Transcript

RESEARCH INSTRUMENTS FOR CLASSROOM ACTION RESEARCH

Assoc. Prof. Sumalee Chaijaroen, Ph.D. Assist. Prof. Suchat Wattanachai, Ph.D.

Assist. Prof. Charuni Samart, Ph.D. Anucha Somabut, Ph.D.

INTRODUCTION:

หนึ่งในองค์ประกอบที่สำคัญของการออกแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ คือ ‘เครื่องมือการวิจัย’

เครื่องมือการวิจัย ใช้สำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลหรือสารสนเทศ

หากไม่มี เครื่องมือการวิจัย จะไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูได้อย่างเป็นระบบ

RESEARCH DATA

Quantitative Data vs Qualitative Data

30 point 67% 2m50S 445 kms 172 cm

357 bath 18 degree 3,980

easy like how confuse understand can

adoption awareness

RI: MOST COMMONLY USED

แบบสอบถาม (questionnaire)

แบบสำรวจ (survey)

แบบทดสอบ (tests)

แบบวัด (scales)

แบบสัมภาษณ์ (interviews)

แบบสังเกต (observations)

แบบตรวจสอบรายการ (checklist)

แบบบันทึกข้อมูล

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

1. วิเคราะห์วัตถุประสงค์และตัวแปรการวิจัย 2. กำหนดกรอบแนวคิด/นิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรการวิจัย 3. สร้างเครื่องมือการวิจัย 4. ตรวจสอบคุณภาพและปรับปรุงเครื่องมือการวิจัย 5. ทดลองใช้เครื่องมือ

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

1. วิเคราะห์วัตถุประสงค์และตัวแปรการวิจัย • เพื่อให้ทราบว่ามีตัวแปรใดบ้างที่ต้องเก็บรวบรวมข้อมูล • เพื่อใช้ในการอธิบายและอภิปรายผลการวิจัย

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

วัตถุประสงค์ ตัวแปร เครื่องมือ

เพื่อศึกษาการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนฯ การคิดวิเคราะห์ 1. แบบวัดการคิดวิเคราะห์

2. แบบสัมภาษณ์ฯ

เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฯ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฯ 1. แบบทดสอบ

เพื่อศึกษาทักษะการใช้สารสนเทศฯ ทักษะการใช้สารสนเทศฯ 1. แบบวัดทักษะการใช้สารสนเทศฯ

เพื่อศึกษาการทำงานเป็นทีม การทำงานเป็นทีม1. แบบประเมินด้านการทำงานของทีมที่ดี 2. แบบประเมินตนเองด้านแบบภาวะผู้นำทีมงาน 3. แบบประเมินตนเองด้านทักษะการเป็นผู้นำทีมงาน

เพื่อศึกษาความมีวินัยของนักศึกษาฯ ความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา

1. แบบสังเกต 2. แบบประเมินตนเอง 3. แบบประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้น

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

2. กำหนดกรอบแนวคิด/นิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรการวิจัย • เพื่อกำหนดประเด็นย่อยของตัวแปรที่จะรวบรวมข้อมูล • เพื่อปรับปรุงนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และ/หรือปัญหาการวิจัย

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

การคิดเชิงวิเคราะห์ คือ ความสามารถจำแนกองค์ประกอบต่างๆ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้ รวมทั้งสามารถระบุความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้น และสามารถจัดหมวดหมู่ของสิ่งต่างๆ หรือประเด็นต่างๆ ได้

การคิดเชิงวิเคราะห์ คือ 1. สามารถจำแนกองค์ประกอบต่างๆ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้ 2. สามารถระบุความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น เพื่อค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้น 3. สามารถจัดหมวดหมู่ของสิ่งต่างๆ หรือประเด็นต่างๆ ได้

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ค่าคะแนนเฉลี่ยที่ได้จากการทำแบบทดสอบหลังเรียนฯ

ทักษะการใช้สารสนเทศ หมายถึง ความสามารถในการระบุสารสนเทศที่จำเป็น การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศที่หลากหลาย และการประเมินแหล่งสารสนเทศที่สอดคล้องกับการใช้งาน

การทำงานเป็นทีม หมายถึง ความสามาถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในฐานะที่เป็นผู้นำและผู้ตาม

ความมีวินัย หมายถึง การปฏิบัติตนในขอบเขต กฎ ระเบียบของสถานศึกษา สถาบัน องค์กร และประเทศ โดยที่ตนยินดีปฏิบัติตามอย่างเต็มใจและตั้งใจยึดมั่นใน   ระเบียบแบบแผนข้อบังคับและข้อปฏิบัติ รวมถึงการมีวินัยทั้งต่อตนเองและสังคม

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

3. สร้างเครื่องมือการวิจัย • เป็นการเขียนคำถาม-คำตอบ หรือสิ่งที่ต้องการรวบรวมข้อมูลจากกรอบ/นิยามตัวแปรการวิจัย

•สร้าง/จัดทำ/จัดพิมพ์เป็นเครื่องมือการวิจัย ฉบับร่าง

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

4. ตรวจสอบคุณภาพและปรับปรุงเครื่องมือการวิจัย •ตรวจสอบความตรง รูปแบบและการใช้ภาษา โดยนักวิจัย/ ผู้เชี่ยวชาญ

•ตรวจสอบความเที่ยง •การหาค่าอำนาจจำแนก •การปรับปรุง

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

4. ตรวจสอบคุณภาพและปรับปรุงเครื่องมือการวิจัย ความตรงของเครื่องมือ •การตรวจสอบความตรงโดยนักวิจัย เป็นการตรวจสอบเบื้องต้น เพื่อพิจารณาความสอดคล้องระหว่างกรอบแนวคิด/นิยามของตัวแปร กับ ประเด็น/ข้อคำถามในเครื่องมือการวิจัย

•การตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เช่น ด้านเนื้อหาสาระในการทำวิจัย ด้านทฤษฎี/หลักการที่ใช้ในการวิจัย และ/หรือ ด้านการสร้างเครื่องมือวิจัย (วัดและประเมินผล)

•การตรวจสอบความตรงโดยวิธีหาค่าทางสถิติ เช่น ค่าสหสัมพันธ์ เป็นต้น

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

4. ตรวจสอบคุณภาพและปรับปรุงเครื่องมือการวิจัย ความเที่ยงของเครื่องมือ • เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่แสดงให้ทราบว่า เครื่องมือนั้นให้ผลคงที่เพียงใด ซึ่งแสดงในรูปค่า ‘สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์’ หรือ เรียกว่า ค่าสัมประสิทธิ์ของความเที่ยง (reliability coefficient) ซึ่งมีค่า 0-1

•ค่า 0 หมายถึง ไม่มีความเที่ยง •ค่า 1 หมายถึง มีความเที่ยงสูง

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

4. ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือการวิจัย อำนาจจำแนกรายข้อ • เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่สามารถจำแนกกลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติต่างกันออกจากกันได้

•ค่าอำนาจจำแนกมีค่าระหว่าง -1 ถึง 1 #ข้อคำถามที่มีค่าอำนาจจำแนกเป็นบวก และเข้าใกล้ 1 แสดงว่า เป็นข้อคำถามที่มีอำนาจจำแนก #ข้อคำถามที่มีค่าอำนาจจำแนกเป็น 0 แสดงว่า เป็นข้อคำถามที่ไม่มีอำนาจจำแนก #ข้อคำถามที่มีค่าอำนาจจำแนกเป็นลบ แสดงว่า เป็นข้อคำถามที่มีไม่ดี ควรตัดออกและปรับปรุงใหม่

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

5. ทดลองใช้เครื่องมือ • นำเครื่องมือไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ที่มีบริบทใกล้เคียงกับกลุ่มที่จะทำการศึกษามากที่สุด

• พิจารณาการกระจายของกลุ่มตัวอย่าง เนื่องจากอาจส่งผลให้เกิดความแปรปรวน

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

ภารกิจ 1 วิเคราะห์วัตถุประสงค์ ตัวแปรการวิจัยและเครื่องมือการวิจัย

วัตถุประะสงค์ 1

วัตถุประะสงค์ 2

วัตถุประะสงค์ 3

ตัวแปร

ตัวแปร

ตัวแปร

เครื่องมือ

เครื่องมือ

เครื่องมือ

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

ภารกิจ 2 กำหนดกรอบแนวคิด/นิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรการวิจัย

ตัวแปร 1: นิยาม

ตัวแปร 2: นิยาม

ตัวแปร 3: นิยาม

5 PRINCIPLES TO CONSIDER IN RI

ภารกิจ 3 ร่างประเด็น/คำถาม และวางรูปแบบเครื่องมือการวิจัย

ตัวแปร 1: นิยาม

ตัวแปร 2: นิยาม

ตัวแปร 3: นิยาม

ประเด็น/ข้อคำถาม

ประเด็น/ข้อคำถาม

ประเด็น/ข้อคำถาม


Recommended