Transcript
Page 1: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

KCF2006

โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสดุ

รศ.ดร.วิโรจน ภัทรจนิดา ผศ.ดร.มนตชัย ดวงจินดา

ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร

มหาวทิยาลัยขอนแกน ISBN 974-675-146-8

Page 2: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

2

KCF2006

Copyright © 2549

โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสดุ

ISBN 974-675-146-8

ผูชวยศาสตราจารย ดร.มนตชัย ดวงจินดา 2532 วท.บ.(เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

2534 วท.ม. (เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

2543 Ph.D.(Animal Breeding and Genetics) The University of Georgia, USA.

รองศาสตราจารย ดร.วิโรจน ภัทรจินดา 2524 วท.บ.(เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยขอนแกน

2526 วท.ม. (เกษตรศาสตร) มหาวิทยาลัยขอนแกน

2544 Ph.D.(Animal and Dairy Science) The University of Georgia, USA.

Page 3: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

3

คํานํา

ปจจุบันการทําฟารมโคนมทั้งในรูปฟารมขนาดเล็กถึงฟารมขนาดใหญนั้น มีเปาหมายที่สําคัญคือการผลิต

น้ํานมดิบใหไดกําไรสูงสุด ดังนั้นผูเล้ียงจึงตองมีความสามารถในการจัดการใหอาหารโคนมอยางมีประสิทธิภาพทั้งใน

แงตรงตามความตองการของโคนมในแตละระยะและมีสูตรอาหารราคาต่ําสุด ซึ่งจะชวยใหฟารมประหยัดตนทุน

คาอาหารโค เพราะตนทุนคาอาหารจะมีสัดสวนถึงกวารอยละ 75 ของรายจายในฟารมทั้งหมด หากผูเล้ียงมี

ความสามารถจัดการดานอาหารไดเปนอยางดีจะทําใหระบบการทําฟารมโคนมประสบความสําเร็จและยั่งยืน

เทคโนโลยีดานอาหารสัตวที่สําคัญอันหนึ่งที่ชวยใหไดผลกําไรชัดเจนคือ การใชโปรแกรมคํานวณสูตร

อาหารโค แตที่ผานมาผูเล้ียงและนักออกสูตรอาหารสัตวจะพึ่งพาการใชโปรแกรมสําเร็จรูปจากตางประเทศ ทําใหมี

ขอจํากัดการใชที่ผูใชตองมีพื้นความรูภาษาอังกฤษและศัพทเทคนิคตางๆ จึงทําใหความรูในดานอาหารสัตวนี้ถูก

จํากัดวงแคบและดูมีความยุงยากในการคํานวณเอง ทําใหความสามารถในการพึ่งพาตนเองของผูเล้ียงโคนมลด

นอยลง คําถามจึงมีวา “ทําอยางไรจึงจะทําใหผูเล้ียงมีความสามารถพึ่งพาตนเองไดดีขึ้น และสงเสริมใหมีการใช

วัตถุดิบอาหารสัตวในทองถิ่นรวมไปจนถึงการทําใหสหกรณและองคกรที่มีการรวมกลุมกันอยูแลว สามารถสราง

รายไดใหกับองคกรได” ผูพัฒนาโปรแกรมจึงเล็งเห็นวาหากมีการพัฒนาโปรแกรมคํานวณอาหารสัตวใหเปนระบบ

ภาษาไทย จะชวยใหมีการขยายฐานความรูดานอาหารสัตวออกไปในวงกวางมากขึ้น และนาจะเปนคําตอบที่สําคัญ

ของคําถามดังกลาวขางตน

ปรัชญาของโปรแกรมที่เขียนขึ้นนี้จะใหมีความสอดคลองและงายในการใชงาน ผูใชสามารถอานและเรียนรู

ไดดวยตนเอง ชุดโปรแกรมจะมีคําอธิบายตางๆ คอยชวยเหลือเมื่อมีปญหาการใชงานและหนังสือคูมือนี้จะชวย

ประกอบความเขาใจที่ถูกตอง ผูเขียนจึงหวังวาผูใชทุกทานตั้งแตเกษตรกรกาวหนา นักศึกษา นักสงเสริม นักวิจัย

อาหารสัตวและคณาจารยจะสามารถเรียนรูการใชงานโปรแกรมจัดการอาหารโคนมและคํานวณสูตรอาหารราคา

ต่ําสุดไดอยางรวดเร็วและใชประโยชนไดมาก

โปรแกรมนี้เมื่อนําไปใชงานและเห็นวาดีมีประโยชนแลวขอใหอางอิงถึงผูพัฒนาโปรแกรมดวยเพื่อเปน

กําลังใจในการพัฒนาตอไป หากมีขอคิดเห็นประการใดและขอเสนอแนะขอไดกรุณาแจงใหทราบไดทันที

รศ.ดร.วิโรจน ภัทรจินดา

Email: [email protected] Web site: http://agserver.kku.ac.th/virote

ผศ.ดร.มนตชัย ดวงจินดา

Email: [email protected] Web site: http://agserver.kku.ac.th/monchai

Page 4: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

4

สารบญั หนา

การติดตั้งระบบและการเริ่มใชงาน....................................................................................................................... 6 การเริ่มใชงาน ................................................................................................................................................. 8 ความตองการระบบ ........................................................................................................................................ 9 ภาคที่หนึ่ง: การคํานวณความตองการโภชนะและการจัดการอาหาร ................................................................... 10 1. การหาความตองการโภชนะของโครีดนม ................................................................................................ 12

1.1 เลือกประเภทของโค ......................................................................................................................... 12 1.2 น้ําหนักตัวโค ..................................................................................................................................... 13 1.3 น้ํานมเฉล่ีย ....................................................................................................................................... 13 1.4 น้ําหนักตัวเพ่ิม/ลด ............................................................................................................................ 14 1.5 เปอรเซ็นตไขมัน ............................................................................................................................... 14 1.6 การคํานวณ ....................................................................................................................................... 15 1.7 ตารางรายงานผลความตองการโภชนะของโค ................................................................................. 16 1.8 ประเภทของความตองการโภชนะในโค............................................................................................ 17 1.9 การพิมพผล ...................................................................................................................................... 19 1.10 การปรับคากิโลกรัมการกินอาหารขน ............................................................................................ 20

2. การคํานวณความตองการโภชนะในลูกโคนม .......................................................................................... 21 2.1 น้ําหนักลูกโค..................................................................................................................................... 21 2.2 ปริมาณน้ํานมที่ใหเสริม.................................................................................................................... 21 2.3 การคํานวณความตองการโภชนะ ..................................................................................................... 22

3. การคํานวณความตองการโภชนะของโครุน ............................................................................................. 23 3.1 เลือกเพศโครุน .................................................................................................................................. 23 3.2 น้ําหนักเพิม่....................................................................................................................................... 23 3.3 การคํานวณความตองการโภชนะของโครุน...................................................................................... 24 3.4 ตารางแสดงความตองการโภชนะของโครุน ..................................................................................... 25 3.5 การพิมพผล ...................................................................................................................................... 26

4. การคํานวณหาความตองการโภชนะของโคพอพันธุ ................................................................................ 27 4.1 การคํานวณหาความตองการโภชนะ................................................................................................. 27

Page 5: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

5

4.2 การแสดงผลการคํานวณ .................................................................................................................. 27 5.การคํานวณหาความตองการโภชนะของโคพักรีดน้ํานม........................................................................... 29

5.1 เลือกประเภทของโค........................................................................................................................ 29 5.2 น้ําหนักตัวโค ..................................................................................................................................... 29 5.3 น้ําหนักตัวเพ่ิม/ลด ............................................................................................................................ 29 5.4 การคํานวณหาความตองการโภชนะ................................................................................................. 30 5.5 การแสดงผลการคํานวณ .................................................................................................................. 30

ภาคที่สอง: การคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุด ............................................................................................... 32 1. การสรางสูตรอาหารโคนม ....................................................................................................................... 33

1.1 การเลือกรายการวัตถุดิบ.................................................................................................................. 33 1.2 การแกไข/เพ่ิมเติมรายการและราคา ................................................................................................ 34 1.3 การเลือกโภชนะที่ตองการคํานวณในสูตรอาหาร ............................................................................ 36 1.4 การกําหนดคาต่ําสุดและสูงสุดของระดับโภชนะที่ใชในสูตรอาหาร ................................................ 37 1.5 การเริ่มคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุด ............................................................................................. 37 1.6 การแกไข/เพ่ิมเติมโภชนะและการเปลี่ยนแปลงคาขั้นต่ํา-สูง ........................................................... 39 1.7 ขอจํากัดทีท่ําใหโปรแกรมคํานวณสูตรอาหารไมได ......................................................................... 39 1.8 การพิมพผลเพ่ือนําไปผสมอาหาร .................................................................................................... 39

ภาคที่สาม: การบันทึก แกไข/เพิ่มเติม รายการวัตถุดิบ ...................................................................................... 41 การบันทึก แกไข/เพ่ิมเติมรายการวัตถุดิบ ................................................................................................... 42 ภาคที่สี่: การเลือกใชวัตถุดิบที่มีราคาต่ําสุดโดยวิธี อีอารวีอาร ......................................................................... 45

1. การใชคาดรรชนีทดแทน(ERVR) ........................................................................................................ 46 2. เลือกคูโภชนะเปรียบเทียบ ................................................................................................................. 47 3. การเปรียบและการจัดเรียงลําดับ คาดรรชนีทดแทน......................................................................... 48 4. คาผลวิเคราะหของวัตถุดิบขาวโพด และวัตถุดิบกากถั่วเหลือง ......................................................... 48

การออกจากโปรแกรม ..................................................................................................................................... 49 การออกจากโปรแกรม KCF2006 ................................................................................................................. 50 คําถามทายบท................................................................................................................................................ 52 ตัวอยางตารางแสดงรายการวัตถุดิบ ............................................................................................................ 58

Page 6: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

6

การติดตั้งระบบและการเริม่ใชงาน

Page 7: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

7

โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุด (KKU Complete Feed, KCF2006)

โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุดหรือเรียกสั้นๆ วา เคซี.เอฟ 2006

(KCF2006) นี้ไดพัฒนาขึ้นโดยแบงสวนระบบออกเปน 4 สวน คือ สวนแรกการหาความตองการโภชนะของ

โคนมในแตละประเภท สวนที่สองการคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุด สวนที่สามการปรับปรุงตารางวัตถุดิบ

อาหาร สวนที่ส่ีการเปรียบเทียบโภชนะกับราคาวัตถุดิบ สวนเพิ่มเรื่องการคํานวณแรธาตุสําหรับสัตว (กําลัง

อยูในระหวางพัฒนาเพิ่มเติม) โดยมีรายละเอียดดังนี้

การติดตั้งระบบ โปรแกรม เคซีเอฟ2006 บรรจุอยูในรูปแผน CD หรือ Diskette ในการติดตั้งใหทําตามแตละขั้นตอนดังนี้

1. ใสแผนโปรแกรมใน drive A หรือ D แลวใหทําการคลิก 2 ครั้ง ที่ชื่อแฟม KCF2006setup.EXE

2. โปรแกรมติดตั้งจะแสดงหนาตางเริ่มตนการติดตั้ง คล้ิกปุม NEXT ทีละขั้นตอน โปรแกรมอาจถามรหัส

ติดตั้งใหกรอกเลขรหัสตามที่ไดรับและคลิ้กปุม NEXT ตอไป

3. เมื่อเสร็จส้ินการติดตั้งโปรแกรม จะปรากฏหนาตางดังภาพ ใหคลิ้กปุม FINISH

Page 8: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

8

การเริ่มใชงาน กอนเริ่มใชงาน เคซีเอฟ ครั้งแรกสําหรับผูใช Window XP ใหเปดใชงานโปรแกรมเอ็กเซล(Excel) กอน และ

เขาไปเปลี่ยนระดับความปลอดภัยของเอ็กเซล ทําไดโดยไปที่ชองแถวบนที่เปนปุมเครื่องมือของอ็กซล(Tools) เลือก

ปุมแมคโคร ตามดวยเลือกปุมระดับความปลอดภัย ซึ่งเมื่อคลิกเขาไปจะเห็นระดับความปลอดภัย 4 ระดับ และจะตั้ง

ไวแลวเปนระดับสูงสุด ใหผูใชเปล่ียนคาตั้งจากระดับสูงสุดเปนระดับกลางหรือต่ําสุดเทานั้น แลวคลิก OK เปนอัน

เสร็จส้ิน จากนั้นก็ปดการใชโปรแกรมเอ็กเซล เพื่อกลับมาเริ่มใชโปรแกรม เคซีเอฟ ตอไป (ในการใชครงตอๆไป ให

เรียกใชโปรแกรม เคซีเอฟ ไดทันทีโดยตรง)

การใชงาน

1. คล้ิกปุม Start ที่แถบสถานะ (taskbar ) ของวินโดวส เลือกดังนี้

Start > Program > KCF2006

2. คล้ิกที่ ไอคอน(icon) ชื่อ KCF2006

หากไมปรากฏรูปไอคอน ดังภาพ หรือเมื่อปฏิบัติตามแลวไมสามารถเรียกใชงานได ใหเรียกโปรแกรม

โดยตรงจาก directory ชื่อ C:\KCF2006\ โดยเปดแฟมชื่อ KCF2006.xls

3. กดปุม “เปดการใชงานแมโคร”

Page 9: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

9

4. เมื่อหนาตางโลโก(LOGO) ปรากฏ กดปุม “OK. เพื่อเขาสูโปรแกรม หรือกดปุม “เกี่ยวกับ” เพื่อดู

รายละเอียดผูพัฒนาโปรแกรมและความตองการระบบ

5. กดปุม OK เพื่อใหโปรแกรมติดตั้งชุดคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุด (ดวยวิธี linear programming ,

Solver Add-Ins)

6. โปรแกรมจะเขาสูเมนูหลัก

ความตองการระบบ หนวยประมวลผลกลาง (CPU) : PentiumIII หรือสูงกวา

หนวยความจํา (RAM) : อยางนอย 16 MB

ฮารดดิสก (HD) : ตองการพื้นที่อยางนอย 1.8 MB

โปรแกรมสนับสนุน (Software) : วินโดวสไทย 98, 2000, XP หรือสูงกวา

และ Microsoft Excel 2000, XP หรือสูงกวา ผูพัฒนาโปรแกรม รศ.ดร. วิโรจน ภัทรจินดา : ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร ขอนแกน 40002

ผศ.ดร. มนตชัย ดวงจินดา : ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร ขอนแกน 40002

Page 10: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

10

ภาคที่หนึ่ง: การคํานวณความตองการโภชนะและการจัดการอาหาร

Page 11: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

11

การคํานวณความตองการโภชนะและการจัดการอาหาร

ในการจัดการเลี้ยงโคนมทุกรุนทุกระยะ ความจําเปนที่สุดที่จะทําใหฟารมประสบผลสําเร็จหรือไมคือ เรา

ตองทราบวาโคนมของเรามีความตองการอาหารอะไร ปริมาณเทาไรและจัดการใหอยางไร ดังนั้นผูใชตองเริ่ม

คํานวณหาความตองการโภชนะของโคนมเปนอันดับแรกกอน สําหรับโปรแกรม เคซีเอฟ2006 คํานวณความตองการ

โภชนะของโคในแตละรุนแตละอายุโดยอางอิงฐานขอมูลจาก Nutrient Requirements of Dairy Cattle 6th ed 1989

(NRC, 1989) ถึงแมวาปจจุบันมีการตีพิมพ NRC 2001 แลว แตคาความตองการโภชนะในโคสวนใหญยังใกลเคียง

เดิม และสามารถใชไดดี แตผูใชตองเขาใจถึงความแตกตางในการเลี้ยง ปริมาณน้ํานมและขนาดน้ําหนักตัวโค ของ

ตางประเทศกับโคนมไทยซึ่งยังตางกันอยูมาก เมื่อผูใชไดความตองการอาหารของโคนมแลว จึงจําเปนตองมีการปรับ

ใชใหเหมาะสมกับสภาพประเทศไทยหรือสอบถามผูมีความชํานาญดานอาหารสัตวกอน กอนนําไปออกสูตรอาหาร

ราคาต่ําสุดตอไป Tip: ถานําความตองการโภชนะไปออกสูตร

อาหารโดยตรง จะเปนอยางไร?

## ก็ไดสูตรอาหาร ที่อาจจะมีปริมาณโภชนะ

เกินความตองการอาหารของโคนมไทย

คลิกปุม การหาความตองการอาหารโคนม

จากจอภาพจะปรากฏกลองขอความแสดงประเภทของโค (รูปที่3) ใหเลือกวาตองการคํานวณความ

ตองการโภชนะของโคประเภทใด ความตองการโภชนะของโคนมจะขึ้นอยูกับอายุหรือประเภทโค น้ําหนักของตัวโค

และในกรณีที่เปนโครีดน้ํานมน้ํานมก็จะตองการขอมูลเฉพาะดานการใหน้ํานมเพิ่มอีก ขอสังเกตการคํานวณความ

ตองการโภชนะของโค จะอางอิงในรูปน้ําหนักอาหารแหง (100% Dry matter) เปนหลัก ทั้งนี้เพราะอาหารที่โคกิน

จริง จะมีความแตกตางกันมากตั้งแตหญาสด หญาหมัก หญาแหง และอาหารขน ปริมาณความตองการโภชนะของ

โคตอวัน จึงมีความสัมพันธอยางยิ่งระหวางปริมาณสิ่งแหงที่กิน ซึ่งจะมีผลกระทบตอการใหผลผลิตตอไป

รูปที่ 3

Page 12: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

12

1. การหาความตองการโภชนะของโครีดนม

คลิกปุม โครีดน้ํานมและโคพักรีดน้ํานม เมื่อเขาสูโปรแกรมยอยจะปรากฏหนาตางขอความใหเลือกเติมตัวเลขขอมูลลงในชองวาง (รูปที่4)

เพื่อที่โปรแกรมจะนําขอมูลไปคํานวณเปรียบเทียบความตองการโภชนะของโคตอไป โดยลักษณะขอมูลที่ตอง

กรอกจะขึ้นอยูกับวาเปนโครีดน้ํานมหรือโคพักรีดน้ํานม

ผูใชตองกรอกขอมูลในชองสีเทาเทานั้น หลังจากกรอกขอมูลเสร็จในแตละขั้น จะเลื่อนขึ้น-ลงในชอง

ตอไป โดยกด “enter” หรือกด “ลูกศรขึ้น-ลง” ผูใชสามารถเปลี่ยนแปลงขอมูลกลับไป-มาไดตลอด ขณะที่ยังอยู

ในหนายอยอยู แตหากตองการเลื่อนกลับไป-มาระหวางชองหนาตางอื่นๆ ใหใชชุดลูกศรที่มุมขวาบนของชอง

หนาตางเทานั้น เมื่อกรอกขอมูลเสร็จจะดําเนินการคํานวณในขั้นตอไป โดยกดปุม “ขั้นที่ 2”

รูปที่ 4

ตัวอยาง

โคนมน้ําหนัก 520 กก. ใหน้ํานมเฉลี่ย 15 กก.ตอวัน ไมตองการใหโคเพิ่มน้ําหนักตัว และผลวิเคราะหน้ํานมมีไขมนั 3.8%

โคนมตัวนี้ตองกินปริมาณส่ิงแหงและมีความตองการโภชนะตอวันเทาใด? 1.1 เลือกประเภทของโค

เนื่องจากโปรแกรมจะไดคํานวณความตองการโภชนะตามประเภทโคที่รีดหรือโคพักรีดน้ํานม ซึ่งมี

ความตองการแตกตางกัน ดังนั้นเพื่อใหโปรแกรมคํานวณถูกตองจึงตองระบุแยกประเภทโคโดย

Page 13: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

13

* ถาเปนโครีดน้ํานม ใหเติมหมายเลข “1” ในชองกรอกขอมูลสีเทา

* ถาเปนโคพักรีดน้ํานม ใหเติมหมายเลข “0” ในชองกรอกขอมูลสีเทา

ก) โครีดน้ํานม: เติมเลข 1 แลวกดลูกศรลงไปที่ชองตอไป

1.2 น้ําหนักตัวโค

ทั้งโครีดน้ํานมและโคพักรีดน้ํานมจะเปนโคที่เจริญเติบโตจนเกือบเต็มที่ และ/หรือมีการเพิ่มน้ําหนักตัว

อีกเล็กนอยโคในกลุมนี้จึงไดกําหนดน้ําหนักรางกายในชวง 400-800 กิโลกรัม ผูใชจึงตองเลือกใชน้ําหนักตัว

โคอยูในเกณฑดังกลาว โปรแกรมจะไมทําการคํานวณใหในกรณีที่กรอกขอมูลต่ําหรือสูงเกินที่กําหนดไวให

ข) เติมเลขน้ําหนกัโค 520 กก. แลวกดลูกศรลงไปที่ชองตอไป

1.3 น้ํานมเฉล่ีย

ในกรณีโครีดน้ํานมใหเตมิตัวเลข “กิโลกรัมน้ํานม” ลงในชองวาง ในกรณีโคพักรีดน้ํานมชองวางนี้ใหเติมเลข “0” (หากเติม กก.น้ํานม โปรแกรมก็จะ

ไมนํามาคํานวณ)

น้ํานมเฉล่ียหมายถึง ปริมาณน้ํานมที่คาดวาโคจะผลิตไดตอวัน คาของน้ํานมเฉลี่ยอาจเปนคาจาก

โคตัวเดียว หรือเปนคาเฉล่ียของโคทั้งกลุมก็ได เชน โคใหผลผลิตน้ํานมปานกลาง มีคาเฉลี่ยน้ํานม 14 กก./

ตัว/วัน เปนตน ขอสังเกตหากใชคาน้ํานมเปนคาเฉล่ียของกลุมโค ผูใชควรปรับเพิ่มกิโลกรัมของน้ํานมขึ้นอีก

เพื่อใหครอบคุมโคทั้งฟารม หรือเพื่อใหครอบคลุมโคที่ใหน้ํานมมากเกินคาเฉลี่ยของฝูง ไมเชนนั้นโคเหลานี้

เมื่อกินอาหารแลวผลผลิตน้ํานมอาจลดลงได อนึ่งโปรแกรม เคซีเอฟ จะมีการคํานวณปรับตัวเลขน้ํานมให

เปนตัวเลขน้ํานมมาตรฐานที่ระดับไขมัน 4% (4% fat corrected milk, FCM) ใหดวยในชองดานขวา เพื่อ

ใชเปนตัวเปรียบเทียบตอไป

สูตร กิโลกรัมน้ํานมที่มาตรฐานไขมัน 4% (FCM) = 0.4(กก.น้ํานม) + 15 (กก.ไขมัน)

ค) เติมตัวเลขน้ํานม 15 กก. แลวกดลูกศรลงไปที่ชองตอไป

Page 14: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

14

1.4 น้ําหนักตัวเพ่ิม/ลด ถาโคมีการเจริญเติบโตเพิ่มน้ําหนักตัว ใหเติมตัวเลขน้าํหนักเพิ่มในชองน้ําหนักเพิ่ม ถาโคมีลดน้ําหนักตัวลดลง ใหเติมตัวเลขน้ําหนักลดลงในชองน้ําหนักลด โครีดน้ํานมที่อยูในชวงแรกของการใหผลผลิต (Early lactation) มักมีน้ําหนักตัวลดลง จากการที่โคมี

การดึงเอาสารอาหารที่สะสมไวในรางกายมาผลิตเปนน้ํานม เพื่อชดเชยความตองการตอวัน ดังนั้นความ

ตองการอาหารที่จะกินเขาไปจึงลดลงผันแปรตามเลขน้ําหนักที่ลดลง ในทางตรงขามโครีดน้ํานมระยะกลาง

การใหน้ํานม (Mid lactation) จะมีการเพิ่มน้ําหนักตัว โคจึงมีความตองการสารอาหารที่จะกินเขาไปเพิ่มขึ้น

ตามสัดสวนน้ําหนักที่เพิ่มขึ้น

อนึ่งโครีดน้ํานมที่พึ่งใหน้ํานมในปที่หนึ่งหรือสองจะยังมีความตองการในการเจริญเติบโตทางดาน

รางกายอีก ในการคํานวณสูตรอาหารใหแกโคกลุมนี้ จะตองจัดใหมีปริมาณโภชนะเพียงพอตอการใหทั้ง

ผลผลิตน้ํานม และเพื่อเพิ่มการเจริญเติบโตดวย ซึ่งโคเหลานั้นควรมีอัตราการเจริญตั้งแต 0-0.9 กก./ตัว/วัน

เชน โคทองแรกน้ําหนักตัว 450 กก. ตองการใหเจริญเติบโตวันละ 300 กรัม หรือ 0.3 กก./วัน เปนตน

ในทางตรงกันขามโคที่มีอายุมากบางกลุมอาจอวนมาก จนเกินพอดี ซึ่งจะทําใหมีปญหาอวนมาก น้ํานม

นอย จึงควรลดน้ําหนักตัวโคลง ซึ่งทําได 2 ทาง คือ จํากัดปริมาณอาหารที่ใหตอวัน หรือออกสูตรอาหารใหมี

ความเขมขนของโภชนะลดลง โปรแกรมจะสามารถปรับลดความเขมขนโภชนะตามสัดสวนน้ําหนักตัวที่

ลดลงใหไดโดยการเลือกกําหนดเกณฑน้ําหนักตัวที่ลดลง เกณฑตั้งแต 0-1 กก./ตัว/วัน ขณะเดียวกัน

บางครั้งผูใชอาจตองการใหโคนมมีการรักษาน้ําหนักรางกายไมเปล่ียนแปลงก็ไมจําเปนตองเติมตัวเลขลงใน

ชองวาง

ค) เติมตัวเลข 0 กก. ลงในทั้งสองชองเพราะไมตองการเปลี่ยนแปลงน้ําหนัก แลวกดลูกศรลงไปที่ชองตอไป

1.5 เปอรเซ็นตไขมัน

ใหเติมตัวเลขเปอรเซ็นตไขมันในชอง “% ไขมัน” ในกรณีเปนโคพักรีดน้ํานมใหเติมตัวเลข 0 ในชอง “% ไขมัน” ความตองการโภชนะของโครีดน้ํานม จะมีความสัมพันธอยางใกลชิดกับสัดสวนของเปอรเซ็นตไขมัน

นม โคนมที่มีเปอรเซ็นตไขมันมากก็มีความตองการโภชนะสูง โดยทั่วไปโคนมจะมีเปอรเซ็นตไขมันอยู

ระหวาง 3.0-5.5 แตผูเล้ียงโคนมควรนําน้ํานมดิบของตนเองสงไปตรวจหาเปอรเซ็นตไขมันดวยเพื่อจะไดมี

ความแมนยําในการหาความตองการโภชนะของโคนมตนเอง

Page 15: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

15

จ) เติมตัวเลขเปอรเซ็นตไขมนั 3.8% แลวกดปุมคํานวณความตองการโภชนะ(ขั้น2)

1.6 การคํานวณ คลิกปุมคํานวณความตองการโภชนะ เมื่อกดปุมคํานวณผลโปรแกรมจะทําการคํานวณความตองการโภชนะ(รูปที่5,6) และแสดงผลในรปู

ปริมาณส่ิงแหงที่กิน (DM), ความตองการพลังงาน TDN และ NEL ความตองการโปรตีน (CP) แคลเซียม

(Ca) ฟอสฟอรัส (P) เยื่อใยหยาบ (CF) เยื่อใยในรูป ADF เยื่อใยในรูป NDF ไวตามินเอ และดี

รูปที่ 5

อยางไรก็ตามโปรแกรม เคซีเอฟ มีความสามารถพิเศษในการปรับเปล่ียนความตองการโภชนะไปเปนสูตร

อาหารรวม (Total mix ration, TMR) หรือไปเปนสูตรอาหารขน (Concentrate ration) ไดโดยอัตโนมัติขึ้นกับ

วิธีการเลี้ยงหรือรูปแบบการใหอาหารหยาบ

- ถาผูใชไมเลือกชนิดและปริมาณอาหารหยาบ โปรแกรมจะแสดงผลเปนสูตรอาหารรวม (TMR)

- ถาผูใชเลือกชนิดและปริมาณอาหารหยาบ โปรแกรมจะแสดงผลเปนสูตรอาหารขน

อยางไรก็ตามรายละเอียดการออกสูตรอาหาร ใหศึกษาจากวิธีการออกสูตรอาหารในภาคที่สอง

Page 16: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

16

รูปที่ 6.1

1.7 ตารางรายงานผลความตองการโภชนะของโค

โปรแกรมจะประมวลผลความตองการโภชนะ และแสดงผลแบงออกเปน 3 ตารางยอยในหนึ่งชอง

หนาตางของจอภาพ(รูปที่6.1)

ตารางแสดงโภชนะ (ตารางบน) จะแสดงผลเปนความตองการโภชนะตอวันและสูตรอาหารรวม

(Total Mix Ration, TMR) หรืออาจแสดงเปนสูตรอาหารขนทั้งนี้ขึ้นอยูกับตารางที่สอง (ลางซาย) ผูใชจึง

ตองตัดสินใจวาตนเองจะออกเปนสูตรใด ถาตองการออกเปนอาหารสูตรรวมTMR(รูปที่5) ผูใชไมตองเลือก

แหลงอาหารหยาบใดๆ ในขั้นตอนนี้ แตใหไปเลือกชนิดและปริมาณอาหารหยาบเมื่อเริ่มทําการออกสูตร

อาหารที่ราคาต่ําสุด (ภาคสอง) ในทางตรงขามหากตองการออกเปนสูตรอาหารขน(รูปที่6) ผูใชตองไปกรอก

ขอมูลเพิ่มเติมในตารางลางซายมือ

ตารางอาหารหยาบ (ตารางลางซายมือ) ประกอบดวย 3 ชองคือ ชองแสดงชนิดวัตถุดิบอาหาร ชอง

แสดงปริมาณที่ใหกินสด และชองแสดงน้ําหนักแหงของอาหาร จะเปนการบอกใหโปรแกรมทราบวาเราจะ

ใหโคกินอาหารหยาบชนิดใดบาง (เลือกไดไมเกิน 5 ชนิด) และแตละชนิดจะกําหนดปริมาณใหกินสดเทาไร

Page 17: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

17

(ตองระบุ) ซึ่งโปรแกรมจะไดนําปริมาณโภชนะที่ไดจากอาหารหยาบไปคํานวณเปนสูตรอาหารขนตอไป ซึ่ง

มีวิธีการคือ

1) ผูใชตองกําหนดชนิดอาหารโดยเลือกคลิกจากปุมชวยเหลือในชองแรก โปรแกรมจะแสดง

รายการชื่อวัตถุดิบ และใหคลิกเอาเฉพาะที่เปนกลุมอาหารหยาบเทานั้น เชน หญาสด หญาแหง ซังขาวโพด เปน

ตน เมื่อเลือกแตละชื่อแลว

2) จะตองกรอกปริมาณของอาหารหยาบที่จะใหโคกินในรูปน้ําหนักสด วาใหกินเทาไรตอตัวตอวัน

เชน ใหหญาสด 22 กก.ตอตัวตอวัน และใหหญาแหง 2 กก. เปนตน จากนั้นโปรแกรมจะคํานวณในรูปน้ําหนัก

แหงใหทันทีในชองตอไป

เมื่อกรอกขอมูลอาหารหยาบเสร็จ จะสังเกตเห็นวาตารางโภชนะตารางบนในบรรทัดลางสุด

โปรแกรมจะเปลี่ยนจากการแสดงผลสูตรอาหารรวม TMR มาเปนสูตรอาหารขน ซึ่งผูใชจะนําไปออกสูตรอาหาร

ขนในขั้นตอไป

ตารางการกินรวม (ตารางลางขวามือ) โปรแกรมจะคํานวณสรุปปริมาณอาหารที่คาดวาโคจะกินอาหาร

ไดตอวัน ในรูปแบบตางๆ ซึ่งถือเปนตารางสรุปรวมของโคนม คือในรูปน้ําหนักแหง (Dry Matter, DM) เปอรเซ็นต

ของน้ําหนักโค เปอรเซ็นตของ NDF และน้ําหนักสด (As fed) ซึ่งโคจะไดกินอาหารขนเทาไร อาหารหยาบเทาไร

และผูใชสามารถใชขอมูลของน้ําหนักแหงนี้เพื่อตรวจสอบวาโคไดรับสัดสวนของอาหารขนตออาหารหยาบ

ถูกตองไหม (R:C ratio) รวมทั้งสามารถตรวจสอบความถูกตองตางๆ ไดวาตรงตามที่ผูใชตองการหรือไม เพราะ

สัดสวนดังกลาวจะมีผลตอสุขภาพและองคประกอบของน้ํานมโค

1.8 ประเภทของความตองการโภชนะในโค1.8.1 สวนความตองการโภชนะตอวัน (ตารางแสดงโภชนะ) รูปที่5 หรือ6 แถวบน

โปรแกรมจะแสดงรายการโภชนะ 5 ชนิด และปริมาณความตองการกินส่ิงแหง ซึ่งผูใชตองสังเกต

หนวยที่ใชกํากับในแตชองดวย เพราะคาตางๆ จะมีผลตอการคํานวณสูตรอาหาร 1.8.2 ปริมาณการกินส่ิงแหง (Dry matter intake, DMI)

ปริมาณส่ิงแหงหรือปริมาณวัตถุแหงคือ เนื้อของอาหารที่คงอยูหลังจากระเหยน้ําออกไปหมด หรือ

เนื้ออาหารหลังจากหักความชื้นออกไปหมดแลว โดยคิดเปนรอยละของน้ําหนักแหง (100% Dry

matter, DM) สวนปริมาณส่ิงแหงที่ใหโคกินตอวันเรียกวา Dry matter intake (DMI) การคํานวณ

อาหารโคนิยมคํานวณในรูปส่ิงแหงเพราะอาหารโคมีความแตกตางกัน ตั้งแตหญาสด ถึงหญาแหง

หรือกากเบียรสดถึงกากเบียรแหง เปนตน การคิดในรูปน้ําหนักแหงจึงดีกวาและไมสับสน อยางไรก็

Page 18: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

18

ตามผูใชจะเห็นวาตัวเลขที่แสดงในชองความตองการตอวันของสิ่งแหงก็คือ กิโลกรัมของอาหารที่โค

ตองการกินตอตัวตอวัน

1.8.3 คาพลังงานที่ตองการตอวัน

คาพลังงานที่โปรแกรมแสดงออกมามีอยู 2 รูปแบบ คือ NEL และ TDN โดยคาNEL (Net Energy

for Lactation) คือพลังงานสุทธิสําหรับการผลิตน้ํานม มีหนวยเปน แม็กกะแคลอรี (Mcal) หรืออาจ

แสดงในรูป Mcal/kg ของอาหารแหง (สูตรอาหาร) เปนคานิยมใชกันมากขึ้นเพราะแสดงถึงความ

ตองการพลังงานสําหรับโครีดที่ตองการเพื่อการดํารงชีพและเพื่อการใหน้ํานมในเวลาเดียวกัน แต

สําหรับประเทศไทยอาจหาขอมูลไดยากบาง เพราะยังเปนเรื่องใหม 1.8.4 ทีดีเอ็น (Total Digestible Nutrients, TDN)

ทีดีเอ็น (TDN) คือพลังงานยอยไดรวม เปนคาที่ใชกันมาแตเดิม และปจจุบันก็ยังนิยมใชอยู แมวา

คาตัวเลขจะเปนความตองการพลังงานรวม ซึ่งอาจไมตรงกับความตองการโคนมแทจริง เพราะการ

คํานวณอาจใหคาเกินความจริงอยูบาง โดยเฉพาะคา TDN ที่ไดจากวัตถุดิบเศษเหลือทางการเกษตร

และการเปรียบเทียบคา TDN ควรเปรียบเทียบกับอาหารที่มีลักษณะเชนเดียวกันเชนอาหารหยาบ

ดวยกัน คานี้มีหนวยเปนกิโลกรัม และเปนคาเปอรเซ็นตเมื่อคํานวณเปนสูตรอาหาร 1.8.5 โปรตีน (Crude protein, CP)

โปรตีนคือคาโปรตีนรวมหรืออาจเรียกวาโปรตีนหยาบ คานี้มีคุณสมบัติเชนเดียวกับ TDN คือถา

ผูใชคํานวณตามระบบ CP ก็มีโอกาสที่จะไดปริมาณโปรตีนเกินความตองการโคได CP เปนคาความ

ตองการโปรตีนรวมของโคมีหนวยเปนกรัม หรือคิดเปนคาเปอรเซ็นตของสูตรอาหาร ปจจุบันเริ่มมีการ

ประเมินโปรตีนในระบบ ruminally degradable protein (RDP) และ ruminally undegradable

protein (RUP) ซึ่งระบบใหมจะชวยใหการคํานวณความตองการโภชนะและการออกสูตรอาหารไดตรง

ตามความตองการโคมากขึ้น 1.8.6 แคลเซียมและฟอสฟอรัส (Calcium, Ca; phosphorus, P)

คาความตองการแคลเซียมและฟอสฟอรัสของโคนมจะมีหนวยเปนกรัมหรือมีหนวยเปนเปอรเซ็นต

ในสูตรอาหาร จะเปนคาความตองการใชประโยชนไดจริง แตในวัตถุดิบอาหารสัตวที่เลือกใชมักจะ

แสดงเปนคารวมของแคลเซียม ฟอสฟอรัสที่อยูในรูปที่ยอยไดและยอยไมได ผูใชตองพิจารณาใน

ประเด็นนี้ดวยวา วัตถุดิบแตละตัวมีคาที่ยอยไดหรือใชประโยชนไดจริงเทาไร 1.8.7 เยื่อใยหยาบ (crude fiber, CF)

คาเยื่อใยหยาบมีหนวยเปนกิโลกรัมของความตองการหรือเปนคาเปอรเซ็นตในสูตรอาหาร โคนมมี

ความตองการเยื่อใยมากเพื่อชวยกระตุนการเจริญเติบโตของจุลินทรียและในการรักษาสมดุลยใน

Page 19: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

19

กระเพาะอาหารโคเอง การคํานวณสูตรอาหาร TMR หรืออาหารขน จะตองใหมีสัดสวนของปริมาณ

เยื่อใยใหพอเพียงตอความตองการ อยางไรก็ตามวัตถุดิบอาหารในประเทศไทยจะคอนขางมีเยื่อใยสูง

แตการยอยไดต่ํา ซึ่งจะมีผลตอการกินไดและอัตราการยอยได ผูใชจึงตองจัดใหพอเพียง 1.8.8 เยื่อใยเอดีเอฟ (acid detergent fiber, ADF)

คา ADF มีหนวยเปนกิโลกรัม หรือคิดเปนเปอรเซ็นตในสูตรอาหาร ADF จะแสดงสวนของเยื่อใยที่

ยังคงเหลืออยูไมละลายหลังจากผานสารละลายกรด มีองคประกอบของคารโบไฮเดรทที่สําคัญคือ

เซลลูโลส (cellulose) ลิกนิน (lignin) และเถาที่ไมละลาย (insoluble ash) คา ADF จะแตกตางจากคา

CF ตรงที่คา ADF จะรวมถึงปริมาณซิลิกา (silica) ซึ่งปริมาณลิกนินและซิลิกาในพืชจะมีคาสัมพันธ

ในทางลดอัตราการยอยได หรือกลาวไดวาพืชหรืออาหารที่มีคา ADF ต่ําจะมีอัตราการยอยไดสูงขึ้น 1.8.9 เยื่อใยเอ็นดีเอฟ (neutral detergent fiber, NDF)

คา NDF อาจมีหนวยเปนกิโลกรัม หรือคิดเปนเปอรเซ็นตในสูตรอาหาร NDF จะแสดงสวนของเยื่อ

ใยที่เปนเฮไมเซลลูโลส (hemicellulose) เซลลูโลส (cellulose) ลิกนิน (lignin) ลิกนินที่มีไนโตรเจน

(lignin N) และเถาที่ไมละลาย (insoluble ash) องคประกอบเหลานี้จะไมละลายในสารทําละลายที่

เปนกลาง คา NDF จะสัมพันธกับการกินอาหารของโค นั่นคือถามี NDF ต่ําโคจะกินไดมากนั่นเอง 1.8.10 ไวตามินเอ

คาไวตามินเอจะแสดงในหนวย International unit, IU ซึ่งคาที่แสดงในความตองการตอวันตอง

คูณดวย 1000 จึงจะเปนความตองการจริง แตในการคิดเปนสูตรอาหารและแสดงในรูป คาไวตามินเอ

x 1000 IU/kg อาหารแหง 1.8.11 ไวตามินดี

คาไวตามินดีจะแสดงในหนวย International unit, IU ซึ่งคาที่แสดงในความตองการตอวันตอง

คูณดวย 1000 จึงจะเปนความตองการจริง แตในการคิดเปนสูตรอาหาร จะแสดงในรูปคาไวตามินดี x

1000 IU/kg อาหารแหง

1.9 การพิมพผล

คลิกปุมพิมพผล (กดปุมที่มุมขวาบนของจอภาพ) โปรแกรมจะแสดงผลรายการความตองการโภชนะโคออกมา จะมีรายละเอียดเชนเดียวกับที่เห็นบน

จอภาพ สําหรับรายละเอียดของผลจะแสดงออกเปน 3 สวนหลัก คือ สวนขอมูลโคนมและขอมูลความ

ตองการโภชนะที่จําเปน สวนรายการวัตถุดิบอาหารหยาบที่เลือกใช และสวนสรุปปริมาณการกินอาหารตอ

วันแยกเปนอาหารขน (คิดที่ความชื้น 12%) และอาหารหยาบ

Page 20: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

20

1.10 การปรับคากิโลกรัมการกินอาหารขน

รูปที่ 6.2

ในโปรแกรมนี้เราสามารถปรับคากิโลกรัมการกินอาหารขนใหตรงกับการกินไดของโคในฟารม ทั้งนี้

เพราะบอยครั้งที่การคํานวณความตองการอาหารจะสัมพันธกับกิโลกรัมอาหารที่โคกินได ซึ่งโปรแกรมจะคํานวณไว

ใหโดยอัตโนมัติ พรอมแจงคาเปอรซ็นตโภชนะที่เราจะนําไปออกเปนสูตรอาหารขนตอไป ดังตัวอยางในรูปที่ 6.1, 6.2

โปรแกรมจะคํานวณใหวาโคตัวนี้จะตองกินอาหารขนเปนจํานวน 6.77 กิโลกรัม โดยสูตรอาหารขนคือจะมีคาโภชนะ

ทีดีเอ็น 64.83% และมีคาโปรตีนเปน 17.38% เปนตน ลักษณะเชนนี้เราจะพบวาบางโคในฟารมอาจมีการกินอาหาร

ขนมากหรือนอยกิโลกรัมกวานี้ ซึ่งเราจะปรับสูตรอยางไร วิธีที่งายของโปรแกรมคือผูคํานวณใหกลับมาดูในรูปที่ 6.2

จะเห็นวามีชองใหเติมตัวเลขการกินอาหารเพื่อใหปรับสูตรอาหารขนได ตัวอยางเชนหากเราโคนมของเรากินอาหาร

อยูที่ระดับ 6 กิโลกรัมตอตัวตอวัน เราก็เพียงเปลี่ยนตัวเลขในชองสีเทาดานลางที่เขียนวาชองน้ําหนักแหง เปนเลข 6

กิโลกรัม จากนั้นเครื่องจะคํานวณคาโภชนะในสูตรอาหารที่ตองปรับปรุงใหมไดเปน มีคาทีดีเอ็น 73.12% และคา

โปรตีน 19.6 % เปนตน ซึ่งหากเทียบกับรูป 6.1 คาที่ไดใหมจะเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะโคกินอาหารขนนอยลง ความเขมขน

ของสูตรอาหารขนจึงตองมีมากขึ้น หากเราพอใจในคาตัวเลขใหมนี้เราก็เพียงจดคาตัวเลขที่เราไดใหมนี้ใสกระดาษไว

เพื่อเอาไวไปแกไขเมื่อเราจะออกสูตรอาหารจริงขนจริงในภาคที่สอง

Page 21: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

21

2. การคาํนวณความตองการโภชนะในลูกโคนม

คลิกปุมลูกโคแรกเกิดถึงหยาน้ํานม (รูปที่ 3) เมื่อเขาสูโปรแกรมยอย(รูปที่7) ผูใชจะตองใสขอมูล 2 สวน (ในขัน้ที่ 1) คือ ขอมูลน้ําหนักของโค และขอมูล

ปริมาณน้ํานมดิบหรือน้ํานมเทียมที่ใหลูกโคกิน

รูปที่ 7

2.1 น้ําหนักลูกโคน้ําหนักลูกโคที่โปรแกรมจะคํานวณขอมูลใหควรมีน้ําหนักอยูในเกณฑ 25-100 กิโลกรัม ซึ่งเปนระยะที่

ลูกโคแรกเกิดถึงระยะหยานมถาลูกโคมีน้ําหนักโตกวานี้ ควรคํานวณในสถานะภาพโครุน อนึ่งโปรแกรมจะ

กําหนดอัตราการเจริญเติบโตตอตัวตอวันใหโดยอัตโนมัติ ซึ่งเกณฑการเจริญเติบโตนี้จะใชเกณฑมาตรฐาน

ทั่วไป 2.2 ปริมาณน้ํานมที่ใหเสริม

ขอมูลของปริมาณน้ํานมที่ใหแกลูกโคจะเปนขอมูลที่โปรแกรมจะนําไปคํานวณ หักออกจากความ

ตองการตอวัน เพื่อใหผูใชทราบวาจะตองเพิ่มอาหารขนขึ้นอีกเทาใดจึงจะเพียงพอและเหมาะสมกับปริมาณ

น้ํานมดิบที่ใหแกลูกโคแลว อนึ่งหากตัวเลขของความตองการในอาหารขนมากเกินความเปนจริง เชนลูกโค

มีความตองการพลังงานมาก ผูเล้ียงจะตองเพิ่มปริมาณน้ํานมดิบขึ้นอีกก็จะสามารถแกไขปญหา เร่ืองความ

ตองการพลังงานในอาหารของลูกโคได หากไดคาติดลบ แสดงวาเราใหลูกโคกินน้ํานมดิบแตเพียงอยาง

เดียวก็พอแลว

Page 22: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

22

2.3 การคํานวณความตองการโภชนะ ใหคลิกปุม คํานวณความตองการโภชนะ เมื่อกรอกขอมูลน้ําหนักตัวโคและปริมาณน้ํานมที่ใหเสริมแลว หลังจากนั้นเครื่องจะแสดงผลความ

ตองการโภชนะของลูกโคทางจอภาพ(รูปที่ 8) ซึ่งเราจะใชขอมูลนี้ในการนําไปออกสูตรอาหารขนสําหรับลูก

โคตอไปในภาคที่สอง และหากตองการพิมพผลก็ใหคลิกปุมพิมพผล ที่มุมขวาดานบนของจอภาพ โปรแกรม

จะรายงานผลของมาภายใน 1 หนากระดาษ

รูปที่ 8

Page 23: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

23

3. การคาํนวณความตองการโภชนะของโครุน

คลิกปุม โครุนและโคผสมพันธุ (รูปที่ 3) โปรแกรมจะแสดงสวนของขอมูลที่ผูใชจะตองกรอกขอมูล คือ สวนของประเภทโค สวนของน้ําหนักตัวโค

และสวนของน้ําหนักเพิ่ม (รูปที่ 9) 3.1 เลือกเพศโครุนผูใชตองกําหนดวา จะคํานวณหาความตองการโภชนะของโคสาว หรือโคเพศผู โดยเลือก

ถาเลือกโคสาว ใหพิมพ 1

ถาเลือกโคเพศผู ใหพิมพ 0

น้ําหนักตัวโคสาวจะเปนโคที่มีน้ําหนักตัวอยูในชวง 100-450 กิโลกรัม และโคเพศผผูจะมีน้ําหนักอยูในชวง

100-600 กิโลกรัม ถาน้ําหนักที่ต่ํากวาหรือเกินนี้ผูใชตองคํานวณในระยะอื่นของโค

รูปที่ 9

3.2 น้ําหนักเพิม่เนื่องจากโครุนเหลานี้จะตองมีการเจริญเติบโต ผูใชจึงตองกําหนดอัตราการเจริญเติบโตที่ตองการ เพื่อ

โปรแกรมจะไดคํานวณความตองการโภชนะใหสอดคลองกับอัตราการเจริญเติบโตตอไป อนึ่งการเรงอัตราการ

เจริญเติบโตจะสัมพันธกับความเขมขนของอาหารที่จะเพิ่มขึ้น รวมถึงราคาอาหาร

ในโคสาวกําหนดใหมีการเจริญเติบโต 300-700 กรัม/วัน ในโคหนุมกําหนดใหมีการเจริญเติบโต 400-800 กรัม/วัน

Page 24: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

24

3.3 การคํานวณความตองการโภชนะของโครุน คลิกปุม คํานวณความตองการโภชนะ (ขั้นที่ 2) เมื่อคลิกปุมแลวโปรแกรมจะประมวลผลความตองการโภชนะ และแสดงผลแบงออกเปน 3 ตารางยอย

ในหนึ่งชองหนาตางของจอภาพซึ่งขึ้นกับวาจะออกสูตรอาหารแบบใด เชนเปนอาหารแบบสูตรรวม (รูปที่

10) หรือเปนสูตรอาหารขน (รูปที่11) แตโดยทั่วไปเพื่อเปนการลดทุนการผลิตเรามักเลี้ยงโครุนแบบใหอยู

บนแปลงหญาตลอดเวลา และเสริมอาหารขนใหตามความจําเปน

รูปที่ 10

รูปที่ 11

Page 25: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

25

3.4 ตารางแสดงความตองการโภชนะของโครุนตารางบนจะแสดงผลครั้งแรกเปนความตองการโภชนะของโครุนและสรุปเปนสูตรอาหารรวม (Total

Mix Ration, TMR) แตอาจแสดงเปนสูตรอาหารขนทั้งนี้ขึ้นอยูกับตารางที่สอง (ลางซาย) วาผูใชกําลัง

ตองการออกสูตรอาหารเปนสูตรอาหารประเภทใด ถาตองการออกสูตรอาหาร TMR ก็ไมตองเลือกแหลง

อาหารหยาบในขั้นตอนของตารางยอยดานลางซาย ใหไปออกสูตรอาหารราคาต่ําสุด (ภาคสอง)

แตหากตองการออกเปนสูตรอาหารขน เพื่อเอาสูตรไปคํานวณในขั้นตอไป ผูใชตองกรอกขอมูลเพิ่มเติม

ในตารางลางซาย เพื่อบอกใหโปรแกรมทราบวาเราจะใหโคกินอาหารหยาบประเภทใดบาง และแตละ

ประเภทจะกําหนดปริมาณใหกินสดเทาไร โปรแกรมจะไดนําไปหักคาที่คาดวาจะไดรับโภชนะบางสวนของ

แหลงอาหารหยาบนั้น ดังนั้นผูใชตองเลือกและกรอกขอมูลในชองสีเทา จากนั้นก็กรอกขอมูลจํานวน

กิโลกรัมที่ใหโคกินตอตัวตอวัน (กรณีปลอยโคอยูในแหลงหญาตลอดเวลา เราจะตองประมาณวาโคจะกิน

หญาสดไดวันละกี่กิโลกรัม ซึ่งอาจตองทดลองสุมชั่งน้ําหนักหญามาใหโคกิน วาตอวันจะกินไดเทาไร และ

ในแตละฤดูกาลโคก็จะกินอาหารไดไมเทากันดวย)

ตารางลางซายมือ (ใชสําหรับการจัดการใหอาหารแบบแยก) ผูใชตองกําหนดประเภทอาหารหยาบ

โดยเลือกคลิกจากปุมชวยเหลือ โปรแกรมจะแสดงรายการชื่อวัตถุดิบ ใหคลิกเลือกเอาเฉพาะที่เปนกลุม

อาหารหยาบเทานั้น เชน หญาสด หญาแหง ซังขาวโพด เปนตน

เมื่อเลือกแตละชื่อแลว จะตองกรอกปริมาณของอาหารหยาบที่จะใหโคกินในรูปน้ําหนักสด วาใหกิน

เทาไรตอตวัตอวัน เชน ใหหญาสด 18 กก.ตอตัวตอวัน เปนตน จากนั้นโปรแกรมจะคํานวณในรูปน้ําหนัก

แหงใหทันทีในชวงตอไป เมื่อกรอกขอมูลทั้งชนิดและจํานวนอาหารหยาบเสร็จ จะสังเกตเห็นวาตาราง

ดานบน ในแถวลางสุดโปรแกรมจะเปลี่ยนจากการแสดงผลอาหาร TMR มาเปนสูตรอาหารขนใหโดย

อัตโนมัติ ซึ่งผูใชจะนําไปออกสูตรอาหารขนในขั้นตอนตอไป

ตารางลางขวาเปนสรุปการกินอาหารของโค โปรแกรมจะคํานวณสรุปปริมาณที่คาดวาโคจะไดกิน

อาหารในรูปน้ําหนักแหง (Dry Matter, DM) และน้ําหนักสด (As fed) ตอหนึ่งวัน วาโคจะไดกินอาหารขน

เทาไร อาหารหยาบเทาไร ผูใชสามารถใชขอมูลของน้ําหนักแหงนี้เพื่อตรวจสอบวาโคไดรับสัดสวนของ

อาหารขนตออาหารหยาบถูกตองไหม เพราะจะมีผลตอสุขภาพโคนมและการเจริญเติบโต รวมถึงการให

ผลผลิตอื่นๆ

3.4.1 สวนความตองการพลังงาน

โปรแกรมจะแสดงตอความตองการพลังงานทั้งในรูปพลังงานสุทธิสําหรับดํารงชีพ (Net Energy

for Maintenance, NEM), พลังงานสุทธิสําหรับการเจริญเติบโต (Net Energy for Gain, NEG),

Page 26: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

26

พลังงานสําหรับกระบวนการเผาผลาญสารอาหารในรางกาย (Metabolize Energy, ME) พลังงานยอย

ไดรวม (Total Digestible Energy, TDN)

สําหรับคาพลังงานดังกลาว ผูใชจะตองเลือกใชใหเหมาะสมกับวัตถุดิบอาหารสัตวที่มีอยู หรือที่จะ

เลือกใชในกรณีนําไปคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุด (ภาคสอง)

3.4.2 ความตองการโปรตีน

โปรแกรมจะแสดงความตองการโปรตีนไวทั้งในรูปโปรตีนรวม (Crude Protein, CP) โปรตีนที่ไม

ยอยสลายในกระเพาะหมัก (Undegraded Intake Protein, UIP) โปรตีนที่ยอยสลายในกระเพาะหมัก

(Degraded Intake Protein, DIP)

3.4.3 ความตองการแรธาตุและไวตามิน

โปรแกรมจะแสดงผลเชนเดียวกับที่เคยกลาวมาแลว โดยมีหนวยเปนกรัม

3.5 การพิมพผล

คลิกปุมการพิมพผล ณ. ที่ตําแหนงขวามือดานบนของจอภาพ เครื่องพิมพจะพิมพความตองการของโครุนออกมาทาง

เครื่องพิมพ

Page 27: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

27

4. การคาํนวณหาความตองการโภชนะของโคพอพนัธุ

คลิกปุม โคพอพันธุ โปรแกรมจะแสดงหนาตาง โดยมีชองขอมูลใหผูใชกรอกเพียง 1 ชอง(รูปที่12) คือ ชองน้ําหนักตัวโค ซึ่งจะใช

น้ําหนักตัวโคตั้งแต 500 กิโลกรัมขึ้นไป อนึ่งชุดโปรแกรมของโคพอพันธุจะคํานวณความตองการโภชนะโดยกําหนดให

มีการเจริญเติบโตคงที่ไมมีการเพิ่มน้ําหนักตัว ดังนั้น จึงไมมีชองของการเพิ่มน้ําหนักตัวเขามาเกี่ยวของ ทั้งนี้เพราะพอ

พันธุควรเปนโคที่โตเต็มที่แลวและสภาพรางกายตองไมอวนหรือผอม

ในแงปฏิบัติผูใชเพียงเพิ่มหรือลดความตองการโภชนะ หรือเพิ่ม-ลดกิโลกรัมอาหารที่ใหโคกิน ซึ่งจะ

สามารถควบคุมน้ําหนักของโคพอพันธุได 4.1 การคํานวณหาความตองการโภชนะ

คลิกปุม คํานวณความตองการโภชนะ (ขั้นที่ 2) เมื่อกรอกขอมูลเสร็จแลว (ขั้น 1) ใหคลิกปุมคํานวณความตองการโภชนะตอไป

4.2 การแสดงผลการคํานวณ ชุดโปรแกรมจะแสดงผลการคํานวณออกมาในลักษณะเดียวกับการคํานวณในโครุนดังที่กลาวมาแลว

ซึ่งจะไดเปนอาหารสูตรรวม(รูปที่13) สูตรอาหารขน(รูปที่14) และสามารถพิมพผลออกทางเครื่องได

เชนเดียวกัน โดยกดปุมพิมพผล ที่ปุมมุมขวาบน

รูปที่12

Page 28: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

28

รูปที่13

รูปที่14

Page 29: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

29

5.การคํานวณหาความตองการโภชนะของโคพักรดีน้ํานม คลิกปุม โครีดน้ํานมและโคพักรีดน้ํานม (ชองเดียวกัน)

เมื่อเขาสูโปรแกรมยอยจะปรากฏหนาตางขอความใหเลือกเติมตัวเลขขอมูลลงในชองวาง(รูปที่15,16)

รูปที่ 16

5.1 เลือกประเภทของโค

เนื่องจากโปรแกรมจะไดคํานวณความตองการโภชนะตามประเภทโคที่รีดหรือโคพักรีดน้ํานม ดังนั้น

เพื่อใหโปรแกรมคํานวณถูกตองจึงตองระบุแยกประเภทโคโดย

* โคพักรีดน้ํานม ใหเติมหมายเลข “0” ในชองกรอกขอมูลสีเทา 5.2 น้ําหนักตัวโค ทั้งโครีดน้ํานมและโคพักรีดน้ํานมจะเปนโคที่เจริญเติบโตจนเกือบเต็มที่ และ/หรือมีการเพิ่มน้ําหนักตัว

อีกเล็กนอยโคในกลุมนี้จึงไดกําหนดน้ําหนักรางกายในชวง 400-800 กิโลกรัม ผูใชจึงตองเลือกใชน้ําหนักตัว

โคอยูในเกณฑดังกลาว โปรแกรมจะไมทําการคํานวณใหในกรณีที่กรอกขอมูลต่ําหรือสูงเกินที่

กําหนดไวให ในกรณีตัวอยางใหเติมคาน้ําหนักเปน 400 กก.ลงในชองสีเทา 5.3 น้ําหนักตัวเพ่ิม/ลด

ถาโคมีการเจริญเติบโตเพิ่มน้ําหนักตัว ใหเติมตัวเลขน้าํหนักเพิ่มในชองน้ําหนักเพิ่ม ถาโคมีลดน้ําหนักตัวลดลง ใหเติมตัวเลขน้ําหนักลดลงในชองน้ําหนักลด

ในโคพักรีดน้ํานมเราสามารถเพิ่มลดตัวเลขน้ําหนักไดขึ้นอยูกับเราตองการใหโคอวนหรือผอมลง ใน

ตัวอยางนี้ใหเติมชองเพิ่มน้ําหนักเปน 0.3 กก.หรือ300กรัมตอตัวตอวันนั่นเอง ลงเปนหนวยกิโลกรัม

Page 30: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

30

สวนชองสีเทาอื่นๆที่เหลืออยูก็ไมมีความจําเปนตองเติมเพราะเปนชองเติมสําหรับโครีดน้ํานม

เทานั้น จากตรงนี้ผูใชใหไปเลือกรายการคํานวณความตองการโภชนะ

5.4 การคํานวณหาความตองการโภชนะ

คลิกปุม คํานวณความตองการโภชนะ (ขั้นที่ 2) 5.5 การแสดงผลการคํานวณ ชุดโปรแกรมจะแสดงผลการคํานวณออกมาในลักษณะเดียวกับการคํานวณในโครุนเชนกัน ซึ่งจะไดเปน

อาหารสูตรรวม(รูปที่17) สูตรอาหารขน(รูปที่18) และสามารถพิมพผลออกทางเครื่องไดเชนเดียวกัน โดยกดปุมพิมพ

ผล ที่ปุมมุมขวาบน

รูปที่ 17

Page 31: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

31

รูปที่ 18

Page 32: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

32

ภาคที่สอง: การคํานวณสตูรอาหารราคาต่าํสุด

Page 33: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

33

การคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุด

ภาคที่สองนี้เปนสวนที่ผูใชจะนําขอมูลความตองการโภชนะของโคแตละประเภทจากที่ไดในภาคแรกมา

กําหนดเปนมาตรฐานการคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุดตอไป โดยใหเลือกในรายการการสรางสูตรอาหารราคา

ต่ําสุด(รูปที่19) และการคํานวณในภาคที่สองนี้ยังอางอิงในหนวยน้ําหนักแหง (Dry matter, DM) ยกเวนชวงพิมพผล

ทางเครื่องพิมพโปรแกรมจะแสดงผลสุดทายของสูตรอาหารทั้งในรูปน้ําหนักแหงและน้ําหนักสด (As Fed) เพื่อผูใชจะ

สะดวกในการนําไปผสมวัตถุดิบไดตรงตามสูตรอาหาร

รูปที่ 19

1. การสรางสูตรอาหารโคนม

คลิกปุม สรางสูตรอาหารราคาต่ําสุด

1.1 การเลือกรายการวัตถุดิบ

โปรแกรมจะแสดงหนาตางยอยใหเลือกรายการวัตถุดิบในสูตรอาหาร(รูปที่20) แตโปรแกรมจะยังคงแสดง

รายการวัตถุดิบครั้งสุดทายที่เคยเลือกไว หากตองการใชตอไป ใหกดปุม “ตกลง” หากตองการเปลี่ยนรายการวัตถุดิบ

ที่จะทําสูตรอาหารใหมหมด ใหกดปุม “สูตรใหม”

Page 34: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

34

รูปที่20

เมื่อเขาสูการผลิตสูตรใหม โปรแกรมมีขอความใหพิจารณา คือ

• ใหเลือกวัตถุดิบอาหารสัตวจากปุมตัวเลือกไดไมเกิน 20 รายการ โดยเลือกรายการ/รายชื่อวัตถุดิบอาหาร

จากปุมขวามือในแตละชอง ซึ่งเมื่อกดปุมแลว รายชื่อวัตถุดิบจะปรากฏโดยเรียงตามลําดับตัวอักษร ก ถึง ฮ หาก

ตองการวัตถุดิบตัวใดก็ใหเล่ือนแถบสวางไปที่ชื่อที่ตองการและกด คลิก 1 ครั้ง โปรแกรมจะทําการเลือกชื่อวัตถุดิบ

นั้นมาใหโดยอัตโนมัติ ตอไปผูใชก็ยายไปเลือกวัตถุดิบในชองตอไปเรื่อยๆ จนครบรายการที่ตองการ

• หลักการเลือกวัตถุดิบ จะตองเลือกใหมีแหลงวัตถุดิบครอบคลุมอยางนอย 3 แหลง คือ 1) แหลงโปรตีน 2) แหลงพลังงาน 3) แหลงแรธาตุ

• อยางไรก็ตาม ผูใชยังสามารถกลับมาเปลี่ยนวัตถุดิบที่เคยเลือกไปแลว เปล่ียนใหมไดตลอดเวลา ถายังไมได

กด “ตกลง” ทั้งนี้ผูใชอาจใชไมครบทั้ง 20 รายการก็ได หากผูใชกําหนดรายการแลวเสร็จใหคลิกปุม ตกลง เพื่อ

โปรแกรมจะดําเนินการตอไป (รูปที่21) 1.2 การแกไข/เพ่ิมเติมรายการและราคา

หลังจากเลือกแลว (กดปุม “ตกลง”) โปรแกรมจะออกจากหนาตางยอย และแสดงรายการรวมของวัตถุดิบ

ทั้งหมดที่เราเลือกไว ผูใชยังสามารถแกไขไดโดย 1) เพิ่ม-ลด ชื่อวัตถุดิบ จากปุมเลือกดานลาง หรือ

2) ยกเลิกเปล่ียนสูตรใหม จากปุมลางแกไขรายการวัตถุดิบ

Page 35: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

35

3) แกไขขีดจํากัดปริมาณการใชต่ําสุด-สูงสุด ในสูตรอาหาร (คิดที่ 100% ของสูตรอาหาร) ผูใชจะ

สามารถกําหนดไดวาเชนตองการใชกากถั่วเหลืองในชวง 4-50% ในสูตรอาหาร ก็ใหกรอกตัวเลข 4 ในชองต่ําสุด

และกรอกตัวเลข 50 ในชองสูงสุด เพื่อบอกใหโปรแกรมทราบวาใหเลือกใชกากถั่วเหลืองในชวงนี้

4) แกไขราคาและโภชนะตางๆ ไดตามตองการ เชน น้ําหนักแหง(DM), TDN, ME, NEL NEM, NEG,

โปรตีนหยาบ(CP), CF, NDF, ADF, EE, Ca, P, Ash หากการแสดงผลเลยจอภาพผูใชใหใชเมาสเล่ือนจอภาพไดที่

ตําแหนงขวามือดานลางของจอภาพ จะทําใหจอภาพเลื่อนไปทิศทางเดียวกันที่ลูกศรชี้

การทํางานในจอภาพนี้ จะออกแบบใหสะดวกตอผูใช โดยเปลี่ยนแปลงคาตัวเลขไดทุกคา ไมมีขอจํากัด เพียงแตคาที่เปลี่ยนควรเปนคาซึ่งไดจากผลการวิเคราะหวัตถุดิบนั้นๆ จากหองปฏิบัติการทั่วไป ในสวนราคาก็ใหเปนไปตามราคาซื้อขายวัตถุดิบในทองตลาด (เปนราคาตามน้ําหนักสด) เชน หญาสดกิโลกรัมละ 0.75 บาท แตหญา

แหงอัดฟอนกิโลกรัมละ 1.50 บาท เปนตน

• อยางไรก็ตามการแกไขในหนาตางนี้จะใชไดกับสูตรที่กําลังจะคํานวณเทานั้น หากผูใชตองแกไข

อยางถาวร และสามารถบันทึกไวใชในครั้งตอๆ ไปได ใหไปทําการแกไขที่ตารางรายการวัตถุดิบจะอธิบายใหทราบ

ในภาคที่สาม (การเพิ่มเติมและแกไขวัตถุดิบ)

• เมื่อแกไขตามที่ตองการแลวใหกดปุมเลือกโภชนะที่ตองการคํานวณ “ขั้นตอไป” เปนการสั่งเครื่อง

ใหเร่ิมคํานวณ

รูปที่21

Page 36: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

36

1.3 การเลือกโภชนะที่ตองการคํานวณในสูตรอาหาร

คลิกปุม เลือกโภชนะที่ตองการคํานวณ ซึ่งอยูทางมุมลางขวาของจอภาพ

โปรแกรมจะแสดงหนาตางยอยเปนรายการโภชนะตางๆ(รูปที่22) ใหผูใชเลือกกดปุม (√ ) ในหนาตาง

ยอยแสดงรายการนี้จะแบงออกเปนสี่สวน คือ สวนแรกเปนกลุมพลังงาน(Energy) มีโภชนะเลือกคํานวณเชนพลังงานสุทธิตางๆ( NEL, NEM, NEG,)

พลังงานที่ไดจากเผาผลาญสารอาหาร(ME), พลังงานยอยไดรวม(TDN), ไขมัน (ดูคําอธิบายในหัวขอ 1.8 ประกอบ)

สวนสองเปนกลุมโปรตีน (Protein) เชน CP, RUP หรือ UIP, RDP หรือ DIP

สวนสามเปนกลุมเยื่อใย(Fiber) เชน CF, ADF, NDF

สวนที่ส่ีเปนกลุมแรธาตุ (Supplements) เชน Ca, P, ไวตามินA, D

และสวนที่หาเปนสวนเพิ่มเติม(Option) เปนรายการตามที่เราสามารถตั้งขึ้นมาไดเอง

การเลือกทํางานทําโดยการกดปุมในชองที่เราสนใจเลือกมาคํานวณ (เครื่องหมาย √ จะปรากฏขึ้น)

และหากกดซ้ําจะเปนการยกเลิก (เครื่องหมาย √ จะหายไป)

รูปที่22

Page 37: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

37

1.4 การกําหนดคาต่ําสุดและสูงสุดของระดับโภชนะที่ใชในสูตรอาหาร

เมื่อเลือกรายการไดแลวใหกดปุมตอไปเพื่อกําหนดคาขั้นสูง-ตํ่าของโภชนะที่ใชคํานวณสรางสูตรอาหาร

(รูปที่23) ในหนาตางยอยกําหนดระดับโภชนะนั้น ใหผูใชกําหนดระดับความตองการโภชนะขั้นต่ํา-สูงหรือคา

โภชนะขั้นตํ่าที่จะมีในสูตรอาหารที่เรากําลังจะออกสูตร (โปรแกรมจะยึดถือคาขั้นตํ่าเปนหลักในการคํานวณ) ขอใหผูใชกําหนดใหถูกตอง ที่สําคัญคาขั้นตํ่าตองต่ํากวาคาขั้นสูง (มักลืม) อยางไรก็ตามหากเปนนักคํานวณสูตรอาหารอยู

แลวใหผูใชกําหนดสูตรอาหารไดโดยตรงเลย

หรือในกรณีที่มีการปรับคาตัวเลขการกินไดของโคในหัวขอ6.1, 6.2 ใหผูใชนําคาที่จดไวแลวของสูตร

อาหารขนที่ปรับปรุงมากรอกขอมูลใสในชอง ‘ความตองการขั้นต่ําในสูตรอาหาร’ ไดโดยตรง

รูปที่23

นอกจากนี้โปรแกรมไดอํานวยความสะดวกไวให โดยสามารถใหโปรแกรมไปนําคาที่คํานวณไวแลวมา

ใชอัตโนมัติ เชน หากผูใชคํานวณสูตรอาหารของโครีดนมไวในภาคแรก ถากดปุม “ใชคากําหนดที่คํานวณไวแลว”

โปรแกรมจะนําคาตัวเลขมาใสใหอัตโนมัติ แตผูใชตองแนใจวาครั้งสุดทายที่หาคาความตองการอาหารโคนั้นได

คํานวณคาไวลักษณะอาหารขนหรืออาหารTMR ซึ่งจะตองตรงกับการออกสูตรอาหารที่กําลังจะทําและหลังจากนี้

เรายังปรับเปล่ียนคาไดอีกตามที่ตองการ เมื่อกรอกขอมูลเสร็จ ใหกดปุม “คํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุด” (ขั้น

ตอไป) จากนั้นใหเลือกกดปุมคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุด

1.5 การเริ่มคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุด

คลิกปุม คํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุด

Page 38: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

38

เมื่อกดปุมแลวใหรอสักครูเพื่อใหโปรแกรมทําการคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุด(รูปที่24) การทํางานของ

เครื่องในชวงนี้จะเร็วหรือชาจะขึ้นกับประสิทธิภาพความเร็วของเครื่องคอมพิวเตอรเปนหลัก

• กรณีโปรแกรมคนพบสูตรอาหารราคาต่ําสุด โปรแกรมจะแสดงขอความ “คํานวณสําเร็จ” ในบรรทัด

สุดทายของตาราง

• โปรแกรมจะแสดงรายการสูตรอาหารราคาต่ําสุด (ในแถบสีแดงของจอภาพ) ซึ่งก็คือ สูตรอาหารที่เรา

คํานวณไดจริงนั่นเอง ซึ่งอาจไดผลลัพธตรงกับคาที่เราตั้งไวหรือมากหรือนอยกวาก็ได ผูใชควรดูเปรียบเทียบกับชอง

ความตองการต่ําสุดกับความตองการสูงสุด (ตามที่เรากําหนดคาไวกอนหนานี้) ผูใชสามารถเลื่อนจอภาพตรวจสอบ

คาตัวเลขที่ไดทางมุมขวาลางของจอภาพ ตามแนวลูกศร

• หากผูใชตองพิมพผลออกทางเครื่องพิมพใหเล่ือนจอภาพขึ้นที่ดานบนสุดจอภาพ จะเห็นขอความ พิมพผล

ใหผูใชกดปุมนั้น โปรแกรมก็จะแสดงผลออกมาทางเครื่องพิมพตอไป

รูปที่24

• กรณีโปรแกรมคนไมพบสูตรอาหารราคาต่ําสุด โปรแกรมจะแสดงขอความ “คํานวณไมสําเร็จ” ตรง

บรรทัดสุดทายของตาราง พรอมแสดงเครื่องหมาย ??? ตรงตําแหนงโภชนะที่มีผลทําใหเกิดการคํานวณไมสําเร็จ

(จํานวนเครื่องหมายแสดงถึงความหางของคาจากเปาหมายที่วางไว) ประโยชนตรงนี้คือผูใชจะทราบและสามารถ

ยอนกลับไปแกไขขอมูลโภชนะหรือเฉพาะวัตถุดิบตัวที่มีปญหาไดงายขึ้น

Page 39: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

39

1.6 การแกไข/เพ่ิมเติมโภชนะและการเปลี่ยนแปลงคาขั้นต่ํา-สูง โปรแกรมรุนนี้จะอํานวยความสะดวกในการแกไขขอมูล ซึ่งผูใชจะสามารถแกไขคาตัวเลขไดโดยตรงในชอง

สีเทาทั้งในแนวตั้งและแนวนอนของตาราง โดยการพิมพตัวเลขลงไป(รูปที่24) หรือใชวิธีกดปุมยอนหลังการ

ทํางานตรงมุมบน < ของจอภาพ จะทําใหสามารถแกไขคาโภชนะ คาวัตถุดิบไดตามลําดับที่ยอนกลับหลัง

ขอระวังที่สําคัญมากๆคือหามทําการพิมพหรือแกไขตัวเลขลงในตารางชองทั่วไปที่เปนพ้ืนสีขาวโดยตรง

เพราะจะมีผลทําใหโปรแกรมคํานวณสูตรอาหารเสียหายทั้งโปรแกรม เนื่องจากเบื้องหลังชองดังกลาวเปนคําส่ังและ

สูตรการคํานวณ(ผูใชจะมองไมเห็น) ซึ่งหากมีการเสียหายโปรแกรมจะแสดงอาการไมคํานวณสูตรอาหารให ผูใช

จําเปนตองทําสําเนา (copy) โปรแกรมตนฉบับลงไปใหม(ดูการติดตั้งระบบ)

1.7 ขอจํากัดทีท่ําใหโปรแกรมคํานวณสูตรอาหารไมได

ขอจํากัดที่ทําใหโปรแกรมคํานวณไมได เชน 1) การกําหนดขอบเขตของวัตถุดิบแตละตัวมาก-นอยเกินไป

2) การกําหนดขอบเขตความตองการขั้นต่ํา-สูงของโภชนะแตละตัวมาก-นอยเกินไป

3) ใชวัตถุดิบแหลงอาหารสัตวไมครบอยางนอย 3 แหลง คือ โปรตีน พลังงาน แรธาตุ เชน ใชเฉพาะ

แหลงเปนอาหารโปรตีน โดยขาดวัตถุดิบจากแหลงอาหารพลังงาน หรือแรธาตุ ไวตามิน เปนตน

การแกไขโดยผูใชกลับมาปรับเปลี่ยนคาตัวเลขใหมีความยืดยุนมากขึ้นกวาเดิมเชนกําหนดชวงคาตัวเลขใหกวางขึ้น ก็จะทําโปรแกรมทํางานไดปกติ หรือบางครั้งอาจจําเปนตองเริ่มตนเลือกวัตถุดิบอาหารสัตวใหม เพื่อใหครบแหลงอาหารดังกลาวขางตน โดยกดปุมยอนการทํางานโปรแกรมจะยอนไปเริ่มตนทํางานใหม ต้ังแตที่กลาวเริ่มแรกในภาคที่สอง

ขอควรพิจารณาคือ ความชํานาญ ประสบการณ และการฝกหัดออกสูตรอาหารบอยๆ จะชวยเพิ่มชํานาญมากขึ้น

เราตองเปนผูออกและตกแตงสูตรอาหาร ไมใชคอมพิวเตอรออกสูตรอาหารแลวเอาไปใชเลย

สูตรอาหารที่มีราคาต่ําสุด โคไมจําเปนตองชอบกิน หรืออาจกินแตไมไดผลผลิตดังเกณฑที่ตั้งไวได

1.8 การพิมพผลเพ่ือนําไปผสมอาหาร

ในบางครั้งหากเราผลการคํานวณสูตรอาหารเปนที่พอใจแลวเราอาจเลือกดูผลตัวเลขบนจอเทานั้น หรืออาจตองการพิมพผลออกทางเครื่องพิมพได ในกรณีที่ตองการดูผลทางจอภาพใหเลื่อนจอภาพของรูปที่ 24 ลงไปดานลางๆ

จะพบวาโปรแกรมมีการแสดงสวนผสมของวัตถุดิบทั้งในรูปน้ําหนักแหงและน้ําหนักสดไวพรอม (รูปที่ 25)

Page 40: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

40

ใชคาดรรชนี MP/NEL นี้เมื่อมีการ

กรอกขอมูลของ RUP, NEL, Fat ลงใน

ตารางวัตถุดิบเรียบรอยกอนการ

คํานวณแลวเทานั้น คาที่ไดนี้จึงจะเปน

จริงได

หากไมมีขอมูลกรอกมากอน คานี้

จะใชไมได และที่สําคัญคานี้ใชกับการ

ออกสูตรอาหารที่เปน TMR เทานั้น

รูปที่25

อยางไรก็ตามหากตองการพิมพผลหรือตองการสงสูตรอาหารดังกลาวไปยังโรงผสมอาหารสัตวเพื่อนําไปดําเนินการผสมใชหรือขายตอไปนั้น จะตองใชปุมพิมพผล แตเนื่องจากคาคํานวณที่โปรแกรมใชจะคํานวณคาตัวเลขโดยอางอิงเปนน้ําหนักสิ่งแหง100% ดังนั้นกอนนําไปใชงานเราตองแปลงคาตัวเลขจากคาน้ําหนักของสิ่งแหงเปนคา

น้ําหนักสด โดยโปรแกรมเคซีเอฟไดเตรียมจัดการแปลงคาดังกลาวใหทันทีเมื่อเราจะพิมพออกทางเครื่องพิมพ เมื่อกดปุมสั่ง‘พิมพ’ที่มุมบนขวาบนของหนาจอ(รูปที่24)โปรแกรมจะแสดงเมนูยอยใหกรอกเพิ่มเติมคือ

1) ช่ือสูตรอาหาร อาจตั้งตามประเภทของโคเชน สูตรโครีดนม หรือไมใสก็ได 2) ช่ือผูคํานวณ อาจใสเปนช่ือเต็ม ช่ือยอ รหัส หรือไมใสก็ได 3) ปริมาณผสม ตัวเลขท่ีจะใสนี้สําคัญ ในชองจะมีปุมใหเลือกขนาด/ปริมาณวัตถุดิบที่ตองการผสมในครั้ง

หนึ่งๆ เชน ที่ฟารมเรามีเครื่องผสมอาหารไดครั้งละ 1000 กก. เราก็เลือกตัวเลข 1000 โดยกดปุมที่ตําแหนง 1000 กก.

เมื่อกรอกขอมูลเสร็จ ใหกดปุม “ตกลง” แลวโปรแกรมจะทําการคํานวณสูตรอาหารแสดงออกมาทั้งในรูปน้ําหนักแหง (%), น้ําหนักสด หนวย กิโลกรัม และหนวยปอนด

Page 41: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

41

ภาคที่สาม: การบันทึก แกไข/เพิ่มเติม รายการวัตถุดิบ

Page 42: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

42

การบันทึก แกไข/เพิ่มเติมรายการวัตถุดิบ

คลิกปุมการเพิ่มเติมและแกไขคลังรายการวัตถุดิบ เร่ิมจากหนาจอหลัก(รูปที่19) ที่รายการที่สามบนจอ ใหเลือกคลิกปุม “คลิกปุมการเพิ่มเติมและแกไข

คลังรายการวัตถุดิบ” เมื่อคลิกเขาสูการแกไขรายการวัตถุแลว โปรแกรมจะแสดงรายการวัตถุดิบทั้งหมดที่มีใน

หนวยความจํา (รูปที่26) ถาเห็นไมเต็มจอใหใชปุมเล่ือนจอหนาตางชวย ซึ่งมองเห็นในชองแรกเปนชื่อวัตถุดิบ

(เรียงลําดับ ก ฮ) และชองตอๆ ไปจะแสดงรายละเอียดคุณสมบัติหรือผลการวิเคราะหอาหารพรอมราคา

วัตถุดิบ

ขอควรจํา 1) จํานวนวัตถุดิบที่จะใสเพิ่มเติมไมมีขีดจํากัดของโปรแกรม แตจะขึ้นอยูกับพื้นที่บรรจุขอมูล(Hard

drive) และหนวยความจําของเครื่องคอมพิวเตอร

2) การเพิ่มรายการวัตถุดิบตัวใหมใหเริ่มที่ตําแหนงลางสุดของรายวัตถุดิบตัวสุดทาย (โปรแกรมจะเรียงให

อัตโนมัติในภายหลัง)

3) คาตัวเลขต่ําสุด-สูงสุดในชองที่ 2 และ 3 หมายถึงคาที่จะกําหนดไมใหโปรแกรมใชตัวเลขเกินชวงที่เรา

กําหนด คิดเปน 100% ในสูตรอาหารนั้นๆ และคาสูงสุดอาจหมายถึงระดับที่อาจเปนพิษหรือเปน

อันตรายตอโคถาใชเกินขีดจํากัด

4) ราคา บาท/กก. หมายถึงราคาซื้อขายในทองตลาดทั่วไป (เปนชวงเดียวในตารางนี้ที่คิดเปนน้ําหนักสด)

ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงราคาอยูตลอดเวลา ผูใชควรเปลี่ยนราคานี้ใหเปนราคาปจจุบันอยูตลอดเวลา กอนที่จะคํานวณสูตรอาหารหรือเปลี่ยนสูตรอาหาร โดยสอบถาม/อานจากเอกสารอาหารสัตวทั่วไป

เชน ขาวโพดเม็ด อบจากไซโลราคา 4.00 บาท/กก. ขาวโพดซื้อจากเกษตรกร ตากแดดเดียว ราคา 2.00

บาท/กก. เปนตน ราคานี้จะเปนตัวกํานดสูตรอาหารที่สําคัญ

5) รายการวัตถุดิบชื่อเดียวกันอาจมีหลายเกรด หลายราคา ดังนั้นเราควรตั้งเกณฑแบงเปนเกรดดวย และใชช่ือตามเกรดเพื่อไมใหช่ือซ้ํากัน เชน ปลาปนเกรด 3 มี 55% CP, ปลาปนเกรด 2 มี 60%CP, ปลาปน

เกรด 1 มี 68% CP เปนตน

6) คา TDN, ME NEL, NEM, NEG, CP และคาโภชนะอื่นๆ ใหใชผลจากการวิเคราะหของหองปฏิบัติการ

อาหารสัตวที่ไดมาตรฐาน

Page 43: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

43

รูปที่ 26

7) ที่สําคัญคาตัวเลขผลวิเคราะหในขอ 6 ของโปรแกรม เคซีเอฟ อางอิงในหนวย 100% สิ่งแหง (DM,

Dry Matter) เทานั้น บางครั้งผูใชไดคาผลวิเคราะหอาหารเปนน้ําหนักสด จึงตองคํานวณเปนคาในน้ําหนักแหงกอน จึง

นําคาที่ไดมากรอกลงในตารางนี้

สูตรการแปลงคาน้ําหนัก

ปริมาณโภชนะที่มีอยูของอาหารแหง 100% = 100% น้ําหนักแหง x ปริมาณโภชนะที่มีอยูของอาหารสด %น้ําหนักแหงของอาหารสด

Page 44: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

44

สมมติซื้อขาวโพดที่มีเปอรเซ็นตความชื้น 25% (หรือคิดเปนน้ําหนักแหง 100-25 = 85%) นําไป

วิเคราะหไดเปอรเซ็นตโปรตีน 7% ถามวาถาคิดที่ขาวโพดแหง 100% ขาวโพดดังกลาวจะมี % โปรตีนเทาใด?

จากสูตร X = 100% x 7% = 8.24%

85%

∴ขาวโพด 100% จะมีโปรตีน 8.24%

8) การบันทึกขอมูล เมื่อแกไขเพิ่มเติมขอมูลเสร็จแลว การออกจากตารางทําไดโดยเลื่อนจอภาพไปที่ตําแหนงบนสุดจะเห็นปุมสีเทาที่มุมซายบนของจอ เลือกกดปุม “บันทึก/ออกจากเมนูหลัก” โปรแกรมจะทําการบันทึก

ขอมูลพรอมกับจัดเรียงขอมูลใหใหมเริ่มจาก ก-ฮ และจัดกลับมาแสดงผลที่หนาจอเมนูหลัก

Page 45: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

45

ภาคที่สี:่ การเลือกใชวัตถุดบิที่มรีาคาต่ําสุดโดยวิธี อีอารวีอาร

Page 46: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

46

การเลือกใชวัตถุดิบที่มีราคาต่ําสุดโดยเทียบคาดรรชนีทดแทน

การเทียบคาดรรชนีทดแทน (Economic Replacement Value Ratio, ERVR) เปนสวนเพิ่มเติมของ

โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นใหมเฉพาะในรุนเคซีเอฟ2006 วิธีเทียบคาดรรชนีทดแทนนี้มีประโยชนอยางมากจะชวยใหการ

ตัดสินใจไดดีและถูกตองยิ่งขึ้นวา เราควรนําวัตถุดิบตัวใดมาเลือกใชเพื่อทดแทนตัวอื่นๆไดบาง

คลิกปุม การเลือกใชวัตถุดิบที่มีราคาต่ําสุดโดยวิธี ERVR

รูปที่ 27 1. การใชคาดรรชนีทดแทน(ERVR)

1) คาดรรชนีทดแทนของวัตถุดิบใดที่มีคาสูงสุดแสดงวาวัตถุดิบนั้นจะใหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงสุดเมื่อนํามาใช หรือถาเราจายเงินซื้อวัตถุดิบเหลานั้นมาในราคาที่เทากัน วัตถุดิบที่มีคาดรรชนีทดแทนสูงสุดก็จะใหพลังงานและโปรตีนสูงกวาวัตถุดิบที่มีคาตํ่ากวาแมราคาบาทตอกิโลกรัมเทากัน

2) ชวยในการเปรียบเทียบราคากับคุณคาทางอาหารที่จะไดรับของวัตถุดิบตางๆ เมื่อเราจะซื้อวัตถุดิบเขามาใหม จะทําใหเราไดวัตถุดิบที่ราคาถูกสุด

3) ชวยในการเปรียบเทียบวัตถุดิบที่มีอยูแลวกอนนํามาใชในสูตรอาหาร จะชวยทําใหสูตรอาหารมีราคาต่ําสุดๆ

Page 47: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

47

• คําจํากัดความของคาแทนที่ ERV (Economic Replacement Value) คือราคาของการใชวัตถุดิบ

เมล็ดขาวโพดกับกากถั่วเหลืองรวมกันแลวจะไดคุณคาทางโปรตีนและพลังงานเทียบเทากับวัตถุดิบที่ตองการเปรียบเทียบ สวนคาดรรชนีทดแทน(ERVR) หมายถึงคา ERV ของวัตถุดิบนั้นๆ หารดวยราคาตอหนวยของวัตถุดิบ

นั้นๆ ซึ่งจะถือวาวัตถุดิบใดมีคาดรรชนีทดแทน มากสุดจะเปนวัตถุดิบที่ทําใหสูตรอาหารราคาต่ําสุด

• ในการเปรียบเทียบใหเทียบคาดรรชนีทดแทนเฉพาะในกลุมวัตถุดิบอาหารเดียวกัน เชนในกลุมอาหารหยาบ เราก็เทียบ คาดรรชนีทดแทนของหญาสดเทียบกับ หญาแหง เทียบกับหญาหมัก เปนตน หรือเทียบในกลุมอาหารขนพลังงาน เชนมันสําปะหลัง ขาวโพด รําออน ปลายขาว เปนตน หรือเทียบในกลุมอาหารขนโปรตีน เชน ปลาปน กากถั่วเหลือง กากปาลม เปนตน หามเปรียบเทียบขามกลุมอาหารเพราะอาหารเหลานั้นใชแทนกันไมไดและแตกตางกันในเรื่องแหลงที่มาและการใชประโยชน

• เราไมสามารถเปรียบเทียบคาดรรชนีทดแทนของวัตถุดิบที่เปนแหลงแรธาตุกับไวตามิน เพราะแรธาตุ ไวตามิน ไมไดใหโปรตีนกับพลังงานเลย

2. เลือกคูโภชนะเปรียบเทียบ

เนื่องจากคาดรรชนีทดแทนถูกออกแบบมาใหคํานวณเปรียบเทียบคุณคาของวัตถุดิบที่สามารถนํามาใชเปนแหลงโปรตีนกับการเปนแหลงพลังงานของวัตถุดิบตางๆ(รูปที2่8) เราจึงตองเลือกคูของแหลงวัตถุดิบ

ดังกลาว แตการจะเลือกคูใดใหพิจารณาวาเราตองมีผลการวิเคราะหโปรตีนและพลังงานทีดีเอ็นของวัตถุดิบนั้นๆ หากไมมีก็ทําการเปรียบเทียบไมได แตในทางตรงขามถาเรามีผลการวิเคราะหโภชนะทุกอยาง เชน แหลงโปรตีน, UIP และ

DIP แหลงพลังงาน TDN, ME, NEL, NEM, NEG กรณีนี้เราจะเลือกคูใดก็ไดระหวางตัวแทนจากโปรตีนกับตัวแทน

จากพลังงานเชน CP เทียบกับ TDN หรือ CP เทียบกับ NEL เปนตน แตโปรแกรมจะตั้งเปรียบเทียบระหวางTDN กับ

CPไวใหเปนคาตั้งอัตโนมัติเพื่อใชเปนคาต้ังตนได

รูปที่ 28

Page 48: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

48

3. การเปรียบและการจัดเรียงลําดับ คาดรรชนีทดแทน

เมื่อกดปุมตกลงในรูปที่28 แลวเครื่องจะทําการคํานวณและใหคาดรรชนีทดแทนออกมา เราสามารถสั่ง

ใหโปรแกรมทําการจัดเรียงลําดับใหตามความตองการของเราได ซึ่งเลือกไดจากปุมเมนูดานขางขวาเชน การจัดเรียงตามคาดรรชนีทดแทนERVR, การเรียงตามชื่อวัตถุดิบ, การเรียงตามคาพลังงานหรือโปรตีน(รูปที่29)

รูปที่29

4. คาผลวิเคราะหของวัตถุดิบขาวโพด และวัตถุดิบกากถั่วเหลือง

ในตารางวัตถุดิบของโปรแกรมนั้น ผูใชจะสังเกตเห็นช่ือวัตถุดิบท่ีเขียนวา ERVRขาวโพด และวัตถุดิบช่ือ ERVRกากถั่วเหลือง ทั้งสองชื่อวัตถุดิบนี้โปรแกรมจะใชเปนคาอางอิงมาตรฐานของการคํานวณคาดรรชนีทดแทน

ดังนั้นหามผูใชไปลบทําลายหรือเปล่ียนชื่อคาดังกลาวออกจากตารางวัตถุดิบของโปรแกรมโดยเด็ดขาด เพราะจะทําใหโปรแกรมคํานวณคาดรรชนีทดแทนไมได แตผูใชจะสามารถเปลี่ยนแปลงราคาและรายการผลวิเคราะหคุณคาทางโภชนะโปรตีน พลังงานได

Page 49: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

49

การออกจากโปรแกรม

Page 50: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

50

การออกจากโปรแกรม KCF2006

เมื่อเสร็จสิ้นการคํานวณสูตรอาหารราคาต่ําสุด หรือสิ้นสุดการหาความตองการโภชนะของโคแตละประเภท ใหผูใชกลับไปที่หนาจอหลัก เพื่อรอการออกจากโปรแกรมที่ถูกตอง

คลิกปุม ยอนไปหนาจอหลัก (|<<) ตรงตําแหนงบนสุดดานขวาของจอภาพ

โปรแกรมจะกลับมาที่หนาจอหลักใหผูใชเลือกกดปุมเลิกการทํางาน โดยเลือกที่ปุมมุมซาย (File) หรือมุม

ขวา (X) บนจอภาพ แลวโปรแกรมจะใหเลือกขึ้นมาสองแบบคือ

1) บันทึกและออกจากโปรแกรม ณ ปุมนี้โปรแกรมจะมีการบันทึกขอมูลครั้งสุดทายที่มีการเปลี่ยนแปลงพรอมปดฐานขอมูลออกจากโปรแกรมเอ็กเซล

2) ออกจากโปรแกรมโดยไมมีการจัดเก็บ หากเลือกปุมนี้จะไมมีการจัดเก็บขอมูลที่เปลี่ยนแปลงครั้งลาสุด

ภาควิชาสัตวศาสตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จ.ขอนแกน 40002.

โทรศัพท 043-202222-41 ตอ2313 หรือโทรศัพท/โทรสาร 043-202362

Page 51: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

51

ภาคผนวก

Page 52: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

52

คําถามทายบท

1. ในฟารมโคนมแหงหนึ่งมีโครีดน้ํานมจํานวน 40 ตัว โคมีน้ําหนักตั้งแต 400-450 กก.และใหผลผลิตน้ํานมอยู

ในชวง 10-15 กก./ตัว/วัน จากการเก็บตัวอยางน้ํานมไปวิเคราะหพบวามีเปอรเซ็นตไขมันนมเฉลี่ย 3.5 % เพื่อให

โคมีการใหน้ํานมที่ดีขึ้นทานคิดวา

1.1. โคควรไดรับการกินอาหารเทาใด และควรมีระดับโปรตีน พลังงานและแรธาตุเทาใด หรือสูตรอาหารควรมี

หนาตาอยางไร

1.2. จงเลือกวัตถุดิบอาหารสัตวเพื่อนํามาใชสรางสูตรอาหารสําหรับโคชุดนี้ที่ดีที่สุด

1.3. เมื่อทานไดสูตรอาหารดังกลาวแลวและนําไปผสมเพื่อใชงานแลว ทานจะมีคําแนะนําใหโคกินสูตรอาหารนี้

วันละกี่กิโลกรัม/ตัว/วัน(คิดเปนน้ําหนักสด)

1.4. หากในฤดูแลงในฟารมมีแตฟางขาวเปนอาหารหยาบหลักของโคอยางเดียว ทานจะออกสูตรอาหารหรือ

ปรับสูตรอาหารขนสําหรับโคชุดนี้ไดอยางไร โดยไมทําใหผลผลิตน้ํานมลดลง

2. ในฟารมดังกลาวยังมีโครุนที่หยานมแลวอีกเปนจํานวน 20ตัว ที่มีน้ําหนักตัว150-200 กก.เจาของฟารมตองการ

เล้ียงโคใหมีอัตราการเจริญเติบโตวันละ 0.7 กก. ถามวา

2.1. สูตรอาหารขนของโครุนชุดนี้จะมีระดับโปรตีน พลังงาน แรธาตุ เปนเทาใด

2.2. สูตรอาหารขนดังกลาวจะตองนําไปจายใหโคไดกินคิดเปนน้ําหนักสดวันละเทาใด

2.3. ถาเปนในฤดูฝน ในฟารมมีหญาสดเขียวขจีมากมาย ทานคิดวาโคกินหญาเขียวอยางเดียวโดยไมเสริม

อาหารขนเลยเปนไปไดหรือไม

2.4. หากจะเสริมอาหารขน หนาตาสูตรอาหารขนจะมีระดับโปรตีน พลังงาน แรธาตุอยางไร

2.5. หากในฤดูแลงในฟารมมีแตฟางขาวเปนอาหารหยาบหลักของโคอยางเดียว ทานคิดวาจะสามารถใชสูตร

อาหารเดิมที่ออกไวของหนาฝนนํามาใชตอเลยไดหรือไม

2.6. หากไมได ทานจะออกสูตรอาหารขนหรือปรับสูตรอาหารขนสําหรับโครุนชุดนี้ ใหมีระดับโปรตีน พลังงาน

แรธาตุอยางไร

3. คาอีอารวีอาร(คาดรรชนีทดแทน) คือการเปรียบเทียบของอะไร และมีประโยชนอยางไร

3.1. กําหนดใหราคามันสําปะหลังแหง 4.5 บาท/กก. และเมล็ดขาวโพด 4.7 บาท/กก. ถามวาทานจะเลือกซื้อ

วัตถุดิบตัวใดมาใชในฟารม

Page 53: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

53

3.2. กําหนดใหราคากากเมล็ดฝาย 5.5 บาท/กก. และกากเบียรแหง 5.0 บาท/กก. ถามวาทานจะเลือกซื้อ

วัตถุดิบตัวใดมาใชในฟารม

3.3. กําหนดใหราคาหญาสด 0.25 บาท/กก. หญาแหง 2.5 บาท/กก. และขาวโพดหมักราคา 3.0 บาท/กก.

ถามวาทานจะเลือกซื้อวัตถุดิบตัวใดตามลําดับกอนหลัง

3.4. จากคาในตารางคาดรรชนีทดแทนใหเลือกซื้อใชวัตถุดิบอาหารพลังงาน กับโปรตีน อยางละ3ชนิดเพื่อ

นํามาเปนแหลงอาหารขน ทานจะเลือกใชอะไรบาง

Page 54: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

54

ตัวอยางการคํานวณในโครีดนม

Page 55: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

55

Page 56: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

56

ตัวอยางการคํานวณในโครุน (โคสาว)

Page 57: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

57

Page 58: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

58

ตัวอยางตารางแสดงรายการวัตถุดิบ

Page 59: โปรแกรมจัดการอาหารโคนมและKCF2006 โปรแกรมจ ดการอาหารโคนมและค านวณส ตรอาหารราคาต

59