158
องคประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร องคประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร ¡ ฮารดแวร (Hardware) ¡ ซอฟตแวร (Software) ¡ บุคลากร (Peopleware) ¡ ขอมูล (Data) ¡ กระบวนการทํางาน (Procedure)

ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน

Embed Size (px)

Citation preview

องคประกอบพ้ืนฐานของระบบคอมพิวเตอรองคประกอบพ้ืนฐานของระบบคอมพิวเตอร

¡ ฮารดแวร (Hardware)¡ ซอฟตแวร (Software)¡ บุคลากร (Peopleware)¡ ขอมูล (Data)¡ กระบวนการทํางาน (Procedure)

ฮารดแวรฮารดแวร ((HardwareHardware))¡ ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง ตัวเครือ่งคอมพวิเตอรและอปุกรณรอบขาง (Peripheral) ที่สามารถสมัผสัได โดยจะประกอบดวยอุปกรณทางดานอเิลก็ทรอนิกสทีค่วบคมุการประมวลผลขอมลู การรบัขอมลู การแสดงผลขอมูลของเครือ่งคอมพิวเตอร

องคประกอบของฮารดแวรองคประกอบของฮารดแวร

¡ หนวยรับขอมลู (Input Unit)¡ หนวยประมวลผลขอมูล (Central ProcessingUnit : CPU)

¡ หนวยเกบ็ขอมลู (Memory Unit)¡ หนวยติดตอสื่อสาร (Communication Unit)¡ หนวยแสดงผล (Output Unit)

หนวยรับขอมูลหนวยรับขอมูล ((InputInput UnitUnit))

ทําหนาท่ีรับขอมูลจากภายนอกคอมพิวเตอรเข าสู หน วยความจํ า แล ว เปลี่ ยน เปนสัญญาณในรูปแบบท่ีคอมพิวเตอรสามารถเขาใจได

เมาสเมาส ( (MouseMouse) )

คียบอรดคียบอรด ( (KeyboardKeyboard) )

สแกนเนอรสแกนเนอร ( (ScannerScanner) )

หนวยประมวลผลกลางหนวยประมวลผลกลาง ((CentralCentral ProcessingProcessing UnitUnit -- CPUCPU))

lหนวยควบคุม (Control Unit)lหนวยคํานวณและตรรกะ

(Arithmetic & Logical Unit : ALU)lหนวยความจํา(Memory Unit)

หนวยประมวลผลกลางหนวยประมวลผลกลาง ((CentralCentral ProcessingProcessing UnitUnit -- CPUCPU))

lหนวยควบคุม (Control Unit) ทําหนาที่ในการควบคุมการทํางานของเคร่ืองคอมพิวเตอรทั้งระบบ เปรียบเสมอืนศนูยกลางของระบบประสาท หนาที่ของหนวยควบคุม คือ อานคําส่ังที่เก็บไวในหนวยความจํา ถอดรหัสคําส่ัง และทํางานตามคําส่ัง ที่ละคําส่ังจนหมดคําส่ังที่จะประมวลผล

หนวยประมวลผลกลางหนวยประมวลผลกลาง ((CentralCentral ProcessingProcessing UnitUnit -- CPUCPU))

หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU)

จะมีหนาที่ในการทํางาน 2 ลักษณะคือl 1. ประมวลผลการคํานวณเชิงคณิตศาสตร

(Arithmetic Operation)l 2. ประมวลผลเชิงตรรกวิทยา

(Logical Operation)

หนวยความจําหนวยความจํา ((MemoryMemory UnitUnit))

คือ สวนที่ทําหนาที่เก็บขอมูลหรือคํ าสั่ งที่ รับจากหนวย รับขอมูล เพ่ือเตรียมสงใหหนวยประมวลผลกลาง

หนวยความจําหนวยความจํา ((MemoryMemory UnitUnit))

หนวยความจําแบงออกเปน 2 ประเภท1) หนวยความจําหลกั (Main Memory Unit)หนวยความจําที่เก็บขอมูล และโปรแกรมคําสั่ง ที่อยูระหวางการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร 2) หนวยความจําสํารอง (Secondary Memory) หนวยความจําสํารองจึงมีหนาที่ในเกบ็ขอมลูและโปรแกรมคําสั่งอยางถาวร

หนวยความจําหลักหนวยความจําหลัก ((Main Memory UnitMain Memory Unit))

l หนวยความจําถาวร (Permanent Memory)(Read Only Memory : ROM)เปนชิปที่บันทกึโปรแกรมคําสั่งอยางถาวรโดยผูผลิตคอมพิวเตอร

สามารถเรียกอานและใชงานไดแตไมสามารถแกไขหรือเพ่ิมเติมโปรแกรมคําสั่งในภายหลังได

หนวยความจําหลักหนวยความจําหลัก ((Main Memory UnitMain Memory Unit))

l หนวยความจําช่ัวคราว (Non-Permanent Memory) (Random Access Memory-RAM)l คือ หนวยความจําที่เก็บโปรแกรมคําสั่งและขอมูลขณะที่คอมพิวเตอรกําลังทํางานอยู จงึเปรียบเสมือนกระดาษทด แตถาปดเคร่ืองหรือไฟดับขอมูลหรือโปรแกรมคําสั่งที่อยูภายในแรมจะสูญหาย

Random Access Memory-RAM

หนวยความจําสํารองหนวยความจําสํารอง ((Secondary MemorySecondary Memory))

l เนื่องจากหนวยความจําหลักไมสามารถเก็บขอมูลไดหมดและสามารถเก็บขอมูลได ช่ัวคราวในขณะที่ ใชงาน หนวยความจํา สํารองจึงมีหนาที่ ใน เก็บขอมูลและโปรแกรมคําส่ังอยางถาวร นอกจากนั้นหนวยความจําสํารองยังเปนส่ือในการเรียกใชขอมูลและโปรแกรมคําส่ังจากคอมพิวเตอรเคร่ืองหนึ่งไปยังคอมพิวเตอรอีกเคร่ืองหนึ่งได

ซีดีซีดี (Compact Disk (Compact Disk -- CD)CD)

lซีดีเพลง (Audio CD)lวีซีดี (Video CD)lซีดี-อาร (CD Recordable : CD-R)lซีดี-อารดับบลิว (CD-Rewritable : CD-RW)

หนวยแสดงผลหนวยแสดงผล ((OutputOutput UnitUnit))

จอภาพ (Monitor)

จอภาพแบบ CRT จอภาพแบบ LCD

คอมพิวเตอรฮารดแวร

คอมพิวเตอรฮารดแวร หมายถึง ตัวเคร่ืองคอมพิวเตอร และอุปกรณรอบขางท่ีเกี่ยวของ ซ่ึงประกอบดวยสวนสําคัญ คือ

l หนวยรับขอมูล (Input Unit)l หนวยประมวลผล (Processing Unit)l หนวยแสดงผล (Output Unit)l หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage

Unit)

หนวยรับขอมูล (Input Unit)

ทําหนาท่ีรับขอมูลจากผูใชเขาสูหนวยความจํา แบงเปน 6 ประเภท ไดแก

1. อุปกรณแบบกด (Keyed Device) เชน แปนพิมพ (Keyboard)

2. อุปกรณช้ีตําแหนง เชน เมาส (Mouse) , ลูกกลมควบคุม (Track ball), แทงช้ีควบคุม(Track point), แผนรองสัมผัส(Touch pad) , จอยสติก (Joystick)

3. จอภาพระบบไวตอการสัมผัส เชน จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen)

หนวยรับขอมูล (ตอ)

4. ระบบปากกา (Pen-Based system) ไดแก ปากกาแสง (Light pen) เครื่องอานพิกัด (Digitizing tablet)

5. ระบบอุปกรณกวาดขอมูล (Data Scanning Device) ไดแก เอ็มไอซีอาร (MICR) เครื่องอานรหสัแทง (Bar code Reader) สแกนเนอร(Scanner) เครื่องรูจําอักขระดวยแสง (OCR) เครื่องอานเครื่องหมายดวยแสง (OMR) กลองถายภาพดิจิตอล (DigitalCamera) กลองถายทอดวิดีโอดิจิตอล (Digital Video)

6. อุปกรณรูจาํเสียง (Voice Recognition Device) ไดแก อุปกรณวิเคราะหเสียงพูด (Speech Recognition Devide)

แปนพิมพ (Keyboard)

¡ เปนหนวยรับขอมูลที่นิยมใชกันมากที่สุด¡ เปนอุปกรณมาตรฐานในการปอนขอมูลสําหรับเทอรมินอล และ PC¡ มีลักษณะคลายกับแปนพิมพดีด แตมีจํานวนแปนมากกวา ¡ ใชรหัส 8 บิต ตอหนึ่งตัวอักษร (แทนตัวอักษรได 256 ตัว)¡ ถูกแบงออกเปน 4 กลุมดวยกันคือ แปนอักขระ (Character Keys) แปนควบคุม (Control Keys) แปนฟงกช่ัน (Function Keys) แปนตัวเลข (Numeric Keys)

แปนพิมพ (ตอ)

แปนพิมพบางประเภทออกแบบมาเพ่ือใชงานเฉพาะดาน เชน แปนพิมพท่ีใชในรานอาหารแบบเรงดวน (Fast Food Restaurant) จะใชพิมพเฉพาะชื่ออาหาร หรือแปนพิมพท่ีใชกับเคร่ืองฝากถอนเงินอตัโนมตั ิ(Automatic Teller Machine) เปนตน

เออรโกโนมิกส (Ergonomics)

เออรโกโนมิกส (Ergonomics) เปนศาสตรท่ีวาดวยเร่ืองการออกแบบอุปกรณใหมีความปลอดภัย และสะดวกสบายตอการใชงานของมนุษย

เมาส (Mouse)

¡ ขนาดและรูปรางตางกัน¡ ดานลางมีลูกกลมกลิ้ง / ระบบแสง¡ ดานบนมีปุมกด 2 / 3 / 4 หรือมีลอ (Wheel)¡ Click / Double Click / Right Click /

Drag and Drop¡ ไมสามารถปอนตัวอักษรได¡ ลดความผิดพลาดในการปอนขอมูล รวดเร็ว

ลูกกลมควบคุม (Track ball)

เปนลูกบอลเล็กๆ อาจวางติดตัวเคร่ือง (โนตบุก) หรือเปนอุปกรณแยกตางหาก เมือ่ผูใชหมุนลูกบอลกลม ก็จะมีการเกิดการเลื่อนตําแหนงของตวัชี้ตําแหนงบนจอภาพ มีหลักการทํางานเชนเดียวกับเมาส

แทงชี้ควบคุม (Track Point)

เปนแทงพลาสติกเล็กๆ อยูตรงกลางแปนพิมพ ระหวางอักษร G และ H บังคับโดยใชหัวแมมือเพ่ือเลื่อนตําแหนงของตวัชีต้ําแหนงบนจอภาพเชนเดียวกับเมาส

แผนรองสัมผัส (Touch Pad)

เปนแผนสีเหลี่ยมท่ีวางอยูหนาแปนพิมพ สามารถใชนิ้ววาดเพ่ือเ ลื่ อ น ตํ า แ ห น ง ข อ ง ตั ว ชี ้(Curser) ตําแหนงบนจอภาพเชนเดียวกับเมาส

จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen)

ผูใชเพียงแตะปลายนิ้วลงบนจอภาพในตําแหนงท่ีกําหนดแทนการใชเมาสหรือแปนพิมพ โดยจะมีซอฟตแวรเปนตัวคนหาวาผูใชเลือกคําส่ังหรือปอนขอมูลใดและจะทําตามนั้น นิยมใชใหขอมูลการทองเท่ียว และในรานอาหารแบบเรงดวน

จอยสติก (Joy stick)

เปนกานสําหรับใชโยกข้ึน-ลง ซาย-ขวา เพ่ือยายตําแหนงบนจอภาพ มีหลักการทํางานเชนเดียวกับเมาส แตจะมีแปนกดสําหรับส่ังงานพิเศษ นิยมใชในการเลนเกมสหรือควบคุมหุนยนต

ปากกาแสง (Light pen)

ใชวาดลักษณะหรือรูปแบบของขอมูลใหปรากฏบนจอภาพ การใชงานทําไดโดยการแตะปากกาแสงลงบนจอภาพตามตําแหนงท่ีตองการ นิยมใชงานกับคอมพิวเตอรชวยออกแบบ (Computer Aided Design: CAD) รวมท้ังปอนขอมูลสําหรับ PDA

เคร่ืองอานพิกัด (Digitizing tablet)

ประกอบดวยกระดาษท่ีมีเสนแบง (Grid) ซ่ึงสามารถใชปากกาเฉพาะเรียกวา สไตลัส (Stylus) ชี้ไปบนกระดาษเ พ่ื อ ส ง ข อ มู ลตํ า แ ห น ง เ ข า ไ ป ยั ง เ ค ร่ื อ งค อม พิ ว เ ต อ ร นิ ย ม ใ ช ใ น ก า รออกแบบรถยนต หุนยนต อาคาร อุปกรณทางการแพทย

เอ็มไอซีอาร(Magnetic Ink Character Recognition:MICR)

ใชในการตรวจสอบเช็คธนาคาร โดยเคร่ืองจะทําการเขารหัสธนาคาร รหัสสาขา เลขท่ีบัญช ีและเลขท่ีเช็ค ดานลางซายของเช็ค

รหัสแทง (Bar Code)

¡ เริ่มใชในป 1970 โดยพิมพเปนแถบสีดํา-ขาวตอเนื่องเรียงกันเรียกวา รหัสแทง (Bar code)

¡ ไมตองพิมพขอมูลดวยแปนพิมพจึงลดความผิดพลาดและประหยัดเวลา¡ มาตรฐานทีใ่ชในปจจุบัน

l มาตรฐาน UPC (Universal Product Code) เปนการเขารหัสตัวเลข 12 หลัก

l มาตรฐาน Code 39 (Three of Nine) สามารถทาํรหัสไดทั้งตัวเลขและตัวอักษร

¡ ปจจุบันไดรับความนยิมอยางมาก เชน จุดเก็บเงิน ตามรานสะดวกซื้อ หางสรรพสินคา

รหัสแทงและเคร่ืองอาน

สแกนเนอร (Scanner)

¡ ใชอานหรือสแกน (Scan) ขอมูลที่เปนเอกสาร (ขอความหรือรูปภาพ) ม ี2 เทคโนโลย ีคือl CCD: Charge Couple Device ใหความละเอียดและคุณภาพดีl CIS: Contact Image Sensor อุปกรณขนาดเล็ก เบา คณุภาพดอย

กวา¡ แบงประเภทตามลักษณะการใชงานเปน 3 ประเภท

l สแกนเนอรมอืถอื ขนาดเล็ก ผูใชถืออปุกรณกวาดไปบนภาพl สแกนเนอรแบบสอดกระดาษ สอดภาพ/เอกสารยังชองสําหรับอานขอมลูl สแกนเนอรแบบแทน ใชมากในปจจุบัน ทํางานคลายเคร่ืองถายเอกสาร

¡ สิ่งที่ไดจากการสแกนจะอยูในรูปของขอมูลดิจิตอล เก็บไวไดนาน

สแกนเนอร (Scanner)

เคร่ืองรูจําอักขระดวยแสง (โอซีอาร)(Optical Character Recognition: OCR)

¡ เปนอปุกรณสําหรับอานขอมูลท่ีเปนตัวอักขระบนเอกสารตาง ๆ และทําการแปลงขอมูล

¡ แบบดิจิตอลท่ีอานไดไปเปนตัวอักษรโดยอตัโนมตัิ¡ ซอฟตแวรสําหรับวเิคราะหตวัอกัษรจากขอมูลท่ีไดจากสแกนเนอร¡ ยังพบขอผิดพลาดจากการตีความอักขระ¡ ใชในงานท่ีเก็บเอกสารจํานวนมากเชน หองสมุดตาง ๆ

เคร่ืองอานเคร่ืองหมายดวยแสง (โอเอ็มอาร)(Optical Mark Reader: OMR)

¡ เปนอุปกรณท่ีใชหลักการอาน¡ สัญลักษณหรือเคร่ืองหมายท่ีระบายดวย¡ ดินสอดําลงในตําแหนงท่ีกําหนด¡ ดินสอดําท่ีระบายตองมีสารแมเหล็ก¡ (Magnetic particle) จํานวนหนึ่งเพ่ือให¡ เคร่ืองโอเอ็มอารสามารถรับรูได

กลองถายภาพดิจิตอล (Digital Camera)

¡ ไมตองใชฟลม เก็บภาพถายในลักษณะดิจิตอล¡ ความละเอียดของรูปประมาณ 1-5 ลานจุด (pixel)¡ รูปท่ีถายไวสามารถนําเขาเคร่ืองคอมพิวเตอรไดทันที

กลองถายทอดวีดีโอ (Digital Video)

¡ เปนอุปกรณท่ีใชสําหรับบันทึกภาพเคลื่อนไหวและเก็บเปนขอมูลแบบดิจิตอลนยิมใชในการประชมุทางไกลผานวิดีโอ (Video Teleconference)

อุปกรณรูจําเสียง (Voice Recognition)

¡ รับสัญญาณเสียงท่ีมนุษยพูดและแปลงเปนสัญญาณดิจิตอล¡ ปญหา: คนพูดคนละคน / ตองใหคอมพิวเตอรเรียนรูระยะหนึ่งกอน¡ ใชสําหรับผูพิการตาบอด หรือมอืไมวางพอท่ีจะกดแปนพิมพ

หนวยประมวลผล (Central Processing Unit)

ซีพีย ู(CPU) เปรียบเสมือนสมองของคอมพิวเตอร ซึ่งมีความซับซอนมากที่สุด หนวยประมวลผลกลางรุนใหม ๆ จะมีขนาดเล็กลงแตความเร็วสูงข้ึน

ผูผลิตหนวยประมวลผลกลางสําหรับเครื่อง IBM PC ไดแก อินเทล (Intel)เอเอ็มดี (AMD) ไซริกซ (Cyrix) และทรานสเมตา (Transmeta) สําหรับเครื่องแอปเปลแมคอินทอช ไดแก โมโตโรลา (Motorola)

วงจรในหนวยประมวลผลกลางเรียกวา “ไมโครโปรเซสเซอร”(Microprocessor) ซึ่งประกอบดวยหนวยสาํคัญ 2 หนวย ไดแก

l หนวยควบคุมl หนวยคํานวณและตรรกะ

หนวยประมวลผล (ตอ)

หนวยประมวลผลทําหนาท่ีในการคํานวณ เปนสวนท่ีมีความซับซอนซ่ึงแบงออกเปน 2 สวน ไดแก

l หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit:CPU)- หนวยควบคมุ (Control Unit)- หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit)- รีจิสเตอร (Register)

l หนวยความจําหลัก (Main memory Unit)- หนวยความจําหลักแบบอานไดอยางเดยีว (Read Only

Memory)- หนวยความจําหลักแบบแกไขได (Random Access

Memory)

หนวยประมวลผล (ตอ)

ภายในหนวยประมวลผล

หนวยควบคุม (Control Unit: CU) ทําหนาที่ควบคมุการทาํงานของเคร่ืองคอมพิวเตอรทัง้ระบบ เชน ควบคมุการรับขอมูล ควบคุมการทํางานของหนวยความจําหลกั เปรียบเสมอืนศูนยกลางของระบบประสาท

หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit: ALU) ทําหนาที่

ประมวลผลการคาํนวณทางคณติศาสตรและการเปรียบเทียบทางตรรกะรีจิสเตอร (Register) ทําหนาที่เกบ็และสงขอมูลหรือคาํสั่งเขามาในซพีียูบัส (Bus) เปนเสนทางในการสงผานสญัญาณไฟฟา ภายในระบบคอมพิวเตอรหนวยประมวลผลเสริม (Math Coprocessor) เปนซีพียูอีกตัวหน่ึงที่ทําหนาที่เฉพาะ

ดานเพื่อเพิ่มประสทิธิภาพของเคร่ืองคอมพวิเตอร เชน ชวยคาํนวณตัวเลข

intel

¡ 286¡ 386DX¡ 486¡ 586 ~ P¡ PII¡ PIII¡ P4

ภายในหนวยประมวลผล (ตอ)

Input/Out Devices

Main Memory System (RAM)

CPU

Register ALU

CU

ความเร็วของหนวยประมวลผล

¡ ความเร็วของซีพียหูรือประมวลผลจะถูกควบคุมโดยสัญญาณนาฬิกา (System Clock)

¡ หนวยวัดความเร็วของสัญญาณนาฬิกา เรียกวา เฮิรตซ (Hz: Hertz) ซ่ึงเทียบเทากับ 1 คร้ังตอวินาที

¡ ความเร็วในยคุปจจุบันของเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอรคือ- Megahertz หรือ MHz = 1 000 000 ครั้งตอวนิาท ี- Gigahertz หรือ GHz = 1 000 000 000 ครั้งตอ

วินาที

หนวยความจําหลัก (Main Memory Unit)

เปนอุปกรณที่ใชในการจดจําขอมูลและโปรแกรมตาง ๆ ที่อยูระหวางการประมวลผลของคอมพิวเตอร แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก

แบบอานไดอยางเดียว (Read Only Memory: ROM) เปนหนวยความจําที่มีคุณสมบัตใินการเก็บขอมูลไวไดตลอดเวลาโดยไมตองใชไฟฟาหลอเลี้ยง (Nonvolatile) นยิมใชเปนหนวยความจําสําหรบัเก็บชุดคําสั่งเริ่มตนระบบ ขอเสียของ ROM คือ ไมสามารถแกไขหรือเพ่ิมชุดคําสั่งไดในภายหลัง

แบบแกไขได (Random Access Memory: RAM) เปนหนวยความจําความเร็วสูงที่ใชเก็บโปรแกรมและขอมูลในคอมพิวเตอรเปรียบเสมือนกระดาษทด ถาคอมพิวเตอรมีหนวยความจํามากก็สามารถทาํงานไดเรว็มาก

ประเภทของ ROM

PROM (Programmable Read-Only Memory) เปน ROM ทีส่ามารถบนัทกึดวยเครื่องบนัทกึพิเศษไดหนึ่งครั้ง จากนั้นจะลบหรือแกไขไมได

EPROM (Erasable PROM) เปน ROM ที่ใชแสงอัลตราไวโอเลตในการเขียนขอมูล สามารถนาํออกจากเครื่องคอมพิวเตอรไปลบโดยใชเครื่องมือพิเศษและบันทึกขอมูลใหมได

EEPROM (Electrically Erasable PROM) เปนการรวมขอดีของ ROM และ RAM เขาไวดวยกันไมตองใชไฟฟาหลอเลี้ยง สามารถแกไข ลบขอมูลที่เก็บไวไดดวยโปรแกรมพิเศษ ขอดอยคือ ราคาสูงและเก็บขอมูลไดต่ํากวาหนวยเก็บขอมูลสํารอง ตัวอยางเชน หนวยความจําแบบแฟลช (Flash memory)

ประเภทของ ROM

ประเภทของ RAM

DRAM (Dynamic RAM) เปนหนวยความจําท่ีมีการใชงานกันมากท่ีสุดในปจจุบัน ใชวงจรคลายตัวเก็บประจุในการเก็บขอมลูแตละบิต ทําใหตองมีการย้ําสัญญาณไฟฟาซ่ึงเรียกวาการรีเฟรช (Refresh) ขอดีคือมีคาคาต่ํา แตขอเสียคือความเร็วในการเขาถึงขอมูลไมสูงนัก ตัวอยางเชน FPM RAM, EDO RAM,SDRAM, DDR SDRAM, RDRAM

นอกจากนีย้ังมี DRAM แบบพิเศษท่ีใชสําหรับปรับปรุงความเร็วของหนวยแสดงผลแบบกราฟก อีกดวย

ประเภทของ RAM

SRAM (Static RAM) เปนหนวยความจําความเร็วสูงและใชพลังงานนอยเนื่องจากขอมูลที่เก็บดวย SRAM จะคงอยูโดยไมตองทําการรีเฟรช ขอเสียคือราคาสูง จึงนิยมนํา SRAM เปนหนวยความจําแคช (Cache memory)

หนวยความจําแคช (Cache Memory) เปนหนวยความจาํ (SRAM) ที่ออกแบบมาชวยเพ่ิมความเรว็ใหกับอุปกรณบางสวนที่ทาํงานชาใหทํางานเร็วข้ึน

หนวยความจําเสมือน (Virtual Memory) เปนการนําพ้ืนที่ของหนวยเก็บขอมูลสํารอง (ฮารดดสิก) มาจําลองเปนหนวยความจํา เนื่องจากหนวยความจําของระบบมีจํากัดและมีราคาสูง

ประเภทของ RAM

หนวยแสดงผล (Output Unit)

ทําหนาท่ีแสดงผลลัพธจากคอมพิวเตอรไปยังผูใช แบงไดเปน 2 ประเภท¡ หนวยแสดงผลชั่วคราว (Soft copy) เปนการแสดงผลใหผูใชไดรับทราบในขณะนั้น แตเมื่อเลิกการทํางานหรือเลิกใชแลวกจ็ะหายไป เชน จอภาพ(Monitor) อุปกรณฉายภาพ (Projector) อุปกรณเสียง (Audio Output)¡ หนวยแสดงผลถาวร (Hard copy) เปนการแสดงผลท่ีสามารถจับตองไดและเคลือ่นยายไดตามความตองการ มักออกมาในรูปของกระดาษ เชนเคร่ืองพิมพ (Printer) เคร่ืองพลอตเตอร (Plotter)

จอภาพ (Monitor)

ใชแสดงขอมูลหรือผลลัพธใหผูใชเห็นไดทันที มีรูปรางคลายจอภาพของโทรทัศน ประกอบดวยจุด (Pixel) มากมาย ประเภทของจอมี 2 ประเภท¡ จอซีอารที (Cathode Ray Tube: CRT) ใชหลักการยิงแสงผานหลอดภาพคลายกับเคร่ืองรับโทรทัศน นิยมใชกับเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร¡ จอแอลซีด ี(Liquid Crystal Display:LCD) ใชหลักการเรืองแสงเมื่อผานกระแสไฟฟาเขาไปในผลึกเหลว นิยมใชในเคร่ืองคอมพิวเตอรแบบพกพาขอดีคือใชพ้ืนท่ีนอย น้ําหนักเบา กินไฟต่ํา แผรังสีนอย

จอภาพ (Monitor)

จอ LCD จอ CRT

เร่ืองนารูเก่ียวกับจอภาพ

ความละเอียดของจอภาพ (Resolution) ปจจุบันเปนจอภาพสีแบบซูเปอรวีจีเอ ( Super Video Graphics Adapter:Super VGA) ความละเอียดต่ําที ่800 x 600 จุด (แนวนอนxแนวตั้ง) ความละเอียดสูง XGA 1024 x 768, SXGA 1280 x 1024, UXGA 1600 x 1200 ซึ่งใหความคมชัดสูงตามลําดบั อีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหภาพคมชัดมากข้ึนไดแกระยะหางระหวางจดุ (Dot pitch)

จํานวนสี (Color) คาของสีที่แสดงจะแทนดวยตัวเลข 16 บิต แทนได 65,536 สี (High color) ถาใช 24 บิต จะแสดงได 16,777,216 สี (True color)

ขนาดของจอภาพปจจุบันเนนการแสดงภาพกราฟกมาก จึงนิยมใชจอภาพในขนาด 15 หรือ 17 นิ้วข้ึนไป

เร่ืองนารูเก่ียวกับจอภาพ (ตอ)

การเชื่อมตอ จะทําการเชื่อมตอกับการดวิดีโอ (Video Card) ซ่ึงจะเสียบอยูกับแผงวงจรหลกัของคอมพิวเตอร

อัตราการเปล่ียนภาพ (Refresh rate) ของการดวิดีโอ คืออตัราในการลบภาพเดิมและแสดงภาพใหม ซ่ึงหากต่ํากวา 70 Hz หรือ 70 คร้ังตอวินาทีจะทําใหผูชมเหน็ภาพกระพริบและเกดิอาการปวดศีรษะได

อุปกรณฉายภาพ (Projector)

เปนอปุกรณท่ีนิยมใชในการเรียนการสอนหรือการประชมุ เนื่องจากสามารถนําเสนอขอมูลใหผูชมจํานวนมากเหน็พรอมๆ กัน อุปกรณฉายภาพจะมีขอแตกตางกันมากในเร่ืองกําลังสองสวาง

อุปกรณเสียง (Audio Output)

ป ร ะ ก อ บ ข้ึ น จ า ก ลํ า โ พ ง (Speaker) ซึ่ ง มี ห น า ที่ ใ น ก า รแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอรใหเปนสั ญ ญ า ณ เ สี ย ง แ ล ะ ก า ร ด เ สี ย ง (Sound card)ซึ่งเปนแผงวงจรเพ่ิมเติมที่นํามาเสียกับชองเสียบขยายบนเมนบอรดเพ่ือชวยใหคอมพิวเตอรสงเสียงผานลําโพงได

ใชเสียงเพ่ือรายงานหรือเตือนถึงค ว า ม ผิ ด พล า ด เ พ่ื อ เ ล น เ ก มส ดูภาพยนตร ฟงเพลง

เคร่ืองพิมพ (Printer)

เปนอุปกรณแสดงผลแบบถาวรท่ีไดรับความนิยมมาก มีใหเลือกหลายชนิดข้ึนอยูกับคุณภาพ ความละเอียด ความเร็ว ขนาดกระดาษ และเทคโนโลยีเคร่ืองพิมพแบงตามวิธีการพิมพได 2 ชนิด คือ เคร่ืองพิมพชนิดตอก (Impact printer) เคร่ืองพิมพชนิดไมตอก (Nonimpact printer)

เคร่ืองพิมพชนิดตอก (Impact Printer)

¡ ใชการตอกใหคารบอนบนผาหมึกติดบนกระดาษตามรปูแบบที่ตองการ¡ สามารถพิมพสําเนาไดครั้งละหลายชุด ใชกระดาษตอเนื่องได¡ ความเร็วในการพิมพมีหนวยเปนบรรทัดตอนาท ี(Line per minute:

lpm)¡ ขอเสีย คือ มีเสียงดัง และคุณภาพงานพิมพไมดีนัก¡ แบงเปน 2 ประเภท

– เคร่ืองพิมพอักษรหรือเคร่ืองพิมพแบบจุด (Character printer หรือ Dot matrix printer)

ซึ่งจะพิมพทีละหน่ึงตัวอักษร ตัวแตละตัวอกัษรถกูสรางขึ้นจากจุดเล็ก ๆ จํานวนมาก– เคร่ืองพิมพบรรทดั (Line printer) พิมพทีละหน่ึงบรรทัด พิมพงานไดเร็ว แตจะ

มีราคาสูง นิยมใชกบัเคร่ืองคอมพวิเตอรขนาดใหญ

เคร่ืองพิมพชนิดตอก (ตอ)

Line printer Dot matrix printer

เคร่ืองพิมพชนิดไมตอก (Nonimpact Printer)

¡ ใชเทคนิคการพิมพจากวิธีการทางเคมี พิมพไดเร็วและคมชัดกวาชนิดตอก¡ พิมพไดทั้งตัวอักษรและกราฟกไมมีเสียงขณะพิมพไมสามารถพิมพสําเนาได¡ ความเร็ววัดเปนหนาตอนาท ี(page per minute: ppm)¡ แบงเปน 3 ประเภท

– เคร่ืองพิมพเลเซอร (Laser printer) ใชแสงเลเซอรสรางประจุไฟฟาทําใหโทนเนอรสรางภาพที่ตองการและพมิพลงบนกระดาษ ความละเอียดวัดเปนจุดตอน้ิว (dpi)– เคร่ืองพิมพฉีดหมกึ (Inkjet printer) พิมพภาพสไีดคณุภาพใกลเคยีงกับภาพถาย ราคาถูกกวาชนิดเลเซอร ใชหมึกสามสี (นํ้าเงิน, มวงแดง, เหลอืง) และสีดํา– เคร่ืองพิมพความรอน (Thermal printer) คุณภาพสูง (พิมพไดใกลเคยีงภาพถาย)ราคาแพง

เคร่ืองพิมพชนิดไมตอก (ตอ)

Inkjet printerLaser printer

พลอตเตอร (Plotter)

ใช เ ขี ยนภาพสําห รับงาน ท่ีตองการความละเอียดสูงเนื่องจากใชปากกาในการกวาดเสน จึงไดเสนท่ีตอเนื่องกันตลอดปจจุบันใชร ะบบฉี ดหมึ ก แทน ใช ใ น ง านออกแบบตองการความสวยงามและความละเอียดสูง มีราคาคอนขางแพง พิมพกระดาษไดใหญ

หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage Unit)

สื่อสําหรับเก็บขอมูลจะเก็บไวในรูปเลขฐานสองคือ 0 กับ 1 ทั้งสิ้น เนื่องจากหนวยความจําหลักหรือแรมไมไดเก็บขอมูลอยางถาวร ถาปดเครื่องหรือไฟดับขอมูลก็จะหายไป จึงตองทาํการจัดเก็บขอมูลโดยยายจากหนวยความจาํหลกัมาไวในหนวยเก็บขอมูลสํารอง

หนวยเก็บขอมูลสาํรองในปจจุบันมรีาคาถกูมากเมื่อเทียบกับหนวยความจําหลักทําใหเก็บขอมูลไดมาก อยางไรก็ตามหนวยเก็บขอมูลจะมีความเร็วในการอานและบันทกึขอมูลต่ํากวาหนวยความจําหลกั

หนวยเก็บขอมูลสาํรองในปจจุบันมหีลายชนดิ แบงเปนประเภทใหญ ๆ ไดดังนี้เทป จานแมเหล็ก ออปติคัลดิสก และหนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช

เทปแมเหล็ก (Magnetic Tape)

¡ เปนสื่อเก็บขอมูลที่ใชมาตั้งแตคอมพิวเตอรยุคที่ 1 และ 2¡ มีหลกัการทาํงานคลายเทปบนัทกึเสียง จะอานขอมูลตามลาํดับกอนหลงัทีไ่ด

บันทึกไว โดยเรียกหลักการนี้วา “การเขาถึงขอมูลตามลําดับ”(Sequential access)

¡ มวนเทป(Reel-to-reel) / คารทรดิจเทป (Cartridge) / ตลับเทป (Cassette)

¡ นิยมนําเทปแมเหล็กมาสํารองขอมูลที่สําคัญไมถูกเรียกใชบอย¡ ความจุหรือความหนาแนนของเทปแมเหล็กมีหนวยเปน ไบตตอนิ้ว (Bpi)¡ ขอดี อาน-ลบก่ีครั้งก็ได / ราคาต่าํ / บันทึกขอมูลมาก ๆ ไดอยางรวดเรว็¡ ขอเสีย อานขอมูลไดชาเพราะตองอานเปนลําดับ

เทปแมเหล็ก (Magnetic Tape)

จานแมเหล็ก (Magnetic Disk)

¡ เปนสื่อที่สามารถเก็บขอมูลไดจํานวนมาก ทํางานไดเร็วกวาเทปมาก¡ ใชคูกับหัวอานที่เรียกวา “ตัวขับจานแมเหล็ก” (Disk drive)¡ สามารถเขาถึงขอมูลโดยตรง (Direct access) โดยใชหลักการของ

การเขาถึงขอมูลแบบสุม (Random access) ซึ่งทําใหสามารถอานขอมูลมาใชไดทันที

¡ กอนใชงานจานแมเหล็กจะตองมีการฟอรแมต (Format) กอน¡ ตารางแฟต (FAT table) / แทร็ก (Track) / เซกเตอร

(Sector) /คลัสเตอร (Cluster)¡ จานแมเหล็กที่ไดรับความนิยมไดแก ฟลอปปดิกส (Floppy disk) และ

ฮารดดสิก (Hard disk)

ฟลอปปดิสก (Floppy Disk)

¡ บางคร้ังเรียกวา ดิสกเก็ต (Diskette) เปนแผนพลาสติกวงกลม ขนาด 3.5 นิ้ว (วัดเสนผานศูนยกลาง) บรรจุอยูในพลาสติกแบบแข็ง

¡ อานและเขียนขอมูลผานดิสกไดรฟ (Disk drive)¡ แถบปองกันการบันทึก (Write-Protection) ใชเพ่ือ

ปองกันการบันทึกขอมูล¡ จํานวนขอมูลท่ีสามารถเก็บไดข้ึนอยูกับความหนาแนนของสาร

แมเหล็กปจจุบันอยูอยูท่ี 1.44 MB

ฟลอปปดิสก (ตอ)

ฮารดดิสก (Hard Disk)

¡ ทําจากแผนโลหะแข็งเรียกวา Platters จํานวนหลายแผน ทาํใหเก็บขอมูลไดมากและอานเขียนขอมูลไดอยางรวดเร็ว

¡ บันทึกขอมูลไดทั้งสองหนาของผิวจานแมเหล็ก¡ มีทั้งแบบยึดตดิในเครื่องและแบบสามารถเคลื่อนยายได (Removable

disk)¡ สิ่งกีดขวางบางอยาง เชน ฝุน ควัน อาจสรางความเสียหายใหกับหัวอานได¡ ปจจุบันมีความจุหลายกิกะไบต (GB) / หมุนไดเร็วตั้งแต 5,400 รอบตอนาที¡ มาตรฐานการเช่ือมตอที่นิยมใชในปจจุบัน คือ EIDE และ SCSI

ฮารดดิสก (Hard Disk)

ออปติคัลดิสก (Optical Disk)

ใชเทคโนโลยีแสงเลเซอร มหีลกัการทํางานคลายกับการเลนซีดี (CD) เพลงเก็บขอมูลไดจํานวนมากและราคาไมแพงมากนัก ในปจจุบันจะมอีอปติคอลอยูหลายประเภท ไดแก

l ซีดีรอม (Compact Disk Read Only Memory: CD-ROM)

l เอ็มโอดิสก (Magneto Optical disk: MO)l ดีวีดี (Digital Versatile Disk: DVD)

ซีดีรอม (Compact Disk Read Only Memory: CD-ROM)

¡ เก็บบันทึกขอมูลไดถึง 650 เมกะไบต / บันทึกดวยเครื่องมือเฉพาะ / ครั้งเดียว¡ ใชซีดีรอมไดรฟ (CD-ROM Drive) ในการอานขอมูล¡ ความเร็วในการอานเทียบกับ 150 กิโลไบตตอวินาท ี(1 เทาหรือ 1 X)¡ ปจจุบันไดรับความนยิมมาก เนื่องจาก สะดวกและไมตองเปลี่ยนแผนบอยใน

การติดตั้งโปรแกรมที่มากับแผนซีดรีอม โอกาสเสียนอย ตนทุนต่าํ¡ ซีดีอาร (CD-R) เก็บขอมูลได 600-900 MB เหมาะสําหรบัมัลตมิีเดยี¡ ซีดีอารดับเบิลย ู(CD-RW) สามารถลบและบันทึกใหมได / ความเร็วใน

การเขียนแผน CD-R ความเร็วในการเขียนแผน CD-RW ความเร็วในการอาน

ซีดีรอม (ตอ)

เอ็มโอดิสก (Magneto Optical disk: MO)

¡ ใชหลักการของสื่อที่ใชสารแมเหล็กและสื่อที่ใชแสงเลเซอรรวมกัน¡ ใชแสงเลเซอรในการบันทึกและอานขอมูล ลดความผิดพลาดจากการลมเหลว

ของหัวอาน (หัวอานไมจําเปนตองเขาใกลดิสก) และปลอดภัยจากสนามแมเหล็ก¡ มีความจุสูงมากตั้งแต 200 MB ข้ึนไป¡ ความเร็วสูงกวา Floppy Disk และ CD-ROM แตต่ํากวา

Hard disk¡ มีอายุการใชงานกวา 30 ป¡ ขอเสีย : ราคาสูง การอานเขียนตองทํา 2 ข้ันตอนคือลบขอมูลเดิมแลวเขียน

ขอมูลใหม (จึงชากวาฮารดดสิกมาก)

เอ็มโอดิสก (ตอ)

ดีวีดี (Digital Versatile Disk: DVD)

¡ กําลังไดรับความนิยมอยางมากในปจจุบัน¡ เก็บขอมูลไดตั้งแต 4.7 GB – 17 GB¡ ความเร็วในการเขาถึง 600 KB – 1.3 MB ตอวนิาที¡ สามารถอานแผน CD-ROM แบบเกาได¡ DVD – RW สามารถบันทึกและลบขอมูลไดหลายคร้ัง

ดีวีดี (ตอ)

หนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช (Flash Storage)

พัฒนามาจากหนวยความจําแบบแฟลช (Flash memory) เพ่ือนําไปใชในอปุกรณแบบพกพาตาง ๆ เชน กลองดิจิตอล กลองวิดีโอ ซ่ึงจะมีขนาดเล็กน้ําหนักเบา ไมตองใชแหลงพลงังานหลอเลี้ยง ปจจุบันมีส่ือท่ีนิยมใชดังนี้

l การดคอมแพคแฟลช (Compact Flash)l เมมโมรี่สติ๊ก (Memory stick)l การดสมารทมีเดีย (SmartMedia)l การดมัลติมีเดีย (Multimedia Card)l การดซีเคียวดิจิตอล (Secure Digital)

หนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช (ตอ)

การดคอมแพคแฟลช (Compact Flash) นิยมเรียกวา CF Card พัฒนาโดยบริษัท ScanDisk ราคาต่ําสุดเมื่อเทียบกับหนวยเก็บขอมูลแฟลชอื่นๆ มีอายุการใชงานราว 100 ป โดยขอมลูไมเสียหาย ขนาดของความจุ 8 – 512MB

เมมโมร่ีสติ๊ก (Memory stick) ของบริษัทโซนี่ มีขนาดเทาหมากฝร่ัง ใชในอุปกรณตาง ๆ ของบริษัทโซนี่ เชน กลองดิจิตอล ในปจจุบันมีความจตุั้งแต 4 –256 MB อานขอมูลดวยความเร็ว 2.45 MB/s เขียนดวยความ 1.8 MB/s จุดดอยคือ ราคาคอนขางสูงและใชไดกับอุปกรณของโซนี่เทานั้น

หนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช (ตอ)

การดสมารทมีเดีย (SmartMedia) มีความจุตั้งแต 8 – 128MB มีการใชงานในอุปกรณกลองดิจิตอลและพีดีเอบางรุน ใชในกลองดิจิตอลและพีดีเอ

การดมัลติมีเดีย (Multimedia Card: MMC) ขนาดเล็กเทาแสตมป มีความจุสูงถึง 128 MB นิยมใชเก็บขอมูลประเภทเสียง MP3 ในเครื่องเลนแบบพกพาและมีการนํามาใชในอุปกรณ PDA ทั้งพ็อกเก็ตพีซีและปาลม

การดซีเคียวดิจิตอล (SD Card) พัฒนาตอจาก MMC โดยเพ่ิมในสวนของการเขารหัสขอมูลที่บันทึกไว เพ่ือปองกันการทําสําเนาโดยไมไดรับอนุญาต ใชในการบันทึกเพลงและหนังสืออิเล็กทรอนิกส ความจ ุ256 MB

หนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช (ตอ)

อุปกรณอ่ืนๆ

นอกจากอุปกรณในการรับขอมูล การประมวลผล การแสดงผล และการเก็บขอมูลสํารองแลว ระบบคอมพิวเตอรยังมีอุปกรณอื่นๆ ที่ทํางานรวมกันเพ่ือใหสามารถทํางานไดหรือเพ่ิมประสิทธิภาพในการทํางาน ซึ่งอุปกรณที่จะกลาวถึง ไดแก

l แผงวงจรหลัก (Main Board)l สวนเชื่อมตออุปกรณ

- ยูเอสบี (Universal Serial Bus: USB)- ไฟรไวร (FireWire, IEEE 1394)- อินฟราเรด (IrDA Port)

l อุปกรณสือ่สารขอมลู โมเด็ม (MODEM)l ยูพีเอส (UPS)

แผงวงจรหลัก (Main Board)

แผงวงจรหลัก (Main Board) หรือ แผงวงจรแม (Mother Board) เปนแผงวงจรไฟฟาขนาดใหญเพ่ือใชเชื่อมอุปกรณ/องคประกอบตาง ๆ ของเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร เชน ซีพียู หนวยความจํา รวมท้ังมีชองสําหรับตออุปกรณปอนขอมูลและแสดงผล (I/O) และชองขยายเพ่ิมเตมิ (Expansion slot) โดยอุปกรณท้ังหมดจะถูกบรรจุอยูในตัวถัง (Case) ซ่ึงมีลักษณะเปนกลอง

ในแผงวงจรหลักจะมนีาฬกิาระบบ (System Clock) ของเคร่ืองคอมพิวเตอรซ่ึงเปนปจจยัหนึ่งท่ีทําใหเคร่ืองคอมพิวเตอรทํางานชาหรือเร็ว

แผงวงจรหลัก (ตอ)

ยูเอสบี (Universal Serial Bus: USB)

เปนสวนเช่ือมตอที่ใชหลักการของบัสแบบอนุกรม ซึ่งเปนมาตรฐานและกําลังไดรับความนยิมอยางมากในปจจุบัน สวนเช่ือมตอยูเอสบีจะเปนบัสอเนกประสงคสําหรับตออุปกรณความเร็วต่ําทั้งหมดเพียงชองเดียว เชน การตอเมาส หรือเครื่องพิมพ

l ตออปุกรณไดสูงสุด 127 อุปกรณ / สายเชือ่มระหวางอปุกรณยาวไดถึง 5 เมตรl สนับสนุนการถอดหรือเปลี่ยนอุปกรณโดยไมตองปดเคร่ือง (Hot

Swapping)l สนับสนุนการใชงานแบบเสยีบแลวใชไดทันที (Plug and Play)l มี 2 มาตรฐาน ไดแก USB 1.1 (ความเร็ว 1.5 Mbps, 12 Mbps) และ

USB 2.0(ความเร็ว 480 Mbps)

ยูเอสบี (ตอ)

ไฟรไวร (FireWire)

เปนมาตรฐานการเชื่อมตอความเร็วสูงมากจาก IEEE ปจจุบันนํามาใชในอปุกรณท่ีตองการความเร็วสูงในการถายโอนขอมูล เชน กลองดิจิตอล กลองวิดีโอ ฮารดดิสกแบบพกพา

l ความเร็วสูงสุด 400 Mbpsl สามารถเช่ือมตออุปกรณได 63 อุปกรณ / 1 พอรตl สนับสนุนการสงขอมูลแบบรับประกันการสง (กันชองสัญญาณไวได)l เหมาะกับงานแบบเวลาจริง (Real-time) เชน การสงภาพวดิีโอl สนับสนุน Hot Swapping และ Plug and Play

เชนเดียวกับ USB

ไฟรไวร (FireWire)

อินฟราเรด (Infrared)

ปจจุบันสวนเชื่อมตอแบบอินฟราเรดไดถูกติดตั้งในอปุกรณจํานวนมาก เชน เคร่ืองพิมพ คอมพิวเตอรโนตบุค โทรศัพทเคลื่อนท่ี

l ไมตองใชสายในการเช่ือมตอจึงสะดวกกับอุปกรณแบบพกพาl มีคาใชจายต่ําl ระยะหางระหวางอุปกรณที่จะเช่ือมตอกันตองอยูระหวาง 1 – 3 เมตรl ตองไมมีสิ่งกีดขวางระหวางอุปกรณที่จะเช่ือมตอกัน

อินฟราเรด (ตอ)

โมเด็ม (MODEM)

เปนอุปกรณที่ใชในการเช่ือมตอระบบเครือขายภายนอกผานสายโทรศัพท ซึ่งปกติจะใชสงสัญญาณเสียงเทานั้น สงขอมูลเปนสัญญาณอนาลอก (Analog) โดยแปลงจากสัญญาณดิจิตอล (Digital) ความเรว็สูงสุดในการสง 56Kbps ตามมาตรฐาน V.90 ของ ITU โมเด็มสามารถแบงไดเปน 4 ประเภท ไดแก

l แบบภายใน (Internal MODEM) อยูในเคร่ือง / ราคาถูก / ไมตองตอไฟเพิ่ม

l แบบภายนอก (External MODEM) เคลือ่นยายไดสะดวก / มีไฟแสดงสถานะ

l แบบกระเปา (Pocket MODEM) ขนาดเลก็ / พกพาสะดวก / ตอพอรตอนุกรม

l แบบการด (PCMCIA MODEM) ขนาดเทาบัตรเครดิต / ใชกับโนตบุค

โมเด็ม (ตอ)

Internal MODEM

External MODEM Pocket MODEM

PCMCIA MODEM

ยูพีเอส (UPS)

เปนอุปกรณสําหรับจายกระแสไฟฟาสํารองจากแบตเตอรร ีเพ่ือเปนแหลงพลังงานฉุกเฉินในกรณีเกิดปญหากับระบบไฟฟาหลัก เชน ไฟดับ โดยปกติยูพีเอสจะจายไฟเพ่ือใหคอมพิวเตอรทํางานไดระยะหนึ่ง เพ่ือใหผูใชจดัเก็บขอมูลหรอืปดระบบ

l Standby power system เวลาปกติใชระบบไฟฟาหลกัโดยตรง แตจะคอยตรวจสอบพลังงานไฟฟาและจะเปลี่ยนไปใชพลงังานจากแบตเตอร่ีทันทีที่ตรวจพบปญหา ขอดีคือราคาตํ่า สูญเสียพลังงานไฟฟานอย ขอเสียชวงเวลาที่เปลี่ยนมาใชแบตเตอร่ีอาจทาํใหคอมพิวเตอรไมไดรับพลงังานเน่ืองจากตองใชเวลาระยะหน่ึง

l On-line UPS system เปนระบบยูพเีอสที่จายพลงังานไฟฟาจากแบตเตอร่ีโดยตรงขอดีคอืไดรับพลงังานไฟฟาที่มีคณุภาพสงูตลอดเวลา ขอเสียคอืราคาแพง มีการสญูเสียพลงังานไฟฟากบัการแปลงตลอดเวลา มอีายุการใชงานสั้นกวาดวย

ยูพีเอส (ตอ)

ซอฟตแวรซอฟตแวร ((SoftwareSoftware))

ซอฟตแวร คือ ชุดคําสั่งหรือ โปรแกรมคําสั่งที่สั่งใหคอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรเปนตัวเช่ือมระหวางเคร่ืองคอมพิวเตอรและผูใชคอมพิวเตอร โดยผูใชระบุความตองการไวภายใตซอฟตแวรหลังจากนั้นซอฟตแวรจะทําหนาที่สั่งการควบคุมการทํางานของฮารดแวรทั้งหมด

ซอฟตแวรซอฟตแวร ((SoftwareSoftware))

ซอฟตแวร แบงได เปน 2 ประเภท l ซอฟตแวรระบบ

(System Software)l ซอฟตแวรประยุกต (Application Software)

ซอฟตแวรระบบซอฟตแวรระบบ ((System Software)System Software)

คือ โปรแกรมที่ทาํหนาที่ควบคุมการทาํงานพ้ืนฐานของฮารดแวร

•ระบบปฏิบัติการ (Operation System : OS)•โปรแกรมแปลภาษา (Translation Program)

ระบบปฏิบัติการ (Operation System)

หนาที่ของระบบปฏิบัติการหนาที่ของระบบปฏิบัติการ ควบคุมการปฏิบัติงานของระบบคอมพิวเตอรควบคุมการปฏิบัติงานของระบบคอมพิวเตอร จัดสรรทรัพยากรซึ่งใชรวมกันจัดสรรทรัพยากรซึ่งใชรวมกัน ((ShareShare ResourceResource))

ตัวอยางตัวอยาง ประเภทของซอฟตแวรระบบประเภทของซอฟตแวรระบบ DOSDOS ((DiskDisk OperationOperation SystemSystem))MicrosoftMicrosoft WindowsWindowsLinuxLinux

คือ โปรแกรมท่ีควบคุมการปฏบิตัิงานของฮารดแวร และเปนตัวเช่ือมสนับสนุนคําส่ัง

ซอฟตแวรประยุกตซอฟตแวรประยุกต

คือ โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพ่ือใหคอมพิวเตอรปฏิบัติการตามที่ผูใชตองการ ซอฟตแวรประยุกต แบงออกเปน 2 ประเภท l ซอฟตแวรสําเร็จรูป (Package

Program)l ซอฟตแวรใชงานเฉพาะ

ซอฟตแวรสําเร็จรูปซอฟตแวรสําเร็จรูป ((PackagePackage ProgramProgram))1 ซอฟตแวรสําเร็จรูป

(Package Program)คือ โปรแกรมคําสั่งท่ีบริษัทซอฟตแวรพัฒนาขึ้นแลวนําออกจําหนาย เพื่อนําไปใชงานไดเลย

ซอฟตแวรสําเร็จรูปซอฟตแวรสําเร็จรูป ((PackagePackage ProgramProgram))

1. ซอฟตแวรประมวลคํา (Word Processing Software)MicrosoftMicrosoft WordWord

2.ซอฟตแวรตารางการทํางาน (Spread Sheet Software)

MicrosoftMicrosoft ExcelExcel

3. ซอฟตแวรการจัดการฐานขอมูล (Data Base MangementSoftware) MicrosoftMicrosoft AccessAccess

ซอฟตแวรใชงานเฉพาะซอฟตแวรใชงานเฉพาะ

คือ โปรแกรมท่ีใชกับงานเฉพาะดานโปรแกรมเมอรจะพัฒนาขึ้นใชเฉพาะงานแตละประเภทใหตรงกับความตองการของผูใชเชน โปรแกรมควบคุมสินคาโปรแกรมจองหองพักของโรงแรม

ลักษณะการทํางานของซอฟตแวร

ซอฟตแวร (software) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่ควบคุมใหเครื่องคอมพิวเตอร ทํางานใหไดผลลัพธตามที่ตองการ

ซอฟตแวรแบงเปน 2 ประเภทคือ1) ซอฟตแวรระบบ (system software)2) ซอฟตแวรประยุกต (application software)

ซอฟตแวรระบบเปนส่ือกลางระหวางโปรแกรมประยุกตและอุปกรณคอมพวิเตอร

1) ระบบปฏิบัติการ (operating system)1.1 ระบบปฏิบตัิการเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอรuDOS

1.2 ระบบปฏิบตัิการแบบเปด uUNIX

uMicrosoft Windows

uLinux

2) ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร

2.1 คอมไพเลอร (compiler) เปนตัวแปลภาษาระดับสูง เชน ภาษาปาสคาล, โคบอลและภาษาฟอรแทรนใหเปนภาษาเคร่ือง

โปรแกรมตนฉบับ(Source program)

คอมไพเลอร(Compiler)

โปรแกรมเรียกใชงาน(executable program)

ผลลัพธ(output)

ขอมูลนําเขา(Input)

2.2 อินเตอรพรีเตอร (interpreter) เชน ภาษาเบสิก (BASIC)

2.3 แอสแซมเบลอ (assembler) เปนตัวแปลภาษาแอสแซมบลี(Assembly) ใหเปนภาษาเคร่ือง

โปรแกรมตนฉบับ(Source program)

อินเตอรพรีเตอร(Interpreter)

ผลลัพธ(output)

ขอมูลนําเขา(Input)

ซอฟตแวรประยุกตพัฒนาขึ้นเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานตามความตองการของผูใช

¡ โปรแกรมประมวลผลคํา เชน โปรแกรม Microsoft Word, Word Perfect และ Lotus Word Pro

การใชงานใชสําหรับจัดทําเอกสาร เชน รายงาน จดหมาย หนังสือ

ตัวอยางโปรแกรม Microsoft Word

¡ โปรแกรมดานการคํานวณ เชน โปรแกรม Microsoft Excel, Lotus1-2-3 และ Quattro Pro เปนตน

การใชงานใชสําหรับงานคํานวณตัวเลข ทํากราฟสถิต ิ เชน ทํางบกําไร-ขาดทุน รายงานการขาย รายงานคะแนน ฯลฯ

ตัวอยางโปรแกรม Microsoft Excel

¡ โปรแกรมการนาํเสนอขอมูล เชน โปรแกรม Microsoft PowerPoint

การใชงานใชสําหรับการนําเสนอขอมลูในการประชุม สัมมนา การบรรยายการเรียนการสอน

ตัวอยางโปรแกรม Microsoft PowerPoint

¡ โปรแกรมจัดการฐานขอมูล เชน Microsoft Access, และ FoxPro เปนตน

การใชงานใชสําหรับงานเก็บขอมูลจํานวนมาก เชน ขอมูลลูกคา สินคาคงคลัง ขอมูลบุคลากร

ตัวอยางโปรแกรม Microsoft Access

¡ โปรแกรมดานงานพิมพ เชน โปรแกรม Adobe PageMaker และ Microsoft Publisher

การใชงานใชสําหรับจัดหนาสิ่งพิมพตาง ๆ เชน แผนพับ หนังสือ นามบัตร ใบประชาสัมพันธ

ตัวอยางโปรแกรม Microsoft Publisher

โปรแกรมกราฟก จําแนกได 2 ประเภทn ประเภทที ่1 เปนโปรแกรมสําหรับตกแตงภาพ

เชน โปรแกรม Adobe PhotoShop, Microsoft Paint และ CorelDraw เปนตน

การใชงานใชสําหรับตกแตงภาพใหสวยงาม มีเครื่อมอืท่ีมีลกัษณะเหมือนดินสอ แปรง พูกัน และอุปกรณท่ีเลียนแบบของจริง

ตัวอยางโปรแกรม Adobe Photoshop

n ประเภทที ่2 เปนโปรแกรมสําหรับการออกแบบ เชน โปรแกรม AutoCAD และ Microsoft Visio

การใชงานใชสําหรับชวยออกแบบงานดานสถาปตยกรรมและวิศวกรรม เชน ชวยออกแบบบาน รถยนต ระบบไฟฟา หรือแผงวงจร

ตัวอยางโปรแกรม Microsoft Visio

¡ โปรแกรมดานมัลติมีเดีย เชน Macromedia Authorware, Macromedia Director และ ToolBook

การใชงานเปนโปรแกรมท่ีผสมผสานขอความ กราฟก เสียง วิดีโอ และภาพเคลื่อนไหวเขาดวยกัน ใชเพ่ือสรางสื่อการเรียนการสอน และการนําเสนอผลงาน

ตัวอยางโปรแกรม Macromedia Authorware

การใชงานใชในการแลกเปลี่ยนขาวสารและความคิดเห็นบนกระดานขาว

¡ โปรแกรมดานติดตอสื่อสาร ftp (file transfer protocol), ICQ, MIRC, MS Chatมีหลายประเภทดังนี้

n newgroup, webboard

ตัวอยาง Web board

การใชงานใชแสดงขอมูลบนเว็บเพจหรือใชติดตอสื่อสารผานอเีมล

n โปรแกรมเว็บเบราวเซอร เชน Internet Explorer และ Netscape

ตัวอยางโปรแกรม Internet Explorer

การใชงานใชโอนยายโปรแกรมหรอืแฟมขอมลูจากแหลงขอมลูในเครือขายอินเทอรเน็ตมาใชงานท่ีเครื่องของตนเอง

n โปรแกรมที่ชวยโอนยายโปรแกรมหรือแฟมขอมูล เชน File Transfer Protocol (FTP)

ตัวอยางโปรแกรม FTP

การใชงานใชสนทนากันโดยผานแปนพิมพหรือสื่อประสมอื่น ๆ สามารถโตตอบกันแบบคําตอคําไดทันที

n โปรแกรมทีใ่ชสนทนาพดูคุยโตตอบกนั เชน ICQ, MIRC, Microsoft Chat

ตัวอยางโปรแกรม ICQ

ตัวอยางโปรแกรม MSN

¡ โปรแกรมอรรถประโยชน เชน โปรแกรมตรวจสอบไวรัส (virus scan), Win Zip

การใชงานใชเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร ดูแลรักษาความปลอดภัย เชน สํารองขอมูล ตรวจสอบไวรัส หรือบีบอัดขอมูลใหมีขนาดเล็กลง

ตัวอยางโปรแกรม WinZip

ตัวอยางโปรแกรม Norton AntiVirus

¡ โปรแกรมดานสาระและบันเทิง เชน โปรแกรมตอสูจําลอง (fight simulator), โปรแกรมสรางเมอืง หรือโปรแกรมเสรมิสรางทกัษะของเด็กวัยตาง ๆ

การใชงานใชเปนแหลงความรูท่ีนาสนใจ ปจจุบันบรรจุอยูในแผนซีดีรอมเพราะใชกันอยางแพรหลาย

ตัวอยางโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนเร่ืองรามเกียรติ์

ตัวอยางโปรแกรมแปลไทย

ภาษาคอมพิวเตอร

n ภาษาเครื่อง (machine language) หรือเรียกวาภาษายุคหนึ่ง เปนชุดคําสั่งท่ีประกอบดวยเลขฐานสอง (0 และ 1)ขอดี สื่อสารกับเครื่องโดยตรง ไมตองมีตัวแปลภาษาขอเสีย ทํางานเฉพาะเครื่องท่ีพัฒนา และใชเวลานาน

คอมพิวเตอรมีการส่ือสารโดยใชภาษาเชนเดียวกับมนุษย และภาษาท่ีใชมีความแตกตางกันหรือเรียกวามีโครงสรางตางกันดงันี้

n ภาษาแอสแซมบล ี(assembly language) พัฒนาข้ึนเปนภาษายุคท่ี 2 เนื่องจากภาษาเครื่องพัฒนายากขอดี เรียนรูงายและเร็วกวาพัฒนาดวยภาษาเครื่องขอเสีย ตองใชตัวแปลภาษาแอสแซมเบลอ

n ภาษาระดับสงู(high-level languages) เปนภาษาท่ีงายตอการเรียนรูและนําไปประยุกตใชงานขอดี ทํางานบนเครื่องคอมพิวเตอรตางชนิดกันไดตัวอยางภาษา เชน เบสิก ปาสคาล โคบอล และฟอรแทรน

n ภาษาธรรมชาต ิ(natural language) ไดแก ระบบผูเชี่ยวชาญ (expert system) และปญญาประดษิฐ (artificial intelligence) เปนภาษาท่ีอนญุาตใหผูใชสงขอความท่ีเปนภาษามนุษยในโครงสรางภาษาอังกฤษในการส่ังคอมพิวเตอรได

n ภาษาระดับสูงมาก (Very High-level Languages) หรือภาษายุคท่ีส่ี เปนภาษาท่ีเขียนงายเพราะไมตองมีโพรซีเยอร

โปรแกรมเชิงวัตถุ (object-oriented programming)

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ คือกระบวนการที่โปรแกรมถูก จัดการใหอยูในรูปของวัตถ ุ(objects) และวัตถุแตละประเภทจะประกอบดวยแอตทริบิวต และเมธอด หรือฟงกชันที่ประกอบดวยชุดคําสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อการจัดการขอมูลของวัตถุชิ้นน้ันโดยเฉพาะ เมื่อผูใชตองการทํางานน้ัน ๆ ก็เพียงแตเรียกใชเมธอดของวัตถุน้ัน

ตัวอยางภาษาคอมพิวเตอร¡ ภาษาเบสิก (BASIC)¡ ภาษาวชิวลเบสิก (Visual Basic)¡ ภาษาโคบอล (COBOL)¡ ภาษาปาสคาล (PASCAL)¡ ภาษาฟอรแทรน (FORTRAN)¡ ภาษาซี (C)¡ ภาษา HTML¡ ภาษาจาวา (JAVA)¡ ภาษา XML

ตัวอยางโปรแกรมภาษา GWBasic

ตัวอยางโปรแกรมภาษา JAVA

ตัวอยางโปรแกรมภาษา Pascal

ตัวอยางโปรแกรมภาษา Visual Basic

ตัวอยางโปรแกรมภาษา Visual Basic

การเลอืกใชภาษาคอมพวิเตอร1) ภาษามาตรฐานที่ใชในองคการ ในหนวยงานควรมีภาษามาตรฐานใชพัฒนา

เพราะทําใหเกิดความสะดวกในการดูแลระบบ

2) ความเหมาะสมและคุณสมบัติของภาษา เพราะภาษาแตละภาษาไดถูกออกแบบมาเพ่ืองานเฉพาะอยาง

3) การทํางานรวมกับโปรแกรมอื่น ควรเลือกภาษาท่ีใกลเคียงกันเพ่ือใหโปรแกรมทํางานรวมกับโปรแกรมอื่น ๆ ไดอยางไมมีอุปสรรค

4) การทํางานรวมกับระบบอื่น ๆ ควรเลือกภาษาท่ีเปนพ้ืนฐานในการพัฒนาโปรแกรม จะทําใหโปรแกรมทํางานไดทุกระบบ

บุคลากรบุคลากร ((PeoplewarePeopleware))

บุคคลที่เก่ียวของกับการจัดการและควบคุมระบบคอมพิวเตอร รวมถึงผูใชเครื่องคอมพิวเตอรบุคลากรคอมพิวเตอร แบงออกเปน

บุคลากรบุคลากร ((PeoplewarePeopleware))

1) หัวหนาหนวยงานคอมพิวเตอร (Electronic DataProcessing Manager)

2) นักวิเคราะหระบบ (System Analyst :SA)3) นักออกแบบระบบ (System Designer)4) โปรแกรมเมอร (Programmer)5) ผูบริหารและควบคุมฐานขอมูล (Database Administrator)6) ผูควบคุมเคร่ือง(Computer Operator)7) ผูใช (Users)

ขอมูลและสารสนเทศขอมูลและสารสนเทศ ((DataData//InformationInformation))

ขอมูล คือ ขอเท็จจริงท่ีเกิดข้ึน โดยอาจเปนตัวเลขเชน ความสูง ระยะทาง สารสนเทศ คือ ผลลัพธท่ีไดจาการประมวลผลและสามารถนาํไปใชประโยชนไดตรงกับความตองการของผูใช

กระบวนการทํางานกระบวนการทํางาน ((ProcedureProcedure))

องคประกอบดานกระบวนการทํางาน คือ ข้ันตอนกระบวนการทํางานพ้ืนฐานของคอมพิวเตอรที่ผูใชคอมพิวเตอรทุกคนตองรู เพ่ือสามารถใชงานไดอยางถูกตอง เชน คูมือสําหรับผูใช (UserManual) คูมือสําหรับผูควบคุมเคร่ือง(Operation Manual)

สรุปสรุป

เคร่ืองคอมพิวเตอรเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ไมสามารถทํางานไดโดยลําพัง จําเปนตองมีองคประกอบพ้ืนฐานของระบบคอมพิวเตอรซ่ึงมีลักษณะการทํางานที่ตองประสานกัน จึงจะทําใหระบบคอมพิวเตอรสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ