61
โดย . เสถียร แผ่วัฒนากุล อบรมการปลูกพืชไร้ดิน HYDROPONIC

เอกสารประกอบการบรรยาย การฝึกไฮโดรไฮโดรโปนิกส์ โดย อ.เสถียร ณ วันที่

  • Upload
    ibtik

  • View
    717

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

โดย อ.เสถียร แผ่วัฒนากุล

อบรมการปลูกพืชไร้ดิน HYDROPONIC

1. การปลูกผักไฮโดรโปนิก (Hydroponic) คืออะไร 2. ข้อดีและข้อเสีย 3. หลักการท างาน 4. การลงทุน (เพื่อกินเองหรือจ าหน่ายและตลาด ) 5. วัสดุอุปกรณ์ 6. ขั้นตอนการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ 7. ก้าวแรกมือใหม่หัดปลูก (ลงมือท า)

หัวข้อน าเสนอ

1 การปลูกผักไฮโดรโปนิกคืออะไร

สิ่งที่พืชต้องการในการเจริญเติบโต

1. อุณหภูมิ

2. น้ า

3. แสง

4. อากาศ

5. ธาตุอาหาร

การปลูกพืชโดยใช้ดิน

ปกติแล้วพืชจะเจริญเติบโตได้ดีนั้น ต้องมีการเจริญเติบโตที่เหมาะสมคือ สภาพภูมิอากาศที่ เหมาะสมเช่น แสงแดด อุณหภูมิ น้ า ธาตุอาหารพืชที่มาจากดิน น้ า และอากาศ (ส่วนเหนือดินขึ้นไป)

การที่พืชจะน าธาตุอาหารไปใช้ได้นั้นจะเกี่ยวข้องกับความเป็นกรด – ด่าง (pH) ของดิน (ส่วนใต้ดิน)

แต่การปลูกพืชบนดินควบคุมดินยาก

การปลูกพืชบนดิน

สิ่งที่พืชต้องการในการเจริญเติบโต

1. อุณหภูมิ

2. น้ า

3. แสง

4. อากาศ

5. ธาตุอาหาร

การปลูกพืชไร้ดิน

ใช้น า แทน ดิน

การปลูกไร้ดินสามารถควบคุมสภาพแวดล้อมได้ง่าย และพืชสามารถได้รับสารละลายที่ประกอบด้วยธาตุอาหารที่จ าเป็นที่อยู่ในรูปที่พืชสามารถน าไปใช้ได้ทันที

การปลูกพืชไร้ดิน

เป็นการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน นับเป็นวิธีการใหม่ในการปลูกพืช นิยมปลูกกับผักที่ใช้เป็นอาหาร เนื่องจากประหยัดพื้นที่ และไม่ปนเปื้อนกับสารเคมีต่างๆ ที่อยู่ในดิน ท าให้ได้พืชผักที่สะอาด

การปลูกพืชในน้ าที่มีธาตุอาหารละลายอยู่ ทดแทนการปลูกพืชในดินที่เราใช้แบบทั่วไป

เรียกว่า การปลูกผักโฮโดรโปนิกส์

การปลูกพืชไร้ดินคืออะไร

ความแตกต่างระหว่าง การปลูกพืชบนดินกับการปลูกพืชไร้ดิน

ปุ๋ยธรรมชาติหรือปุ๋ยอินทรีย์ทั้งหลายเริ่มแรกพืชจะยังน าไปใช้ประโยชน์ไม่ได้ เพราะจะต้องถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ในดินจนกลายเป็นสารอนินทรีย์ก่อนพืชถึงจะน าไปใช้ประโยชน์ได้

แต่ในระบบไฮโดรโปนิกส์เราจะให้สารละลายธาตุอาหารที่เตรียมขึ้นจากปุ๋ยอนินทรีย์บริสุทธิ์แทน รากและขนอ่อนก็จะดูดธาตุอาหารและน้ าไปใช้ได้ทันที

สารอนินทรีย์ที่เป็นปุ๋ยเคมี ท าจากอะไร ??

สารละลายธาตุอาหาร มีอะไรบ้าง

1. Sodium และ Chorine NaCl น้ าควรมีค่า pH 6.5

2. ค่า EC ที่ 1.8 อุณหภูมิไม่ควรเกิน 30 องศา C

3. แคลเซี่ยม แมกนีเซี่ยม อนุมูลคาร์บอเนต หรือไบคาร์บอเนต

4. Magnesium ,Sulfate, Iron, Manganese, Copper Boron, Zinc, Boron, Fluorine

สารอนินทรีย์ที่เป็นปุ๋ยเคมี ท าจากอะไร ??

ทานผักไฮโดรโปนิกส์..อันตรายไหม?? สารละลายธาตุอาหารมีไนเตรทที่พืชต้องการส าหรับการเติบโตอยู่ ผู้บริโภคมักกังวลเกี่ยวกับการบริโภคผักที่ปลูกในสารละลายธาตุอาหารเรื่องการสะสมของไนเตรท จากรายงานของต่างประเทศ“ และผลการทดลองของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่าประเทศเขตร้อนการสะสมไนเตรทของพืชผักที่ปลูกในระบบไฮโดรโปนิกส์เกินขึ้นได้น้อย ปริมาณไนเตรทที่พบนั้นน้อยกว่าค่ามาตรฐานอยู่มาก ดังนั้นจึงมั่นได้ว่า ผักไฮโดรโพนิกส์ที่ปลูกในบ้านเรามีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค

ไฮโดรโปนิกส์อันตรายมั้ย

พืชต้องการแร่ธาตุสารอาหาร ธาตุอาหารในดิน มาจาก ธาตุอาหารในน้ า มาจาก

ทั้งออแกนิก และ ไฮโดรโปนิกส์ จึงเป็นวิธีการปลูกแบบธรรมชาติเหมือนกัน

พืชออแกนิก คืออะไร

ปุ๋ย สารเคมี

ปุ๋ยธรรมชาติ

สารละลายธาตุอาหาร

ออแกนิก

ไฮโดรโปนิกส์

2 ประโยชน์ ข้อดีและข้อเสีย

ไฮโดรโปนิกส์นั้นมีประโยชน์หลักๆ 2 ประการด้วยกัน

1. ควบคุมสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมส าหรับการเติบโตของพืชได้ง่ายขึ้น

2. ให้ผลผลิตได้มากกว่าในเวลาที่น้อยกว่าเดิม

ประโยชน์ไฮโดรโปนิกส์

ข้อดี 1. สามารถท าการเพาะปลูกพืชได้ในบริเวณพื้นที่ที่ดินไม่ดีหรือ

สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก

2. ให้ผลผลิตต่อพื้นที่ปลูกสูงกว่า และสามารถท าการ ผลิตได้สม่ าเสมอ และต่อเนื่อง

3. อัตราการใช้แรงงานเวลาในการปลูก และค่าใช้จ่ายต่ ากว่า

4. ใช้น้ า และธาตุอาหารได้อย่างประหยัด และมีประสิทธิภาพ เช่น ใช้น้ าลดลงถึง 10 เท่าตัวของการปลูกแบบธรรมดา

5. ประหยัดเวลา และแรงงานในการเตรียมดิน และก าจัดวัชพืช

ข้อดีของไฮโดรโปนิกส์

ข้อดี 7. ใช้พื้นที่น้อย

8. ผลผลิต คุณภาพ และราคา ดีกว่าการปลูกบนดินมาก เพราะสามารถควบคุมสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืชได้อย่างถูกต้องแน่นอนและรวดเร็ว

9. ปลอดยาฆ่าแมลง และช่วยลดค่าใช้จ่ายที่ เกี่ยวกับการใช้สารป้องกันและก าจัดแมลงได้ 100% ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้านต่างๆ เช่นสารเคมีตกค้างในดิน การบุกรุกท าลายป่า เป็นต้น

ข้อดีของไฮโดรโปนิกส์

ข้อเสีย 1. การลงทุนขั้นต้นสูงกว่าการปลูกบนดิน 2. ผู้ปลูกต้องมีความรู้ความเข้าใจในเทคนิคการปลูกพืช

แบบไร้ดินเป็นอย่างดี และมีประสบการณ์มากพอในการควบคุมดูแล

3. ต้องการการควบคุมดูแลอย่างสม่ าเสมอ 4. เป็นสิ่งใหม่ส าหรับเกษตรกรที่ต้องใช้เวลาในการท า

ความเข้าใจ

ข้อดีของไฮโดรโปนิกส์

3 หลักการท างาน

หลักการท างาน

การปลูกพืชในระบบ NFT (Nutrient Fi lm Technique)

หลักการท างาน

การปลูกพืชในระบบ NFT (Nutrient Fi lm Technique)

หลักการท างาน NFT

น้ าไหลที่หัวราง

หลักการท างาน NFT

น้ าไหลลงที่ท้ายราง

หลักการท างาน NFT

น้ าไหลลงที่ท้ายราง

หลักการท างาน

การปลูกพืชในระบบ NFT (Nutrient F i lm Technique) การปลูกแบบนี้จะเป็นการปลูกพืชโดยรากแช่อยู่ในสารละลายโดยตรง สารละลายธาตุอาหารจะไหลเป็นแผ่นฟิล์มบางๆ (หนาประมาณ 2-3 มิลิเมตร) รางปลูกพืชกว้าง ตั้งแต่ 5-35 ซม. สูงประมาณ 5 - 10 ซม. สารละลายจะไหลแบบต่อเนื่อง อัตราไหลอยู่ในช่วง 1 - 2 ลิตร/นาที/ราง ความลาดเอียงของราง

อุปกรณ์ส าหรับ NFT

ถังเก็บน า ปั๊มน า ท่อส่งน า รางปลูก ส่วนควบคุมสารละลาย และการวัดค่าสารละลาย

อุปกรณ์ส าหรับ NFT

ถังน า ระบบรวม ถังเก็บน้ าโดยทั่วไปจะฝังอยู่ใต้ดินเพื่อป้องกันความร้อนและขณะที่น้ าจากรางปลูกพืชไหลตกลงในถังก็จะเป็นการเพิ่มการละลายตัวของออกซิเจนอีกทีหนึ่ง ขนาดของถังเก็บสารละลายขึ้นกับปริมาณพืชในระบบ

ระบบแยก แยกถังน้ าส าหรับแต่ละแปลง เช่น โอ่ง

อุปกรณ์ส าหรับ NFT

ปั๊มน า หัวดูด แช่อยู่ในบ่อสารละลาย

อุปกรณ์ส าหรับ NFT

ท่อส่งน า ท่อขนาดใหญ่

(1 ½ - 3 นิ้ว)

อุปกรณ์ส าหรับ NFT

รางปลูก มีขนาดความกว้างและความยาวต่างๆกันตามชนิดของพืชที่ปลูก ตัวรางอาจท าจากวัสดุต่างๆ เช่น PVC พลาสติกหรือโลหะปลอดสนิม ซึ่งต้องบุภายในด้วยพลาสติก ขนาดราง มีตั้งแต่ 10 – 30 ซม. ความยาว ตั้งแต่ 5 – 50 เมตร ควรใช้รางสีขาวท าจากวัสดุ PVC และไม่ควรยาวเกิน 20 เมตร เพื่อป้องกันการสะสมความร้อนท าให้รากพืชขาดออกซิเจน

อุปกรณ์ส าหรับ NFT

ส่วนควบคุมสารละลาย อุณหภูมิ ค่า EC และค่า PH

อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ ค่า EC และค่า PH

การปลูกผักในระบบ NFT

ชนิดผักที่ปลูกส่วนใหญ่เป็นผักสลัดที่ปลูกมากได้แก่ Butter head, Cos, Green Oak, Red Oak

4 การลงทุน (เพื่อกินเองหรือจ าหน่ายและตลาด)

5 วัสดุอุปกรณ์

1. เมล็ดพันธุ์

กรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค เก็บแช่เย็น

1. เมล็ดพันธุ์

กรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค เก็บแช่เย็น

เมล็ดผักมี 2 แบบคือ เมล็ดแบบไม่เคลือบจะมีเมล็ดประมาณ 800 เมล็ด / กรัม ราคาประมาณ

200-400 บาท /1000 เมล็ด เมล็ดแบบเคลือบ เคลือบด้วยแร่ดินเหนียวและสารเชื่อม เส้นผ่า

ศูนย์กลางประมาณ 3.25-3.75 มิลิเมตร ท าให้เมล็ดใหญ่ขึ้นสะดวกตอนเพาะเมล็ดเป็นเมล็ดที่ผ่านการกระตุ้นเพื่อพร้อมที่จะงอก ดังนั้นอัตราการงอกจะสม่ าเสมอ แต่ราคาจะแพงกว่า ประมาณ 400-1000 บาท/1000 เมล็ด

2. ถ้วยปลูก

ให้รากยึดเกาะ

3. ฟองน้ า

ให้รากยึดเกาะ

4. เฟอร์ไรท์

ช่วยรักษาความชุ่มชื่น

5. ปุ๋ย

ปุ๋ย A + B

6 ขั นตอนการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

เตรียมเพาะเมล็ด

ใส่เมล็ดในฟองน้ า เก็บเมล็ดพันธุ์ในตู้ เย็นเมื่อใช้ไม่หมด

วันที่ 1 เพาะเมล็ด

เก็บไว้ในที่ชืน อากาศถ่ายเทสะดวก ไม่โดนแสงแดด

วันที่ 3 เมล็ดเริ่มงอก

พรมน้ าเช้าเย็นให้ชุ่ม อย่าให้โดนแดด

วันที่ 5 ใบเริ่มงอก

พรมน้ าเช้าเย็นให้ชุ่ม ยังไม่ต้องเอาออกแดด

วันที่ 6-7 ใบเริ่มงอก 2-3 ใบ

ระยะ 2-3 ใบ ให้โดนแดดร่ าไรช่วงเช้า

สัปดาห์ที่ 1 = อนุบาล 1

ให้โดนแดดได้มากขึ้น เริ่มให้ปุ๋ย

สัปดาห์ที่ 2-3 = อนุบาล 2

ให้ปุ๋ย

สัปดาห์ที่ 4-5

ย้ายลงรางจริง

สัปดาห์ที่ 6-7

ย้ายลงรางจริง

45 วัน เก็บขายได้

ย้ายลงรางจริง

45 วัน เก็บขายได้

รากยึดเกาะฟองน้ า ล้างให้สะอาด

45 วัน เก็บขายได้

รากยึดเกาะฟองน้ า ล้างให้สะอาด

ผลผลิตอันน่าชื่นใจ การเก็บที่ดีต้องเก็บตอนเช้ามืด ใบจะสดได้น้ าหนัก

7 ก้าวแรกมือใหม่หัดปลูก (ลงมือปฏิบัติ)

อุปกรณ์ท าเองจากวัสดุในพื้นที่

เตรียมอุปกรณ์การปลูก

สร้างอุปกรณ์ ด้วยตัวเอง

การสร้างอุปกรณ์

ท่อ PVC

ขนาดท่อปลูก

ท่อ PVC

ด้านข้างของอุปกรณ์

ตามแบบของความเหมาะสม

ความสูงและความกว้าง อุปกรณ์

วัสดุปลูก ถ้วยปลูกและฟองน้ า ส่วนเมล็ดพันธุ์ สั่งซื้อจากบริษัทผู้แทนจ าหน่าย หาซื้อได้ตามร้านอุปกรณ์การเกษตร