6
PLANT BIOLOGY By Pat Patarnautaporn เนื้อเยื่อ (Tissue) ของพืช แบ่งออกตามการแบ่งเซลล์ออกเป็น 2 กลุ่ม 1 เนื้อเยื่อเจริญ (Meristem) 2 เนื้อเยื่อถาวร (Permanent tissue) เนื้อเยื่อเจริญ (Meristem) => แบ่งเซลล์ได้ตลอดชีวิต แบ่งตามระยะการเติบโต ระยะปฐมภูมิ Primary growth-> ต้นไม้สูงขึ ้น Apical meristem -> เจริญส่วนปลาย Intercalary meristem -> เจริญเหนือข้อ -> ปล้องยาวขึ ้น ระยะทุติยภูมิ Secondary growth -> ต้นไม้อ้วนขึ ้น Lateral meristem(Cambium)-> มีสองชนิดคือ Cork cambium และ Vascular cambium * พืชใบเลี่ยงคู ่จะมี Apical meristem(ทําให้สูง) และ Lateral meristem * คือ cambium(ทําให้อ้วน) * พืชใบเลี้ยงเดี่ยวมี Apical meristem(ทําให้สูง) และมี Intercalary meristem (ทําให้ ปล้องยืด = สูงขึ้นไปอีก) ยกเว้น หมากผู้หมากเมีย, จันทน์ผา ที่มี cambium *

เนื้อเยื่อพืช Plant tissue

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เนื้อเยื่อพืช Plant tissue

PLANT BIOLOGY! ! By Pat Patarnautaporn

เนื้อเยื่อ (Tissue) ของพืช

! แบ่งออกตามการแบ่งเซลล์ออกเป็น 2 กลุ่ม

! ! 1 เนื้อเยื่อเจริญ (Meristem)! ! 2 เนื้อเยื่อถาวร (Permanent tissue)

เนื้อเยื่อเจริญ (Meristem) => แบ่งเซลล์ได้ตลอดชีวิต! แบ่งตามระยะการเติบโต

! ! ระยะปฐมภูม ิPrimary growth-> ต้นไม้สูงขึ้น! ! ! Apical meristem -> เจริญส่วนปลาย! ! ! Intercalary meristem -> เจริญเหนือข้อ -> ปล้องยาวขึ้น

! ! ระยะทุติยภูม ิSecondary growth -> ต้นไม้อ้วนขึ้น! ! ! Lateral meristem(Cambium)-> มีสองชนิดคือ Cork cambium และ ! ! ! Vascular cambium!

* พืชใบเลี่ยงคู่จะมี Apical meristem(ทําให้สูง) และ Lateral meristem * คือ cambium(ทําให้อ้วน)* พืชใบเลี้ยงเดี่ยวมี Apical meristem(ทําให้สูง) และมี Intercalary meristem (ทําให้ปล้องยืด = สูงขึ้นไปอีก) ยกเว้น หมากผู้หมากเมีย, จันทน์ผา ที่มี cambium

*

Page 2: เนื้อเยื่อพืช Plant tissue

เนื้อเยื่อถาวร (Permanent tissue) => เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อเจริญ แบ่งเซลล์ไม่ได้! แบ่งตามตําแหน่ง

เนื้อเยื่อผิว Epidermis -> เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว คือเป็นเซลล์ประเภทเดียวกัน! ! ! อยู่นอกสุด! ! ! ประกอบด้วยเซลล์! ! ! อาจมีการสะสมสารควิติน(Cutin) -> เห็นเป็นชั้น Cuticle ! ! ! ! ! ! !

!

เซลล์อีพิเดอร์มิส (Epidermal cell) เซลล์คุม (Guard cell) เซลล์ขนราก (Root hair cell)

Trichome(มาจาก epidermal cell)!! !เอพิเดอร์มิสปกติจะไม่มีคลอโรพลาสต์ยกเว้นเป็นเซลล์คุม

หน้าที ่: - ช่วยป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อที่อยู่ภายใน - ช่วยป้องกันการระเหยและการคายน้ําเพราะถ้าพืชเสียน้ําไปมากจะเหี่ยวและป้องกันไม่ให้น้ําซึม เข้าไปข้างในด้วยเพราะถ้าได้รับน้ํามากเกินไปจะเน่า)

- ช่วยดูดซึมน้ําและแร่ธาตุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางขนรา

Page 3: เนื้อเยื่อพืช Plant tissue

เนื้อเยื่อพื้น ground tissue ( เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว )!พาเรงไคมา Parenchyma

รูปทรงกระบอก หน้าตัดหลายเหลี่ยม หรือ กลมVacuole ใหญ่ผนังเซลล์บาง -> มีชีวิตถ้ามีคลอโรพลาสต์อยู่เรียกว่า Chlorenchymaมีช่องว่างระหว่างเซลล์

ทําหน้าที่สะสมอาหาร -> เม็ดแป้ง โปรตีน ไขมันน้ํา และสารระเหยถ้าได้รับการกระตุ้นจะแบ่งเซลล์เพื่อสมานแผล

คอลเลนไคมา Collenchyma

คล้าย Parenchyma แต่ผนังเซลล์หนากว่า สะสม Pectin สร้างความแข็งแรงเซลล์มีชีวิตผนังเซลล์เป็นมันวาวไม่พบในรากเซลล์เรียงกันแน่น! ! !

สเคลอเรงไคมา Sclerenchymaผนังเซลล์ระยะ 2 หนา -> เซลล์ตายแล้ว สะสม lignin มี 2 ประเภท

! 1 ไฟเบอร์ (fiber) เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างหลายเหลี่ยมและยาว อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม พบในพืชที่ให้เส้นใยต่างๆ เช่น ป่าน ปอ สับปะรด เป็นต้น นอกนั้นยังพบในกลุ่มของท่อน้ํา ท่ออาหาร

Page 4: เนื้อเยื่อพืช Plant tissue

2 สเกลอรีด (Sclereid) เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างสั้นกว่าไฟเบอร์ พบกระจายอยู่ในชั้นเปลือกของลําต้นพืชใบเลี้ยงคู่ เปลือกผลไม้ที่แข็ง เช่น กะลามะพร้าว เป็นต้น สเกอรีดมีรูปร่างไม่แน่นอน ผนังเซลล์หนา มีลูเมนและพิทเหมือนกับไฟเบอร์ แต่พิทแตกแขนงมากกว่า

เอนโดเดอร์มิส Endodermisอยู่ด้านนอกของเนื้อเยื่อลําเลียงเซลล์มีรูปร่างคล้ายเซลล์พาเรงคิมา ที่ผนังเซลล์มีสารลิกนิน และ ซูเบอริน มีลักษณะเป็นแถบ เรียกว่า แถบแคสพาเรียนสตริพ (Casparianstrip) เซลล์เรียงตัวกันแน่นไม่มีช่องว่าง

Page 5: เนื้อเยื่อพืช Plant tissue

เนื้อเยื่อลําเลียง Vascular bundle ( เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน = เซลล์หลายประเภทที่มาทํางานร่วมกัน)

Xylem -> ลําเลียงน้ํา! ประกอบด้วย 1. เทรคีด (Tracheid) ! เป็นกลุ่มเซลล์ที่มีรูปร่างยาวปลายค่อนข้างแหลม ที่ผนังเซลล์มีสารพวกลิกนิน -> ตายแล้ว2. เวสเซล เมมเบอร์ (Vessel member)! ซึ่งเป็นกลุ่มเซลล์ที่มีผนังหนา และมีสารพวกลิกนิน เซลล์มีรูปร่างยาวหรือสั้นปลายเซลล์อาจเฉียงหรือตรงและมีช่องทะลุถึงกัน เมื่อโตเต็มที่เซลล์จะตาย

3.ไซเล็มพาเรงคิมา (Xylem parenchyma)! เป็นเซลล์พาเรงคิมาที่พบในเนื้อเยื่อลําเลียงน้ําและแร่ธาต ุลําเลียงตามแนวรัศมี -> เรียกอีกชื่อว่า Xylem ray

4. ไซเล็มไฟเบอร์ (Xylem fiber) เป็นเซลล์ไฟเบอร์ที่พบในในเนื้อเยื่อลําเลียงน้ําและแร่ธาตุเทรีด (Tracheid)

** Vessel member ลําเลียงดีที่สุด

Phloem -> ลําเลียงอาหาร

ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์พวก1. ซีฟทิวบ์เมมเบอร์ (Sieve tube member) เป็นเซลล์รูปร่างทรงกระบอกยาวที่ปลายผนัง 2 ด้านจะมีรู

พรุนเรียก ซีฟเพลต(Seive plate) ซีฟทิวบ์เมมเบอร์เมื่อโตเต็มที่นิวเคลียสจะสลายไปเพื่อให้การลําเลียงอาหาร

2. 2.คอมพาเนียนเซลล(์Companion cell) เป็นเซลล์ที่อยู่ติดกับซีฟทิวป์เมมเบอร์โตเต็มที่มีชีวิตตลอดโดยทําหน้าที่สร้างสารที่จําเป็นส่งให้กับซีฟทิวบ์เมมเบอร์ (Sieve tube member) ซึ่งไม่มีนิวเคลียส

3. โฟลเอ็มพาเรงคิมา (Phloem parenchyma) เป็นเซลล์พาเรงคิมาที่พบอยู่ในเนื้อเยื่อโฟลเอ็ม4. โฟลเอ็มไฟเบอร์ (Phloem fiber) เป็นเซลล์ไฟเบอร์ที่พบในเนื้อเยื่อโฟลเอ็ม

Page 6: เนื้อเยื่อพืช Plant tissue

* ผนังเซลล์Primary -> ยังมีชีวิต อยู่ติดกับ middle lamella มีสารพอก cellulose ,Hemicellulose,pectin

Secondary -> เซลล์ตาย อยู่ถัดเข้ามาด้านในมี cellulose ,Hemicellulose มากขึ้น และเพิ่มด้วย Lignin และ Safranin