Download pdf - Educational Innovation

Transcript
Page 1: Educational Innovation

นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation)

** อ.กิตตินนัท หอมฟุง

ความหมายของนวัตกรรม Innovation มีรากศัพทมาจากภาษาละตินวา Innovare แปลวา to renew หรือ to

modify ภาษาไทยเราบัญญัติใชวา นวัตกรรม โดยนําคําในภาษาบาลีและสันสกฤตมาผสมกัน

ซึ่งมาจากคําวา นว (บาลี) + อตต (บาลี) + กรม (สันสกฤต) มีความหมายวา วิธีการ

หลักปฏิบัติ แนวคิด และส่ิงประดิษฐใหม ๆ ของบุคคลที่นํามาใชในการปฏิบัติงานดานตาง ๆ

จากความหมายของนวัตกรรม เมื่อวิเคราะหดูจะเห็นวา ตนกําเนิดของนวัตกรรมนั้น

เกิดจากปญหาการประกอบกิจการดานตาง ๆ เมื่อเกิดปญหาข้ึน มนุษยก็พยายามที่จะหาวิธีการ

หรือประดิษฐคิดคนส่ิงแปลกใหมข้ึนมาใชแกปญหานั้น ซึ่งจะตางไปจากสภาพที่เคยเปนอยู

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานใหสูงข้ึน

นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง การนําส่ิงใหม ๆ อาจเปนแนวความคิด หรือ

ส่ิงประดิษฐใหม ๆ ที่ยังไมเคยมีใชมากอนหรือเปนการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยูแลว

ใหทันสมัยและไดผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกวาเดิม ทั้งยังชวยประหยัดเวลาและ

แรงงานไดดวย ความหมายของนวัตกรรมการศึกษา นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง การนําเอาส่ิงใหม

ซึ่งอาจจะอยูในรูปของความคิดหรือการกระทํารวมทั้งส่ิงประดิษฐก็ตามเขามาใชในระบบ

การศึกษาเพื่อมุงหวังที่จะเปล่ียนแปลงส่ิงที่มีอยูเดิมใหระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน

ทําใหผู เรียนสามารถเกิดการเรียนรูไดอยางรวดเร็ว เกิดแรงจูงใจในการเรียน และชวยให

ประหยัดเวลาในการเรียน เชน การสอนใชคอมพิวเตอรชวย การใชวีดิทัศนเชิงโตตอบ

(Interactive Video) ส่ือหลายมิติ (Hypermedia) และอินเทอรเน็ต เหลานี้เปนตน

** อาจารยประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

Page 2: Educational Innovation

2

ประเภทของนวัตกรรม นวัตกรรมแบงออกไดเปน 2 ประเภท ไดแก

1. เทคนิคและวิธีการ เปนกลวิธี หรือ กิจกรรม หรือ วิธีสอน ทําใหการเรียนการสอน

มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน เชน การใชผังกราฟก Story Line เปนตน

2. สิ่งประดิษฐ เปนวัสดุ หรือ อุปกรณที่นําไปใชในการเรียนการสอน เชน บทเรียน

สําเร็จรูป ชุดการสอน เปนตน กระบวนการเกิดนวัตกรรม กระบวนการเกิดนวัตกรรม แบงออกเปน 3 ระยะ คือ

1. มีการประดิษฐคิดคนส่ิงใหม หรือ ปรับปรุงของเกาใหเหมาะสมกับสภาพงาน

2. มีการพฒันาปรับปรุง โดยผานการทดลองหรือวิจัยจนมีประสิทธิภาพนาเช่ือถือได

3. มีการนาํไปทดลองใชในสถานการณจริง และปรับปรุงจนเกิดประสิทธิภาพ สภาพของนวัตกรรม การจัดวา “ส่ิงใดเปนนวัตกรรมหรือไม?” นั้น อาจเปนเร่ืองที่ตองถกเถียงกันมาก เพราะ

แตละคนก็จะใหความหมายหรือมีความรูสึกกับคําวา ใหม ๆ แตกตางกันไป ทั้งนี้ยอมข้ึนอยูกับ

ประสบการณและส่ิงแวดลอมของแตละคน

ในเร่ืองนี้ รศ.ดร.เปร่ือง กุมุท ไดใหแนวคิดเกี่ยวกับลักษณะของนวัตกรรมการศึกษาเอาไว

5 ลักษณะ ดังนี้

1. ความคิดหรือการกระทําใหมนั้น โดยอาจจะเกามาจากที่ อ่ืน แตในสถานการณ

ปจจุบันนี้เปนการเหมาะสมที่จะเอามาใชกับการเรียนการสอนของเรา เชน การสอนเปนทีม เปนตน

2. ความคิดหรือการะทําใหมนั้น ทั้งที่คร้ังหนึ่งเคยนํามาใชแลวแตบังเอิญไมเกิดผล

เพราะส่ิงแวดลอมไมอํานวย ขาดนั่นขาดนี่ ตองเลิกไป พอมาถึงเวลานี้ ระบบตาง ๆ พรอม จึงนํา

ความคิดนั้นมาใชได นี่ก็เรียกวา นวัตกรรม หรือ ของใหม เชน เมื่อระบบการส่ือสารมวลชน

โดยเฉพาะวิทยุและโทรทัศนการศึกษาดีแลว การศึกษาเพื่อมวลชนจึงเปนไปได เปนตน

3. ความคิด หรือ การกระทําใหมนั้น เพราะมีส่ิงใหม ๆ เขามาพรอม ๆ กับความคิดที่

จะกระทําอะไรบางอยางพอดี และมองเห็นวา การใชส่ิงเหลานั้นหรือวิธีการนั้น สามารถจะชวย

Page 3: Educational Innovation

3

แกปญหาทางการศึกษา หรือทําใหการดําเนินการทางการศึกษาไปสูเปาหมายที่ตองการไดอยางดี

นี่คือ ความหมายที่แทจริงของ นวัตกรรมการศึกษา

4. ความคิดหรือการกระทํานั้นใหม เพราะคร้ังหนึ่งเคยถูกทัศนคติของผูใหญ หรือ

ผูบริหารบดบังไว ตอนนี้เปล่ียนผูใหญหรือผูบริหาร หรือ ผูใหญหรือผูบริหารเปลี่ยนทัศนคติไปทาง

ที่สนับสนุนการกระทําหรือความคิดนั้น จึงเปนเร่ืองใหมข้ึนมา

5. ความคิดหรือการกระทําใหม เพราะยังไมเคยคิดและทํามาเลยในโลกนี้ เพิ่งจะมีใคร

คนหนึ่งไดเปนคนแรกและเห็นวา นาจะใชไดก็เอามาใช เสมือน กัปตันประกาศใหผูโดยสาร

เคร่ืองบินของเขาทราบวา “ทานทั้งหลาย ขณะนี้เคร่ืองของเรากําลังทําเวลาไดดีมาก แตไมทราบ

วาจะลงจอด ณ ที่ใด” นอกจากนี้ ยังสามารถจะใชหลักเกณฑอ่ืน ๆ ประกอบการพิจารณาดวยวา สิ่งนั้นเปน

นวัตกรรมหรือไม คือ

1. จะตองเปนส่ิงใหมทั้งหมด หรือ บางสวน

2. มีการนําวิธีการจัดระบบ (System Approach) มาใชพิจารณาองคประกอบ

ทั้งสวนขอมูลที่ใชเขาไปในกระบวนการและผลลัพธใหเหมาะสมกอนที่จะทําการเปล่ียนแปลง

3. มีการพิสูจนดวยการวิจัยหรืออยูในระหวางการวิจัยวา จะชวยใหดําเนินงานบางอยาง

มีประสิทธิภาพสูงข้ึน

4. ยังไมเปนสวนหนึ่งในระบบงานปจจุบัน หากกลายเปนสวนหนึ่งของระบบงาน

ที่ดําเนินอยูในขณะนี้แลว ไมถือวาเปน นวัตกรรม จากหลักเกณฑตาง ๆ ในการพิจารณาวา ส่ิงใดเปนนวัตกรรมหรือไมตามที่กลาวมา

แสดงใหเห็นวา นวัตกรรมในสังคมตาง ๆ ยอมจะแตกตางกันไป บางส่ิงอาจจะเปนนวัตกรรมของ

สังคมหนึ่ง แตส่ิงเดียวกันนั้นกลับเปนส่ิงธรรมดาของอีกสังคมหนึ่งก็ได เชน วิธีการสอนแบบ

ครูบรรยายหนาชั้น การสอนโดยการสาธิต หรือการใหนักเรียนศึกษาคนควาทํารายงานเปนวิธีการ

ที่รูจักกันดี และใชกันทั่วไปในโรงเรียนตาง ๆ ของไทย จึงไมจัดวา เปนนวัตกรรมการศึกษาของเรา

แตการสอนที่เปนแบบศูนยการเรียน การใชชุดการสอน การเรียนแบบไมแบงชั้น การสอนเปนคณะ

บทเรียนสําเร็จรูป หรือการลดเวลาการสอน เหลานี้เปนวิธีการที่คนทั่วไปไมคอยคุนเคยและใชกัน

แพรหลายนัก จึงยังเปนนวัตกรรมการศึกษาของไทยเรา

Page 4: Educational Innovation

4

คําวา นวัตกรรม กับ เทคโนโลยี มักจะเขียนควบคูกันอยูเสมอ ๆ ในภาษาอังกฤษใช

คําวา Innotech ความจริงแลวนวัตกรรมกับเทคโนโลยีนั้นมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด

เนื่องจากนวัตกรรมเปนเร่ืองของการคิดคนหรือการกระทําส่ิงใหม ๆ เพื่อใหเกิดการเปล่ียนแปลง

ในทางที่ดีข้ึน ซึ่งอาจจะอยูในข้ันของการเสนอความคิดหรือในข้ันของการทดลองอยูก็ได ยังเปนที่

รูจักคุนเคยของสังคม สวนเทคโนโลยีนั้นมุงไปที่การนําเอาส่ิงตาง ๆ รวมทั้งวิธีการเขามา

ประยุกตใชกับการทํางาน หรือแกปญหาใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด ถาหากพิจารณาวา นวัตกรรม

หรือส่ิงที่เกิดข้ึนใหมนี้ นาจะนํามาใช การนําเอานวัตกรรมเขามาใช ก็จัดเปนเทคโนโลยีดวย และ

การใชเทคโนโลยีนี้ ถาทําใหเกิดวิธีการหรือส่ิงใหม ๆ ข้ึน ส่ิงนั้นก็เรียกวาเปน นวัตกรรม เราจึงจะ

เห็นวา นวัตกรรมและเทคโนโลยี อยูควบคูกันเสมอ ๆ

บุคคลที่เก่ียวของกับการยอมรับนวัตกรรม

นวัตกรรมที่เกดิข้ึนจะเปนทีย่อมรับหรือไม ข้ึนอยูกับบุคคล 3 ฝาย ไดแก

1. นวัตกร (Innovators) เปนผูที่มีความคิดริเร่ิมใหม ๆ และนําส่ิงนั้นไปทดลองใช หรือ

นําเสนอนวัตกรรมเพื่อใหเปนที่ยอมรับของคนทั่วไป

2. นักตอตาน (Resistors) คนพวกนี้มักจะตอตานส่ิงใหม ๆ เพราะกลัวจะมี

ขอบกพรองเกิดข้ึน จึงไมยอมรับอะไรงาย ๆ ซึ่งจะเปนผลดีที่จะชวยใหนวัตกรไดพิจารณาปรับปรุง

แกไขขอบกพรองตาง ๆ ของนวัตกรรมที่คิดข้ึนมา เพื่อใหประสิทธิภาพจนเปนที่ยอมรับ

3. ผูนํา (Leader) เปนผูที่มีอิทธิพลตอสมาชิกในกลุม ถาผูนํากลุมยอมรับเอานวัตกรรม

ใด ๆ ไปทดลองใชเพื่อปรับปรุงงานใหดีข้ึน ยอมจะทําใหสมาชิกในกลุมเห็นคลอยตามดวย

ลําดับขั้นการยอมรับนวัตกรรมตามแนวของ Innotech ในแงของผูเรียน

1. ขั้นการรับรู (Awareness) เปนการรับรูเกี่ยวกับนวัตกรรมเปนคร้ังแรก

2. ขั้นแสดงความสนใจ (Interest) เปนการแสวงหาความรูเพิ่มเติมในนวัตกรรมนั้น

3. ขั้นประเมินคา (Evaluation) เปนการพิจารณาวา นวัตกรรมนั้นเหมาะสมกับ

ความตองการและสภาพปญหาหรือไม

4. ขั้นทดลอง (Trial) เปนการนํานวัตกรรมไปทดลองใชวา ไดผลตามความตองการ

หรือไม

5. ขั้นรับไปใช (Adoption) เปนการตัดสินใจรับนวัตกรรมไปใช

6. ขั้นบูรณาการ (Integration) เปนการนํานวัตกรรมนั้นไปประยุกตใช ใหเหมาะกับ

ระบบงาน

Page 5: Educational Innovation

5

ลําดับขั้นการยอมรับนวัตกรรม ในแงของผูสอน เมื่อมีการนํานวัตกรรมการศึกษามาประยุกตใชในการเรียนการสอน จากผลการวิจัยพบวา

จะมีลําดับข้ันการบูรณาการนวัตกรรมอยู 5 ลําดับ ซึ่งผูสอนท่ีใหมตอพัฒนาการของเทคโนโลยี

จะยอมรับและนํานวัตกรรมนั้นมาใช (Sandholtz, Ringstaff and Dwyer, 1997 อางจาก

กิดานันท มลิทอง, 2548, หนา 18) ไดแก

1. ขั้นเริ่มตน (Entry stage) เปนข้ันแรกที่ผูสอนไดรับการแนะนําใหรูจักและใช

นวัตกรรม ในข้ันนี้ผูสอนอาจรูสึกยากลําบากในการใชนวัตกรรม เนื่องจากเปนส่ิงที่ทาทายที่จะใช

ใหเกิดประโยชนไดอยางแทจริง ผูสอนอาจเกิดการตอตานเพราะไมมีความสามารถอยางเพียงพอ

ในการใชนวัตกรรมนั้นไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจเปนเพราะปญหาดานเทคนิควิธีการใชงาน

เปนผลใหบางคนอาจเกิดความทอถอยและเลิกใชงานไปเลยก็ได

2. ขั้นนํามาใชงาน (Adoption stage) หากผูสอนเร่ิมเคยชินและผานข้ันเร่ิมตนมาได

แลวจะเปนข้ันของการมีทัศนคติที่ดีตอนวัตกรรมและนํามาประยุกตใชงาน ผูสอนจะนํานวัตกรรม

มาบูรณาการใชในการเรียนการสอนและเรียนรูจากความผิดพลาดบางประการที่อาจเกิดข้ึนไดใน

บางกรณีเพื่อพยายามแกไขใหถูกตองตอไป

3. ขั้นปรับใหเหมาะสม (Adaptation stage) เมื่อผูสอนสามารถใชนวัตกรรมได

อยางมีประสิทธิภาพแลวจะเร่ิมพัฒนาตนเองในการปรับการใชนวัตกรรมน้ันใหเหมาะสมกับ

เนื้อหาบทเรียนและวิธีการเรียนการสอนในแตละวิชาได

4. ขั้นจัดสรรอยางเหมาะสม (Appropriation stage) เปนข้ันที่ผูสอนจัดสรรการใช

งานนวัตกรรมนั้นใหเหมาะสมกับการทํางานประจําวันและบูรณาการการเรียนการสอนทั้งในวิชา

และระหวางวิชา รวมถึงเร่ิมรับเทคโนโลยีใหมที่มีเพิ่มเติมเขามา

5. ขั้นประดิษฐกรรม (Invention stage) ในข้ันนี้ไมเพียงแตผูสอนจะยอมรับและใช

นวัตกรรมนั้นอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลแลว ยังสามารถแบงปนความรูในนวัตกรรมและ

รวมส่ือสารใชงานกับผูสอนคนอ่ืน ๆ ไดดวย มีการสรางสรรคผลงานหรือมีประดิษฐกรรมใหม

ตอยอดจากเทคโนโลยีของนวัตกรรมนั้น เชน การสรางหุนยนต ฯลฯ

ในข้ันสุดทายนี้ ผูสอนจะใชประโยชนจากนวัตกรรมนนเพื่อสรางองคความรูใหม รวมถึง

ทําบทบาทหนาที่เปนที่ปรึกษาทางวิชาการ ผูอํานวยความสะดวก ผูพัฒนาคอรสวิชา และ

เปนแหลงขอมูลสารสนเทศใหกับผูอ่ืนไดอยางเต็มศักยภาพ

Page 6: Educational Innovation

6

กระบวนการยอมรับและการเปล่ียนแปลง Everett Rogers (1995) และคณะ ไดศึกษาเร่ือง การแพรกระจายนวัตกรรมในกลุม

บุคคล พบวา บุคคลพรอมที่จะยอมรับการเปล่ียนแปลงตางกัน บางคนยอมรับความคิดใหม ๆ

และนํามาใชอยางรวดเร็ว ขณะที่อีกหลายคนตองใชเวลาคิดไตรตรองนาน ตาราง 1 แสดงประเภทของผูรับยอมรับนวัตกรรมและวธิีการสนบัสนนุ

ประเภท วิธีการสนับสนุน

ผูบุกเบิก 8 % : กลาเส่ียงยอมทดลองส่ิงใหม ๆ

ย อม รั บ ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง คน อื่ น มั ก ม อ ง ว า

เปนคนประหลาด มีความบาอยูในตัว เขากับคนอื่น

ไมได

คนประเภทน้ีตองการวิสัยทัศนที่ชัดเจน มีคนสนับสนุน

ใหกําลังใจและชวยเหลือดานวัสดุ อุปกรณ ขณะท่ี

พวกเขาทดลองใชส่ิงใหม ๆ ตองมีคนชวยเปนเสมือน

เกราะปองกัน ตองการโอกาสที่จะไดศึกษาดูงาน

เขารวมประชุมสัมมนาอยูเสมอ ผูนํา 17 % : ยอมรับการเปล่ียนแปลง แตตองใชเวลาคิดไตรตรองกอนจะตัดสินใจรวมมือ คนประเภทน้ีเปน

ที่ยอมรับนับถือไววางใจจากผูอื่น มักมีคนมาขอ

คําแนะนําช้ีแนะตาง ๆ

ตองใหอานบทความและงานวิจัยที่เก่ียวของมาก ๆ

พาไปดูงานการเรียนการสอนในชั้นเรียน รวมทั้งใหอาน

หนังสือ ดูเทปภาพการเรียนการสอน

คนสวนใหญที่ยอมรับกอน 29 % : ใชเวลาตัดสินใจยอมรับนาน ตองคิดพิจารณาไตรตรอง

อยางละเอียดลออ มักเปนผูตามมากกวาเปนผูนํา

ใหประกบคู กับผูนํา ในการประชุมตาง ๆ ใหคน

ประเภทน้ีอยูในกลุมเดียวกับผูนําเพื่อจะไดแลกเปล่ียน

ความคิดกัน ใหโอกาสรวมมือกับผูอื่นมาก ๆ คนสวนใหญที่ยอมรับทีหลัง 29 % : มักต้ังขอสงสัยในความคิดใหม หรือ ส่ิงใหมวา จะแตกตางไปจาก

ส่ิงที่เคยปฏิบัติมานาน คนประเภทน้ีจะถูกโนมนาว

ชักจูงใจจากเพื่อนหรือผูบริหารได

ใหประกบคู กับคนสวนใหญที่ยอมรับกอน ที่ตอง

ไมขมขู หรือเปนคนคล่ังในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งจนเกินไป

ใหกําลังใจเวลาท่ีพวกเขาวางแผนงาน สอนแนะกันเอง

รวมทั้งในการสอนนักเรียน ชวยพวกเขาต้ังเปาหมาย

และวางแผนจัดการ ผูตอตาน 17 % : พวกขี้สงสัย และไมเห็นดวยกับ

ส่ิงใหม ไมสามารถกระตุนใหมีความอยากจะคิดจะทํา

มักแยกตัวออกจากผูอื่น

แจงขอมูลขาวสารใหได รับรู รับทราบตลอดเวลา

ใหโอกาสมีสวนรวมในทุกเร่ืองเทาที่จะทําได รับฟง

ความคิดเห็นวา ทําไมจึงตอตาน และพยายามทํา

ความเขาใจพวกเขา ใชกระบวนการนิเทศเปน

ตัวกําหนดส่ิงที่ ใหทํา บางคร้ังตองทั้ งกดดันและ

สนับสนุนไปพรอม ๆ กัน

Page 7: Educational Innovation

7

แนวความคิดพื้นฐานที่กอใหเกิดนวัตกรรมการศึกษา ปจจัยสําคัญที่มีอิทธิพลอยางมากตอวิธีการศึกษา ไดแก แนวความคิดพื้นฐานทาง

การศึกษาที่เปล่ียนแปลงไปอันมีผลทําใหเกิดนวัตกรรมการศึกษาข้ันหลายรูปแบบดวยกัน

ความคิดพื้นฐานที่สําคัญ พอจะสรุปได 4 ประการ คือ

1. แนวความคิดพื้นฐานในเร่ืองความแตกตางระหวางบุคคล (Individual

Different) การจัดการศึกษาของไทยไดใหความสําคัญในความแตกตางระหวางบุคคลเอาไว

อยางชัดเจน ซึ่งจะเห็นไดจากแผนการศึกษาของชาติ ใหมุงจัดการศึกษาตามความถนัด

ความสนใจ และความสามารถของแตละคนเปนเกณฑ ตัวอยางที่เห็นได เชน การจัดระบบ

หองเรียนโดยใชอายุเปนเกณฑบาง ใชความสามารถเปนเกณฑบาง ในปจจุบันไดมีการคิดคน

วิธีการใหม ๆ เพื่อสงเสริมการเรียนการสอนที่มุงใหนักเรียนใชความสามารถ ความสนใจ

ที่แตละคนมีความแตกตางกันไปใหเปนประโยชนตอการเรียนมาก

นวัตกรรมการศึกษาที่เกิดข้ึนเพื่อตอบสนองแนวความคิดพื้นฐานทางดานนี ้ไดแก

- การเรียนแบบไมแบงชั้น (Non-Graded School)

- บทเรียนสําเร็จรูป (Programmed Instruction)

- การสอนเปนคณะ (Team Teaching)

- การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)

- บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (Computer-Assisted Instruction) 2. แนวความคิดพื้นฐานในเร่ืองความพรอม (Readiness) เดิมทีเดียวเชื่อกันวา

เด็กจะเร่ิมเรียนไดก็ตองมีความพรอม ซึ่งเปนพัฒนาการตามธรรมชาติ แตในปจจุบัน ผลการวิจัย

ทางจิตวิทยาการเรียนรู ชี้ใหเห็นวา ความพรอมในการเรียนเปนส่ิงที่สรางข้ึนได ถาหากสามารถจัด

บทเรียนใหพอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็ก วิชาที่เคยเช่ือกันวายากและไมเหมาะสม

สําหรับเด็กเล็ก ถาไดรับการพิจารณาปรับปรุงลําดับของเน้ือหาใหม หรือนํานวัตกรรมการศึกษา

ที่เหมาะสมกับการสรางความพรอมใหกับเด็กก็จะทําใหการเรียนรูไดผลดีข้ึน

นวัตกรรมการศึกษาที่สนองแนวความคิดพื้นฐานดานนี ้ไดแก

- ศูนยการเรียน (Learning Center)

- การจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School within School)

Page 8: Educational Innovation

8

3. แนวความคิดพื้นฐานในเรื่องการใชเวลาเพื่อการศึกษา แตเดิมมาการจัดเวลา

เพื่อการสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัยความสะดวกเปนเกณฑ เชน ถือหนวยเวลาเปน

ชั่วโมง ๆ เทากันทุกวิชาทุกวัน นอกจากนั้นก็ยังจัดเวลาเรียนเอาไวแนนอนเปนภาคเรียน เปนป

ในปจจุบัน ไดมีความคิดในการจัดเปนหนวยเวลาสอนใหสัมพันธกับลักษณะของแตละวิชา

ซึ่งจะใชเวลาไมเทากัน บางวิชาอาจใชชวงส้ัน ๆ แตสอนบอยคร้ังการเรียนก็ไมจํากัดอยูแตเฉพาะ

ในโรงเรียนเทานั้น นวัตกรรมที่สนองความคิดอันนี้ ไดแก

- การจัดตารางสอนแบบยืดหยุน (Flexible Scheduling)

- มหาวิทยาลัยเปด (Open University)

- บทเรียนสําเร็จรูป (Programmed Instruction) 4. แนวความคิดพื้นฐานในการขยายตัวทางวิชาการและอัตราการเพิ่มของประชากร ทําใหความตองการในดานการศึกษาเพิ่มข้ึนมาก และความจําเปนในการศึกษา

เพียงเฉพาะเร่ืองมีสูงข้ึนตามสภาพแวดลอมและการดํารงชีพ แตการจัดระบบการศึกษาในปจจุบัน

ยังไมสนองตอบไดเพียงพอ จึงทําใหเกิดนวัตกรรมในดานนี้ข้ึน ไดแก

- มหาวิทยาลัยเปด (Open University)

- บทเรียนสําเร็จรูป (Programmed Instruction)

- ชุดการเรียนการสอน (Instructional Package)

- การจัดโรงเรียนแบบสองผลัด

- การสอนดวยระบบส่ือทางไกล นวัตกรรมการศึกษาการควรรู 1. การเรียนรูแบบ Constructivism เปนนวัตกรรมการเรียนรูที่เปนกระบวนการ

ที่เกิดข้ึนภายในตัวผูเ รียน โดยผูเ รียนเปนผูสราง (Construct) ความรูจากการไดพบเห็น

ประสบการณใหมกับความรูและความเขาใจเดิมที่มีอยู แนวคิดนี้ผูเรียนตองรูจักสังเกตส่ิงที่ตน

อยากรู นําเขาสูการอภิปรายรวมกับเพื่อน ๆ ในกลุมของตน แลวคนควาเพิ่มเติมจากเอกสารหรือ

แหลงความรูอ่ืน ๆ เพื่อสรุปเปนความรูที่สมบูรณตอไป การเรียนรูแบบ Constructivism ผูเรียน

ตองลงมือปฏิบัติจริง คนหาความรูดวยตนเอง รูจักสังเกต วิเคราะห และสังเคราะหจนเขาใจถอง

แทในเร่ืองราวนั้น ๆ

Page 9: Educational Innovation

9

2. การใชผังกราฟก (Graphic Organization) เปนแผนผังความคิด หรือ

สาระสําคัญ ๆ ที่เช่ือมโยงกันในรูปแบบตาง ๆ ทําใหเห็นโครงสรางของความรูหรือเนื้อหาสาระ

นั้น ๆ รวบรวมอยูอยางเปนระบบ เขาใจงาย และจดจําไดงาย ไดแก 2.1 ผังความคิด (Mind Map)

ผังความคิด เปนผังที่แสดงความสันพันธของสาระ หรือความคิดตาง ๆ ใหเปน

โครงสรางในภาพรวม โดยใชเสนดํา ระยะหางจากจุดศูนยกลาง สี เคร่ืองหมาย รูปทรงเรขาคณิต

และภาพแสดงความหมายและความเช่ือมโยงของความคิดหรือสาระนั้น ๆ

Page 10: Educational Innovation

10

2.2 ผังมโนทัศน (Concept Map)

ผังมโนทัศน เปนผังที่แสดงมโนทัศนหรือความคิดรวบยอดใหญไวตรงกลาง และแสดง

ความสัมพันธระหวางมโนทัศนใหญและมโนทัศนยอย ๆ เปนลําดับข้ันดวยเสนเช่ือมโยง

2.3 ผังแมงมุม (Spider Map)

ผังแมงมุม เปนผังแสดงมโนทัศนอีกแบบหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะคลายใยแมงมุม

Page 11: Educational Innovation

11

2.4 ผังกางปลา (Fishbone Map)

ผังกางปลา เปนผังที่แสดงสาเหตุของปญหา ซึ่งมีความซับซอน ผังกางปลาจะชวยทํา

ใหเห็นสาเหตุหลักและสาเหตุยอยที่ชัดเจน

2.5 ผังลําดับขัน้ตอน (Sequential Map)

ผังลําดับข้ันตอน เปนผังที่แสดงลําดับข้ันตอนของส่ิงตาง ๆ หรือกระบวนการตาง ๆ

Page 12: Educational Innovation

12

2.6 ผังวัฏจกัร (Circle Map)

ผังวัฏจักร เปนผังที่แสดงลําดับข้ันตอนทีตอเนื่องเปนวงกลม หรือเปนวัฏจักรที่ไม

แสดงจุดส้ินสุด หรือจุดเร่ิมตนที่แนนอน

Page 13: Educational Innovation

13

2.7 ผังวงกลมซอน (Venn Diagram)

ผังวงกลมซอน เปนผังวงกลม 2 วง หรือมากกวาที่มีสวนหนึ่งซอนกัน เปนผังที่

เหมาะสมแกการนําเสนอสิ่ง 2 ส่ิง หรือมากกวา ซึ่งมีความเหมือนและตางกัน

3. Storyline เปนเทคนิควิธีการสอนที่ครูเปล่ียนบทบาทจากผูสอนเปนผูบอกขอมูล

เปนผูวางแผนการสอนและวางแนวทางการเรียนรูใหผูเรียน โดยการต้ังคําถามใหผูเรียนตอบ

ซึ่งผูเรียนตองคนควาหาคําตอบดวยตนเอง นอกจากนี้ครูตองวางแผนทํากิจกรรมของผูเรียน

เพื่อเปนแนวทางใหผูเรียนคนหาคําตอบใหได กิจกรรมอาจเปนการทํารายบุคคล กลุมยอย หรือ

กลุมใหญ

Page 14: Educational Innovation

14

4. การสอนแบบศูนยการเรียน (Learning Center) เปนการจัดประสบการณ

การเรียนรูใหผูเรียนไดประกอบกิจกรรมการเรียนรูดวยตนเองมากท่ีสุด โดยอาศัยส่ือประสมและ

หลักการของกระบวนการส่ือสัมพันธเขามาชวยในการเรียนการสอน และยังเปนการเรียนรู

ตามความสามารถของแตละบุคคลดวย ศูนยการเรียนรูมีหลายแบบ แตที่นี่จะกลาวถึงวิธีการใช

ศูนยการเรียนประกอบการสอนเทานั้น การสอนแบบศูนยการเรียนเปนการจัดสภาพหองเรียนที่เนนกิจกรรมการเรียน

โดยแบงผูเรียนออกเปน 4 – 6 กลุม แตละกลุมยอย เรียกวา ศูนยกิจกรรม แตละกลุมจะประกอบ

กิจกรรมแตกตางกันไป โดยใชเวลาในแตละศูนยประมาณ 15 – 25 นาที เมื่อนักเรียนทุกศูนย

ประกอบกิจกรรมเสร็จแลว ก็จะมีการเปล่ียนศูนยกิจกรรมจนกระทั่งครบทุกศูนย จึงจะถือวา

เรียนเนื้อหาในแตละหนวยครบตามที่กําหนดไว คลายกับเรียนเปนฐานในวิชาลูกเสือ หรือ

เนตรนารี แตละศูนยกิจกรรมจะประกอบดวยชุดการสอนแบบกลุมยอย ซึ่งจะมีบัตรคําส่ัง เนื้อหา

ส่ือประสม แบบฝกปฏิบัติระหวางเรียน แบบประเมินผลกอนและหลังเรียน 5. การสอนแบบจุลภาค (Microteaching) เปนการสอนจริง แตจัดในสถานการณ

จําลองเพื่อฝกทักษะการสอน ทักษะใดทักษะหนึ่ง จํานวนนักเรียนกลุมเล็ก ๆ ใชเวลาส้ัน ๆ

สอนเนื้อหาเพียงแนวความคิดเดียว และขณะสอนมีเคร่ืองมือบันทึกพฤติกรรมการสอน

เพื่อประเมินผลและปรับปรุงการสอน ทักษะการสอนที่ใชในการสอนแบบจุลภาค เชน ทักษะ

การนําเขาสูบทเรียน ทักษะการใชส่ือการสอน ทักษะการใชคําถาม ทักษะการอธิบาย ทักษะ

การยกตัวอยาง และทักษะการสรุปบทเรียน เปนตน 6. การสอนเปนคณะ (Team Teaching) เปนการสอนที่มีครูต้ังแต 2 คนข้ึนไป ทํา

การสอนวิชาเดียวกัน รวมกันรับผิดชอบ ต้ังแต การวางแผนการสอน สอน และการประเมินผล

การสอนเปนคณะแบงเปน 3 ข้ันตอนใหญ ไดแก

6.1 การสอนเปนกลุมใหญ เปนข้ันของการใหความรูทั่วไป จะใชเวลาสอน

ประมาณ 40 % ของเวลาทั้งหมด โดยมีครูคนหนึ่งทําหนาที่ใหความรู ครูคนอ่ืน ๆ ทําหนาที่คอยให

ความชวยเหลือในดานการใชส่ือประกอบคําบรรยาย ควบคุมดูแลนักเรียน หรือชวยเหลือนักเรียนที่

มีปญหา

6.2 การสอนเปนกลุมเล็ก เปนข้ันของการเสริมความรู จะใชเวลาประมาณ 20 %

ของเวลาทั้งหมด หลังจากการสอนกลุมใหญส้ินสุดลงแลว จะแบงนักเรียนออกเปนกลุมเล็ก ๆ

Page 15: Educational Innovation

15

ไมเกิน 15 คน อาจแบงตามความสนใจหรือแบงตามปญหา โดยมีครูใหความชวยเหลือ และ

กระตุนใหนักเรียนทุกคนรวมกันอภิปรายในประเด็นที่สนใจหรือเปนปญหา

6.3 การศึกษาคนควาดวยตนเอง เปนข้ันของการศึกษาตามลําพัง จะใชเวลา

40 % ของเวลาท้ังหมด กิจกรรมที่จัดข้ึนควรจะสงเสริมใหนักเรียนเกิดความคิด สรางสรรคและ

มีโอกาสศึกษาดวยตนเอง โดยครูมีหนาที่จัดส่ิงอํานวยความสะดวกตาง ๆ ใหพรอมและเพียงพอ

ตอการศึกษาคนควาของผูเรียน 7. บทเรียนสําเร็จรูป หรือ บทเรียนโปรแกรม (Programmed Instruction)

หมายถึง บทเรียนทีเรียนดวยตนเอง โดยมีเนื้อหาแบงเปนตอน ๆ จากงายไปหายาก มีแบบฝกหัด

และเฉลยไวใหผูเรียนตรวจสอบความรูตลอดบทเรียน บทเรียนแบบโปรแกรมมีอยู 3 ลักษณะ

ไดแก

7.1 บทเรียนโปรแกรมชนิดเสนตรง (Linear Programme) บทเรียนชนิดนี้

จะจัดลําดับเนื้อหาจากงายไปหายาก แยกเปนสวนยอย ๆ ใสกรอบ เรียงลําดับต้ังแตกรอบที่ 1

ไปเร่ือย ๆ จนจบบทเรียน ผูเรียนตองเรียนตามลําดับ ตอนทายแตละกรอบจะมีคําถามและมีเฉลย

ใหผูเรียนตรวจสอบความรูของตนเอง

7.2 บทเรียนแบบโปรแกรมชนิดสาขา (Branching Programe) บทเรียนชนิดนี้

จะมีกรอบยอย ๆ แยกออกจากกรอบหลัก เพื่อเพิ่มเติมความรูใหผูเรียน เมื่อผูเรียนตอบคําถามผิด

เปนการใหความรูตามความแตกตางระหวางบุคคล ถาใครตอบถูกก็จะเรียนเนื้อหาตามกรอบหลัก

ตอไปเร่ือย ๆ จนจบ แตถาใครตอบผิดจะตองศึกษาเพิ่มเติม เพื่อใหเขาใจเนื้อหามากพอที่จะศึกษา

ความรูในกรอบหลักตอไปได

7.3 บทเรียนแบบโปรแกรมชนิดไมเปนกรอบ (Adjunctive Programe)

บทเรียนชนิดนี้จะใหเนื้อหาตอนละจํานวนมากหรือเปนบท ๆ ไมเปนกรอบเหมือน 2 ชนิดแรก

ท า ย ข อ ง บ ท จ ะ มี คํ า ถ า ม แ ล ะ เ ฉ ล ย ห รื อ แ น ว คํ า ต อ บ ไ ว ใ ห เ ช น บ ท เ รี ย น ข อ ง

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เปนตน 8. ชุดการสอน (Teaching Kit) หมายถึง ระบบการผลิตและการนําส่ือประสม

ที่สอดคลองมาใชกับวิชา หนวย หรือหัวเร่ือง เพื่อชวยใหการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู

เปนไปอยางมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ชุดการสอน แบงออกเปน 4 ประเภท ดังนี้

8.1 ชุดการสอนแบบบรรยาย ผู สอนจะใชประกอบการสอนใน ช้ันเ รียน

ประกอบดวย คูมือครู เนื้อหา ส่ือการเรียนการสอน และการประเมินผล

Page 16: Educational Innovation

16

8.2 ชุดการสอนแบบกลุมยอย เปนชุดการสอนที่ผูเรียนเปนผูใช และเรียนรูภายใน

กลุมดวยตนเอง ประกอบดวยบัตรคําส่ัง เนื้อหา ส่ือประสม การประเมินผล และอาจจะมีเฉลยแบบ

ประเมินผลไวดวย

8.3 ชุดการสอนแบบรายบุคคล เปนชุดการสอนท่ีผูเรียนจะเรียนรูดวยตนเอง

โดยลําพัง ประกอบดวย บัตรคําส่ัง เนื้อหา ส่ือประสม การประเมินผล และเฉลยแบบประเมินผล

8.4 ชุดการสอนทางไกล เปนชุดการสอนท่ีใช เ รียนกับการสอนระบบเปด

โดยสถานศึกษาจะสงชุดการสอนไปใหผูเรียนที่บาน โดยอาศัยส่ือประเภทส่ิงพิมพเปนหลัก และ

อาศัยส่ืออ่ืนประกอบดวย เชน เทปเสียง วีดิทัศน โทรทัศน วิทยุ เปนตน ภายในรูปเลมของ

ชุดการสอนนั้นจะประกอบดวยจุดมุงหมาย วิธีศึกษา เนื้อหา กิจกรรม และการประเมินผล สําหรับ

ผูเรียนศึกษาไดโดยลําพัง 9. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (Computer-Assisted Instruction) เปน

การศึกษาความรูตาง ๆ จากคอมพิวเตอร โดยผูสรางเนื้อหาบรรจุความรูไวในแผนซีดี หรือส่ือ

บันทึกอ่ืน ๆ ผูเรียนตองศึกษาโดยเปดจากเคร่ืองคอมพิวเตอร ความรูจัดอยูในรูปแบบบทเรียน เกม

ทางการศึกษา สถานการณจําลอง การสาธิต การทดสอบ เปนตน ปจจุบันคอมพิวเตอรใช

ประโยชนในการใหความรูรายบุคคลไดเปนอยางดี ผูเรียนสามารถเรียนรูไดตามความสนใจใฝรู

ของตนเอง

Page 17: Educational Innovation

17

Page 18: Educational Innovation

18

การสรางและพัฒนานวัตกรรม การสรางและพัฒนานวัตกรรมเปนกระบวนการที่เกิดข้ึน 5 ข้ันตอนดวยกัน ไดแก ขั้นที่ 1 หาความรู เนื่องจากนวัตกรรมเปนความรูใหมที่จําเปนตองอาศัยการคนควาอยูตลอดเวลา นวัตกรรม

บางเร่ืองเขาใจยาก จําเปนตองศึกษาอยางละเอียดจากแหลงความรูหลาย ๆ แหลง ข้ันแรกของ

การสรางและพัฒนานวัตกรรมจึงเปนข้ันที่มีความสําคัญยิ่ง เพราะเปนข้ันวางพื้นฐานความรูและ

ความเขาใจนวัตกรรมอยางแทจริงวา จะแกปญหาใดในการเรียนการสอนนั้น ๆ ไดหรือไม ขั้นที่ 2 ศึกษาเนื้อหาสาระ

การนํานวัตกรรมมาใชในการเรียนการสอน นอกจากผูสอนจะตองมีความรูและ

ความเขาใจนวัตกรรมที่จะนํามาใชเปนอยางดีจากข้ันที่ 1 แลว จะตองศึกษาเนื้อหาสาระที่จะนํา

นวัตกรรมนั้น ๆ มาใชอยางดีดวย เชน จะสรางชุดการสอนแบบรายบุคคลเร่ือง สังคมเมืองและ

สังคมชนบท ผูสอนตองศึกษาเนื้อหาสาระเร่ืองสังคมเมืองและสังคมชนบทอยางละเอียด รวมทั้ง

เสาะหาภาพที่สอดคลองกับเนื้อหาเพื่อใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจอยางแทจริง ขั้นที่ 3 สรางและทดลองใช เมื่อแนใจวาจะเลือกใชนวัตกรรมใดและเนื้อหาสาระใดแลว ผูสอนก็ลงมือสรางนวัตกรรม

นั้น ๆ ข้ึนมา ทดลองใชและหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมนั้น ๆ โดยทดลองกับผูเรียน 1 คน นํามา

หาประสิทธิภาพแลวจึงทดลองกับกลุมยอย 5 – 10 คน จนกระทั่งไดประสิทธิภาพตามเกณฑ ขั้นที่ 4 นาํไปใชในหองเรยีน

ผูสอนนํานวัตกรรมที่สรางไวไปใชในหองเรียน โดยผูสอนตองเตรียมตัวในการใชนวัตกรรม

เตรียมผูเรียนและเตรียมสถานที่ใหพรอม ขั้นที่ 5 ประเมินผล

การคนควาและพัฒนานวัตกรรมตองอาศัยการประเมินผล เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพ

ของนวัตกรรม

Page 19: Educational Innovation

19

การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม เมื่อผูสอนไดสรางนวัตกรรมที่จะใชในการพัฒนาการเรียนรูแลว จะตองหาประสิทธิภาพ

ของนวัตกรรมกอนการนําไปใชจริง โดยทั่วไปมี 2 ข้ันตอน คือ 1. ตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญ ซึ่งสวนมากจะตรวจสอบดานเนื้อหาและรูปแบบของ

เคร่ืองมือวา เหมาะสมหรือไม เชน บทเรียนสําเร็จรูป เมื่อผูสอนที่สรางเสร็จแลวนําไปให

ผูเช่ียวชาญอยางนอย 3 คนตรวจสอบ ถามีความเห็นสอดคลองกัน 2 คน หรือทั้ง 3 คน แสดงวา

เนื้อหาและรูปแบบมีความถูกตองเที่ยงตรง และครอบคลุมประเด็นที่จะศึกษา 2. ตรวจสอบโดยการนําไปทดลองใช (Try Out) นํานวัตกรรมท่ีสรางเสร็จแลว

ไปทดลองกับนักเรียน การทดลองที่ถือวา มีมาตรฐาน มี 3 ข้ันตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ทดลองแบบ 1 : 1 เพื่อตรวจสอบการใชงาน และความสอดคลองเหมาะสม

ในดานตาง ๆ โดยละเอียด จากการสังเกตพฤติกรรมของผูสอนและผูเรียนขณะใชนวัตกรรม

การเรียนรู หากพบวา มีสวนใดขาดตกบกพรองจะตองดําเนินการแกไข ขั้นที่ 2 ทดลองกลุมเล็ก (5-10 คน) เพื่อตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมของ

นวัตกรรมการเรียนรู โดยสังเกตพฤติกรรมของผูเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนแตกตางกัน

ทั้งเรียนออน ปานกลาง และเกง หากคนพบขอบกพรองของนวัตกรรมก็จะทําการแกไขอีกคร้ังหนึ่ง ขั้นที่ 3 ทดลองกลุมใหญ (30 คน ขึ้นไป) เปนการตรวจสอบคุณภาพจากการใชใน

สถานการณที่จําลองข้ึนเชนเดียวกับกลุมเล็ก ซึ่งกลุมผูเรียนประกอบดวยกลุมเรียนออน ปานกลาง

และเกง และหากพบขอบกพรองของนวัตกรรมก็ทําการแกไข

Page 20: Educational Innovation

20

เมื่อทดลองแลวใหนําคะแนนที่ไดไป หาประสิทธิภาพของนวัตกรรมการเรียนรู E1 / E2

จากสูตรที่ 1 และสูตรที่ 2 สูตรที่ 1

100xAN

x

E1

∑= หรือ 100

AXE1 x=

1E คือ ประสิทธิภาพของกระบวนการ

∑x คือ ผลรวมของคะแนนที่ไดจากการวัดระหวางเรียน

N คือ จํานวนผูเรียน สูตรที่ 2

100xBNE

Y

2

∑= หรือ 100

BYE2 x=

2E คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธไดจากคะแนนเฉล่ียของการทํา

แบบทดสอบหลังเรียนของผูเรียนทัง้หมด

∑Y คือ ผลรวมของคะแนนที่ไดจากการทดสอบหลังเรียน

N คือ คะแนนเต็มของการสอบหลังเรียน เกณฑที่ยอมรับวา นวัตกรรมการเรียนรูทีม่ีประสิทธิภาพ คือ - ดานความรู ความจาํ E1 / E2 มีคา 80 / 80 ข้ึนไป

- ดานทักษะปฏิบัติ E1 / E2 มีคา 70 / 70 ข้ึนไป โดยที่คา E1 / E2 ตองไมแตกตางกนัเกินกวารอยละ 5

Page 21: Educational Innovation

21

ตัวอยาง จงหาประสิทธภิาพของบทเรียนสําเร็จรูปทีผู่สอนนาํไปทดลองใชกับกลุมนักเรียน

กลุมเล็ก จํานวน 5 คน ไดคะแนน ดังตาราง

นักเรียน คะแนนที่ไดจากการตอบคําถามทายกรอบ รวม 20

กรอบที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 (x)

คะแนนที่ไดจากการ ทดสอบหลังเรียน (Y)

(เต็ม 20 คะแนน)

1 2 2 2 2 2 2 2 2 2 1 19 18 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 0 18 15 3 2 2 2 2 2 2 2 2 1 0 17 18 4 2 2 2 2 2 2 2 1 0 0 15 14 5 2 2 2 2 2 2 2 0 2 0 16 17

รวม 10 10 10 10 10 10 10 7 7 1 85x∑ = 82Y∑ = วิธีทาํ

สูตร 100xAN

x

E1

∑=

100x20585

E1 =

85E1 =

สูตร 100xBNE

Y

2

∑=

100x20582

E2 =

822E = ดังนัน้ E1 / E2 = 85 /82 สรุปวา บทเรียนสําเร็จรูปที่สรางข้ึนมีประสิทธิภาพ

Page 22: Educational Innovation

22

แนวทางการวิจัยนวัตกรรม ปจจุบัน นักวิจัยเทคโนโลยีทงการศึกษาไดหันมาสนใจวิจัยการใชส่ือผนวกกับเทคนิค

วิธีการใหม ๆ ทางการเรียนการสอนและการศึกษากันมากข้ึนทุกที ทั้งการศึกษาในระบบโรงเรียน

การศึกษานอกระบบโรงเรียน และการศึกษาแบบรายบุคคล โดยการนําวิทยาการใหม ๆ มาใช

ซึ่งการเบนเข็มมาศึกษาวิจัยทางดานนี้มากข้ึนก็เนื่องจากวา

1. เปนเพราะวิทยาการใหม ๆ เกิดข้ึน ทําใหเกิดความทาทายจากส่ิงแปลกใหมเหลานี้

ทําใหผูวิจัยตองการจะลองดูเพราะความใหม

2. เพื่อเปนการศึกษาคนควา ตองการจะพิสูจนถึงส่ิงใหมวา สามารถนํามาใชไดผลดี

หรือไม

3. มีความต้ังใจตองการที่จะนํามาแกปญหาในวงการศึกษาที่กําลังประสบอยู เพื่อให

การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สืบเนื่องมาจากธรรมชิตของบุคคลในการยอมรับส่ิงใหม หรือนวัตกรรมใด ๆ มักจะเร่ิมมา

จากความต่ืนตัว อาจจะมาจากการไดยิน ไดฟงบอย ๆ จากผูรูอันเปนที่ยอมรับหรือจากขอมูล

ขาวสารแหลงอ่ืนจึงทําใหเกิดความสนใจ แตก็ไมอาจแนใจไดวา ถาตนจะลองทําหรือใชดูบาง

จะไดผลหรือไม จึงไดคอยดูวา ผู อ่ืนที่ทดลองใชไดผลหรือไม จึงทําใหการวิจัยแบบนี้ยังมี

ความตองการมาก การวิจัยในลักษณะนี้ คือ

1. เปนการวิจัยที่นําเอาวิธีการใหม ๆ จากแหลงอ่ืนในสภาพการณตางกันเพื่อนํามา

ทดลองในที่ใหมสภาพการณใหม

2. เปนการวิจัยที่ดัดแปลงขยาย หรือเสริมแตงความคิด และวิธีการเดิมแลวนํามาทดลอง

ดูผลวา จะใชไดผลในขณะนี้หรือไม เพียงใด

3. เปนการวิจัยที่ฟนฟูส่ิงที่เคยทําไวมาแตกอนแลว แตลมเลิกไปเพราะลํ้าหนาลํ้ายุค

เกินไป ผูบริหารไมสนับสนุน หรือสภาวะในอดีตไมอํานวย

4. เปนการวิจัยที่สถานการณใหม ซึ่งเมื่อกอนหนานี้ไมเอ้ืออํานวยในระบบแลวไดกลับ

เปล่ียนเปนเอ้ืออํานวยข้ึน จึงคิดจะนําวิธีการใหมมาใช

5. เปนการวิจัยที่ไดคิดส่ิงใหม โดยไมเคยมีปรากฏมากอน หรือใชในที่ใดมากอนเลย

ทําใหตองทดลองวิจัยดูวา ผลเปนอยางไร

Page 23: Educational Innovation

23

ดังนั้น ในการวิจัยนวัตกรรมการศึกษาเปนเร่ืองของส่ือประสมกับวิธีการที่ใหม ๆ จึงทําให

เกิดความยากลําบากในการวิจัยอันมาจากความไมสันทัดในระเบียบวิธีการวิจัย ความซับซอนของ

กระบวนการความใหมในสถานการณและเกือบจะทุกดานยอมถือไดวา เปนอุปสรรคอันสําคัญของ

การวิจัยทางดานนี้ไมนอยทีเดียว แตส่ิงเหลานี้ไมใชขอยกเวนในการที่จะไมตองทําวิจัย นักวิจัย

เทคโนโลยีการศึกษาจะตองมีความพยายามที่ฝนฝาส่ิงเหลานี้ใหได

สวนประเด็นการวิจัยในดานนวัตกรรมทางการเรียนการสอนใหม ๆ จะเห็นไดวา ยังมี

ไมมาก คือ การพัฒนาดานนี้ยังชาอยู เมื่อเทียบกับความกาวหนาทางวิทยาการดานวิทยาศาสตร

เทคโนโลยีและสารสนเทศที่นับวันจะยิ่งสลับซับซอน การวิจัยนวัตกรรมการเรียนการสอน

ยังไมแพรหลายเหมือนกับการวิจัยส่ือการสอน จะเห็นไดวาที่ทํากันอยูบาง คือ มักจะอยูในรูปของ

การทดลอง ดังนั้นจึงสามารถแบงการวิจัยนวัตกรรมออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ

1. การวิจัยผลที่เกิดข้ึนของการใชนวัตกรรมการสอน การวิจัยนวัตกรรมการสอนประเภท

นี้ เปนการทดลองใชนวัตกรรมกับผูเรียนกลุมตาง ๆ โดยนํามาเปรียบเทียบกันวาระหวางกลุมที่

สอนตามวิธีการใหมกับการสอนแบบเดิมนั้น อยางไหนจะใหผลทางการเรียนรูดีกวากัน ในการวิจัย

ประเภทนี้ นอกจากผูวิจัยจะศึกษาผลลัพธทางการเรียนรูหรือพฤติกรรมที่เปล่ียนไปแลวอาจยังเปน

การศึกษาตัวแปรบางตัว รวมทั้งศึกษาประสิทธิภาพของวิธีดําเนินการทดลองส่ิงใหม ๆ ไปดวย

2. การวิจัยคุณภาพของนวัตกรรมการสอน การวิจัยในลักษณะนี้จะเปนการวิจัยใน

ข้ันพื้นฐาน เพื่อทดสอบคุณภาพภายในของนวัตกรรมที่ไดสรางข้ึนมา เชน การทดสอบคุณภาพใน

วิธีการสอนแบบการประชุมทางไกล ทดสอบคุณภาพทางดานการดําเนินเร่ืองและจัดกิจกรรม

เปนตน จะเห็นไดวา การวิจัยนวัตกรรมประเภทตาง ๆ ที่กลาวมานั้น หากจัดเปนหมวดใหญ ๆ

จะถือไดวา เปนหมวดการวิจัยประเภททดลองท้ังส้ิน สวนการวิจัยเชิงสํารวจในเร่ืองส่ือและ

นวัตกรรมการสอนจะเปนเพียงการสํารวจเพ่ือตองการทราบขอมูลพื้นฐานของส่ิงที่มีหรือปฏิบัติ

ตลอดจนปญหาที่เกิดข้ึน การวิจัยแบบสํารวจเกี่ยวกับส่ือและนวัตกรรมทางการสอน ถาหากจะให

มีคุณคาข้ึน ผลของการวิจัยควรจะไดตอบปญหาที่สําคัญ ๆ ไดดวยตัววิจัยเองนั้นคือ จะไดขอมูล

สําหรับชี้ใหเห็นความเกี่ยวของกันระหวางตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม ซึ่งอาจนําไปสูการชี้ใหเห็น

เหตุผล หลักการ หรือทฤษฎีบางประการข้ึนมาได

Page 24: Educational Innovation

24

บรรณานุกรม คณาจารยภาควิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา คณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. เอกสารประกอบการสอน วิชา เทคโนโลยีการศึกษา. เชียงใหม: โครงการตํารา คณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏเชียงใหม, ม.ป.ป. บุญเก้ือ ควรหาเวช. นวัตกรรมการศึกษา. พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพฯ: ศูนยหนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543. สํานักพัฒนาฝกหัดครู สํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ. เอกสารสาระการเรียนรูและแบบฝกปฏิบัติ ชุดวิชาการวิจัยเพ่ือพัฒนากระบวนการเรียนรู. กรุงเทพฯ: โครงการพัฒนาครูประจําการใหไดรับ วุฒิปริญญาตรีทางการศึกษา, 2546.

เอกวิทย แกวประดิษฐ. เทคโนโลยีการศึกษา : หลักการและแนวคิดสูปฏิบัติ. สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2545.

Gayle H. Gregory (อรจรีย ณ ตะก่ัวทุง ผูแปล). กลยุทธการเรียนการสอนที่หลายหลาย : แนวปฏิบัติ พัฒนา นิเทศ. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอรเน็ท, 2547.


Recommended