25
1

แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

  • Upload
    -

  • View
    465

  • Download
    7

Embed Size (px)

DESCRIPTION

แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม แนวข้อสอบ สกย คู่มือสอบ สกย ปี 2557 ราคา 249 บาท สั่งซื้อได้ที่ : www.Sheetram.com สอบถามรายละเอียด Facebook http://www.facebook.com/Sheetram LINE ID : sheetram บริษัท ชีทราม จำกัด ชมรมลูกพ่อขุนประยุกต์ สำนักงานใหญ่ 453 ถนนรามคำแหง(ปากซอย 53) หัวหมาก บางกระปิ กรุงเทพฯ 102 โทรศัพท์ : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740 FAX : 02-718-6528 เปิดบริการ 8.15-21.30 น. ทุกวัน

Citation preview

Page 1: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

1

Page 2: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

2

ขอบเขตเนื้อหา

สวนที่ 1 ความรูเก่ียวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. 5 ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 11 วิสัยทัศน 12 คานิยมองคกร 12 พันธกิจ 12 วัตถุประสงค 13 เปาหมายหลัก 14 ยุทธศาสตร 14 ภารกิจ/บริการ 16 ความรูท่ัวไปเกี่ยวกับสวนยาง 20 การปลูกยางพารา 20 การบํารุงรักษา 33 โรคและศัตรูพืชท่ีสําคัญของยางพารา 39 การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 46 การแปรรูปผลผลิต 49 มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 52

สวนที่ 2 กฎหมายที่เก่ียวของ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 55 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503

แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2530 70 แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับท่ี 4)

แกไขเพิ่มเติมถึงพ.ศ. 2530 81 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 88

สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนง องคกรและการจัดการ 95 องคการ (Organization) 95 ผูบริหารหรือผูจัดการ (Manager) 96 การบริหารหรือการจัดการ (Management) 97 หนาท่ีของผูบริหาร (Management Functions) 99 บทบาททางการบริหาร (Management Roles) 100 ทักษะทางการบริหาร (Managerial Skills) 101 ระบบการบรหิาร (Management System) 102 การจัดการในอดีตและปจจุบัน 103 พื้นฐานประวัติศาสตรทางการบริหาร (Historical Background) 103 แนวความคิดทางการบริหารในยุคแรก (Early Management Theory) 103 ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร (Scientific Management Theory) 104 ทฤษฎีทางการบริหารโดยท่ัวไป (General Administration Theory) 105 ทฤษฎีการจูงใจในยุคแรก (Early Theory of Motivation) 109 ประเด็นปจจุบันและแนวโนมทางการบริหาร 111 วัฒนธรรมองคการและสภาวะแวดลอม 114 แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของผูบริหารกับวัฒนธรรม 114 วัฒนธรรมองคการ 115

Page 3: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

3 สภาวะแวดลอม 116 การจัดการในยุคโลกาภิวัตน 117 การกาวขึ้นเปนองคการระหวางประเทศ (Go International Organization) 120 ความรับผิดชอบทางสังคมและจริยธรรมทางธุรกิจ 121 ความรับผิดชอบตอสังคมของผูบริหาร (Social Responsibility) 121 จริยธรรมทางธุรกิจ (Managerial Ethics) 122 การตัดสินใจทางการจัดการ 123 พื้นฐานการวางแผน 127 จุดมุงหมายของการวางแผน (Purposes of Planning) 128 ประเภทของแผนงาน (Types of Plans) 128 วัตถุประสงคขององคการ (Organization Objective) 132 แนวความคิดของการจัดการตามวัตถุประสงค 133 การจัดการเชิงกลยุทธ 134 การวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning) 134 เครื่องมือและเทคนิคในการวางแผน 139 โครงการและการออกแบบองคการ 141 การสื่อสารทางการบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 141 การจัดการทรัพยากรมนุษย 153 ประเด็นปจจุบันในการจัดหาทรัพยากรมนุษย 158 การจัดการการเปล่ียนแปลงและนวัตกรรม 159 เทคนิคในการบริหารการเปล่ียนแปลง (Technique for Managing Change) 161 การพัฒนาองคการ (Organization Development – OD) 163 การกระตุนใหเกิดนวัตกรรม (Stimulating Innovation) 164 พื้นฐานของพฤติกรรม 165 การรับรู (Perception) 168 การเรียนรู (Learning) 169 การกําหนดรูปแบบของพฤติกรรม (Shaping Behavior) 170 การเขาใจกลุมและทีม 172 แนวคิดขั้นพื้นฐานของกลุม (Basic Group Concept) 173 การแกปญหาความขัดแยง (Conflict Resolution Approaches) 174 การตัดสินใจเปนกลุม (Group Decision Making) 175 การจูงใจพนักงาน 180 ภาวะผูนํา 184 ทฤษฎีภาวะผูนําในยุคเริ่มแรก (Early Theory of Leadership) 188 ทฤษฎีภาวะผูนําแบบพฤติกรรม (Behavior Theory) 188 ทฤษฎีตามสถานการณ 190 ผูนําและอํานาจ (Leader and Power) 194 พื้นฐานการควบคุม 196 การบริหารงานผลิต 200 เครื่องมือและเทคนิคในการควบคุม 204 ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 209 สรุปพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 223 การรางหนังสือราชการ 230 สรุประเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 237 แนวขอสอบเจาหนาท่ีอบรม 248

Page 4: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

4

ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง

ประวัติ สกย. ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเช่ือม่ันแกชาวสวนยาง

การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษด์ิ ธนรัชต มีสํานักงานใหญตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูกยาง หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนงระหวางวันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่สําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดานภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือนายณรงค สุจเร นายสมศักด์ิ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดานการเงินและบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการไดรวดเร็ว และ คลองตัวย่ิงข้ึน ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางานในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวยความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิตยาง ของประเทศ และนํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําใหเกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ ประโยชนที่จะไดรับในท่ีสุด อีกท้ังใหความเชื่อมั่นและไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมีหนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน โดยเฉพาะอยาง ย่ิงส่ิงที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505 หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดมพนักงานจํานวนมาก ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรงอยางไมเคยเปนมากอน พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อบรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยางไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุกคนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือสังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียงของ สกย. โดดเดนข้ึนมาอยูในความ ทรงจําของชาวสวนยางพาราทั่วไป

Page 5: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

5

วิสัยทัศน "มุงพัฒนายางพาราครบวงจร นําสังคมชาวสวนยางไปสูความเขมแข็งและย่ังยืน”

พัฒนายางพาราจากการผลิต เริ่มตั้งแตการปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิต การแปรรูปเบื้องตน เปนผลิตภัณฑยางอุตสาหกรรมและการตลาด โดยเริ่มจากตัวเกษตรกรมีความรูสูครอบครัวที่อบอุน ชุมชน และสังคมชาวสวนยางเขมแข็ง

คานิยมองคกร สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใช

เปน หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคล่ือนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้

O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน R : Responsibility ความรับผิดชอบ R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม F : Faith ซื่อสัตยสุจริต

พันธกิจ 1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวย

พื้นที่ ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม 2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความ

เขมแข็งใหกับสถาบันเกษตรกร 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาด

ยางพาราระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความรวมมือของเกษตรกร

4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและส่ิงแวดลอม

5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ

Page 6: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

6

วัตถุประสงค 1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่ม

รายไดและลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร 2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มี

การดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง 3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมี

ความเหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงานอยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปล่ียนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล

เปาหมายหลัก 1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางท่ีใหผลิตสูงกวา

ตนยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถใหผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม

2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยางคุมคา อนุรักษส่ิงแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษาสวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมท้ังรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการจําหนายผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ

3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนินกิจกรรม และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล

4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของราคาในตลาดทองถิ่น

5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และเสริมสรางทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปล่ียนแปลง รวมถึง เสริมสรางศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล

Page 7: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

7

ความรูทั่วไปเก่ียวกับสวนยาง

การปลูกยางพารา การเตรียมพื้นที่ การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับ

ปลูกยางทั้งดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผนการใชพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การเตรียมพื้นที่ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการจัดทําข้ันบันไดเปนตน

การวางแนวปลูก การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไม

นอยกวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การ

วางแนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามีการไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนวระดับ หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําข้ันบันได

ประโยชนของการทําแนวระดับและขั้นบันได - ปองกันการพังทลายของหนาดิน - ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง - ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย - ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน - งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน ระยะปลูก เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดข้ึนกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2

ระยะ ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง การเตรียมหลุมปลูก การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหน่ึงของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่

ขุดเปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผ่ึงแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง

Page 8: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

8

แลวยอยดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตราหลุมละ 170 กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุมรวมกับปุยหินฟอสเฟต แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก)

สําหรับการขุดหลุมปลูกในพื้นที่ลาดเท เมื่อปกไมชะมบเรียบรอยแลวควรขุดหลุมเย้ืองไปดานในควนเล็กนอย เมื่อปลูกยางไปแลวอาจตองแตงชานเพิ่มเติม โดยขุดดินบนควนมากลบดานนอก ซึ่งจะทําใหตนยางอยูกลางขั้นบันไดพอดี การปลูก

วัสดุปลูกและวิธีการปลูก วัสดุปลูก วัสดุปลูก หรือตนยางที่ใชปลูก แบงออกเปน ตนตอตาและตนยางชําถุงขนาด 1-2

ฉัตร ควรเลือกวัสดุปลูกท่ีแข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคและศัตรูพืช ตนตอตา ตนตอตา หมายถึง ตนกลายางที่ไดรับการติดตาดวยยางพันธุดี แตตายังไมแตก

ออกมา มีแผนตาและตาที่เปนตุมติดอยูเทานั้น ขุดถอนแลวตัดตนเดิมเหนือแผนตาขึ้นไปไมนอยกวา 8 ซม. เพื่อนําไปปลูกในแปลงที่เตรียมพื้นที่ไวเรียบรอยแลว

ตนยางชําถุง ตนยางชําถุง หมายถึง วัสดุปลูกท่ีไดจากการนําเอาตนตอตามาชําในถุง โดยใช

เวลาชําในถุงประมาณ 2-3 เดือน จนไดตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ซึ่งมีสภาพพรอมที่จะนําไปปลูกในแปลงได ขนาดของถุงที่ใชชําคือ 5 x 15 นิ้ว สีดํา เจาะรูขนาด 3 มม. ประมาณ 3 แถว ๆ ละ 5-7 รู

พันธุยาง กรมวิชาการเกษตร ไดแนะนําพันธุยาง 3 กลุม 1. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางสูง เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงเปนหลัก มี4 พันธุคือ พันธุสาถาบันวิจัยยาง 251

สถาบันวิจัยยาง226 BPM 24 และ RRIM 600 2. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางและเนื้อไมสูง

Page 9: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

9

พระราชบัญญัตคิวบคุมยาง พ.ศ. 2542 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.

ใหไว ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542 เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหประกาศวา

โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมยาง พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและ

เสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติควบคุมยาง พุทธศักราช 2481 (2) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2483 (3) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2490 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea brasiliensis) และ

หมายความรวมถึงตนยางชนิดอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนตนยางที่อยูภายใตการควบคุมตามพระราชบัญญัตินี้

“ตนยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดวาเปนตนยางพันธุที่เหมาะสมท่ีจะใชปลูกเปนสวนยาง

“ยาง” หมายความวา น้ํายางสด ยางกอน เศษยาง น้ํายางขน ยางแผน ยางแทง ยางเครพ หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตข้ึนหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตน

Page 10: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

10

ยาง และหมายความรวมถึงยางผสมไมวาในสภาพของแข็งหรือของเหลวซึ่งมียางธรรมชาติผสมกับสารเคมีหรือสารอื่น แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐสําเร็จรูปจากยาง

“เนื้อยาง” หมายความวา เนื้อยางที่มีอยูในน้ํายางหรือยางแตละชนิดโดยคํานวณเปนน้ําหนักตามกรรมวิธีที่กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณกําหนด

“สวนยาง” หมายความวา ที่ดินซึ่งมีตนยางปลูกอยูในเนื้อที่ไมนอยกวาหนึ่งไร แตละไรมีตนยางไมนอยกวาสิบตน หรือในกรณีที่มีเนื้อที่ปลูกยางติดตอกันมากกวาหนึ่งไร ตองมีสวนเฉล่ียไมนอยกวาไรละย่ีสิบหาตนของจํานวนเนื้อที่ทั้งหมด

“ทําสวนยาง” หมายความวา ปลูกตนยางในสภาพที่ เปนสวนยาง บํารุงรักษาตนยาง กรีดตนยาง หรือทําน้ํายางสดใหเปนยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบ

“เขตควบคุมการขนยายยาง” หมายความวา เขตพื้นที่ที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดเปนเขตควบคุมการขนยายยาง

“โรงทํายาง” หมายความวา สถานที่ที่ใชน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรอืยางแผนดิบมาแปรรูปเปนน้ํายางขน ยางผ่ึงแหง ยางแผนรมควัน ยางแทง ยางเครพ ยางดิบชนิดอื่น ๆ อยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงสถานที่ที่ผลิตยางผสม แตไมรวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผนดิบ

“ปริมาณควบคุมเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดใหผูทําสวนยางทําการผลิตเนื้อยางไดตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

“ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรีประกาศจัดสรรใหผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก นําเนื้อยางเขามาในหรือสงเนื้อยางออกไปนอกราชอาณาจักรได ตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด

“มาตรฐานยาง” หมายความวา ลักษณะของยางแตละชนิดหรือชั้นตามที่รฐัมนตรีประกาศกําหนด

“วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยาง” หมายความวา วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยางตามวิธีการท่ีรัฐมนตรีประกาศกําหนด

“คายาง” หมายความวา ซื้อ ขาย หรือแลกเปล่ียนยาง และหมายความรวมถึงซื้อยาง ขายยาง ตามตราสารที่บุคคลหนึ่งบุคคลใดเปนผูออกตราสารนั้นหรือโดย

Page 11: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

11

พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2530

ในพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมนิทรมหาภูมพิลอดุลยเดช

สังวาลย ผูสําเร็จราชการแทนพระองค

ใหไว ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2503 เปนปที่ 15 ในรัชกาลปจจุบัน

โดยที่เปนการสมควรจัดใหมีกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง เพื่อชวยเหลือเจาของสวนยางปรับปรุงสวนยางใหดีข้ึน

พระมหากษัตริยโดยคําแนะนําและยินยอมของสภารางรัฐธรรมนูญในฐานะรัฐสภา จึงมีพระบรมราชโองการใหตราพระราชบัญญัติข้ึนไว ดังตอไปนี้

มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503”

มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ “ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea SPP.) “ยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางพันธุที่ใหผลดีตามท่ีคณะกรรมการ

กําหนดโดยคําแนะนําของกรมกสิกรรม “สวนยาง” หมายความวา ที่ดินปลูกตนยางมีเนื้อที่ไมนอยกวาสองไร แต

ละไรมีตนยางปลูกไมนอยกวาสิบตน และโดยสวนเฉล่ียไมนอยกวาไรละย่ีสิบหาตน “สวนขนาดเล็ก” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ไมเกินหาสิบไร “สวนขนาดกลาง” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่เกินหาสิบไร แตไม

ถึงสองรอยหาสิบไร “สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบ

ไรข้ึนไป “เจาของสวนยาง” หมายความวา ผูทําสวนยาง และมีสิทธิไดรับผลิตผล

จากตนยางในสวนยางที่ทาํนั้น

Page 12: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

12

“ยาง” หมายความวา น้ํายาง ยางแผน ยางเครพ ยางกอน เศษยาง หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐจากยาง

“การปลูกแทน” หมายความวา การปลูกยางพันธุดี หรือไมยืนตนชนิดอื่นที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่คณะกรรมการกําหนด แทนตนยางเกาหรือไมยืนตนเกาทั้งหมดหรือบางสวน

“ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น

“เจาพนักงานสงเคราะห” หมายความวา บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหเปนเจาพนักงานสงเคราะห

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวนยาง

“ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง

“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 4 ใหจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่ง ประกอบดวยเงินสงเคราะหซึ่ง

สงสมทบตามพระราชบัญญัตินี้ เรียกวา “กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง” เพื่อเปนทุนใชจายในการทําสวนยางที่ไดผลนอยใหไดผลดีย่ิงข้ึน

ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางเปนนิติบุคคล มีวัตถุประสงคเพื่อดําเนินกิจการสงเคราะหการทําสวนยางตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจกระทําการใด ๆ ที่จําเปนหรือเปนอุปกรณแกวัตถุประสงคดังกลาวนั้นได รวมทั้งการทําสวนยางและสวนไมยืนตน ตลอดจนกิจการที่เกี่ยวของเปนการสาธิตและสงเสริม เพื่อประโยชนในการสงเคราะห กับใหรวมตลอดถึงการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไมยืนตนชนิดอื่นที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่รัฐบาลมอบหมาย

ให กอง ทุนสง เคราะห ก า ร ทํ าสวนยางมี สํ านั ก ง านแห ง ใหญ ในกรุงเทพมหานคร เรียกวา “สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง”

มาตรา 4 ทวิ ในการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไมยืนตนชนิดอื่นตามมาตรา 4 ใหใชเงินทุนคาใชจายจากรัฐบาล หรือจากกองทุนสงเคราะหเกษตรกรตามกฎหมายวาดวยกองทุนสงเคราะหเกษตรกร

Page 13: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

13

แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทาํสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที ่4) พ.ศ. 2530

5. สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรข้ึนไป เปนสวนขนาดใด ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ ตอบ ง. สวนขนาดใหญ

“สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรข้ึนไป 6. “ปสงเคราะห” หมายความถึงระยะเวลาใด

ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 มีนาคมของปถัดไป ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 เมษายนของปถัดไป ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ตุลาคมของปถัดไป

ตอบ ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป

“ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น 7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใดไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม

ตอบ ค. 5 กิโลกรัม สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา

กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อการคา ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห

Page 14: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

14

8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง ก. ตนยางอายุย่ีสิบหาปข้ึนไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย

ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยาง

อายุกวาย่ีสิบหาปข้ึนไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย 9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอวาอะไร

ก. ก.ส.ย. ข. กสย. ค. คสย. ง. ค.ส.ย. ตอบ ก. ก.ส.ย.

10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ

ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ

11.กรรมการท่ีคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของกับการยางมีจํานวนเทาใด ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน ตอบ ข. 4 คน / 2 คน

คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดยยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณมอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรองประธานกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Page 15: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

15

แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 6.ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือของทุกๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่เทาใดของเดือนถัดไป

ก. วันที่หนึ่ง ข. วันที่สาม ค. วันที่หา ง. วันที่สิบ ตอบ ง. วันที่สิบ ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือ

ของทุก ๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่สิบของเดือนถัดไป 7.ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต ผูรองขอมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายในก่ีวันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาตหรือการพักใชใบอนุญาต ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน

ตอบ ค. สามสิบวัน ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต หรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต หรือมี

คําส่ังพักใชใบอนุญาต หรือคําส่ังเพิกถอนใบอนุญาต ผูขอรับใบอนุญาตหรือผูขอตออายุใบอนุญาตหรือผูถูกพักใชใบอนุญาตหรือผูถูกเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาตหรือการพักใชใบอนุญาต หรือการเพิกถอนใบอนุญาต แลวแตกรณี 8. หากใบอนุญาตสูญหาย หรือถูกทุกลาย จะตองย่ืนคําขอภายในกี่วัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ข. สิบหาวัน

Page 16: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

16

ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ใหผูรับใบอนุญาตแจงตอพนักงานเจาหนาที่และย่ืนคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับทราบถึงการสูญหาย หรือถูกทําลายดังกลาว 9. หากผูรับใบอนุญาต ถึงแกความตาย ทายาทหรือผูจัดการมรดก จะตองแจงใหผูอนุญาตทราบภายในกี่วันนับแตผูรับใบอนุญาตตาย ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ง. หกสิบวัน

ในกรณีที่ผูรับใบอนุญาตซึ่งเปนบุคคลธรรมดาถึงแกความตายและใบอนุญาตยังไมส้ินอายุ ถาทายาทซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวหรือผูจัดการมรดกของผูรับใบอนุญาตประสงคจะประกอบกิจการนั้นตอไป ก็ใหประกอบกิจการตอไปไดจนกวาใบอนุญาตจะส้ินอายุ แตตองแจงใหผูอนุญาตทราบภายในหกสิบวันนับแตวันที่ผูรับใบอนุญาตตาย 10. ผูรับใบอนุญาตยายสถานที่ประกอบกิจการจะตองแจงใหพนักงานเจาหนาที่ทราบภายในก่ีวัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน

ตอบ ข. สิบหาวัน ผูรับใบอนุญาตซึ่งประสงคจะยายสถานที่ประกอบกิจการของตนตองแจง การยาย

สถานที่ดังกลาวเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันที่ยาย 11. ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการ ตองแจงการเลิกกิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในกี่วันนับแตวันเลิกกิจการ ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน

ตอบ ข. สิบหาวัน ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการที่ไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ตองแจงการ

เลิกกิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันเลิกกิจการและใหถือวาใบอนุญาตส้ินอายุตั้งแตวันเลิกกิจการตามที่ แจงไวนั้น

Page 17: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

17

องคกรและการจัดการ องคการ (Organization)

"องคการ" ตามแนวความคิดของ Stephen P. Robbins คือ การจัดการของกลุมบุคคล โดยมีเจตนาที่จะใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จตามจุดมุงหมายเปนการเฉพาะ

องคการประกอบดวยคุณลักษณะสําคัญ 3 ประการ คือ 1.จุดมุงหมายโดยชัดเจน (Distinct Purpose) คือ การมีเปาหมายรวมกัน 2.บุคลากร (People) คือ การรวมตัวกันของคนตั้งแต 2 คนข้ึนไป 3.โครงสราง (Structure) ที่ชัดเจน คือ การมีปฏิสัมพันธตอกัน

ในปจจุบันนี้ องคการไดแปรเปล่ียนจากองคการระบบปด (Closed System)มาเปนองคการระบบเปด (Opened System) ซึ่งมีความยืดหยุนและตอบสนองการเปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา

ตารางเปรียบเทียบแนวความคิดขององคการท่ีแปรเปล่ียนไป มีดังนี้

องคการแบบดั้งเดิม องคการสมัยใหม 1. คงสภาพอยูกับท่ีเดิม 2. มีระเบียบกฎเกณฑท่ีไมยืดหยุน 3. เนนตัวงานท่ีดําเนินการ 4. กําหนดหนาท่ีโดยยึดตําแหนงงาน 5. เนนปจเจกชน (Individual) 6. ทํางานแบบถาวร (จางแบบถาวร) 7. เนนการส่ังการใหลูกนองทําตาม 8. การตัดสินใจอยูท่ีผูจัดการ 9. เนนกฎระเบียบท่ีองคการกําหนดเปนหลัก

10.แรงงานมาจากคนแบบเดียวกัน 11. ระยะเวลาทํางาน 5 – 9 ชั่วโมง/วัน ความสัมพันธในการทํางานเปนไปตามลําดับชั้นของการบังคับบัญชา

ทํางานเฉพาะในองคการและตามเวลาทีไดกําหนดไว

1. มีการปรับสภาพเคล่ือนไหวตามสภาพแวดลอม 2. มีระเบียบกฎเกณฑท่ียืดหยุน 3. เนนทักษะหรือความเชี่ยวชาญ 4. กําหนดหนาท่ีโดยยึดภาระงานที่ตองกระทํา 5. เนนทีมงาน (Work Team) 6. นิยมจางทํางานแบบชั่วคราว 7. เนนความสัมพันธมากกวาการแสดงอํานาจ 8. การตัดสินใจใหพนักงานมีสวนรวม 9. เนนลูกคาเปนจุดศูนยกลางท่ีองคการจะตอบสนอง

10. แรงงานมีความหลากหลายในชาติพันธุ 11. ระยะเวลาทํางานไมกําหนดตายตวั

ความสัมพันธในการทํางานเปนแบบแนวราบ หรอืแบบเครือขาย ทํางานท่ีใด เมื่อไรก็ได โดยสถานที่ทํางานอาจอยูภายนอกบริษัท แตสามารถติดตอและตามตัวกันได โดยใชระบบสารสนเทศเขามาชวย

Page 18: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

18

ผูบริหารหรือผูจัดการ (Manager) "ผูบริหาร"หมายถึง สมาชิกในองคการซึ่งทําหนาที่รวบรวมและประสานงาน

กับสมาชิกคนอื่น ๆ ในองคการ หรือหมายถึง บุคคลซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบในการดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงค ตามท่ีไดกําหนดไว โดยอาศัยผูอื่นและทรัพยากรตาง ๆ ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวา ผูบริหารเปนผูประสานกิจกรรมตาง ๆ ที่ผูอื่นกระทํามากกวาที่จะเปนผูลงมือกระทําเอง

องคการธุรกิจโดยทั่วไปนิยมแบงผูบริหารออกเปน 3 ระดับ ดังนี้คือ 1. ผูบริหารระดับลาง (Lower หรือ First Manager หรือระดับ

ปฏิบัติการ คือผูบริหารในระดับที่ใกลชิดกับเนื้องาน เชน งานดานเทคนิค งานดานธุรการตางๆ ฯลฯ และใกลชิดกับคนงานที่ทํางานในแตละวันมากที่สุด ซึ่งไดแก ผูควบคุมงานหรือหัวหนางาน (Supervisor) และหัวหนาคนงาน (Foreman) เปนตน

2. ผูบริหารระดับกลาง (Middle Manager) หรือ ผูบริหารท่ีอยูระหวางผูบริหารระดับลางกับผูบริหารระดับสูงขององคการ ซึ่งไดแก หัวหนาหนวย หัวหนาสวน หัวหนาแผนก และหัวหนาฝายตาง ๆ เชน ฝายบัญชี ฝายการเงิน ฝายการตลาด ฝายขาย ฝายผลิต ฝายบริการลูกคา ฝายธุรการ ฝายทรัพยากรมนุษย ฝายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ รวมทั้งผูจัดการสาขา เปนตน

3. ผูบริหารระดับสูง (Top Manager) คือ ผูบริหารท่ีอยูในระดับสูงสุดขององคการในดานการดําเนินงานในแตละวัน โดยมีหนาที่รับผิดชอบในการตัดสินใจ กําหนดนโยบาย และกําหนดกลยุทธ ฯลฯ ซึ่งมีผลกระทบตอองคการโดยรวม บุคคลกลุมนี้ไดแก ประธานกรรมการหรือประธานฝายบริหาร รองประธานกรรมการ หรือรองประธานฝายบริหาร กรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ ผูจัดการใหญหรือผูจัดการบริษัท เปนตน

โดยทั่วไปผูบริหารระดับสูงนี้จะมีผูบริหารสูงสุดเพียง 1 คน เรียกวา "หัวหนาฝายบริหาร" (Chief Executive Officer : CEO) หรือ "หัวหนาฝายปฏิบัติการ" (Chief Operating Officer : COO)

ถึงแมจะมีการแบงระดับชั้นของผูบริหารออกเปน 3 ระดับแลวก็ตาม แตในทางปฏิบัตินั้นจะพบวาการปฏิบัติหนาที่ระหวางระดับตาง ๆ ก็ยังคงมีปญหาการเหล่ือมลํ้ากันและกันเกิดข้ึนอยูเสมอ เพราะไมสามารถที่จะแบงแยกกันไดอยางชัดเจน เชน ความสัมพันธระหวางระดับลางกับระดับกลาง หรือระหวางระดับกลางกับระดับสูง แตก็ไมควรใหมีการเหล่ือมลํ้าระหวางระดับลางกับระดับสูงเปนอันขาด

Page 19: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

19

การสื่อสารทางการบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารในองคการ (Organizational Communication)

การสื่อสาร (Communication) หมายถึง การถายทอดและทําความเขาใจความหมาย ซึ่งจากคําจํากัดความดังกลาวจะเนนที่การถายทอดความหมาย นั่นคือ เมื่อไมมีผูสงขอมูลขาวสารหรือความคิดออกไปยอมหมายถึงไมไดเกิดการส่ือสารนั่นเอง

การสื่อสารภายในองคการมี 2 ลักษณะ ไดแก 1. การสื่อสารอยางเปนทางการ (Formal Communication)

หมายถึง การส่ือสารที่เปนไปตามสายการบังคับบัญชา หรือเปนสวนหนึ่งในงานตามหนาที่ความรับผิดชอบ

2. การสื่อสารอยางไมเปนทางการ (Informal Communication) หมายถึง การสื่อสาร ภายในองคการท่ีไมไดกําหนดตามลําดับชั้นการบังคับบัญชาขององคการ

ทิศทางการไหลของขาวสารมี 4 ลักษณะ ไดแก 1. การสื่อสารในทิศทางจากบนลงลาง(Downward Communication)

เปนการส่ือสารจากผูบริหารลงไปยังพนักงาน เปนการแจงใหทราบส่ังการ ประสานงาน และการประเมินผลพนักงาน เมื่อผูบริหารตั้งเปาหมายใหกับพนักงานก็จะใชการส่ือสารในทิศทางจากบนลงลาง

2. การสื่อสารในทิศทางจากลางขึ้นบน(Upward Communication) เปนการสื่อสารจากพนักงานขึ้นไปยังผูบริหาร เปนสิ่งที่ทําใหผูบริหารไดทราบวาพนักงานรูสึกอยางไรเกี่ยวกับงาน เพื่อนรวมงาน และองคการโดยทั่วไป

3. การสื่อสารในทิศทางดานขาง (Leteral Communication) เปนการส่ือสารในระดับพนักงานดวยกันในองคการเดียวกัน ในปจจุบันซึ่งสภาพแวดลอมเปล่ียนแปลงคอนขางรวดเร็วและสับสน การส่ือสารในดานขางเปนส่ิงจําเปนอยางมาก เพื่อใหเกิดการประหยัดเวลาและเอื้อตอการประสานงาน

4. การสื่อสารในทิศทางทแยง (Diagonal Communication) เปนการส่ือสารขามไปมาระหวางหนวยงานตาง ๆ และในระดับตาง ๆ ขององคการ

Page 20: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

20

การจัดการทรพัยากรมนุษย การจัดบุคคลเขาทํางาน (Staffing) ซึ่งในปจจุบันนิยมเรียกวา "การบริหาร

ทรัพยากรมนุษย"(Human Resource Management) คือ การจัดหาคนมาทํางานและบํารุงรักษา หรือเปนการระบุความตองการในกําลังแรงงาน (Work Force) การจัดการดูแลคนที่ไดมา การสรรหา (Recruiting) การคัดเลือก การวางตําแหนงการสงเสริม การประเมินผล การวางแผนงานอาชีพ การจายเงินชดเชย และการฝกอบรมบุคคล กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย (HRM Process)

กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยเปนกิจกรรมที่สําคัญในการจัดคนเขาทํางาน และดํารงไวซึ่งผลการปฏิบัติงานของพนักงานในระดับสูง โดยมี 8 ข้ันตอน คือ

1. การวางแผนทรัพยากรมนุษย (Human Resource Planning) System Approach คือ แนวความคิดแบบระบบหรือการวิเคราะหเชิง

ระบบ เปนระบบการบริหารทรัพยากรมนุษยที่สรางความมั่นใจใหแกผูบริหารวา ไดมีบุคคลที่มีความสามารถในการทํางานใหประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงค โดยมีการวางแผนดานกําลังคน การฝกอบรม การพัฒนา และเนนในดานแรงงานสัมพันธ

2. การสรรหาบุคคล(Recruitment)และการลดกําลังคน (Decruitment) การสรรหา (Recruitment) เปนกระบวนการของการกําหนดพื้นที่หลัก

แหลง และดึงดูดความสามารถของบุคคลใหมาสมัครงาน เพราะผูบริหารจําเปนตองสรรหาบุคคลเขาทํางาน ซึ่งเปนหลักการแรกของการบริหารทรัพยากรมนุษย

การลดกําลังคน (Decruitment) เปนเทคนิคในการลดอุปทานดานแรงงานภายในองคการ ซึ่งประกอบดวย การไลออก ปลดออก ลดเวลาทํางาน เกษียณอายุกอนเวลา และการจัดแบงงานกันทํา โดยความจําเปนในการลดกําลังคนอาจเกิดข้ึนไดทุกขณะเพื่อความเหมาะสมและตามความตองการของฝายบริหาร เชน ในขณะที่เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลก ทําใหธุรกิจตองลดกําลังคนทํางานลง จึงจะทําใหธุรกิจผานพนวิกฤติไปได

3. การคัดเลือก (Selection) การคัดเลือก (Selection) เปนกระบวนการในการกลั่นกรองผูที่มาสมัคร

งาน เพื่อใหไดคนที่เหมาะสมท่ีสุดมาทํางาน และยังเปนการวางแผนความตองการเพื่อ

Page 21: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

21

การบริหารงานอยางละเอียดลึกซึ้ง เปนพื้นฐานที่สําคัญตามความตองการของตําแหนงงาน

การคัดเลือกถือเปนการพยากรณหรือการคาดการณอยางหนึ่ง ซึ่งจะมีผลออกมา 4 ประการ คือ การตัดสินใจที่ถูกตอง (การปฏิเสธคนไมดี), การยอมรับขอผิดพลาด, การปฏิเสธขอผิดพลาด และการตัดสินใจท่ีถูกตอง (การยอมรับคนดี)

ขอผิดพลาดในการคัดเลือกสามารถชักนําไปสูความเปนจริงตามหลักการของ Peter ซึ่งกลาววาผูบริหารมีแนวโนมที่จะไดรับการสงเสริมใหไปอยูในระดับความสามารถของตัว ถึงแมวาจะมีขอแนะนําจากหลาย ๆ ฝายวา การตัดสินใจคัดเลือกควรขึ้นอยูกับผูบังคับบัญชาที่ตําแหนงนั้นสังกัดอยู

ความเที่ยงตรง (Validity) หรือความถูกตอง ความสมบูรณ คือ การพิสูจนวาความสัมพันธระหวางเครื่องมือในการคัดเลือกกับเกณฑที่ใชเขากันไดดี

ความเช่ือถือได (Reliability) หรือความไวใจได คือ ความสามารถของเครื่องมือที่ใชคัดเลือกสามารถวัดส่ิงเดียวกันไดอยางสม่ําเสมอ

กระบวนการคัดเลือกควรประกอบดวยการสัมภาษณ การทดสอบ และใชศูนยการวัดผล เพื่อหลีกเล่ียงความไมพอใจ และการหมุนเวียนเขาออกของคนงาน โดยกิจการควรใหความมั่นใจแกพนักงานใหมเพื่อใหรูจักและคุนเคยกับคนงานอื่น ๆ ในองคการ

เคร่ืองมือในการคัดเลือก (Selection Device) ไดแก แบบฟอรมใบสมัคร, การทดสอบขอเขียน, การทดสอบความรูความสามารถโดยลงมือปฏิบัติจริง เชน การศึกษา ความรู ทักษะและความชํานาญ, การสัมภาษณ, การตรวจสอบหลักฐานและขอมูลของผูสมัคร, การตรวจรางกาย

4. การปฐมนิเทศ (Orientation) การปฐมนิเทศจัดทําข้ึนมาเพื่อตองการแนะนําพนักงานใหมใหรูจักและ

คุนเคยกับองคการ โดยมีวัตถุประสงคหลักคือ เปนการลดความกระวนกระวายใจในเบื้องตน, ทําใหพนักงานใหมคุนเคยกับงาน สถานที่ทํางานและองคการ, ทําใหคนเกากับคนใหมปรับตัวเขาหากัน

5. การฝกอบรม (Training) การฝกอบรม เปนกระบวนการในการพัฒนาคุณภาพของทรัพยากร ซึ่ง

จะทําใหเขาเหลานั้นมีประสิทธิภาพในการทํางานเพิ่มข้ึน และความสามารถของพนักงานท่ีทํางานในองคการจนบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายนั้น พนักงานควรไดรับการ

Page 22: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

22

แนวขอสอบ เจาหนาทีอ่บรม 73.ปญหาการทํางานตํ่ากวาระดับการศึกษา (Underemployment) ก. การพัฒนาท่ีเนนการกระจายผลประโยชนจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม ข. การพัฒนาท่ีเนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ค. การพัฒนาท่ีเนนความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ ง. การพัฒนาท่ีเนนการสรางงาน ตอบ ง. การพัฒนาที่เนนการสรางงาน การพัฒนาท่ีเนนการสรางงาน มีแนวคิดหลักท่ีสําคัญดังน้ี 1. การโยกยายแรงงานสวนเกินจากภาคเกษตรกรรมมาทํางานในภาคอุตสาหกรรมอาจกอใหเกิดการวางงานขึ้นได 2. จํานวนแรงงานในชนบทที่เขามาทํางานในเมืองมีจํานวนมากกวาจํานวนงานที่มีอยูในเมือง จึงทําใหเกิดแรงงานสวนเกินในเมือง 3. ปญหาการวางงานโดยเปดเผยไมใชปญหาท่ีรุนแรง แตปญหาท่ีนาเปนหวงก็คือ การทํางานตํ่ากวาระดับการศึกษา 74.เศรษฐกิจระดับเมืองกับเศรษฐกิจระดับชนบท ก. การพัฒนาท่ีเนนการกระจายผลประโยชนจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม ข. การพัฒนาท่ีเนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ค. การพัฒนาท่ีเนนความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ ง. การพัฒนาท่ีเนนการสรางงาน ตอบ ค. การพัฒนาที่เนนความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ การพัฒนาท่ีเนนความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจมีแนวคิดหลักท่ีสําคัญดังน้ี 1. เนนเร่ืองการสะสมทุนเปนอยางมาก โดยช้ีใหเห็นวายิ่งมีการออมและการสะสมทุนมากข้ึนก็ยิ่งมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากข้ึน 2. ตองคํานึงถึงปจจัยภายนอก เชนทุนจากตางประเทศ สต็อกเงินตราตางประเทศ ทักษะความชํานาญงานดานการจัดการตาง ๆ ท่ีมาจากตางประเทศ เปนตน 3. ใหความสนใจเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ 2 ระดับ คือ เศรษฐกิจระดับเมือง และเศรษฐกิจระดับชนบท

Page 23: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

23 93.คุณภาพชีวิตในการทํางานเกี่ยวของกับเร่ืองใด ก. การเคารพและยอมรับศักด์ิศรีความเปนมนุษย ข. การสรางความพึงพอใจใหผูปฏิบัติงาน ค. การสรางความเจริญกาวหนาใหผูปฏิบัติงาน ง. การสรางสรรคงานเพื่อใหผูปฏิบัติไดใชความคิดและทักษะ ตอบ ข. การสรางความพึงพอใจใหผูปฏิบัติงาน คุณภาพชีวิตในการทํางาน มี 2 ลักษณะคือ การพิจารณาปฏิกิริยาของผูปฏิบัติงานวามีความพึงพอใจมากนอยเพียงใด ลักษณะที่สองเปนการพิจารณาจากแนวปฏิบัติหรือวิธีการเทคนิคในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงค 94.ข้ันตอนตอไปนี้ข้ันตอนใดตองทําเปนอันดับแรก ก. การเกลี่ยอัตรากําลัง ข. การจัดทําบัญชีรายช่ือตําแหนงท่ีเกษียณอายุ ค. การทบทวนภารกิจวาจําเปนตองปฏิบติัอยูหรือไม ง. การเสนอคําขอพรอมเหตุผลท่ีไมยุบเลิกอัตราตําแหนงท่ีเกษียณอายุ ตอบ ข. การจัดทําบัญชีรายชื่อตําแหนงที่เกษียณอายุ มีข้ันตอนในการทํางานดังตอไปนี้ 1. จัดทําบัญชีรายช่ือตําแหนงท่ีเกษียณอายุ 2. การทบทวนภารกิจวาจําเปนตองปฏิบัติอยูหรือไม 3. การนําเสนอคําขอรองเหตุท่ีไมยุบเลิกอัตราตําแหนงเกษียณ 4. การเกลี่ยอัตรากําลัง 5. การจัดการระบบขอมูลสนเทศดานกําลงัเพื่อใชในการตรวจสอบอัตรากําลัง 95.หนวยงานใดตอไปนี้ไมเกี่ยวของกับการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ก.สํานักงานตรวจเงินแผนดิน ข. คณะกรรมการกําหนดเงินเดือนแหงชาติ ค. สํานักงบประมาณ ง.ไมมีคําตอบขอใดถูก ตอบ ง.ไมมีคําตอบขอใดถูก หนวยงานที่เกี่ยวของกับการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ไดแก 1. สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) 2. กระทรวง ทบวง กรม

Page 24: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

24 3. จังหวัด 4. องคกรปกครองสวนทองถิ่น 5. ฝายบริหารงานบุคคลของหนวยงาน 6. หนวยงานกําหนดและกํากับนโยบายหรือแผนฯ ระดับชาติ 7. อื่น ๆ เชน ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) เปนตน 96.คําวา “Forced Labor" หมายความวาอยางไร ก. แรงงานเด็ก ข. แรงงานวัยรุน ค. การดูแลไมใหมีแรงงานเด็กในหนวยงาน ง. ไมมีคําตอบขอใดถูก ตอบ ง. ไมมีคําตอบขอใดถูก Forced Labor เปนการกําหนดคาตอบแทนที่เปนตัวเงิน 97.คาตอบแทนประเภทใดถือปฏิบัติเหมือนเงินเดือน ก. บําเหน็จบํานาญ ข. เงินประจําตําแหนง ค. เงินชวยเหลือการศึกษาของบุตร ง. ถูกทุกขอ ตอบ ข. เงินประจําตําแหนง คาตอบแทนของขาราชการมี ท้ังเปนตัวเ งิน และเปนประโยชน เกื้ อกูลกัน คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ไดแก 1. บําเหน็จบํานาญ 2. เงินประจําตําแหนง 3. เงินชวยเหลือบุตรเปนตน คาตอบแทนที่เปนผลประโยชนเกื้อกูล 1. การไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ 2. การนับอายุราชการเปนทวีคูณ 3. สิทธิในการลาของราชการ 98.การนับอายุราชการเปนทวีคูณเกี่ยวของกับขอใด ก. บําเหน็จบํานาญ ข. เงินประจําตําแหนง ค. เงินชวยเหลือการศึกษาของบุตร ง. ถูกทุกขอ ตอบ ก. บําเหน็จบํานาญ

Page 25: แนวข้อสอบ สกย ข้อสอบสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง E-BOOK เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

25

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมช่ือ และอเีมลลที ่

LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,

085-9993722,085-9993740