คาคงที่สมดุลของปฏิกิริยา H2(g) + I2(g) 2 HI(g) มีคา 50.2 ที่ 448°C จงคํานวณหานําหนักของ HI ซ่ึงอยูที่สมดุลกับ H2 1.25 mol และ I2 63.5 g ที่อุณหภุมินี ้

12. สมดุล 2 HI(g) H2(g) + I2(g) ที่ 445°C มีคา Kc = 50 ถา HI 0.50 mol อยู

ในภาชนะขนาด 250 cm3 ทิ้งไวจนถึงสมดุลที่ 445°C จงคํานวณความเขมขนของ H2 , I2 และ HI ที่ภาวะสมดุล

13. Kc ของสมดุล I2(g) + Cl2(g) 2 ICl(g) มีคา 3.55 x 10-2 ที่ 25 °C ถา I2 1.00 mol และ Cl2 0.50 mol บรรจุในภาชนะขนาด 1.00 dm3 เมื่อปลอยของผสมนี้ไวจนถึงสมดุล จงคํานวณหาความเขมขนของ Cl2 และ ICl ที่ภาวะสมดุล

14. Kc ที่ 525 °C ของสมดุล CO2(g) + H2(g) CO(g) + H2O(g) มีคา 0.25 ถา CO2 1.00 mol และ H2 1.00 mol บรรจุในภาชนะ 5.00 dm3 แลวปลอยใหถึงสมดุลที่

525 °C จงคํานวณหาความเขมขนของสารทุกชนิดทีภ่าวะสมดุล 15. พิจารณาสมดลุของปฏิกิริยา SO2Cl2(g) SO2(g) + Cl2(g) เมื่อเร่ิมตนดวย SO2Cl2

0.75 atm ที่ 100 °C ในภาชนะปด พบวาที่สมดุลความดันรวมเพิ่มเปน 1.36 atm จงหา %การแตกตัวของ SO2Cl2

16. เมื่อผสม H2 3.00 mol และ N2 1.00 mol ที่ 350 °C และ 30.0 atm แลวปลอยใหถึงสมดุลซ่ึงเกิด NH3 ที่มีความดันยอย 5.34 atm จงคํานวณหา Kp ของปฏิกิริยานี้ที่ 350

°C

Page 16: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 16

แบบทดสอบชดุท่ี 9

1. จากปฏิกิริยาทีภ่าวะสมดุลตอไปนี ้2 SO2(g) + O2(g) 2 SO3(g) + 11.16 kJ ถารบกวน สมดุลดวยวิธีตอไปนี้จะมีผลตอความเขมขนของ SO3 อยางไร

ลดความดันของระบบ เพิ่มความเขมขนของแกส O2 ในระบบ ลดความเขมขนของแกส SO2 ในระบบ

2. เมื่ออัดแกส CO2 ดวยความดนัสูงเขาไปในขวดเครื่องดื่มแลวปดฝาใหสนิทจะมภีาวะสมดุลเกิดขึ้นดังนี้ CO2(g) + H2O(l) H2CO3(aq) เพราะเหตุใดเมื่อเปดฝาขวดจึงมีฟองแกสเกดิขึ้น จงอธิบาย

3. ในการเตรยีมฟอสจีน(COCl2) ซ่ึงเปนแกสพิษไมมีสี ใชในการผลิตสารอินทรีย สียอม และสารกําจัดแมลง ถาทําในภาชนะปดจะเกดิภาวะสมดุลดังนี ้

CO(g) + Cl2(g) + พลังงาน COCl2(g) สมดุลจะเปลี่ยนแปลงไปทิศทางใด เมื่อเปลี่ยนภาวะสมดุลของระบบดังตอไปนี ้

3.1 ลดแกสคารบอนมอนอกไซด 3.2 เพิ่มแกสคลอรีน 3.3 ลดอุณหภูมิของระบบ 3.4 เพิ่มความดนัของระบบ

4. การกําจัดแกส CO ในไอเสียรถยนต ทําไดโดยใหแกส CO ที่เกิดขึ้นทําปฏิกิริยากับแกส O2 บนผิวของโลหะบางชนดิที่อุณหภูมิสูง ปฏิกิริยาที่เกดิขึ้นเปนดังนี ้

2CO(g) + O2(g) 2CO2(g) + พลังงาน ถาเพิ่มความดนัของระบบโดยอุณหภมูิไมเปลี่ยนแปลงระบบจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางไร เพราะเหตุใด เมื่อเพิ่มอุณหภูมิโดยควบคมุปริมาตรใหคงที่ ระบบจะมกีารเปลี่ยนแปลงอยางไร

5. ที่ภาวะสมดุลตอไปนี้ ถาเตมิสารที่ระบุไวลงในระบบจะทําใหความเขมขนของสารเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางไร 6.1 C2H6(g) H2(g) + C2H4(g) แกสที่เติมคือ H2 6.2 2NO2(g) 2NO(g) + O2(g) แกสที่เติมคือ NO2 6.3 PbSO4(s) + H+(aq) Pb2+(aq) + HSO4

-(aq) สารที่เติมคือ Pb(NO3)2(aq)

Page 17: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 17

6.4 PbCl2(s) Pb2+(aq) + 2Cl-(aq) สารที่เติมคือ AgNO3(aq) 6.5 Fe3+(aq) + 3OH-(aq) Fe(OH)3(s) สารที่เติมคือ กรด HCl(aq)

6. จากปฏิกิริยาทีภ่าวะสมดุลตอไปนี้ N2(g) + O2(g) + พลังงาน 2NO(g) จงใชหลักของเลอชาเตอลิเยรอธิบายวา ถาตองการใหไดผลิตภณัฑมากจะตองเลือกภาวะของระบบอยางไร

7. พิจารณาระบบที่อยูในภาวะสมดุลตอไปนี้ N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) + 92 kJ

จงตอบคําถามเกี่ยวกับทิศทางของปฏิกิริยาโดยเติมคําวา “เพิ่ม” “ลด” “ไมเปลี่ยน” หรือ “ขอมูลไมเพียงพอ” ลงในชองวางเมื่อมีการรบกวนสมดลุดวยวิธีตางๆ

การรบกวนสมดุล ทิศทางการดําเนินไปของปฏิกิริยา

(ไปขางหนาหรือยอนกลับ)

การเปลี่ยนแปลงจํานวนโมล N2 H2 NH3

7.1 เติมแกส N2 7.2 ปลอยแกส H2

ออกจากภาชนะ

7.3 ลดปริมาตรของภาชนะ

7.4 เพิ่มอุณหภูม ิ7.5 เติมแกส H2 7.6 เติมแกส He

………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… …………………………………

………… …………

…………

………… ………… …………

………… …………

…………

………… ………… …………

………… …………

…………

………… ………… …………

8. ปฏิกิริยาระหวางแกสมีเทนกบัไอน้ําเกดิแกส H2 ดังสมการ CH4(g) + H2O(g) + พลังงาน CO(g) + 3H2(g)

ระบบจะเปลี่ยนแปลงอยางไรเมื่อภาวะสมดุลถูกรบกวนดวยวิธีดังตอไปนี้ 8.1 เพิ่มความดนั 8.2 เพิ่มอุณหภูม ิ8.3 เติมตัวเรงปฏกิิริยา

H2O(l)

Page 18: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 18

แบบทดสอบชดุท่ี 10

1. ปฏิกิริยาตอไปนี้เปนสมดุลที่ 298 K ในภาชนะ 1.00 dm3

C(graphite) + O2(g) CO2(g) ; ΔH = -393.5 kJ เมื่อรบกวนสมดุลดวยปจจยัตอไปนี้จะมีผลอยางไรหรือไมตอความเขมขนของ O2 เพิ่ม C(graphite) เพิ่ม CO2 เพิ่ม O2 ลดอุณหภูม ิ ใสตัวเรงปฏิกริิยา

2. พิจารณาสมดลุ NO(g) + O3(g) NO2(g) + O2(g) ; ΔH = -18.7 kJ ปจจยัตอไปนี้มีผลอยางไรหรือไมตอสมดุล

เติม NO ลด O3 เพิ่มอุณหภูม ิ ลดปริมาตร ใสตัวเรงปฏิกริิยา

3. การลดอุณหภมูิและเพิ่มความดันภายนอกตอระบบที่สมดุลตอไปนี้มีผลอยางไรตอผลิตภัณฑของสมดุลในขอตอไปนี้(การรบกวนสมดุลทําทีละปจจัย)

3.1 2H2O(g) 2H2(g) + O2(g) ΔH = 484 kJ

3.2 N2(g) + O2(g) 2NO(g) ΔH = 181 kJ

3.3 N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) ΔH = -92.2 kJ

3.4 2O3(g) 3O2(g) ΔH = -285 kJ

3.5 H2(g) + F2(g) 2HF(g) ΔH = 541 kJ 4. การเพิ่มอุณหภูมิและลดความดัน(รบกวนทีละปจจัย) มผีลอยางไรตอปริมาณสารตั้งตนใน

สมดุลตอไปนี้

4.1 N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) ΔH = -92.2 kJ

4.2 N2(g) + O2(g) 2NO(g) ΔH = 181 kJ

4.3 3O2(g) 2O3(g) ΔH = 285 kJ

Page 19: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 19

4.4 H2O(l) H2O(g) ΔH = 41 kJ 5. นําแกส 4 ชนิด คือ NH3 , O2 , NO และไอน้ํา มาผสมกันในภาชนะใบหนึ่งจนเขาสู

ภาวะสมดุลดังปฏิกิริยา 4NH3(g) + 5O2(g) 4NO(g) + 6H2O(g) เมื่อมีการรบกวนสมดุลดังแสดงในตาราง ใหพิจารณาจากขอมูลในตารางแลวตอบวา “เพิ่มขึน้” “ลดลง” หรือ ”ไมเปลี่ยนแปลง”

การรบกวนสมดุล ปริมาณแกสทีถู่กรบกวน ผลที่สังเกตได 5.1 เติม NO(g) 5.2 เติม NO(g) 5.3 ลดไอน้ํา 5.4 ลด O2(g) 5.5 เติม NH3(g) 5.6 ลด NO(g) 5.7 เติม NH3(g)

ไอน้ํา O2(g) NO(g) NH3(g)

คางคงที่สมดุล NH3(g) O2(g)

…………………… …………………… …………………… …………………… …………………… …………………… ……………………

Page 20: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 20

แบบทดสอบชดุท่ี 11

1. จงเขียนสมการแสดงการแตกตัวในน้ําของสารตอไปนี้และบอกดวยวาในสารละลายมีไอออนและโมเลกุลชนิดใดบาง

กรดไฮโปคลอรัส(HClO) เปนอิเล็กโทรไลตออน กรดเปอรคลอริก(HClO4) เปนอิเล็กโทรไลตออน แบบเรียมไฮดรอกไซด(Ba(OH)2) เปนอิเล็กโทรไลตแก ไฮโดรเจนไซยาไนด(HCN) เปนอิเล็กโทรไลตออน

2. สารตั้งตนตอไปนี้สารใดเปนกรด-เบสตามทฤษฎีเบรินสเตด-ลาวรี HF(aq) + H2O(l) H3O

+(aq) + F-(aq) CN-(aq) + H2O(l) HCN(aq) + OH-(aq) HSO4

-(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + SO4

2-(aq) H2S(aq) + H2O(l) H3O

+(aq) + HS-(aq) CH3COO-(aq) + H2O(l) CH3COOH(aq) + OH-(aq)

3. จงเขียนสมการที่แสดงวา HPO42- และ H2O เปนไดทั้งกรดและเบส

4. สารละลาย NH4Cl เปนกรด สวนสารละลาย NaHS เปนเบส จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาระหวางไอออนตอไปนี้กับน้ํา

NH4+

HS- PO4

3- 5. จงเขียนสมการและแผนภาพแสดงคูกรด-เบส เมื่อสารตอไปนี้ละลายในน้ํา

กรดคารบอนกิ(H2CO3) กรดฟอรมิก(HCOOH) กรดซัลฟวรัส(H2SO3)

6. จงบอกคูเบสของสารตอไปนี้ HIO4 , H2PO4- , HSO3

- , NH4+

7. จงบอกคูกรดของสารตอไปนี้ HPO42- , CO3

2- , HS- , OH-

Page 21: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 21

แบบทดสอบชดุท่ี 12

1. จงเขียนคูกรดของเบสตอไปนี้ OH- F- H2O HSO4

- HCO3- NH3 NH2

- H- N3- N2H4 CH3NH2 2. จงเขียนคูเบสของกรดตอไปนี้

OH- H2O HCO3- HBr HOCl H2PO3

- CH3COOH HSO4- NH3 HS-

PH3 3. จงระบุวาในสมการตอไปนี้ สารใดเปนกรด-คูเบส และสารใดเปนเบส-คูกรด

HNO3 + H2O H3O+ + NO3

- CN- + H2O HCN + OH- H2SO4 + Cl- HCl + HSO4

- HSO4

- + OH- SO42- + H2O

O2- + H2O OH- + OH- H2S + NH2

- HS- + NH3 N2H4+ NH2

- N2H3- + NH3

CH3OH + H- CH3O- + H2

N2H5+ + NO2

- N2H4 + HNO2 HNO3 + H2SO4 H2NO3

+ + HSO4-

KNH2 + NH4Cl + KCl + 2NH3 4. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาของสารตอไปนี้กับน้ํา

HCl HNO3 NH3 NH2- HClO4 F

- NH4+

5. จงเขียนสมการการแตกตวัไดเอง(Autoionization) ของสารตอไปนี้ NH3 CH3OH HNO3

6. ในขอตอไปนี้ สารใดเปนกรดแกกวา เพราะเหตใุด CH4 กับ NH3 H2S กับ H2O HIO3 กับ HIO2 H2SO3 กับ H2SeO3 H2Se กับ HBr H2O กับ HF

Page 22: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 22

NH3 กับ H2O PH3 กับ HI NH3 กับ H2S

7. ในขอตอไปนี้ สารใดเปนเบสแกกวา NH3 กับ NF3 NH2

- กับ NH2OH N3- กับ O2- OH- กับ HS- HS- กับ Cl-

Page 23: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 23

แบบทดสอบชดุท่ี 13

1. สารตอไปนี้สารใดจัดเปนกรดแกและสารใดจัดเปนกรดออน HNO2 H2CO3 HF CH3COOH HCl HClO4 H2S HCN HI

2. HX เปนกรดแก สารละลายปริมาตร 5 dm3 มีกรด HX ละลายอยู 1 mol จะมีความเขมขนของไฮโดรเนียมไอออนเทาใด

3. สารละลาย HNO3 มีความเขมขน 0.5 mol/dm3 ปริมาตร 100 cm3 จะมี H3O+ กี่โมล

และถาเติมน้ําลงไปใหมีปริมาตร 500 cm3 จะมีความเขมขนของ H3O+ เทาใด

4. สารละลายปริมาตร 500 cm3 มี NaOH ละลายอยู 1 mol จงหาความเขมขนของ OH- 5. M(OH)2 เปนเบสแก สารละลายของเบสนี้เขมขน 0.2 mol/dm3 ปริมาตร 500 cm3 จะมี

OH- กี่โมล และถาเติมน้ําลงไปใหมีปริมาตรเปน 750 cm3 ความเขมขนของ OH- จะเปนเทาใด

6. สารละลายกรด HA เขมขน 2 mol/dm3 แตกตัวเปนไอออนไดรอยละ 1.5 จงหาความเขมขนของ H3O

+ 7. สารละลายกรด H2S มีคาคงที่การแตกตวัของกรด 2 คา คือ Ka1 = 1.1 x 10-7 และ Ka2

= 1.3 x 10-13 จงเปรียบเทยีบความเขมขนของไอออนตางๆ ในสารละลาย 8. สารละลายกรด CH3COOH และ HCN มีคา Ka = 1.8 x 10-5 และ 4.8 x 10-10 ตามลําดับ

ถาสารละลายทั้งสองเขมขน 1 mol/dm3 เทากัน สารละลายของกรดใดจะมีความเขมขนของ H3O

+ มากกวากัน จงอธิบาย 9. สารละลายกรด HCOOH เขมขน 0.2 mol/dm3 จะมีความเขมขนของ H3O

+ เทาใด และกรดนี้แตกตวัเปนไอออนไดกี่ % กําหนดคา Ka ของ HCOOH เทากับ 1.8 x 10-4

10. สารละลาย NaX มีสมบัติเปนเบส ถาสารละลายนี้มีความเขมขน 2 mol/dm3 จงหาความเขมขนของ OH- เมื่อคา Kb ของ X-(aq) + H2O(l) HX(aq) + OH-(aq) มีคาเทากับ 1.0 x 10-4

11. จงคํานวณรอยละของการแตกตัวของกรดเบนโซอิก(C6H5COOH) ในสารละลายที่มีความเขมขน 0.25 mol/dm3 และ 0.40 mol/dm3 กําหนด Ka ของ C6H5COOH = 6.5 x 10-5

Page 24: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 24

แบบทดสอบชดุท่ี 14

1. กรดเบนโซอิกเปนกรดมอนอโปรติก สารละลายกรดนีเ้ขมขน 0.25 mol/dm3 มีความเขมขนของ H3O

+ เทากับ 4.0 x 10-3 mol/dm3 จงคํานวณหาคา Ka ของกรดเบนซิก และรอยละการแตกตัวของกรดเบนโซอิก

2. จงเปรียบเทยีบคารอยละของการแตกตวัเปนไอออนของสารละลายกรด CH3COOH เขมขน 0.05 mol/dm3 และ 0.02 mol/dm3 คา Ka ของ CH3COOH = 1.8 x 10-5

3. ถานํากรด HX และ HY มาชนิดละ 1 mol ทําใหเปนสารละลายมีปริมาตรเทากัน ปรากฏวาในสารละลาย HX มี [H3O

+] มากกวาในสารละลาย HY จงเขียนความสัมพันธแสดงคาคงที่การแตกตัวของกรดแตละชนิด และบอกดวยวา Ka ของกรดใดมีคาสูงกวากนั

4. ปฏิกิริยาเคมีดงัสมการ HCN(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + CN-(aq) มีคา Ka = 4.8 x

10-10 จงเปรียบเทียบความแรงของกรดและความแรงของเบส 5. เมื่อนํา H2CO3 มาละลายน้ําจะแตกตวัไดไอออนดังสมการ

H2CO3(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + HCO3

- (aq)

ที่อุณหภูมิ 25°C คา Ka = 4.4 x 10-7 ถาสารละลายกรดนี้เขมขน 1.0 mol/dm3 ที่ภาวะ

สมดุลที่ 25°C มี H2CO3 เขมขนกี่ mol/dm3 6. เมื่อนํากรด HCN ซ่ึงมีคา Ka = 4.8 x 10-10 มา 5.4 g เติมน้ํากลั่นจนไดสารละลาย

ปริมาตร 2 ลิตร สารละลายกรดนีแ้ตกตวัไดกี่% 7. สารละลายกรด HF 0.10 mol/dm3 แตกตวัได 8% สารละลายกรดนี้มคีา Ka เทาใด

8. H3PO4 เปนกรดพอลิโปรติกมีคา Ka1 = 7.52 x 10-3 ที่ 25°C คา Ka2 ของกรดนี้มีคาเทาใด 9. สารละลายกรดแอสคอบิก(HC6H7O6) แตกตัวไดดังสมการ

HC6H7O6(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + C6H7O6

-(aq) ณ ภาวะสมดลุกรดแอสคอบิกแตกตัวได 0.01% สารละลายกรดนี้ 0.1 mol/dm3 จะมี H3O

+เทาใด 10. ละลายกรดฟอรมิก(HCOOH) จํานวนหนึ่งในน้ํา 5 ลิตร พบวามี H3O

+ เขมขน 5.0 x 10-3 mol/dm3 ถาคา Ka ของกรดนี้เทากับ 2.0 x 10-4 สารละลายนี้มีกรดฟอรมิกละลายอยูกี่กรัม

Page 25: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 25

แบบทดสอบชดุท่ี 15

1. จากตารางแสดงคาความเขมขนของ H3O+ และ OH- ของสารละลาย A B C D และ E

จงเติมคาความเขมขนของ H3O+ และ OH- ลงในชองวางพรอมทั้งระบุความเปรกรด-เบส

ของสารละลาย สารละลาย ความเขมขน(mol/dm3) ความเปนกรด-เบส

ของสารละลาย [H3O+] [OH-]

A 2.0 x 10-5 …………………. …………………. B …………………. 1.0 x 10-2 …………………. C 5.0 x 10-7 …………………. …………………. D 1.0 x 10-9 …………………. …………………. E …………………. 1.0 x 10-4 ………………….

2. สารละลายปริมาตร 500 cm3 ที่มีแกส HCl ปริมาตร 1.2 dm3 ที่ STP ละลายอยู จะมีความเขมขนของ H3O

+ และ OH- เทาใด 3. เมื่อละลาย NaOH 0.01 mol ในน้ํา และทําใหสารละลายมีปริมาตร 500 cm3 จะมคีวาม

เขมขนของ H3O+ เทาใด

4. เมื่อนําสารละลายกรด HCl 0.1 mol/dm3 มา 10 cm3 เติมลงในสารละลายกรด HCl 0.01 mol/dm3 จํานวน 100 cm3 สารละลายที่ไดจะมีความเขมขนของ H3O

+ และ OH- เทาใด 5. กําหนดคา Ka ของกรด HA HB และ HC ดังนี้

HA + H2O H3O+ + A- ; Ka = 1.0 x 10-2

HB + H2O H3O+ + B- ; Ka = 1.0 x 10-4

HC + H2O H3O+ + C- ; Ka = 1.0 x 10-5

ถาสารละลายกรดทั้งสามชนิดมีความเขมขนเทากัน จงเรียงลําดับ pH ของสารละลายจากนอยไปมาก

6. สารละลายเบส KOH เขมขน 0.05 mol/dm3 จะมี pH เทาใด 7. สารละลายกรด HX เขมขน 0.01 mol/dm3 แตกตวัเปนไอออนไดรอยละ 3 จะมี pH

เทาใด 8. จงคํานวณความเขมขนของ OH- และ pH ของสารละลาย NH3 ซ่ึงมีแกส NH3 4.25 g

ละลายในน้ําไดสารละลายปริมาตร 250 cm3 กําหนด Kb ของ NH3 = 1.8 x 10-5 และ log 2.4 = 0.3802

Page 26: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 26

แบบทดสอบชดุท่ี 16

1. กรด HCOOH 23 g ละลายอยูในสารละลายปริมาตร 10 dm3 พบวามีความเขมขนของ H3O

+ = 3.0 x 10-3 mol/dm3 จงคํานวณหาคาคงที่การแตกตัวของกรด และ pH ของสารละลาย(log 3 = 0.4771)

2. สารละลายกรด H2SO4 เขมขน 0.0005 mol/dm3 มี pH ตางจากสารละลายกรด HCl เขมขน 0.0001 mol/dm3 ประมาณเทาใด สมมติให H2SO4 แตกตัวได 100% ทั้ง 2 ขั้น

3. สารละลายกรด HA เขมขน 0.1 mol/dm3 แตกตวัไดรอยละ 0.10 จะมี pH เทาใด 4. ถานําสารละลาย NaOH เขมขน 0.1 mol/dm3 มาจํานวน 10 cm3 แลวเติมน้ําจนมี

ปริมาตรเปน 500 cm3 สารละลายนี้จะมีความเขมขนของ OH- และ pH เทาใด 5. จงหา pH ของสารละลายซึ่งมี NaOH 2 g ในน้ํา 500 cm3 6. แอสไพริน(HC9H7O4) เปนกรดออนมีคา Ka = 3.2 x 10-4 กรดนี้แตกตวัดังสมการ

HC9H7O4(aq) + H2O(l) C9H7O4-(aq) + H3O

+(aq) จงคํานวณหา pH ของสารละลาย 200 cm3 ที่มีแอสไพริน 2 เม็ด (หนกัเม็ดละ 0.325 g)

7. จงหา pH ของสารละลายตอไปนี ้ HCl 0.1 mol/dm3 NaOH 0.4 g/100 cm3 NH3 1.0 mol/dm3 มีคา Kb = 1.8 x 10-5

8. เมื่อนําสารละลายที่มี pH = 5 จํานวน 10 cm3 มาผสมน้ําใหได 100 cm3 จะไดสารละลายที่มี pH เทาใด

9. สารละลาย AOH เขมขน 0.01 mol/dm3 มี pH = 11 สารละลายนี้แตกตัวไดกี่ % 10. จากการวัดคาการนําไฟฟาของสารละลายกรด HA เขมขน 1.0 mol/dm3 ปริมาตร 5.0

cm3 พบวากรดนี้แตกตัวได 0.1% คา pH และ คา Ka ของกรดนี้จะเปนเทาใด

Page 27: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 27

แบบทดสอบชดุท่ี 17

1. HIn เปนอินดิเคเตอรที่มีสมบัติเปนกรดออน มีชวง pH ของการเปลี่ยนสี 3.8 – 5.4 โดยเปลี่ยนจากสีเหลืองเปนสีน้ําเงิน เมื่ออยูในสารละลายจะเกิดสมดุลดังสมการ

HIn(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + In-

สารละลาย A มีความเขมขนของ H3O+ = 1.0 x 10-5 mol/dm3 เมื่อหยด HIn ลงในสารละลาย A

จะมีสีใด เมื่อหยด HIn ลงในสารละลาย B จะเกิดสนี้ําเงิน สารละลาย B มีความเปนกรด-เบสอยางไร ในสารละลายที่มีความเขมขนของ OH- มาก อินดิเคเตอรจะมีสีใด

2. กําหนดอินดิเคเตอรและชวง pH ที่เปลี่ยนสีของอินดิเคเตอรใหดังนี ้ชนิดของอินดิเคเตอร สีที่เปลี่ยน ชวง pH ของการเปลี่ยนสี

ฟนอลฟทาลีน โบรโมไทมอลบลู

ไมมีสี – แดง เหลือง – น้ําเงนิ

8.3 – 10.0 6.0 – 7.6

สารละลายชนิดหนึ่งเมื่อหยดฟนอลฟทาลีนไดสารละลายไมมีสี แตเมื่อหยดโบรโมไทมอลบลูจะไดสารละลายสีน้ําเงนิ สารละลายดังกลาวจะมี pH ประมาณเทาใด

3. เมื่อนําสารละลาย X มาเติมอินดิเคเตอรชนิดตางๆ ไดผลดังนี้ อินดิเคเตอร ชวง pH ของการ

เปลี่ยนสี สีที่เปลี่ยน สีของสารละลาย X

ในอินดเิคเตอร ฟนอลฟทาลีน เมทิลเรด โบรโมไทมอลบลู ฟนอลเรด เมทิลออเรนจ

8.3 – 10.0 4.4 – 6.0 6.0 – 7.6 6.7 – 8.3 3.1 – 4.4

ไมมีสี – แดง แดง – เหลือง เหลือง – น้ําเงนิ เหลือง – แดง แดง - เหลือง

ไมมีสี เหลือง เขียว สม ?

สารละลาย X มี pH ประมาณเทาใด ถาหยดเมทิลออเรนจ 2 หยดลงในสารละลาย X ปริมาตร

10 cm3 จะไดสีอะไร 4. อินดิเคเตอรชนิดหนึ่งเปนกรดออนมภีาวะสมดุลดังนี ้

HIn(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + In-

สีน้ําเงิน สีแดง ถาเติมเบสลงไปจนสารละลายมี pH = 12 สารละลายจะมีสีอะไร

Page 28: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 28

5. กําหนดชวง pH ของการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอรใหดังนี ้อินดิเคเตอร ชวง pH ของการเปลี่ยนสี สีที่เปลี่ยน

A B C

4.2 – 6.3 6.0 – 7.6 8.3 – 10.0

แดง – เหลือง เหลือง – น้ําเงนิ ไมมีสี – ชมพู

สารละลาย X ใหสีเหลืองกับอินดิเคเตอร A ใหสีเขียวแกมเหลืองกับอนิดิเคเตอร B และไมใหสีกับอนิดิเคเตอร C สารละลาย X มี pH เทาใด

6. กําหนดชวง pH ของการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอรใหดังนี ้อินดิเคเตอร ชวง pH ของการเปลี่ยนสี สีที่เปลี่ยน

โบรโมฟนอลบลู เมทิลเรด

โบรโมไทมอลบลู ฟนอลฟทาลีน

3.0 – 4.6 4.2 – 6.3 6.0 – 7.6 8.3 – 10.0

เหลือง – น้ําเงนิ แดง – เหลือง เหลือง – น้ําเงนิ ไมมีสี – ชมพู

6.1 ถาหยดโบรโมไทมอลบลูจํานวน 2 หยด ลงในสารละลายที่มี pH = 6.7 ปริมาตร 100 cm3 สารละลายจะมีสีใด

6.2 ถาหยดเมทิลเรดจํานวน 2 หยด ลงในสารละลายที่มี pH = 6.7 ปริมาตร 100 cm3 สารละลายจะมีสีใด

7. นําสารละลาย HCl เขมขน x mol/dm3 ใสในหลอดทดลอง 3 หลอดๆ ละ 2 cm3 แตละหลอดหยดอินดิเคเตอร 2 – 3 หยด ไดผลดงัแสดงในตาราง หลอดที่ อินดิเคเตอร สีที่ปรากฎใน

สารละลายHCl ชนิด ชวง pH สีที่เปลี่ยน 1 2 3

คองโกเรด โบรโมครีซอล ฟนอลเรด

3.0 – 5.0 5.2 – 8.6 6.8 – 8.4

น้ําเงิน – แดง เหลือง – มวง เหลือง – แดง

แดง เหลือง เหลือง

X ควรมีคาเทาใด

แบบทดสอบชดุท่ี 18

Page 29: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 29

1. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาระหวางกรดกับเบสตอไปนี้

HCl กับ Ca(OH)2 HCl กับ Ba(OH)2 H2CO3 กับ KOH HNO3 กับ NaOH

2. จงเขียนปฏิกิริยาสะเทินระหวางกรดกับเบสตอไปนี้ H2SO4 กับ NaOH HNO3 กับ Ca(OH)2

3. สารประกอบของเกลือตอไปนี้เกิดจากกรดและเบสชนดิใด KBr NaNO3 MgSO4 K2CO3 NaHSO4 CH3COONa CH3COONH4 CaCO3

4. จงเขียนสมการโมเลกุลและสมการไอออนิกของปฏิกิริยาระหวางสารละลายของสารตอไปนี ้

H2SO4 กับ Ca(OH)2

H2CO3 กับ Ba(OH)2 5. จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาระหวางสารตอไปนี ้

BaO(s) กับ H2SO4(aq) Al(s) กับ H2SO4(aq) Fe2O3(s) กับ HCl(aq) Na2CO3(aq) กับ HCl(aq) NaOH(aq) กบั HBr(aq) Ca(OH)2(aq) กับ HI(aq) Al(OH)3(aq) กับ HBr(aq)

6. ปฏิกิริยาระหวางกรดกับเบสคูใดจะไดเกลือที่ไมละลายในน้ํา HNO3 กับ KOH H2CO3 กับ Sr(OH)2 H3PO4 กับ LiOH H2CO3 กับ Mg(OH)2 H2SO4 กับ LiOH

Page 30: แบบฝึกหัด Rate+Eq

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ แบบทดสอบรายวิชา ว30232 จลนศาสตรเคมีและสมดุลเคมี

อ. สุนทร พรจําเริญ 30

แบบทดสอบชดุท่ี 19

กําหนดคา Kb ที่อุณหภูม ิ 25°C ของสารละลาย NH3 = 1.8 x 10-5

Ka ที่อุณหภูมิ 25°C ของสารละลาย HNO2 = 4.5 x 10-4 CH3COOH = 1.8 x 10-5 HCN = 4.9 x 10-10 HSO4

- = 1.2 x 10-2 HF = 7.1 x 10-4 HS- = 1.0 x 10-19

1. เมื่อเกลือตอไปนี้ละลายในน้ํา สารละลายที่ไดจะมีสมบัติเปนกรด เปนเบส หรือเปนกลาง NaHCO3 K2S Al2(SO4)3 K2CO3 NaI Na3PO4

2. ไอออนใดในสารประกอบของเกลือตอไปนี้สามารถเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสได จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสที่เกิดขึ้น KCN CH3COOLi NaClO4 (NH4)3PO4 Na2CO3 KNO3

3. เมื่อนําเกลือตอไปนี้มาละลายน้ํา เกลือชนิดใดเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส ถาเกิดไฮโดรลิซิสแลวสารละลายของเกลือเหลานี้จะมีสมบัติเปนกรด เปนเบส หรือกลาง จงเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสที่เกิดขึ้น NaNO3 NaCN (NH4)2SO4 NH4NO3 Na2S NaF NH4CN NH4NO2

4. ผสมสารละลาย CH3COOH เขมขน 0.02 mol/dm3 จํานวน 500 cm3 กับสารละลาย NaOH เขมขน 0.05 mol/dm3 จํานวน 250 cm3 สารละลายผสมที่ไดมีเกลือเขมขนเทาใด และสารละลายมี pH เทาใด

5. สารละลาย NH4Cl เขมขน 0.10 mol/dm3 จงคํานวณหาความเขมขนของ H3O+ OH-

และ

pH ของสารละลาย กําหนด Ka ของ NH3 ที่ 25°C = 1.8 x 10-5


Recommended